Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเพณีรับบัว - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาวอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ Full Paper

ประเพณีรับบัว - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาวอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ Full Paper

Description: ประเพณีรับบัว - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาวอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ Full Paper.

Search

Read the Text Version

รายงาน โครงการรวบรวมและจัดเก็บขอ้ มลู มรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม ประเพณีรบั บัว : มรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ของชาวอาเภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ โดย ผศ.ดร.อาพล นววงศเ์ สถยี รและคณะ โครงการน้ีไดร้ ับงบประมาณสนบั สนุนจากกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม

รายงาน โครงการรวบรวมและจัดเก็บขอ้ มลู มรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม ประเพณีรบั บัว : มรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ของชาวอาเภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ โดย ผศ.ดร.อาพล นววงศเ์ สถยี รและคณะ โครงการนี้ไดร้ ับงบประมาณสนบั สนุนจากกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม

(๑) บทคดั ย่อ ช่อื เร่อื ง ประเพณีรับบัว: มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมของชาว ชอื่ นักวจิ ัย อาเภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ ไดร้ บั ทนุ อุดหนุนการวิจยั จาก ผศ.ดร.อาพล นววงศเ์ สถียร อาจารย์ทินภทั ร ประภาสพงษ์ อาจารยธ์ ปิ ตั ย์ โสตถวิ รรณ์ อาจารย์วฤนดา วงษ์เลก็ กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม การศึกษาเรื่องน้ีมีวัตถุประสงค์ ๑) เพ่ือให้ได้มีระบบความรู้ ความเข้าใจประเพณีรับบัวใน ขอบเขตของประเทศไทย ๒) เพ่ือรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลเก่ียวกับประเพณีรับบัว และสร้างความ ตระหนักรับรู้ให้ชุมชนเห็นความสาคัญของประเพณีรับบัว และให้เกิดจิตสานึกท่ีจะเคลื่อนไหวทา กิจกรรมในการสงวนรักษาประเพณีรับบัวให้สืบทอดต่อไปในบริบทที่เหมาะสม ๓) เพื่อนาไปสู่การ เสนอข้ึนทะเบียนประเพณีรับบัวเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ สาขาแนวปฏิบัติทาง สังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล และนาเสนอยูเนสโกให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของ มนุษยชาติเมื่อประเทศไทยเข้าเป็นภาคี Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage ในอนาคต โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและระเบียบวิธีการวิจัยเชิง ปฏิบัตกิ ารแบบมีสว่ นร่วมของชุมชมพื้นที่อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ผู้ร่วมกระบวนการวิจัย ได้แก่ ชุมชน ร่วมกันเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและ แบบไม่มีส่วนรว่ ม การจดั เวทีและกจิ กรรมกลมุ่ ข้อมลู เชงิ คุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา ให้ชุมชน มีสว่ นร่วมในกระบวนการจัดเก็บและรวบรวมขอ้ มลู ในทกุ ข้ันตอน คืนขอ้ มลู เพื่อร่วมทบทวนตรวจสอบ ความถูกต้องกับชมุ ชนในขนั้ ตอนสุดท้ายของการวิจัย ผลการวิจัย การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประเพณีรับบัว พบว่า ประเพณรี บั บัวเปน็ ประเพณีทีส่ บื ทอดกันมายาวนานของชาวบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ จาก หลักฐานน่าจะเกิดข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี ๒ หรือกว่า ๑๘๐ ปีที่ผ่านมา จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี ในช่วง เช้าตรขู่ องวันขึน้ ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ จะเป็นงานประเพณีการรับบัว โดยประชาชนจะโยนดอกบัวลงใน เรือขบวนแห่พระพุทธรูปจาลองของหลวงพ่อโต ในขณะเดียวกันชาวบางพลีก็จะโยนบัวให้กับคนต่าง บ้านท่ีพายเรือมาเที่ยวด้วย เพื่อเป็นการทาบุญร่วมกัน การจัดงานดังกล่าวประกอบด้วยการนมัสการ และขบวนแห่หลวงพ่อโตแห่งวัดบางพลีใหญ่ใน จังหวัดสมุทรปราการ ทั้งทางบกและทางน้า สาหรับ ความเปน็ มาในอดีต สืบเนอ่ื งมาจากท่งุ บางพลีในยามหน้าน้าสมัยก่อนนั้น มีดอกบัวหลวงอยู่มากมาย ทาให้ชาวบางพลีผูม้ คี วามเออื้ เฟื้อเผอื่ แผ่ และหวงั ในบุญกุศลร่วมกัน ได้ช่วยกันจัดเก็บดอกบัวหลวงไว้ แจกใหช้ าวบา้ นตา่ งถ่นิ โดยไม่ได้คิดมูลค่าในวันก่อนออกพรรษา จึงเป็นสาเหตุเริ่มแรกของประเพณีที่ เรียกว่า “รับบัว” กระบวนการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลในชุมชน ทาให้ชุมชนเห็นความสาคัญของ ประเพณีรับบัว และเกิดจิตสานึกท่ีจะเคล่ือนไหวทากิจกรรมในการปกป้องคุ้มครองและสงวนรักษา ประเพณีรับบัวให้สืบทอดต่อไปในบริบทท่ีเหมาะสม ชุมชนมีความยินยอมและเต็มใจท่ีจะนาไปสู่การ เสนอขึ้นทะเบียนประเพณีรับบัวเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ สาขาแนวปฏิบัติทาง

(๒) สังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล และนาเสนอยูเนสโกให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของ มนุษยชาติเม่ือประเทศไทยเข้าเป็นภาคี Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage ในอนาคต สาหรับข้อเสนอแนะจากงานวิจัยน้ี พบว่าควรมีการจัดประเพณีรับบัวนี้อย่างต่อเนื่อง และ ต้องจัดกิจกรรมให้มีความหลากหลาย พัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ เกิดขึ้น ควรให้เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ได้ศึกษาเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหนในคุณค่า ของมรดกทางวัฒนธรรมท่บี รรพชนไดม้ อบไว้ใหล้ ูกหลานชาวบางพลี ทกุ ภาคส่วนของชุมชนควรเข้ามา มีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองและสงวนรักษา โดยให้คนในชุมชนและสังคมได้รับรู้อัตลักษณ์และ ความเป็นมาของประเพณีรับบัวของชาวอาเภอบางพลีโดยท่ัวกัน ภาครัฐควรเข้ามาช่วยกันส่งเสริมให้ แพร่หลายไปทุกภาคส่วนของสังคมท้ังในประเทศและนอกประเทศ ซ่ึงจะทาให้ทุกฝ่ายเกิดความ ตระหนัก เห็นคุณค่า ความสาคัญของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซึ่งแสดงถึงความมีน้าใจไมตรี และความศรัทธาท่ีมีพระพุทธศาสนาของบรรพชน และร่วมกันปกป้องคุ้มครองและสงวนรักษา ประเพณรี บั บัวนีส้ ืบต่อไป

(๓) Title of Research ABSTRACT Researcher Allocation The Rub Bua Festival: The Intangible Culture Heritage of Bangplee People In Samutprakarn Province Asst. Prof.Dr. Ampol Navavongsathian, Thinapat Prapasapong Tipat Sothiwann, Warinda Wonglek Department of Cultural Promotion The objectives of this study are ; 1) to have knowledge system and to understand about Rub bua in area of Thailand. 2) to collect and storage data about the Rub Bua festival and encourage the parties concern about important of the Rub Bua festival and concern to movement to do activities for the Rub Bua festival preservation to maintain continuity in optimize its context. 3) to conduce the Rub Bua festival to take as a candidate for the list of the intangible Cultural Heritage of Thailand in social practices, rituals and festivals field, and for the list of the intangible Cultural Heritage of Humanity stipulated in the Convention for the Safeguarding of the intangible Cultural Heritage. The Qualitative Methodology and Participation Action Research (PAR) to be used in this study. Data are collected in Bangphee community district of Samutprakarn province, Thailand by participating of community by depth interview, focus group, participant observation and non-participant observation, stage argument, and group activities. The qualitative data are analyzed by content analysis with communities’ participating in every data collecting stage. Data are rechecked with the peer communities. The results showed that the Rub Bua festival of Bangphee communities of Samutprakran province have been inherited for a long time, from incidences may be occurred in the king RAMAII of the kingdom of Thailand, about 180 years ago. The Rub Bua festival are to held continuing in every year in the early morning of the 14th lunar of 11th month, the people will throw the Indian lotus into the replica Laung Phor Toh boat parade, while throw the Indian lotus into the foreign residents boats in account to share merit in Buddhism. The Rub Bua festival event are included to worship Laung Phor Toh, and throw the Indian lotus into the replica Laung

(๔) Phor Toh boat parade. For the past, the Bangphee have a lot of Indian lotus in the rainy season, the Bangphee communities people who have hope and charitable merit together with the foreign residents, so they had collected the Indian lotus to gave the foreign residents before Buddhist Lent day, this reason may be the start point of the Rub Bua festival. The data storages and data collects processing show that the Bangphee communities understand the important and consciousness to do activities for safeguarding and preservation of the Rub Bua festival in the suitable context. The Bangphee communities have consented of the Rub Bua festival to take as a candidate for the list of the intangible Cultural Heritage of Thailand in social practices, rituals and festivals field, and for the list of the intangible Cultural Heritage of Humanity stipulated in the Convention for the Safeguarding of the intangible Cultural Heritage. This study are suggest that the communities should held the Rub Bua festival is annual continuing festival, have variety activities that appropriate for the environmental changing, and have activities to educate children and youth for concerning in the love, cherish the value of culture heritage, ancestors have given to them. The every sector in community should have participated in safeguarding and preservation, and the communities should be known identity and the origin of widely. The government should to promote and widespread the Rub Bua festival to local and global widely which every sector cherish the value of culture heritage and show to kindness, friendship and faith with Buddhism of ancestors, and safeguarding and preservation of cultural heritage over time.

(๕) กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการรวบรวมและจัดเก็บขอ้ มูลมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ประเพณีรับบัว: มรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาวอาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ สาเร็จลุล่วงได้ เน่ืองมาจาก ผู้วิจัยได้รับความอนุเคราะห์ และความร่วมมืออย่างดีย่ิงจากอาจารย์ชูศรี สัตยานนท์ ปราชญ์ชุมชน และประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอบางพลี นายวิวัฒน์ ฉันทนานุรักษ์ นายอาเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ อาจารยส์ มชาย ชูประดษิ ฐ์ ผู้เช่ยี วชาญและนกั ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ กานนั ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชน พระภิกษุสงฆ์ ปราชญ์ชุมชน ชุมชน ผู้นาชุมชน ผู้นาท้องถ่ิน ในอาเภอบางพลี จังหวัด สมทุ รปราการทกุ ทา่ น ที่กรุณาให้ความอนเุ คราะห์ข้อมูลและมีส่วนรว่ มในกระบวนการรวบรวมจัดเก็บ ข้อมูลมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรมประเพณีรับบวั ในทุกข้ันตอน ขอขอบพระคุณ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ในการพิจารณาตดั สนิ และให้ทุนสนับสนุนในการวิจัย นี้ โดยเฉพาะอย่างย่ิง คุณปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คุณสุนันทา มิตรงาม ผู้อานวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา คุณรัชดาพร ศรีภิบาล นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ และ เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมวัฒนธรรมทุกท่าน ที่ได้มีส่วนสาคัญในการพิจารณาให้ทุนสนับสนุนและ ประสานงานในทุกกระบวนการเป็นอย่างดียิ่ง จนกระท่ังงานวิจัยนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบพระคณุ ดร.สมศักดิ์ รุ่งเรือง อธกิ ารบดีวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ท่ีได้ให้กาลังใจและผลักดัน ใหผ้ ู้วิจยั มุง่ ม่นั ในการทางานวิจยั นี้ให้เสร็จลลุ ว่ งและมคี วามสมบูรณม์ ากท่ีสดุ ขอขอบพระคุณ อาจารย์พะนอม แก้วกาเนิด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และคณะผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน ท่ีได้กรุณาให้คาแนะนาและข้อเสนอท่ีดีย่ิง จนกระทั่งงานวิจัยนี้สาเร็จ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม และมีคุณค่าย่ิงต่อชุมชน สังคม ประเทศชาติ ตลอดจนมนษุ ยชาติ ผศ.ดร.อาพล นววงศเ์ สถียร กรกฎาคม ๒๕๕๖

-๖- หน้า (๑) สารบัญ (๓) (๕) บทคดั ยอ่ ภาษาไทย (๔) บทคดั ย่อภาษาอังกฤษ (๗) กติ ติกรรมประกาศ (๘) สารบัญ สารบัญตาราง ๑ สารบัญภาพ ๑ ๒ สว่ นที่ ๑ ข้อมลู ทีเ่ ป็นเน้ือหาสาระ ๑๑ ๑๓ บทท่ี ๑ บทนา: ประวตั ิความเปน็ มา/ความสาคัญของประเพณีรบั บัว ๑๕ ๑.๑ ความสาคัญ/หลักการและเหตผุ ล ๑.๒ ประวัตคิ วามเปน็ มา ๒๔ ๑.๓ สถานภาพองคค์ วามรู้ที่มีอยู่ ๒๗ ๑.๔ การกระจายตัวหรือการปรากฏตวั ของประเพณีรับบัว ๒๗ ๑.๕ ชุมชน/กล่มุ คนที่เก่ียวข้อง ๓๐ ๓๒ บทที่ ๒ สาระของประเพณรี ับบวั ๓๒ ๒.๑ ช่อื ท่ปี รากฏในท้องถิ่น หรือช่อื เทียบเคยี ง ๓๔ ๒.๒ ประเภทงานเทศกาล ๓๔ ๒.๓ สถานท/ี่ แหล่งปฏิบัติ ๓๖ ๒.๔ ระเบยี บพิธกี รรม/การประพฤติปฏิบัติของการแสดงออกนัน้ ๆ ๓๙ ๒.๕ ภูมธิ รรม ภูมิปัญญา เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ๔๐ ๒.๖ ความเชือ่ ๒.๗ ลกั ษณะเฉพาะอ่ืน ๆ ๒.๘ คณุ คา่ หรอื ความหมาย ๒.๙ การถ่ายทอดและการสบื ทอด ๒.๑๐ ขอ้ มลู ของผู้บอกรายละเอียด ๒.๑๑ ผูเ้ ก็บขอ้ มลู และวันเวลาท่ีเกบ็

-๗- ๔๔ ๔๔ บทท่ี ๓ เง่ือนไขภาวะวิกฤต/ปจั จยั คกุ คามของประเพณีรบั บัว ๔๔ ๓.๑ สภาพปจั จุบนั ๓.๒ ปจั จัยคกุ คาม ๔๖ ๔๖ บทที่ ๔ ขอ้ เสนอให้ประเพณีรบั บัวเปน็ มรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรมของชาติ/มนษุ ยชาติ ๔๗ ๔.๑ เหตุผล ๔.๒ แนวทางการส่งเสรมิ ให้ประเพณีรับบวั เป็นมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ/มนุษย์ ๔๙ ชาติ ๕๑ บทที่ ๕ พิกดั ทางภูมิศาสตร์ ๕๑ ๕๔ สว่ นที่ ๒ กระบวนการมีส่วนร่วมของ “ชุมชน” ๕๗ ๕๘ ๑. กระบวนการรวบรวมและจดั เกบ็ ข้อมลู แบบมีสว่ นร่วม ๖๒ ๒. ระเบยี บวิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชมุ ชน ๖๒ ๓. คาถามวิจัย ๔. นิยามศพั ท์ ๗๔ ๕. ขอบเขตการศกึ ษา ๖. ผลการศึกษา ๘๐ ๘๐ เอกสารอา้ งอิง ๑๐๘ ๑๑๐ ภาคผนวก ๑๑๒ ก. ภาพประเพณีรับบวั ตง้ั แต่อดตี จนถงึ ปจั จบุ ัน ๑๒๙ ข. รายชอื่ ผใู้ ห้สัมภาษณเ์ ชงิ ลึก ๑๓๐ ค. หนังสือขอสัมภาษณเ์ ชิงลึก ๑๓๔ ง. แบบบันทึกข้อมลู รายการมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ๑๔๙ จ. พธิ ปี ระกาศข้ึนทะเบยี นมรดกภูมิปัญญา ๑๕๖ ฉ. สงิ่ ควรรเู้ กี่ยวกบั มรดกภูมปิ ัญญา ช. ร่างกฎบตั รว่าดว้ ยการจดั การแหล่งวัฒนธรรม ซ. ประวัติหลวงพอ่ โตและอภินิหาร ฌ. สาเนาใบแสดงความยนิ ยอม (Certificate of Consent)

(๘) สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ ๑ นิยามศพั ทท์ ่ีปรากฏในอนุสนธสิ ัญญาและความหมายที่แปลโดยกรมส่งเสริม ๕๘

(๙) ภาพท่ี สารบญั ภาพ หนา้ ๑. ๕๐ แสดงเขตเทศบาลตาบลบางพลีและอาเภอบางพลโี ดยสังเขป

บทท่ี ๑ ประวัติความเปน็ มา/ความสาคญั ของประเพณรี ับบัว บทนา ประเพณีรับบัวเป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมายาวนานของชาวบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จากหลักฐานน่าจะเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี ๒ หรือกว่า ๑๘๐ ปีท่ีผ่านมา (พระราชพงศาวดาร, ๒๓๗๐) ประเพณีรับบัว จัดข้ึนเป็นประจาทุกปี ในวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ในช่วงเช้าตรู่ของวันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ จะเป็นงานประเพณีการรับบัวหรือโยนบัว โดยประชาชนจะโยนดอกบัวลงในเรือ ขบวนแห่พระพุทธรูปจาลองของหลวงพ่อโต ในขณะเดียวกันชาวบางพลีก็จะโยนบัวให้กับคนต่าง บา้ นท่พี ายเรือมาเทยี่ วด้วย เพ่ือเปน็ การทาบญุ รว่ มกัน การจดั งานดังกล่าวประกอบด้วยการนมัสการ และขบวนแห่หลวงพอ่ โต แห่งวดั บางพลใี หญใ่ น จงั หวดั สมุทรปราการ ท้ังทางบกและทางน้า และยัง จัดให้มีการแข่งขันกิจกรรมพ้ืนบ้าน อาทิ การจัดพานดอกบัว มีการประกวดเรือประเภทต่างๆ และ การแสดงการละเล่นพน้ื บา้ น เชน่ เพลงเรอื เป็นตน้ ๑.๑ ความสาคัญ/หลกั การและเหตุผล ประเพณีรับบัวเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานของชาวบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ จากหลักฐานน่าจะเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี ๒ หรือกว่า ๑๘๐ ปีท่ีผ่านมา (พระราช พงศาวดาร, ๒๓๗๐) มกี ารจดั ต่อเนอ่ื งเป็นประจาทกุ ปี ช่วงเวลา เร่ิมต้ังแต่วันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ถึง ขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ก่อนออกพรรษา ลักษณะประเพณี ในช่วงเช้าตรู่ของวันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ จะเป็นงานประเพณีการรับบัว โดย ประชาชนจะโยนดอกบัวลงในเรือขบวนแห่พระพุทธรูปจาลองของหลวงพ่อโต ในขณะเดียวกันชาว บางพลีก็จะโยนบัวให้กับคนต่างบ้านท่ีพายเรือมาเท่ียวด้วย เพื่อเป็นการทาบุญร่วมกัน การจัดงาน ดังกล่าวประกอบด้วยการนมัสการและขบวนแห่หลวงพ่อโต แห่งวัดบางพลีใหญ่ใน จังหวัด สมุทรปราการ ทั้งทางบกและทางน้า และยังจัดให้มีการแข่งขันกิจกรรมพ้ืนบ้าน อาทิ การจัดพาน ดอกบัว มีการประกวดเรือประเภทต่างๆ และการแสดงการละเล่นพ้ืนบ้าน เช่น เพลงเรือ เป็นต้น ประเพณีรบั บัวเป็นประเพณปี ระจาท้องถ่ิน ของชาวอาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่ง เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ีสืบทอดมาแต่โบราณ ประเพณีรับบัวน้ีมีข้อสันนิษฐานความเป็นมาได้ ๓ ประการ ประการแรก เกิดจากประชากร ๓ พวก คือ คนไทย รามัญ และลาวท่ีอาศัยอยู่ในแถบ อาเภอบางพลี ไดต้ กลงกันแยกย้ายทามาหากิน และคนไทยได้เก็บดอกบัวหลวงที่มีมากมายที่ฝั่งตอน เหนอื ของอาเภอบางพลี เก็บรวบรวมไว้ให้ชาวรามัญ เพื่อนาไปบูชาพระคาถาพัน (เทศน์มหาชาติ) ท่ี ปากลดั (พระประแดง) (สานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ, ๒๕๓๘)

-๒- ประการท่ีสอง เกิดจากชาวรามัญท่ีปากลัด (พระประแดง) มาทานาท่ีอาเภอบางพลี ซ่ึง อพยพมาในสมัยกรุงธนบุรี และจะเก็บดอกบัวหลวงท่ีมีจานวนมากท่ีบางพลี นากลับไปบูชาพระคา พันทีป่ ากลดั (พระประแดง) เมือ่ เสรจ็ สิน้ การทานา คนไทยเหน็ เกบ็ ดอกบัวอยู่เช่นนี้ทุกปี จึงอาสาเก็บ ดอกบัวเตรียมไว้ให้ตามนิสัยคนไทยที่มีไมตรีจิตเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ระยะแรกก็ส่งให้กับมือมีการไหว้ ขอบคณุ ต่อมาคนุ้ เคยกนั ถา้ ไกลกโ็ ยนใหก้ ลายเป็น รบั บัว-โยนบัว (กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๓ ฉบับพระยาทิพากรวงศ์, หน้า ๓๖๒-๓๖๓ อ้างไว้ในสมชาย ชูประดิษฐ์ และอารีย์ เพชรหวน, ๒๕๕๕) ประการที่สาม ตาบลบางพลใี หญม่ ีดอกบัวจานวนมาก เมื่อถึงเทศกาลออกพรรษาชาวอาเภอ ใกล้เคียงจะมานอนคา้ งอา้ งแรมเพ่ือเก็บดอกบัว ด้วยน้าใจไมตรีของชาวบางพลีจึงเตรียมเก็บไว้เพ่ือให้ ชาวอาเภอใกล้เคียงได้นาไปถวายแก่พระในวันออกพรรษา ซึ่งคนโบราณเชื่อว่าการถวายพระด้วย ดอกบวั จะได้บุญกศุ ลแรงมาก ๑.๒ ประวตั ิความเป็นมา ประเพณอี ันดงี ามน้ีสืบเนื่องมาจากทุ่งบางพลีในยามหน้าน้าสมัยก่อนนั้น มีดอกบัวหลวงอยู่ มากมาย เรียกได้ว่าเป็นแหล่งดอกบัวท่ีประชาชนทั่วไปในพ้ืนที่ใกล้เคียงและชาวบางพลีเอง จะ สามารถมาเก็บหามาได้แล้วนาดอกบัวไปใช้ถวายพระในงานบุญออกพรรษา ทาให้ชาวบางพลีผู้มี ความเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ และหวังในบุญกุศลร่วมกัน ได้ช่วยกันจัดเก็บดอกบัวหลวงไว้แจกให้ชาวบ้าน ต่างถิ่น โดยไม่ได้คิดมูลค่าอะไร ในวันก่อนออกพรรษา น่ีเป็นสาเหตุเร่ิมแรกของประเพณีท่ีเรียกว่า “รับบัว” ส่วนความเป็นมาก่อนมีประเพณีรับบัวน้ัน เล่ากันมาว่า ในสมัยก่อนนั้น ประชาชนที่อยู่ใน แถบบางพลี จะมีอยู่สามพวก คือ คนไทยเจ้าของพื้นที่กับคนลาว และคนมอญหรือท่ีเรียกว่ารามัญ แตล่ ะกลุ่มจะมหี ัวหน้าควบคุมดูแล ต่อมาคนท้ังสามกลุ่มได้ปรึกษากัน แล้วร่วมแรงร่วมใจกันหักร้าง ถางพงแยกออกไปคนละทิศคนละทาง เพื่อเพิ่มพ้ืนที่เพาะปลูกให้กลุ่มของตน ปรากฏว่าพวกมอญที่ แยกไปทางลาดกระบังเพาะปลูกแล้วไม่ได้ผล นกหนูรบกวน จึงเตรียมตัวอพยพกลับปากลัดถิ่นเดิม (ปัจจบุ นั คอื อาเภอพระประแดง) โดยเร่ิมอพยพในวันขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ก่อนออกพรรษาหน่ึงวัน จงึ ไดเ้ กบ็ ดอกบัวจากบางพลที มี่ อี ยูจ่ านวนมากไปด้วยมากมาย โดยบอกกล่าวกับคนไทยท่ีคุ้นเคยกัน ว่าจะนาไปบูชาพระคาถาพัน (เทศมหาชาติ) ท่ีปากลัด ท้ังยังชักชวนว่าในปีต่อไป พอวันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ขอให้คนไทยเก็บดอกบัวรวบรวมไว้ท่ีวัดหลวงพ่อโตด้วย พวกตนจะมารับ พอถึงกาหนด กอ่ นวนั นัดหมาย คนไทยก็เกบ็ รวบรวมดอกบัวไว้ที่บางพลีใหญ่ พวกมอญก็มารับดอกบัวตามท่ีตกลง กันไว้ เวลาท่ีพวกมอญมารับดอกบัวน้ัน จะมากันด้วยเรือขนาดใหญ่จุคนได้ถึง ๕๐–๖๐ คน มีการ ร้องราทาเพลง การละเล่นต่าง ๆ มาร่วมกันอยา่ งสนุกสนาน พวกทคี่ อยรับก็พลอยเล่นสนุกสนานไป ด้วย ท้ังยังได้เตรียมอาหารคาวหวานไว้เล้ียงดูกันด้วย เม่ืออิ่มหนาสาราญดีแล้ว พวกมอญนี้จึงนา ดอกบัวไปบชู าหลวงพ่อโตสว่ นหนึ่ง อีกส่วนหน่ึงนากลับไปบูชาพระคาถาพัน ที่วัดของตนในวันออก พรรษา จากความร่วมแรงร่วมใจกันทาบุญและเล้ียงดูเล่นสนุกสนานร่วมกันทุกปีน้ีเอง จึงมีผู้ สันนิษฐานว่าคงจะก่อให้เกิดความคุ้นเคยอันส่งผลให้การรับ-ส่งบัวที่เคยรับส่งกันแบบยกมือพนม

-๓- อธิษฐานแล้วจึงส่งให้มือต่อมือ เปล่ียนรูปแบบไปบ้างอย่างท่ีเห็นในปัจจุบัน (สานักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, ๒๕๓๘) นอกจากตานานเรื่องเล่าน้ีแล้ว ยังมีเร่ืองเล่าความเป็นมาของประเพณีรับบัวนี้อีกหลาย ตานาน ทมี่ หี ลกั ฐานอ้างอิง อาทิ ชาวมอญอพยพจากเมาะตะมะประเทศพม่าตั้งแต่สมัยพระเจ้าตาก สนิ มหาราช สบื ประวัติการตั้งถิ่นฐานไปได้ถึง สมิงราชาเทวะ มอญทหารปืนใหญ่สมัยรัชกาลที่ ๒ ดัง มีตาบล “ราชาเทวะอาเภอบางพลี” เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ คนลาวก็เป็นลาวอาณาจักรศรีโคตร บูรณ์ สบื ประวตั ไิ ด้ถงึ “ลาวอาสาปากนา้ ” สมัยทา้ วไชยอุปฮาด ผนู้ าอพยพมาจากเมืองนครพนม พา พวกพ้องข้าทาสบริวารมาต้ังถ่ินฐานอยู่ที่ตาบลบางลาว (บางปลาปัจจุบัน) ส่วนคนไทยก็เป็นคนพื้น ถ่ินชาวบางพลีเมืองพระประแดงนครเขื่อนขันธ์มาแต่บรมกาล คนสามเผ่านี้ร่วมกันสร้างประเพณี “รับบัวบูชาพระหรือโยนบัว” ขึ้นท่ีตาบลบางพลี เป็นวัฒนธรรมอันมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตความ เป็นอยู่ท่ีทุกข์ยากมีแต่พระศาสนาเป็นที่พ่ึง ก็ด้วยคาสอนในศาสนานี้เองชาวบ้านจึงได้ใช้ภูมิปัญญา ทอ้ งถ่ินใชไ้ มตรสี ร้างกจิ กรรมให้ไดม้ กี ารระลกึ ถงึ กันให้ไดม้ โี อกาสไดร้ ่วมทาบญุ กุศลสนุกสนานร่วมกัน เป็นประจาทุกปีสืบต่อกันมายาวนานกว่า ๑๘๐ปี (กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ฉบับพระยาทิพากรวงศ์, หน้า ๓๖๒-๓๖๓ อ้างไว้ในสมชาย ชูประดิษฐ์ และอารีย์ เพชรหวน, ๒๕๕๕) ชูศรี สัตยานนท์ (๒๕๔๘) ได้อธิบายถึงความเป็นมาของประเพณีรับบัวไว้ว่า เดิมอาเภอบาง พลีมีประชากรอาศัยอยู่ ๓ กลุ่ม คือคนไทย คนมอญและคนลาว สาหรับประเพณีรับบัวจะเกิดจาก ความมีน้าใจที่ดีต่อกันระหว่างคนไทยและคนมอญ มีผู้เขียนประวัติความเป็นมาของประเพณีรับบัว ไวส้ ามทา่ นคอื ๑) เจา้ อาวาสวดั บางพลใี หญใ่ น ได้บันทกึ ไว้วา่ ความเป็นมาของประเพณรี บั บวั ว่า ในสมัยก่อนอาเภอบางพลี มีประชาชนอาศัยอยู่แบ่งเป็น ๓ พวกด้วยกัน คือ คนไทย คน รามญั และคนลาว ซึ่งแตล่ ะพวกทามาหากนิ ในอาชีพต่างๆ กัน ต่อมาได้ปรึกษาหารือกันว่าสมควรจะ ชว่ ยกนั หักลา้ งถางพงให้กว้างขวางย่ิงขึ้น เพ่ือทาไร่และทาสวนต่อไป ซ่ึงแต่ก่อนเต็มไปด้วยป่าอ้อ ป่า แสม และพันธ์ุไม้นานาชนิด มีสัตว์ร้ายจานวนมากอาศัยอยู่ทางฝั่งใต้ของคลองสาโรงเต็มไปด้วยป่า แสม น้าเปน็ นา้ เค็ม ทางฝั่งเหนือก็เต็มไปด้วยบึงใหญ่ๆ ภายในบึงมีบัวหลวงขึ้นมากมาย พวกคนไทย คนรามัญและคนลาว ต่างก็ช่วยกันหักล้างถางพงเร่ือยมาจนถึงทางสามแยกคือ ทางหน่ึงไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ ทางหนึ่งไปทางทิศเหนือ และอีกทางหน่ึงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ปจั จบุ นั คือคลองสลดุ คลองชวดลากข้าว คลองลาดกระบัง ทั้งสามพวกได้แยกย้ายกันไปทามาหากิน พวกคนลาวไปทางคลองสลุด พวกคนไทยไปทางคลองชวดลากข้าว และพวกรามัญไปทางคลอง ลาดกระบัง ชาวรามัญที่ไปทามาหากินทางคลองลาดกระบัง ทาอยู่ ๒ – ๓ ปี ไม่ได้ผล เพราะนกหนู ชุกชุม รบกวนพืชผลต่างๆ จนเสียหายเป็นอันมาก เมื่อทามาหากินไม่ได้ผล พวกรามัญต่างก็ ปรึกษาหารือกัน เพ่ือเตรียมตัวอพยพกลับถิ่นเดิม คือปากลัดและเริ่มอพยพในตอนเช้ามืดของวันขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ก่อนไปก็พากันเก็บดอกบัวในบึงบริเวณน้ันไปมากมาย เพื่อเอาไปบูชาพระคาถา พัน ที่ปากลัดและได้สั่งเสียคนไทยที่รักใคร่สนิทสนมกันว่าในปีต่อ ๆ ไปเมื่อถึงวันขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ให้ช่วยกันเก็บดอกบัวหลวงรวบรวมไว้ท่ีวัดหลวงพ่อโต และพวกตนจะมารับเอาดอกบัวไป คน ไทยมีนิสยั โอบออ้ มอารีรกั พวกพอ้ ง จึงตอบตกลงว่ายินดีที่จะจัดเก็บดอกบัวไว้ให้ พวกชาวรามัญก็ได้

-๔- ไปกราบนมัสการหลวงพ่อโต พร้อมท้ังขอน้ามนต์เพ่ือเป็นสิริมงคล แล้วลากลับถ่ินเดิม คร้ันในปี ต่อมาพอถึงกาหนดวันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ คนไทยต่างช่วยกันเก็บดอกบัวมารวมมาไว้ท่ีวัดบาง พลีใหญ่ในตามคาขอร้องของพวกรามัญ พวกรามัญก็มารับดอกบัว ตามวันและเวลาดังกล่าว โดยมา ด้วยเรือขนาดใหญ่หลายสิบลา แต่ละลาบรรจุคนได้ ๕๐ – ๖๐ คน พวกรามัญมาถึงวัดบางพลีใหญ่ ในตอนตี ๓ – ๔ ทุกครัง้ ขณะทเ่ี ดินทางมา ได้รอ้ งราทาเพลงตลอดทาง มีเสียงปี่ สีซอ กลองรามะนา เสียงเฮฮาเซ็งแซ่ตลอดลาคลองสาโรง และทุกครั้งเมื่อมาถึงวัด ทางวัดได้จัดอาหารคาวหวานเลี้ยง ต้อนรับ โดยใช้ศาลาวัดเป็นที่เล้ียงอาหาร เม่ืออิ่มหนาสาราญแล้ว พวกรามัญก็นาดอกบัวไปบูชา หลวงพ่อโตในวิหาร และนาน้ามนต์หลวงพ่อโตกลับไป เพื่อเป็นสิริมงคล ส่วนดอกบัวที่เหลือพวก รามัญต่างนากลับไปบูชาพระคาถาพัน และวัดต่างๆ ด้วยเหตุน้ีจึงเป็นที่มาของประเพณีรับบัวสืบต่อ กนั มาจนบัดนี้ ส่วนการแห่หลวงพ่อโตน้ัน แต่เดิมยังไม่ได้มีการแห่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๗ สืบเนื่องจาก นางจั่นกับพวกพ้องได้พร้อมใจกันสร้างพระปฐมเจดีย์ขึ้นในวัดน้ี เม่ือสร้างเสร็จแล้วได้จัดให้มีการ ฉลอง โดยแห่ผ้าห่มพระปฐมเจดีย์ ไปตามคลองสาโรงแล้วนากลับมาห่มองค์พระปฐมเจดีย์กลางคืน จดั ใหม้ มี หรสพสมโภช ได้แหไ่ ปประมาณ ๒ ปี ก็หยุดไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด ต่อมาก็ได้แห่รูปหลวงพ่อ โตแทน โดยความเห็นชอบของสมภารกุ่ยและประชาชน นายฉาย งามขา เป็นหัวหน้าฝ่ายประชาชน แห่ดว้ ยรูปภาพหลวงพ่อโตมาหลายปี จนกระท่ังปี พ.ศ. ๒๔๘๕ จึงได้มีการทารูปหุ่นจาลองขององค์ หลวงพ่อโตสานด้วยโครงไม้ไผ่ปิดกระดาษทาสีทองแล้วนามาแห่แทนรูปหลวงพ่อโต ตกกลางคืน มหรสพฉลองกันอย่างครึกคร้ืน ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๙๗ พระครูพิศาลสมณวัตต์ เจ้าอาวาสวัดบางพลี ใหญใ่ น มพี ระครูวุฒธรรมสุนทรเปน็ รองเจา้ อาวาสได้จัดให้ทาการหล่อองค์หลวงพ่อโตจาลองขึ้นเพ่ือ ใช้ในการแห่หลวงพ่อโตในงานประเพณรี ับบัว จนถงึ ทุกวนั นี้ (พระครูวิบูลธรรมมานุกิจ, ๒๕๔๗ : ๓๒ – ๓๓ อ้างไวใ้ นชศู รี สัตยานนท์, ๒๕๔๘) ๒) นายแพทย์อุดม วีรวัฒน์ ได้เขียนในหนังสือที่ระลึกพิธีเปิดป้ายโรงพยาบาลบางพลี พ.ศ. ๒๕๒๖ (อ้างไว้ในชูศรี สัตยานนท์, ๒๕๔๘) ดังนี้ ในสมยั กอ่ นท้องทอี่ าเภอบางพลี เป็นแหล่งท่ีมีดอกบัวหลวงชุกชุมและมีมากในฤดูฝน ดังนั้น การบาเพ็ญกุศลในเทศกาลออกพรรษา ประชาชนต่างท้องที่ท่ีอยู่ใกล้เคียงกับอาเภอบางพลี โดยเฉพาะชาวอาเภอเมืองสมุทรปราการกับชาวอาเภอพระประแดงพากันไปหาดอกบัวหลวงใน ท้องที่อาเภอบางพลี ในสมัยแรกๆ คงจะไปเท่ียวเก็บกันเองตามลาคลองหนองบึงต่างๆ แต่ในสมัย ต่อมาชาวบางพลีไปเก็บดอกบัวหลวงเตรียมไว้สาหรับแจกชาวต่างบ้านท่ีต้องการโดยไม่คิดมูลค่า เปน็ การอานวยความสะดวกใหแ้ ก่กัน หรือเพื่อหวงั บุญกศุ ลร่วมกันอันกลายมาเป็นประเพณีท่ีเรียกว่า “รับบัว” ก่อน พ.ศ. ๒๔๗๘ พอถึงวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ (ต้ังแต่ตอนเย็นหรือค่า) ของทุกปี ชาว อาเภอเมือง สมทุ รปราการและชาวอาเภอพระประแดงจะชกั ชวนพวกพ้องเพื่อนฝูงพากันลงเรือ เป็น เรือพายบ้าง เรือแจวบ้าง ลาเล็ก ลาใหญ่บ้างและต่างก็นาเคร่ืองดนตรีต่างๆไปด้วย เช่น ซอ ปี่ กระจับ โทน รามะนา โหม่ง กรับ ฉ่ิง ฉาบ เป็นต้น แล้วแต่ใครจะถนัดหรือมีเครื่องดนตรีชนิดไหน พายกนั ไป แจวกนั ไป รอ้ งราทาเพลงกันไปเป็นทีส่ นกุ สนานตลอดระยะทาง และเป็นไปเช่นนั้นตลอด คนื ซ่ึงบางพวกจะผ่านมาทางแม่น้าเจ้าพระยา บางพวกจะผ่านมาทางลาคลองอ่ืนๆ เข้าคลองสาโรง และมุ่งไปยังหมบู่ ้านบางพลีใหญ่

-๕- สาหรับชาวบางพลีจะถือปฏิบัติกันเป็นประเพณีว่าเมื่อถึงวันข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ จะต้อง เตรียมหาดอกบัวหลวงไว้มอบให้แก่ชาวต่างบ้านที่ต้องการและการท่ีมิตรต่างบ้านมาเยือนในโอกาส (รับบัว) เช่นนี้ก็แสดงมิตรจิตออกต้อนรับ จัดหาสุราอาหารมาเลี้ยงดูกันตั้งแต่ตอนค่าของวันข้ึน ๑๓ คา่ เดอื น ๑๑ ส่วนพวกท่มี ารับบัวคนใดทีร่ ู้จกั มักคนุ้ กบั ชาวบางพลีผเู้ ปน็ เจา้ ของบา้ นก็จะพากันข้ึนไป เย่ียมเยือนบ้านน้ันบ้านนี้ และต่างก็จะสนุกสนานร้องราทาเพลงและรับประทานสุราอาหารร่วมกัน ตลอดคืน พอเช้าตรู่ของวันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ชาวต่างบ้านต่างเมือง จะนาเรือของตนไปตามลา คลองสาโรงและไปขอรับบัวจากชาวบ้านบางพลีทั้งสองฝั่งคลอง การให้และรับดอกบัวก็จะกระทา อย่างสุภาพคือส่งและรับกันมือต่อมือ ก่อนจะให้กันก็จะยกมือพนมมืออธิษฐานเสียก่อนระหว่างชาว บางพลีกบั ชาวต่างบ้านทีส่ นทิ สนมคนุ้ เคยกันเปน็ พเิ ศษบางทีชาวบางพลีก็โยนดอกบัวลงไปให้กันโดย ไม่มีพิธีรีตอง เหตุท่ีมีการโยนบัวให้กันระหว่างผู้คุ้นเคยสนิทสนมนี้เอง เมื่อเป็นไปนานๆ เข้าก็ค่อย กลายเปน็ ความนยิ มกันเปน็ การท่ัวไป การให้และรบั กนั แบบมือต่อมอื จงึ ค่อยเสื่อมไป จนมีการพูดกัน ในตอนหลงั วา่ “โยนบวั ” แทนคาวา่ “รบั บัว” การรบั ดอกบวั ของชาวตา่ งบา้ นจากชาวบางพลจี ะสิน้ สุดลงเม่ือเวลาประมาณ ๘.๐๐ น. หรือ ๙.๐๐ น. และชาวต่างบ้านก็จะพากันกลับ ตอนขากลับจะมีการแข่งเรือกันไปด้วย แต่เป็นการแข่ง กันโดยไมม่ ีเส้นชยั ไม่มีกรรมการตัดสิน และไม่มีการแบ่งประเภทหรือชนิดของเรือ ใครพอใจจะแข่ง กับใคร เมื่อไร ท่ีใด ก็แข่งกันไปหรือเปล่ียนคู่แข่งกันไปเร่ือยๆ ตามแต่จะสะดวกหรือตกลงกัน ดอกบัวท่ีชาวต่างบ้านได้รับจากชาวบางพลีน้ัน จะนาไปบูชาพระในเทศกาลออกพรรษาตามวัดใน หมูบ่ ้านของตน ประเพณีรับบัวตามท่ีกล่าวมาข้างต้น คร้ันนานมาปรากฏว่าชาวอาเภอเมืองสมุทรปราการ และชาวอาเภอพระประแดงนาเรือมารับดอกบัวจากชาวบางพลีมีปริมาณลดลงๆ เสียงกระจับ ป่ี สี ซอ กลองรามะนา เสียงเพลงเสียงเฮฮา ที่เคยเซ็งแซ่ตามลาคลองสาโรงในคืนวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ก็ค่อย ๆ เงียบหายไป ต่อมาสมัยนายช้ืน วรศิริ (เพชรบูรณะ วรศิริ) เป็นนายอาเภอบางพลี ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ – ๒๔๘๑ เห็นว่าประเพณีรับบวั มีทีทา่ วา่ จะเส่ือมสูญไปก็คดิ จะฟ้ืนฟูส่งเสริมให้ย่ังยืนสืบไป เม่ือหารือ กับพ่อค้า คหบดีและข้าราชการเป็นที่ตกลงกันแล้วจึงดาเนินการจัดงานประเพณีรับบัวข้ึน โดยเริ่ม งานวันข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ และวันรุ่งข้ึน ๑๔ ค่า เดือน๑๑ เป็นวันรับบัว อันเป็นครั้งแรกท่ีทาง ราชการเข้ามาเกีย่ วขอ้ งกับประเพณีรับบัวของชาวบางพลี ในการจัดงานประเพณีรับบัวของทางราชการอาเภอบางพลีครั้งแรกนั้น มีการแต่งเรือ ประกวด ผู้ใหญ่บ้านกานัน ช่วยกันหาดอกบัวแจกข้าวต้มมัดแก่แขกต่างบ้าน และผู้จัดเรือประกวด และในวันข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ประชาชนทั้งชาวต่างบ้านและชาวอาเภอบางพลีจะลงเรือล่องไป ตามลาคลองสาโรง ร้องราทาเพลงสนกุ สนานรว่ มกัน ชาวบางพลีจะจัดสุราอาหารไว้ต้อนรับแขกต่าง บ้าน ชาวต่างบ้านคนใดพวกใดรู้จักมักคุ้นกับชาวบางพลีคนใดบ้านใดก็จะพากันไปเยี่ยมเยียน สนุกสนานกับชาวบางพลีบ้านน้ันจนรุ่งเช้า วันขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ต่างก็พากันไปดูการประกวด เรือที่ลาคลองสาโรงหน้าท่ีว่าการอาเภอบางพลี เรือท่ีจัดเข้าประกวดในครั้งแรกนั้นมีผู้แต่งเป็น เรือสังเค็ต เอาไม้ไผ่มาสานเป็นโครงรูปองค์พระพุทธรูปปิดหุ้มด้วยกระดาษทองตั้งมาบนเรือ สมมติ วา่ เปน็ หลวงพอ่ โต แห่งวดั บางพลีใหญ่ใน ผู้แต่งเรือลานี้ คือ “นายไสว โตเจริญ” และในปีต่อมาการ

-๖- จดั งานประเพณีรับบัวของอาเภอบางพลีคงจัดเหมือนปีแรก แตกต่างคือมีการแห่รูปหลวงพ่อโตสาน ดว้ ยไม้ไผ่ที่นายไสว โตเจริญ ทาไว้เมื่อปีก่อน โดยจัดเป็นขบวนเรือแห่ไปตามลาคลองสาโรงระหว่าง บางพลีกับสาโรงในวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ เป็นการประกาศว่างานรับบัวให้ประชาชนทราบ และ วธิ กี ารน้กี ลายมาเป็นประเพณีแหร่ ูปหลวงพ่อโตจาลองจึงเปน็ สว่ นหนึง่ ของงานประเพณีรับบัว ในสมัยนายเชื่อม ศิริสนธ์ิ เป็นนายอาเภอบางพลี ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๒ – ๒๔๙๐ ได้เพิ่ม กิจกรรมในงานประเพณีรับบัวข้ึน โดยจัดให้มีมหรสพกลางแจ้งข้ึนท่ีบริเวณวัดบางพลีใหญ่ในบริเวณ วัดบางพลีใหญห่ ลวงและบริเวณท่ีว่าการอาเภอบางพลีตลอดคืน กับยังจัดให้มีตลาดนัดการประกวด พืชผักสวนครวั และประกวดนางงาม ส่วนอยา่ งอื่นๆ คงมเี หมือนกอ่ นๆ องค์ประกอบของการจัดงานประเพณีรับบัวท่ีสาคัญคือการจัดให้มีการแห่รูปหลวงพ่อโต (จาลอง) โดยทางเรือไปตามลาคลองสาโรงระหว่างบางพลีกับหัวตะเข้หรือจระเข้ใหญ่และสาโรง ใน วนั ข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ประชาชนทีอ่ ยูส่ องฝั่งคลองสาโรงทีข่ บวนแหร่ ูปหลวงพอ่ โตผ่าน จัดประดับ ธงทิวตกแต่งบ้านเรือนและตั้งโต๊ะหมู่บูชา กลางคืนมีมหรสพตลอดคืนท่ีบริเวณวัดบางพลีใหญ่ใน (เริ่มมาแต่วันขึ้น ๑๑ ค่า เดือน ๑๑) บริเวณวัดบางพลีใหญ่กลางและบริเวณที่วาการอาเภอบางพลี เช้าวันรุ่งขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ มีการประกวดเรือประเภทต่างๆ ที่ทางตาบลหรือโรงเรียนส่งเข้า ประกวดและโยนบัว-รับบัว ณ บริเวณคลองสาโรงหน้าที่ว่าการอาเภอบางพลี มีการแจกข้าวต้มมัด หรือข้าวห่อแก่ผู้ร่วมประกวดเรือและชาวต่างบ้านด้วย ซ่ึงจะเริ่มตั้งแต่เวลา ๖.๐๐ น. และงานจะ สิ้นสุดลงเวลาประมาณ ๑๐.๐๐ น. ของวันเดียวกัน ในบางปีจัดให้มีการประกวดนางงามหรือเทพี การแขง่ เรอื หรอื อย่างอน่ื แลว้ แต่คณะกรรมการจัดงานรับบัวของแต่ละปีจะพิจารณาเห็นสมควร ส่วน การร้องราทาเพลงไปตามลาน้าดูหายไปจนปัจจุบันไม่มีแล้ว คงเที่ยวสนุกสนานกันตามบริเวณท่ีจัด ใหม้ ีมหรสพเท่านน้ั (อุดม วีรวัฒน์, ๒๕๒๖ : ๒๗ – ๒๙ อา้ งไวใ้ นชศู รี สัตยานนท์, ๒๕๔๘) ๓) พลตรีถวิล อยู่เย็น (อ้างไว้ในชูศรี สัตยานนท์, ๒๕๔๘) ได้บันทึกความทรงจาไว้ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๗๐ ไดเ้ ขียนไว้วา่ ประเพณีรับบัวของชาวบางพลีเกิดจากชาวนาทางคลองสาโรง ใกล้ๆกับแม่น้าเจ้าพระยา บริเวณตาบลสาโรง บางหญ้าแพรก ท้องคุ้ง บางกระสอบ บางยอ พวกนี้เป็นคนไทยและมอญและ เปน็ คนร่นุ หลงั มอญพระประแดง ไดอ้ พยพมาทานาที่บางพลี ต้ังแต่วัดหนามแดงจนถึงบางพลี พอถึง ฤดทู านาจะออกมาทานา เม่ือดานาเสร็จขณะรอเกี่ยวข้าว ชาวนาพวกน้ีจะกลับไปทาสวนท่ีบ้านของ ตน เหลอื พวกที่เฝ้านาดูแลเล้ียงควายอยู่ที่บางพลี โรงนาละประมาณ ๑ – ๒ คน พอถึงฤดูเก็บเก่ียว ชาวนาท่ีไปอยู่บ้านสวนก็จะออกมาเก็บเก่ียวข้าว พอนวดข้าวเสร็จก็จะขนข้าวกลับไปบ้านสวน เป็น เช่นนี้ตลอดมาตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๔ และในขณะที่รอเก็บเก่ียวข้าวอยู่นั้น เป็นช่วงใกล้ทาบุญออก พรรษา ในวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ พวกชาวนาจึงพากันพายเรือเป็นขบวนมารับพวกที่เฝ้านาเพื่อ กลับไปทาบุญที่บ้านสวน เป็นขบวนเรือ ประมาณ ๓๐ – ๔๐ ลา โดยออกเดินทางจากตาบลสาโรง เวลาบา่ ย มาถงึ บางพลเี วลาเย็น ระหว่างการพายเรือจะร้องราทาเพลงกันมาตลอดทาง พอรุ่งเช้าวัน ข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ก็จะพายเรือกลับ ระหว่างทางเก็บดอกบัวกลับไปบ้านของตน ต่อมาชาวบาง พลีอานวยความสะดวกเตรียมเก็บดอกบัวและข้าวห่อเอาไว้ให้ เมื่อเรือพายผ่านบ้านเรือ ชาวบ้านก็ จะโยนดอกบัว ซงึ่ หอ่ ด้วยใบบัว และข้าวห่อใส่เรือที่ผ่านไปเป็นการรับรอง ก็เลยถือปฏิบัติกันมาเป็น ประเพณีรับบวั (ถวิล อยู่เยน็ , ๒๕๓๘ : ๑๗๙ – ๑๑๐ อ้างไว้ในชูศรี สตั ยานนท์, ๒๕๔๘)

-๗- สรุปความเป็นมาของประเพณีรับบัว เกิดจากความมีน้าใจท่ีดีต่อกันระหว่างคนไทยและคน มอญท่เี ออ้ื อาทรซึ่งกันและกัน โดยชาวมอญจากพระประแดงมาทานาที่อาเภอบางพลีและในระหว่าง รอเกบ็ เกย่ี ว ในช่วงวนั ขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ จะขอให้ชาวบางพลีช่วยกันเก็บดอกบัวรวบรวมไว้ท่ีวัด หลวงพ่อโต และพวกตนจะมารับดอกบัว คนไทยมีนิสัยโอบอ้อมอารี รักพวกพ้องจึงตอบตกลง ในปี ต่อมาชาวบางพลีจึงเก็บดอกบัวให้ชาวรามัญ โดยรวบรวมไว้ท่ีวัดบางพลีใหญ่ในตามบ้านญาติและ เพือ่ นฝงู เม่อื ชาวมอญพายเรือมารบั ดอกบัวท่ีบางพลี ซ่ึงระยะทางไกลมากจึงร้องราทาเพลงมาตลอด ทาง เพื่อให้สนุกสนาน มาถึงบางพลีเวลาเย็นค่า ชาวบางพลีต้อนรับด้วยข้าวปลาอาหาร และมอบ ดอกบัวให้เป็นของฝาก ชาวมอญจึงถือโอกาสนมัสการหลวงพ่อโตพร้อมท้ังขอน้ามนต์เพ่ือเป็นสิริ มงคล แล้วลากลับถิ่นเดิม เมื่อปฏิบัติเป็นประจาทุกปี ประชาชนเรียกว่าประเพณีรับบัว ส่วนการแห่ หลวงพ่อโตทางนา้ เป็นกิจกรรมดา้ นศาสนา โดยมีการแห่หลวงพ่อโตทางน้าให้ประชาชนได้นมัสการ ดอกไม้ท่ีใช้นมัสการคือดอกบัว ปัจจุบันประเพณีรับบัวเหลือเพียงการแห่หลวงพ่อโตทางน้าอย่าง เดียว นอกจากน้ี สมชาย ชูประดิษฐ์ (๒๕๕๕) ได้อธิบายประเพณีรับบัวไว้ว่า ประเพณีรับบัวเป็น ตานานน้าใจไมตรีจิตมิตรภาพความเอื้ออาทรต่อกันของคนบางพลี ๓ ชนเผ่า คนไทยพ้ืนถิ่น คน รามัญและคนลาว เพ่ือนมนุษย์ผู้อพยพหนีร้อนมาพึ่งเย็น มีที่มาปรากฏในตานานท้องถ่ินท้ังของไทย รามัญและลาว ดังนี้ พ.ศ. ๒๓๕๘ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงสร้างเมืองนครเข่ือนขันธ์ท่ีปาก ลัดพระประแดงข้ึน สร้างป้อมปืนสร้างยุ้งฉางเก็บเสบียงไว้ป้องกันข้าศึกท่ีจะมาทางทะเลไว้หลาย ป้อม โปรดเกล้าฯให้มอญพวกพญาเจ่งเจ้าเมืองเตรินเมาะตะมะ ท่ีพาพวกอพยพมาอาศัยอยู่ในเขต เมืองปทมุ ธานอี ยู่ก่อนแล้ว ยา้ ยครอบครัวชายฉกรรจ์ ๓๐๘ คน พร้อมข้าทาสบริวารมาเป็นทหารปืน ใหญ่ “อาสารามัญ” ประจาเมืองด่านหน้าน้ี ให้สมิงทอมาบุตรหลานเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คช เสนี) เป็นเจ้าเมืองปกครองดูแล ทรงสร้างวัดให้ชาวรามัญปากลัดได้มีท่ีบาเพ็ญกุศล พระราชทาน ท่ีดนิ บางพลี บางแก้ว ให้มอญรามัญทานาเก็บเสบียงเล้ียงตัวและสะสมเป็นกาลังป้องกันข้าศึกท่ีจะ มาทางทะเลปากแมน่ า้ เจา้ พระยา คนลาวนั้น ก็เป็น “ลาวอาสาปากน้า” พ.ศ. ๒๓๕๒ ท้าวไชยอุปฮาด เมืองนครพนม พา สมัครพรรคพวก ๒๐๐๐ คนมาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภาร โปรดให้ตั้งบ้านเรือนอยู่คลองมหาวงศ์ ให้ ทา้ วอินทรสารบุตรของอุปฮาดเป็นพระยาปลัดเมืองสมุทรปราการ เม่ือกองทัพไทยได้ปราบกบฏเจ้า อนวุ งศ์ได้เชลยเวียงจนั ทน์มาสว่ นหนึ่งมเี จ้าเหม็นเป็นหวั หนา้ พาบริวารมาสมทบเปน็ ลาวอาสาปากน้า เพิ่มข้นึ ได้รับพระราชทานท่ีดินทากินท่บี างพลี บางปลาเช่นกนั คนรามัญท่ีถูกเกณฑ์มาประจาป้อมที่พระประแดงนั้นไพร่ทาสบริวารมีความชานาญในการ ทานา พระประแดงเป็นทส่ี วนมที ี่ราบทานาน้อย เมื่อได้รับพระราชทานท่ีดินบางพลี ให้เป็นที่ทากิน ครั้นถึงฤดูทานา เดือน ๓ เดือน ๔ ฝนปรอยเม็ด สมิงมอญหัวหน้าจะพาขบวนเรือบริวารบรรทุก เสบียงอาหาร ไปต้ังกองทานาท่ีบางพลี ขบวนเรือแจวพายเข้าคลองสาโรงระยะทางมากกว่า ๒๐ กิโลเมตร เมื่อส่งไพร่ทาสให้อยู่ทานาแล้วก็กลับ จะมารับใหม่เม่ือการทานาเสร็จสิ้น ซ่ึงตรงกับฤดู ออกพรรษา บางพลีนั้นมีทั้งคนไทยดั้งเดิมอยู่แล้ว มีคนลาวอพยพมาใหม่ เม่ือมีกาลังไพร่พลเพิ่มข้ึน จึงตกลงทิศทางที่จะหักร้างถางพง ปราบท่ีดินทานาให้กว้างขวางออกไปอีก ด้วยน้าใจไมตรีคนไทย

-๘- เจา้ ของทอ้ งถ่นิ ตกลงกนั วา่ คนลาวแยกไปจับจองท่ีทากินแถวคลองสลุด คนไทยไปทางคลองชวดลาก ข้าว และคนรามัญไปทางคลองลาดกระบัง ทากินมีอุปสรรคอย่างไร ครบปีก็จะกลับมาพบหารือกันท่ี วดั บางพลี ชาวรามัญนั้นจะมาเฉพาะฤดูทานาทุกปี ขบวนเรือท่ีจะมารับพวกพ้องในวันออกพรรษามี ความร่ืนเริง มีกระจับป่ีสีซอ ร้องราทาเพลงกันสนุกสนาน ถึงที่นัดหมายวัน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ที่วัด หลวงพอ่ โตบางพลี ชาวรามญั ปากลดั เป็นผ้เู คร่งครัดในพระพุทธศาสนา เมื่อกลับบ้านถิ่นเดิมก็จะไป เกบ็ ดอกบัวที่ตาบลบางพลีใหญ่ซึ่งมีมากมายเพ่ือจะไปทาบุญถวายดอกบัววัดที่มีการเทศคาถาพันส่ง ท้ายพรรษาประจาปี ครั้งแรกก็เก็บกันเอง ต่อมาชาวอาเภอบางพลีเห็นว่าชาวรามัญมาเก็บดอกบัว จานวนมากทุกปี ไปไหว้พระคาถาพันที่วัดปากลัดพระประแดง เป็นกุศลอย่างยิ่ง จึงมาช่วยเก็บ ดอกบัวเตรียมไว้ให้ที่วัดบางพลี และฝากไปไหว้พระคาถาพันเทศมหาชาติงานใหญ่ด้วยตามนิสัยคน ไทยคนลาวท่ชี อบเออื้ เฟ้ือเผอ่ื แผ่มจี ติ เปน็ บญุ เป็นกศุ ล สง่ เสริมการทาดี ก่อนไปชาวมอญก็จะพายเรือ ไปล่าลาตามบ้าน ชาวบ้านไทย-ลาวก็จะฝากบัวไปทาบุญเพิ่มเติมอีกด้วย ระยะแรกก็ส่งให้กับมือ มี การไหว้ขอบคุณ ต่อมาก็เกิดความคุ้นเคยถ้าใกล้ก็ส่งถึงมือ ถ้าไกลก็โยนให้ จึงเรียกว่า “รับบัว โยน บัว” และเมอื่ กลบั ขบวนเรือกจ็ ะแขง่ ขนั พาย-แจวกันสนกุ สนานเปน็ ประจา เมอื่ การตั้งถิ่นฐานมั่นคงขึ้นชาวรามัญต่างถ่ินท่ีมารับบัวจากชาวบางพลีค่อย ๆ ลดลง เกิด ตาบลคนมอญสมิงราชาเทวะ สมิงเทวะอักษร เป็นชุมชนใหญ่ท่ีบางแก้ว พ.ศ. ๒๔๐๐ นายน้อยหมื่น ราชร่วมกบั ศรทั ธาชาวบ้านสร้างวัดราชศรัทธารามข้ึนปัจจุบันคือวัดบางพลีใหญ่กลาง พวกลาวสร้าง วัดบางลาว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๔ วันข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ออกพรรษา กระจับปี่สีซอในท้องน้ายัง คึกคักติดต่อกันมาหลายปี พุทธศักราช ๒๔๔๘ การเลิกทาสสมบูรณ์แล้ว พวกมอญปากลัด ลาว คลองมหาวงศ์ที่มาทานาที่บางพลี ได้จับจองท่ีดินเป็นของตนเอง มีทับกระท่อม เรือนเคร่ืองผูกเป็น สิทธ์ิของตนเองมากข้ึน เป็นชุมชนขึ้นมีวัดราษฎร์ศรัทธาธรรมไว้ทาบุญปฏิบัติธรรมตามศรัทธา ไม่ ตอ้ งไปทาบญุ ท่ีวัดปากลดั พระประแดงเช่นเคย เมื่อเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เสียงกระจับป่ีสีซอกลองรามะนาจากคนต่าง ตาบล ค่อย ๆ เงียบลง คนในท้องถ่ินท่ีเคยเก็บดอกบัวไว้ร่วมทาบุญมายาวนานครั้นไม่มีคนมารับบัว ต่างก็ออกแจวพายรับบัวตามบ้านริมน้า นามาไหว้หลวงพ่อโตพระศักดิ์สิทธิ์ในวัดของตนแทน เร่ิม สืบทอดประเพณีรบั บวั ไหว้หลวงพอ่ โตวดั บางพลเี ปน็ งานของท้องถน่ิ โดยเฉพาะ การจัดงานประเพณีรับบัว ต่อมามีการเพ่ิมสาระและให้มีความหมายย่ิงขึ้น พ.ศ.๒๔๖๗ อาแดงจั่นชาวบ้านผู้มีฐานะกับพวกศรัทธาธรรมพร้อมใจกันสานไม้ไผ่ขัดแตะแบบสุ่ม รูปองค์พระ ปฐมเจดีย์ข้ึนที่วัดบางพลีใหญ่ใน ปิดกระดาษระบายสีทองสมมติเป็นธาตุเจดีย์บรรจุพระธาตุของ พระพุทธเจา้ ตง้ั ในเรือแหไ่ ปตามลาคลองรบั บวั บูชาจากชาวบ้าน นามาหม่ ผา้ แดงจัดงานฉลองท่ีวัด มี มหรสพสมโภช มคี นมาเที่ยวเตรช่ มงานกนั มากตดิ ต่อกนั หลายปี นายช้ืน วรศิริ นายอาเภอบางพลี พ.ศ.๒๔๗๘-๒๔๘๑ พบว่าประเพณีรับบัวมีทีท่าว่าจะ สูญ จงึ หารอื กบั พ่อคา้ คหบดแี ละชาวบ้าน ทางราชการจะเข้ามาส่งเสริม จึงได้เพ่ิมวันจัดงานข้ึนอีก ๑ วัน เร่ิมงานวัน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ เป็นวันแต่งเรือลอยลาแห่แหนไปในคลองสาโรง ผ่านหมู่บ้านผ่าน วัดสาคัญ ไปหยุดที่ท้ายวัดบางพลีใหญ่กลางเพ่ือชักชวนให้คนชม ในเช้าวันข้ึน๑๔ค่า เดือน ๑๑ เร่ิม ขบวนการรับบัว มีการประกวดเรือสวยงาม เรือขบขัน เรือมีความหมาย ต่อมา นายไสว โตเจริญได้

-๙- เอาไม้ไผ่มาสานเป็นโครงพระพุทธรูปหลวงพ่อโตวัดบางพลีใหญ่ใน ปิดหุ้มด้วยกระดาษทองนามาต้ัง บนเรือสังเค็ต แห่ไปตามลาคลองรับบัว คร้ังน้ันได้เริ่มมีการทาข้าวต้มมัดแจกแก่แขกต่างบ้านแก้หิว งานรับบัวสมัยน้ันครึกครื้นสนุกสนานมาก กานันผู้ใหญ่บ้าน ชาวบางพลีสามัคคี ช่วยกันหาดอกบัว จัดสุราอาหารไว้ต้อนรับแขกต่างบ้าน จัดเรือล่องไปตามลาคลองร้องราทาเพลงร่ืนเริงสนุกสนานกัน จนรุ่งข้ึน ๑๔ค่า ก็จะล่องเรือแห่องค์พระไปรับดอกบัวที่ชาวบ้านเตรียมไว้บูชา แล้วก็พากันไปร่วม ถวายดอกบัวใหพ้ ระไปทาพิธสี งฆ์วนั ปวารณาออกพรรษา นายเช่ือม สิริสนธ์ เป็นนายอาเภอบางพลี ปี พ.ศ.๒๔๘๒-๒๔๙๐ จัดเรือรับบัวโดยให้มี มหรสพกลางแจ้งทว่ี ดั บางพลใี หญใ่ น วดั บางพลีใหญก่ ลางและหนา้ ทว่ี ่าการอาเภอบางพลีฉลองตลอด คืน จดั ให้มตี ลาดนดั ประกวดสนิ ค้าเกษตรและประกวดนางงามขึน้ มาถึงปี พ.ศ.๒๔๙๗ พระครูพิศาลสมณวัตต์ เจ้าอาวาสวัดบางพลีใหญ่ในได้ทารูปหล่อ หลวงพอ่ โตจาลองโดยใชโ้ ลหะอลมู เิ นยี มเบาเคลื่อนยา้ ยได้งา่ ยนาลงเรอื แห่แหนไปตามลาคลองสาโรง ในวันข้นึ ๑๓ คา่ เดือน ๑๑ เป็นการประกาศข่าวงานรบั บวั ประเพณีแหห่ ลวงพ่อโตก่อนวันงานรับบัว ๑ วัน เป็นแบบแผนสืบมาจนถึงทุกวันนี้ ประชาชนท่ีอยู่สองฝ่ังคลองสาโรงที่ขบวนแห่หลวงพ่อโต ผ่านจะประดับธงทิว ตกแต่งบ้านเรือน และตั้งโต๊ะหมู่บูชาต้อนรับ พอเข้าวันข้ึน ๑๔ ค่า เวลา ๐๖.๐๐ น.-๑๑.๐๐น. เดือน ๑๑ เป็นวันรับบัว จากผู้มาเท่ียวงานบุญ ชมประกวดเรือประเภทต่างๆ ของตาบลใกลเ้ คยี ง เริ่มมาต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๐๐ โดยใช้สนามบริเวณหนา้ ท่ีว่าการอาเภอเป็นเวทีจัดงาน เป็นแบบแผนมาจนทุกวันน้ี ๑.๓ สถานภาพองค์ความรู้ทีม่ ีอยู่ “บางพลี” เป็นตาบลประวัติศาสตร์ ตามตานานกล่าวถึงบางพลีไว้ว่า สมเด็จพระนเรศวร มหาราช ได้ทรงยกทัพไปรบเขมร ทรงพักทัพทาพิธีตั้งศาลบัดพลีที่ตาบลนี้ คลองสาโรงเป็นคลอง ยุทธศาสตร์ ชาวขอมขุดไว้ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๑๗๐๐ เช่ือมกับแม่น้าเจ้าพระยาที่ตาบลสาโรง กับแม่น้า บางปะกงท่ีตาบลท่าสะอ้าน เม่ือต้นกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒-๓ ได้ทรงโปรดให้สร้างป้อมปืน ป้องกันข้าศึกท่ีจะมาทางทะเล พระองค์ทรงโปรดให้ สร้างยุ้งฉางไว้เก็บข้าวเป็นเสบียง และโปรดให้ มอญพวกเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) พาทหารมอญอาสาปทุมธานี ซ่ึงอพยพมาจากเมาะตะมะมาอยู่ ประจาปอ้ มที่พระประแดง ทรงพระราชทานที่ดนิ บางพลีให้ทานาเอาข้าวขึ้นยุ้งฉางเป็นเสบียงไว้ต่อสู้ ข้าศึก ชาวมอญกลมุ่ น้ีได้นาครอบครวั ข้าทาสบรวิ ารมาดว้ ย ทพ่ี านักชาวมอญกลุ่มนี้ได้จัดไว้ให้ท่ีพระ ประแดง ซ่ึงมีลักษณะเป็นที่สวน แต่เนื่องจากที่ดินท่ีพระประแดงมีที่ราบทานาได้น้อย เจ้าพระยา มหาโยธา (เจ่ง) จึงให้มอญบริวารออกไปทานาที่บางพลี บางแก้ว ในขณะน้ัน บริเวณบางพลี บาง แก้วน้ีมีคนไทยพื้นถ่ินอาศัยอยู่บ้างแล้วประปราย ซ่ึงก่อนหน้านั้นที่บางปลา กลุ่มชาวลาวอาสา ปากนา้ ก็ถูกกวาดต้อนมาจากเวียงจันทน์สมัยเจ้าอนุวงศ์ มาพักอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ดังน้ันท้ังกลุ่มชาว มอญและกลุ่มชาวลาว จึงต่างจับจองท่ีดินทานาในบางพลีนับแต่นั้นมา (พระราชพงศาวดารกรุง

-๑๐- รัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๓ ฉบับพระยาทิพากรวงศ์, หน้า ๓๖๒-๓๖๓ อ้างไว้ในสมชาย ชูประดิษฐ์, ๒๕๕๕) บางพลีเป็นที่ลุ่มมีบัวหลวงขึ้นอยู่มากมาย คนมอญพระประแดงท่ีมาทานาบางพลีน้ันเมื่อ เสรจ็ หนา้ นา ออกพรรษาก็จะกลบั บ้านท่ีพระประแดง ก่อนไป ก็เก็บดอกบัวใส่เรือไปด้วย เอาไปไหว้ หลวงพอ่ โตวดั บางพลีและอีกส่วนหน่ึงเอาไปไหว้พระคาถาพันตามวัดต่าง ๆ ที่ตนนับถือ เม่ือคนไทย คนลาว ท่ีบางพลีรู้วัตถุประสงค์ ก็ร่วมกิจกรรมทาดี ทาบุญด้วย เก็บดอกบัวฝากไปทาบุญไหว้พระ เป็นอนุโมทนามัย ทาติดต่อกันมาหลายปี จนแพร่หลายไปทั้งตาบล ถึงเทศกาลก็ต้องเก็บบัวฝากไป ไหว้พระ เป็นเทศกาลเย่ียมเยียนซึ่งกันและกันด้วย เรือท่ีมารับบัวก็พัฒนาขึ้น ต่อมาสมิงราชาเทวะ นามอญพระประแดงมาปักหลักปักฐานท่ีบางพลีมากข้ึน เรือท่ีรับบัวไปไหว้พระที่พระประแดงก็ค่อย ๆ หมดลง กลายมาเปน็ รับบัวไปไหว้หลวงพ่อโตวัดบางพลีแทน ในปี พ.ศ.๒๔๖๗ อาแดงจั่นชาวบ้านมีฐานะใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น นาไม้ไผ่ขัดแตะสร้างพระ ประถมเจดีย์ ปิดกระดาษทอง แห่ไปตามลาน้า รับดอกบัวจากชาวบ้าน ถือเป็นการฉลองพระธาตุ พระพุทธเจ้า ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ นายไสว โตเจริญ เอาไม้ไผ่มาขึ้นโครงเป็นพระพุทธรูปปิด กระดาษทอง ต้ังบนเรอื สังเค็ต สมมตเิ ป็นหลวงพอ่ โต แห่ตามลาคลองรับบัวบูชา ต่อมาแต่ละตาบลก็ มีการจัดตกแต่งเรือแห่ประกวดกัน การแห่ทางเรือมีการตกแต่งเรือสวยงามข้ึน กลายเป็นแหล่ง ทอ่ งเทยี่ วทางนา้ ท่รี กั ษาส่งิ แวดล้อมไวอ้ ย่างดีมานบั ร้อยปี (กรมศิลปากร, อา้ งไวใ้ นสมชาย ชูประดิษฐ์ , อา้ งแล้ว) ตานานรับบัวไม่มีประวัติศาสตรบ์ ันทกึ ไว้ ประชาชนสามัญในชมุ ชนตา่ ง ๆ เก็บประวัติศาสตร์ ของตนในรปู ของนิทาน-นยิ ายหรือตานาน และมกั จะเล่าสืบเนื่องกนั มาโดยไม่ได้จดไว้เป็นลายลักษณ์ อกั ษร สว่ นการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ และจดผลการศึกษาน้ันไว้ในรูปวรรณกรรมหลากชนิดน้ัน เป็น สิ่งท่ีชนช้ันสูงไทยเท่าน้ันได้ทามา คือชนชั้นนาทางศาสนา และชนชั้นนาทางการเมือง ในการ พิจารณาการกระทาทางสังคมใด ๆ ก็ตาม จึงจาเป็นท่ีจะต้องพิจารณาสภาวะแวดล้อมทางสังคมท่ี เกิดแก่การกระทานั้น ๆ ด้วย ตานานรับบัวบางพลีก็เช่นเดียวกัน มีมุขปาฐะเป็นเกณฑ์ มีการบันทึก แบบย่อ ๆ แบบราชสานัก และแบบประชาชนสามัญ ท่ีใช้อ้างอิงกันไปมา ทั้งน้ีเพื่อเป็นการเคารพ เอกสารต้นแบบ และจะนาสาระจากมุขปาฐะมาอธิบายเพ่ิมเติม เพื่อจะช่วยให้คติที่มาและวิถีชีวิต ชุมชนอันเป็นแหลง่ เกิดของของประเพณีชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ เทา่ นน้ั ลาดบั เหตกุ ารณ์สาคญั ท่เี กยี่ วข้องกับบางพลี พทุ ธศกั ราช ๒๓๑๗ มอญเมาะตะมะ พญาเจ่ง อพยพมาพึ่งพระเจา้ ตากสนิ โปรดใหอ้ ยู่ท่ี ปทมุ ธานี ๔๐,๐๐๐ คน รัชกาลท่ี ๑ (๖ เมษา ๒๓๒๕ – ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๒ (๗ ก.ย. ๒๓๕๒ – ๒๑ ก.ค. ๒๓๖๗) พทุ ธศักราช ๒๓๓๙ สุนทรภ่อู ายุ ๒๐ ปี ไปเยย่ี มบิดาท่ี อ.แกรง ผา่ นบางพลี พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๘ รชั กาลที่ ๒ พระพุทธเลิศหล้า เสดจ็ ประพาสเมืองสามโคก มอญถวาย ดอกบวั

-๑๑- พทุ ธศกั ราช ๒๓๕๒ ท้าวไชยอปุ ฮาด อพยพคนมาพ่ึงรชั กาลที่ ๒ โปรดให้ไปต้ังถิ่นฐานท่ี คลองมหาวงศ์ รชั กาลที่ ๒ ทรงสรา้ งเมืองนครเขื่อนขันธ์ อพยพมอญมาจากประทุมธานี รชั กาลที่ ๓ (๒๑ ก.ค. ๒๓๖๗ – ๒ เม.ย ๒๓๙๔) พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๘ รชั กาลท่ี ๓ โปรดให้ย้ายครัวรามญั ปทมุ ธานี มาอยู่นครเขื่อนขนั ธ์ เกณฑ์ คนทานาบางพลี พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๗ รชั กาลที่ ๓ ทรงสร้างวดั บางพลีใหญก่ ลาง (เดิมช่ือวัดนอ้ ยปทมุ คงคา เพราะขดุ สระปลูกบวั ไว้มาก ทด่ี นิ เปน็ ของนายช้าง หมน่ื ราษฎร์ นายนอ้ ย หม่ืนราษฎร์ เป็นผู้สร้าง ชาวบ้านเรยี กวัดกลางเพราะตั้งระหว่างวดั บางพลี ใหญ่ใน กับวดั คงคาราม (วดั ยายหนู) พทุ ธศักราช ๒๓๘๓ รชั กาลที่ ๓ ทรงสร้างวัดหนามแดง ตาบลบางแก้ว นายแดง ถวายที่ดนิ สร้างวัดหนามแดง ที่ราบลุ่มริมคลองสาโรง หมู่ ๓ ตาบลบางแกว้ เนอ้ื ท่ี ๑๕ ไร่ สรา้ งอโุ บสถเมือ่ พทุ ธศักราช ๒๔๖๐ (อ้างองิ หน้า ๙๓ เลา่ เร่ืองเมอื งบางพลี เล่ม ๒) พทุ ธศกั ราช ๒๓๗๓ ในสมัยรชั กาลท่ี ๓ เกดิ ไขป้ ่วงใหญ่ มาแตป่ ากนา้ (ระบาด ๑๕ วัน) คน ตายจานวนถงึ ๓๐,๐๐๐ คน คนหนีออกจากพื้นที่ ทาให้คนเบาบางลงไปมาก รัชกาลที่ ๔ (๖ เม.ย ๒๓๙๔ –๑ ต.ค. ๒๔๑๑) พทุ ธศักราช ๒๓๙๘ เซอรจ์ อหน์ เบาริง มาทาสัญญาคา้ ขาย เปลยี่ นวิธีการผลิตข้าวเพอ่ื ขาย มีเงินไถ่ตวั ไม่ต้องอย่เู วร ปลี ะ ๑๘ บาท - ๑๒ บาท แทนการเขา้ เดือน ( ตอนนี้ ปีละ ๔ เดอื น) รชั กาลท่ี ๕ (๑.ต.ค. ๒๔๑๑– ๒๓ ต.ค.๒๔๕๓) พทุ ธศักราช ๒๔๑๑ รชั กาลที่ ๕ ทรงขนึ้ ครองราชย์ราษฎร ปีมะโรง พทุ ธศักราช ๒๔๑๑ ห้ามซ้ือขายคนเปน็ ทาส พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๗ รชั กาลที่ ๕ ตราพระราชบญั ญตั ิพกิ ัดเกษียณลูกทาสลกู ไท รศ.๙๓ ลด คา่ ตัวลูกทาสทีเ่ กิดพ.ศ. ๒๔๑๑ ครบ ๘ ปเี ปน็ ไท พทุ ธศักราช ๒๔๒๐ รชั กาลที่ ๕ สร้างวดั หนองปรือ (วัดราษฎรน์ ิมติ ศรทั ธาราม) ผสู้ รา้ ง ปู่ ปัน ยา่ พลี ย่าเล็ก โตประเสริฐ อทุ ิศท่ีดนิ สรา้ งวัด พทุ ธศักราช ๒๔๒๕ รชั กาลท่ี ๕ สรา้ งวัดบางลาว (วัดราษฎรบ์ ูรณะ) ผู้สรา้ งนายจนั ทร์ จนั ทร พทุ ธศกั ราช ๒๔๒๘ รชั กาลที่ ๕ สร้างวดั กิ่งไผ่ (ก่ิงแกว้ ) ตาบลราชาเทวะ ไม่ปรากฏนาม ผู้สรา้ ง (หนา้ ๙๑ เลา่ เรอื่ งเมืองบางพลี) พทุ ธศักราช ๒๔๓๕ รชั กาลท่ี ๕ สร้างวัดสลดุ (วดั ตารอด) ตารอดเจ้าของท่ีดินเปน็ ผนู้ า สรา้ ง ช่อื สลุดเพราะติดกบั คลองสลุด พทุ ธศกั ราช ๒๔๓๘ รชั กาลท่ี ๕ ประกาศตั้งอาเภอบางพลี (ยังไม่เลกิ ทาส) พทุ ธศกั ราช ๒๔๔๘ ตราพระราชบญั ญัติทาส ยกเลกิ ท่ัวประเทศ ๑ เมษายน ๒๔๔๘ ๑.๔ การกระจายตวั หรือการปรากฏตัวของประเพณีรับบัว งานประเพณีรับบัวเป็นงานประเพณีท้องถ่ินของอาเภอบางพลี ท่ีนี่มีบึงใหญ่และมีดอกบัว ข้นึ อยูม่ ากมาย ดอกบัวเป็นดอกไม้ท่มี อี ทิ ธิพลต่อคนไทยเป็นอันมาก กล่าวคือเป็นดอกไม้ท่ีเก่ียวข้อง

-๑๒- กับพุทธศาสนา ชาวพุทธใช้ดอกบัวบูชาพระรัตนตรัย จึงได้เกิดประเพณีรับบัวข้ึนท่ีบางพลี มีความ เก่ียวเน่ืองกับความผูกพันระหว่างชาวไทย มอญ และลาว ดังที่พระครูวุฒิธรรมสุนทร (พุฒ แย้ม สบาย) เจ้าคณะอาเภอบางพลี เจ้าอาวาสวัดบางพลีใหญ่ใน ได้บันทึกประวัติประเพณีรับบัว ใน หนงั สอื ประวตั ิหลวงพอ่ โต มีความเปน็ มาต่อไปน้ี ในสมัยก่อนน้ัน ในแถบอาเภอบางพลีมีประชาชนอาศัยอยู่แบ่งเป็น ๓ พวกด้วยกัน คือ คน ไทย คนมอญ คนลาว ซ่ึงแต่ละพวกก็มีผู้ควบคุมดูแลและทามาหากินในอาชีพต่างๆ กัน ซึ่งก่อนนี้ พืน้ ทข่ี องเขตบางพลี เต็มไปดว้ ยปา่ พงดงออ้ พงแขม และพนั ธไ์ุ ม้นานาชนิดข้ึนเต็มไปหมด มีสัตว์ร้าย นานาชนิด อาศัยอยู่ทางฝ่ังใต้ของลาคลอง ซ่ึงเต็มไปด้วยป่าแสม น้าก็เป็นน้าเค็ม ทางฝั่งเหนือก็เต็ม ไปด้วยบึงใหญ่ๆ แต่ละบึงก็ลึก มีบัวหลวงขึ้นมากมาย พวกคนไทย มอญและลาว ได้ปรึกษากันว่า สมควรจะชว่ ยกนั หักร้าง ถางพงใหก้ ว้างขวางยิง่ ข้ึนเพือ่ ทาไร่และทาสวนตอ่ ไป จึงพยายามช่วยกันหัก ร้างถางพงมาจนถึงสามแยก คือ คลองสลุด ๑ คลองชวดลาดข้าว ๑ คลองลาดกระบัง ๑ คนทั้ง ๓ พวกตกลงกนั วา่ ควรจะแยกย้ายกนั ไป ทามาหากนิ กันคนละทาง เพือ่ จะไดร้ ู้ถึงภมู ิประเทศว่าด้านไหน จะหากนิ ไดค้ ล่องกว่ากนั จึงต่างก็แยกทางกันไปทามาหากิน คนลาวไปทางคลองสลุด คนไทยไปทาง คลองชวดลาดข้าว คนรามญั ไปทางคลองลาดกระบัง ๒ - ๓ ปีตอ่ มา พวกรามัญทานาไม่ได้ผล เพราะ นกและหนชู ุกชมุ รบกวนพชื ผลตา่ งๆ จนเสยี หายเป็นอันมาก จึงปรึกษาหารือกันเพื่อเตรียมตัวอพยพ กลับถิ่นเดิมทางฝ่ังปากลัด และเริ่มอพยพในตอนเช้ามืดของเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่า ก่อนไปก็พากัน เก็บดอกบัว ในบึงบริเวณนั้นไปมากมาย บอกว่าจะเอาไปบูชาพระคาถาพันท่ีปากลัด และได้ส่ังเสีย คนไทยที่รักใคร่สนิทชิดชอบกันว่าในปีต่อ ๆ ไป เม่ือถึงเดือน ๑๑ ข้ึน ๑๔ ค่า ให้ช่วยกันเก็บดอกบัว หลวงไว้ให้ที่วัดหลวงพ่อโตนี้ด้วย แล้วพวกตนจะมารับเอาดอกบัวไป ด้วยอุปนิสัยของคนไทยนั้นมี จติ ใจโอบอ้อมอารีต่อพวกพ้องและผู้อ่ืนอยแู่ ลว้ ก็ตอบตกลงว่า ยินดีที่จะจัดการเก็บดอกบัวไว้ให้ พวก รามัญจึงนาดอกบัวไปกราบนมัสการหลวงพ่อโต พร้อมทั้งขอน้ามนต์ของหลวงพ่อเพ่ือเป็นสิริมงคล แลว้ ลากลบั ถิน่ เดมิ พรอ้ มทง้ั นาดอกบวั อีกส่วนหน่ึงไปบชู าพระคาถาพันที่ปากลัดต่อไปจึงเป็นที่มีของ ประเพณรี บั บวั ด้งั เดิม (วัดบางพลใี หญใ่ น, ๒๕๕๕) ก่อน พ.ศ. ๒๔๗๘ พอถึงวันข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ (ตั้งแต่ตอนเย็นหรือค่า) ของทุกปี ชาว อาเภอเมืองสมทุ รปราการและชาวอาเภอพระประแดงจะชักชวนญาติมิตร และเพ่ือนฝูงพากันลงเรือ ลาเล็กบ้างลาใหญ่บ้าง ท้ังจ้า ท้ังพาย ท้ังถ่อ ทั้งแจว นาเครื่องดนตรี เช่น ป่ี ซอ ฉ่ิง ฉาบ กระจับ โทน รามะนา ฯลฯ ร้องราทาเพลงเป็นที่สนุกครึกคร้ืนทั้งคืน เรือบางลาพายมาตามลาแม่น้า เจ้าพระยา แต่กม็ บี างลาก็วกเข้าตามลาคลองต่างๆ จนเข้าสู่คลองสาโรงแล้วมุ่งตรงไปยังหมู่บ้านบาง พลีใหญ่ สาหรบั ชาวบางพลใี หญ่ท่ถี ือปฏบิ ตั ิกนั เป็นประจาทุกปี คือเม่ือถึงวันข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ จะต้องเตรยี มข้าวปลาอาหารไวต้ อ้ นรบั แขกผู้มาเยือน ตามแบบของนิสัยคนไทยใครมาถึงเรือนชานก็ ต้องต้อนรับ พอร่งุ เช้า ขน้ึ ๑๔ คา่ เดือน ๑๑ ชาวบางพลีจะเตรยี มหาดอกบัวหลวงไวใ้ ห้ผมู้ าเยือน ได้ นาดอกบัวส่วนหน่ึงไปนมัสการองค์หลวงพ่อโต พระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิที่วัดบางพลีใน และนาดอกบัว อีกสว่ นหน่ึงเตรียมไวใ้ ห้ชาวมอญนากลับไปบชู าพระคาถาพนั ท่ีปากลดั เช้าวนั น้ัน ชาวต่างถิ่นก็พายเรือของตนแยกย้ายกันไป เพื่อขอรับบัวจากชาวบ้านบางพลี ทั้ง สองฝงั่ คลองสาโรง การใหแ้ ละการรับกระทากันอย่างสุภาพ คือรับส่งและรับกันมือต่อมือ ก่อนจะให้ ต้องมกี ารอธิษฐานเสียก่อน และผรู้ ับก็ตอ้ งพนมมอื ไหวข้ อบคณุ ส่วนผู้ที่คุ้นเคยกันก็จะโยนดอกบัวให้

-๑๓- กันโดยไม่มีพิธีรีตอง ถือเป็นคนกันเอง การโยนดอกบัวให้แก่กันระหว่างผู้คนคุ้นเคยสนิทสนมนี้เอง เมื่อเป็นไปนานๆ เขา้ กค็ ่อยๆ กลายเป็นความนิยมกันไป การให้และการรับมือต่อมือเลยเสื่อมไป จน มกี ารนามากลา่ วกนั ในระยะหลงั ว่า “โยนบัว” แทนทีจ่ ะเรียกว่า “รับบัว” การรับดอกบัวของคนต่าง ถิ่นจากชาวบางพลี จะเร่ิมต้ังแต่เช้ามืดและไปส้ินสุดตอนช่วงสาย หลังจากนั้นชาวต่างบ้านจะทยอย กันกลับไป ตอนขากลบั น้ีเองจะมีการพายเรือแข่งขันไป ดูว่าใครจะถึงจุดหมายปลายทางก่อนกัน ไม่ ต้องมีกรรมการตัดสิน ไม่จาเพาะเจาะจงต้องเป็นเรือชนิดใด ใครพอใจจะแข่งก็ได้หรือจะเปล่ียนคู่ แขง่ ขนั ในระหว่างทางก็ไม่ห้าม ๑.๕ ชมุ ชน/กลุ่มคนที่เก่ยี วข้อง ลักษณะเฉพาะ ประเพณขี องชาตพิ ันธุ์ มอญ ลาว ไทยในตานานรบั บวั บางพลี ในสมัยก่อน ท้องถิ่นอาเภอบางพลีมีประชากรอาศัยอยู่แล้ว ๓ กลุ่ม คือคนไทยพื้นถ่ิน คน มอญ อพยพมาจากปทุมธานีมาตั้งหลักอยู่ที่พระประแดงและคนลาว แต่ละพวกก็มีผู้ควบคุมดูแล และทามาหากินในอาชีพต่าง ๆ กัน ซ่ึงแต่กอ่ นน้ี พ้นื ท่ีของเขตอาเภอบางพลีเต็มไปด้วยป่า พงอ้อ พง แขมและพันธุ์ไม้นานาชนิดเต็มไปหมด มีสารพัดสัตว์ร้ายอาศัยอยู่ ทางฝั่งใต้ของลาคลองเต็มไปด้วย ป่าแสม น้าก็เป็นนา้ เค็มทว่ มขัง เปน็ แหล่งเพาะพันธ์ุยุงมีชื่อ “ยุงปากน้า” ทางฝ่ังเหนือเต็มไปด้วยบึง ใหญ่แตล่ ะบงึ กล็ กึ มีบวั หลวงขน้ึ มากมาย พวกคนไทย คนมอญน้ันขยายตัวมาจากพระประแดงมาจับ จองทใ่ี หม่และคนลาวที่ขยายตวั มาจากคลองมหาวงศ์ มาจับจองที่ดินทากนิ ทีน่ ่ี ได้ปรึกษาหารือกันว่า สมควรจะช่วยกันหักร้างถางพงจับจองพ้ืนที่ดินให้กว้างขวางย่ิงข้ึน เพื่อทาไร่ทานาทาสวน สมัยนั้น ทีด่ นิ รกร้างวา่ งเปลา่ มาก มีคนน้อย คนทั้งสามกลุ่ม จึงพยายามหักร้างถางพงมาจนถึงมาจนถึงคลอง ซ่งึ เป็นสามแยก คอื คลองสลดุ แยกไปทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื คลองชวดลาดข้าว ทอดยาวไปทางทิศ เหนือ และคลองลาดกระบังทอดไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งสามพวกตกลงกันว่าควรจะแยกกัน ไปทามาหากินกันคนละทาง เพอื่ จะไดร้ วู้ า่ ดา้ นไหนหากินได้คล่องกว่ากัน จึงต่างก็แยกกันไปทามาหา กินกันคนละทาง คนลาวไปทางคลองสลุด คนไทยไปทางคลองชวดลาดข้าว คนรามัญไปทางคลอง ลาดกระบงั “เมื่อเดือน ๕ ปีจอ ฉศก จุลศักราช ๑๑๗๖ .....โปรดให้สมเด็จพระอนุชาธิราช กรม พระราชวังบวรสถานมงคลเป็นแม่กองเสด็จลงไปทาเมืองข้ึนท่ีปากลัด ตัดเอาท้องที่แขวง กรุงเทพมหานครบ้าง แขวงเมืองสมุทรปราการบ้าง รวมกันตั้งข้ึนเป็นเมืองใหม่อีกเมือง ๑ พระราชทานชื่อว่าเมืองนครเข่ือนขันธ์ ให้ย้ายครอบครัวมอญเมืองปทุมธานี พวกพระยาเจ่ง มี จานวนชายฉกรรจ์สามร้อยคนลงไปอยู่ ณ เมืองนครเข่ือนขันธ์ แล้วทาป้อมขึ้นข้างฝั่งตะวันออกสาม ป้อม ให้ชื่อป้อมปู่เจ้าสมิงพราย ๑ ป้อมปีศาจสิง ๑ ป้อมราหูจร ๑ รวมท้ังป้อมเก่าชื่อป้อมวิทยาคม ซงึ่ สร้างในรัชกาลท่ี ๑ ด้วยเป็น ๔ ป้อม รวมป้อมข้างฟากตะวันตกอีก ๕ ป้อม......... ป้อมเหล่านี้ชัก กาแพงถึงกัน ข้างหลังเมืองทากาแพงล้อมรอบ ตั้งยุ้งฉางตึกดินและศาลาไว้เคร่ืองศัตราวุธพร้อมทุก ประการ ท่รี มิ ลาน้าทาลูกทุ่นสายโซ่สาหรับขึงกั้นแม่น้า หลักผูกทุ่นก่อด้วยอิฐใช้ไม่ได้ จึงคิดเอาซุงมา ทาเปน็ ต้นโกรน ร้อยเก่ยี วคาบกระหนาบเป็นตอน ๆ เข้าไปปักหลักระหว่างต้นโกลนทุกช่อง ร้อยโซ่

-๑๔- ผูกทุ่นได้มั่นคงดี .... การสร้างเมืองนครเขื่อนขันธ์สาเร็จได้ตั้งพิธีฝังอาถรรพณ์ปักหลักเมืองเม่ือ ณ วันศุกร์ เดอื น ๗ แรม ๑๐ ค่า ปีกุน สัปตศก จุลศักราช ๑๑๗๗ พ.ศ. ๒๓๕๘ ครั้งน้ันกรมพระราชวัง บวรสถานมงคลทรงสร้างพระอารามขึ้นไว้ในเมือง พระราชทานนามว่า วัดทรงธรรมพระอาราม ๑ พระอุโบสถเป็นแต่เคร่ืองไม้ฝากระดาน แล้วจึงโปรดต้ังสมิงทอมาบุตรเจ้าพระยามหาโยธา(เจ่ง) ซึ่ง เปน็ พระยาพระราม น้องเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ) ซ่ึงเป็นพระยาพระรามเป็นพระยานครเขื่อน ขันธ์ รามัญราชชาติเสนาบดีศรีสิทธิสงคราม ผู้รักษาเมือง และได้ต้ังกรรมการพร้อมทุกตาแหน่ง ” (คัดจากพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒ ฉบบั พิมพ์ พ.ศ.๒๔๔๘ หนา้ ๒๓๐-๒๓๒) ทุกวันนี้คนท้องถ่ินบางพลีก็เล่าเร่ืองส้ัน ๆ เพียงว่า เกิดข้ึนเพราะคนรามัญ คนไทย คนลาว ชนสามเผา่ สามัคคีกันสร้างความรน่ื รมย์ใหช้ วี ิต ชวนกันเก็บบัวไปไหว้พระ ตามประสาจน แต่ทาด้วย ความร่นื รมย์ สนุกสนานสามคั คี เกิดภมู ปิ ัญญาหาเหตุฉลองวันออกพรรษา เลือกวันก่อนออกพรรษา ๑ วัน จนเกิดเป็นจารีตประเพณีสืบต่อกันมานับร้อยปี ถ้าไม่ทาจะรู้สึกผิด เกิดเป็นตานานเรื่องเล่า ชาววัด ไม่มี พ.ศ. ปีเกดิ ประเพณีท้องถิ่นทุกแห่ง มีประวัติศาสตร์ มีวรรณกรรม มีส่ิงบอกเหตุสภาพแวดล้อมทาง สังคม ของบรรพชนในยุคน้ัน เมื่อนามาร้อยเรียงและสืบสาว ก็จะได้ความมหัศจรรย์ของความคิด ดั้งเดิม มีการเริ่มต้นและเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ประวัติศาสตร์ที่สร้างสรรค์ประกอบวรรณกรรมที่ มอี ยู่ จะตระหนกั ถึงภมู ิปัญญา วิถีชวี ติ ท่ีควรยกย่องของบรรพชนแตล่ ะทอ้ งถนิ่ มากยิ่งขึ้น สันนิษฐาน ว่า “ประเพณีรับบัว” น่าจะเกิดข้ึนหลังปี พ.ศ. ๒๓๕๗ ที่เร่ิมต้นตรงช่วงปลาย รัชกาลที่ ๒ เมื่อทรง สถาปนาเมืองนครเข่ือนขันธ์เสร็จ โปรดให้ย้ายครัวรามัญปทุมธานีมาอยู่เมืองนครเขื่อนขันธ์พระ ประแดง คดั ชายฉกรรจ์เป็นทหารอาสาประจาป้อม และพระราชทานที่ดินตาบลบางพลีให้ชาวมอญ เปน็ ทีด่ นิ ทานาเกบ็ ขา้ วข้ึนยุ้งฉางไว้เปน็ เสบียง สะสมกาลงั ไว้ตอ่ สูข้ า้ ศกึ ที่จะมาทางทะเล ๑. กลมุ่ มอญบางพลี มอญอาสา มอญบางพลีที่ร่วมกับไทยและลาว สร้างประเพณีรับบัวอันเป็นบ่อเกิดแห่งความเป็น กัลยาณมิตร มีความสามัคคี เอ้ืออาทรและภักดีต่อกันและกันที่กล่าวถึงในบันทึกนี้ เป็นมอญที่มี ความชอบในแผ่นดินทาคุณประโยชน์ต่อราชอาณาจักรสยาม ในฐานะทหารทัพหน้าอาสาทาศึก ตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เอาชีวิตลูกผัวมาทุ่มเทเพื่อแผ่นดินสยามในสงครามใหญ่ทุกคร้ัง นอกจากนนั้ ยังอาสาต้งั บา้ นเรอื นอยู่ตามเส้นทางยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ไม่ว่า เส้นทางที่พม่าจะยกทัพเข้า มายังกรุงธนบุรี กรุงเทพ ก็มีครอบครัวมอญต้ังด่านสกัดอยู่ท่ีกาญจนบุรี มีด่านเมืองไทรโยค ด่าน เมืองทา่ ขนุน ดา่ นเมืองท่ากระดาน ดา่ นเมอื งทองผาภมู ิ เป็นต้น หรือต่างชาติจะยกเข้ามาทางทะเล ก็มีครอบครัวมอญเมืองนครเขื่อนขันธ์เป็นเมืองหน้าด่านป้องกันข้าศึกทางทะเล หรือเขมรญวน เข้า มาทาอนั ตรายกรงุ เทพ กม็ ีครอบครวั มอญ ลาว บางพลี มอญนครเข่ือนขันธ์ ต้ังสกัดเป็นด่านหน้า รับ ภัยทกุ ขย์ ากก่อนชาติอนื่ มอญจึงได้รับความโปรดปรานมากเป็นพิเศษ ได้รับพระราชทานที่ดินทากิน ทั้งท่ีนครเข่ือน ขันธ์ บางพลี บางแก้ว เป็นการตอบแทนแก่ลูกหลานอยู่ได้เป็นสุขมาจนถึงปัจจุบัน สมเด็จกรมพระ ยาดารงราชานภุ าพ ทรงพระนพิ นธ์ ตน้ สกลุ คชเสนี วา่ “สกลุ คชเสนี” เป็นมอญสืบเชื้อสายลงมาแต่ เจ้าพระยามหาโยธา (พระยาเจ่ง) ตัวพระยาเจ่งผเู้ ป็นต้นสกลุ เกิดในเมอื งมอญ เป็นเชื้อสายสกุลผู้ดีที่

-๑๕- ต้องตกอยู่ในอานาจพมา่ ด้วยเสียบา้ นเมือง แล้วจาใจทาราชการอยู่กับพม่า ตัวพญาเจ่งเองได้เคยเป็น ขนุ นางพม่า ได้เคยคมุ กองมอญสมทบทัพพมา่ เขา้ มาเมอื งไทยครงั้ ๑ เมอื่ พม่าตีเมืองหลวงพระบางใน พ.ศ. ๒๓๑๕ ปรากฏวา่ ในคร้งั น้นั พมา่ ให้พญาเจง่ เป็นผู้รักษาเมืองเชียงแสนอยู่ราว ๑ ปี ได้ชาวเมือง เชยี งแสนเป็นภรรยา เกดิ บตุ รเปน็ คชเสนฝี า่ ยเหนือ ยังมีเช้ือสายอยู่ท่ีนครลาปางและนับเป็นญาติกับ สกุลคชเสนีในกรุงเทพฯ จนบัดนี้ มอญมีความชอบน้ี เป็นกลุ่มมอญท่ีอพยพหนีร้อนมาพ่ึงเย็นต้ังแต่ คร้ังขุนหลวงพระยาตาก เม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๘ จานวน ๓๐,๐๐๐ คน เรียกว่า “มอญเก่า” มีพญาเจ่ง มืองเตรินเมาะตะมะ เป็นหัวหน้า พร้อมด้วยพญามอญ ๓ คนมี พระยาอู่คน ๑ ตละเซี่ยงคน ๑ ตละ เก็บคน ๑ ในสมัยนั้นการอพยพแรงงานเข้ามามากเป็นท่ีโปรดปรานของราชสานัก ทรงโปรดฯให้ตั้ง บา้ นเรือนอยูท่ ี่ปากเกรด็ แขวงเมอื งนนทบรุ ี พญาเจ่งไดร้ ับแต่งตัง้ เปน็ เจา้ พระยามหาโยธาในรัชกาลท่ี ๑ ความชอบของท่านมมี ากสมัยสงคราม ๙ ทพั พ.ศ.๒๓๒๘ พระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี) เป็นนาย ทัพคุมกองมอญเมืองสามโคก และพญามอญนายด่าน ๗ หัวเมือง มีด่านท่าขนุน ด่านท่ากระดาน ด่านไทรโยค ด่านทองผาภูมิ ด่านท่าตะก่ัว ด่านลุ่มลุ่มและด่านเมืองสิงห์ นายด่านทั้ง ๗ เมือง จานวน ๑๐,๐๐๐ คน ได้สร้างวีรกรรมร่วมรบกับทหารไทยในสมรภูมิสงครามทุ่งลาดหญ้า ณ เมือง กาญจนบุรีโดยคุมทหารมอญเมืองด่านร่วมกันเป็นกองโจรลักลอบตีตัดเสบียงอาหารอยู่ด้านหลัง ข้าศึก ทาการสู้รบอย่างกล้าหาญและอาสาเป็นกองหน้าไปล่อกองทหารพม่าจากท่าดินแดง อาเภอ สงั ขละบรุ ใี ห้ไล่ตามมายังชอ่ งเขากระทงิ ส่สู มรภูมลิ าดหญา้ อันมีสมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหาสุรสีหนาท เปน็ แมท่ พั หลวงคอยเผดจ็ ศึกพมา่ จนได้ชัยชนะ วรี กรรมคร้งั นั้น กองทหารมอญ เหลือรอดกลับมาแค่ ๓,๐๐๐ คนเท่านั้นเพราะทหารพม่ายกเข้ามาเปน็ แสน “ต่อมาในรัชกาลที่ ๒ มีพวก มอญอพยพมาจากเมืองเดิมอีก ๔๐,๐๐๐ คนเศษ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๗ มอญพวกน้ีเรียกว่า “มอญใหม่” โปรดให้ไปต้ังภูมิลาเนาอยู่ท่ีเมืองนครเข่ือนขันธ์บ้าง และ เมืองปทุมธานี นนทบุรีบ้าง ถัดจากนั้นก็ไม่ปรากฏว่ามีมอญเข้ามามากมายเช่นนี้อีก” (สมาคมไทย รามัญในประวัติมอญเมอื งปทมุ ธานี) มอญท่ีอพยพมาอยู่ปทุมธานี ตาบลสามโคกเมืองบัวน้ี ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ พระพุทธเลิศหล้า นภาลัยเสดจ็ เยี่ยมเยียนหมู่บ้านชาวมอญสามโคก ปากเกล็ดเนือง ๆ เดือน ๑๑ ปี พ.ศ. ๒๓๕๘ พระ พุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จประพาสเมืองสามโคกทางชลมารค เพื่อเย่ียมพสกนิกรชาวมอญ ทรง ประทับทพ่ี ลบั พลาพรอ้ มด้วยขุนนางมอญไทยท้ังหลาย มชี าวมอญมาเฝ้ารับเสด็จจานวนมาก และได้ นาดอกบัวข้ึนทูลเกล้าถวายอย่างเนืองแน่น ทรงดาริว่า เมืองสามโคกมีบัวมาก จึงพระราชทานนาม ใหมเ่ ปน็ “เมืองปทุมธานี” เม่ือวันท่ี ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๓๕๘ มีฐานะเป็นเมืองช้ันตรี ดังปรากฏใน นิราศภเู ขาทอง ซ่ึงแต่งข้ึนโดยสนุ ทรภู่ เม่ือ ปี ๒๓๗๑ ความวา่ ถึงสามโคกโศกถวิลถึงป่นิ เกลา้ พระพทุ ธเจ้าหลวงบารุงซง่ึ กรุงศรี ประทานนามสามโคกเป็นเมอื งตรี ช่ือปทุมธานีเพราะมบี วั จึงทน่ี ้ีมนี ามวา่ สามโคก เป็นคาโลกสมมติสดุ แถลง คร้นั พระโกศโปรดปรานประทานแปลง ที่ตาแหนง่ มอญมาสามภิ ักด์ิ

-๑๖- พระยาพิทักษ์ทวยหาญ เป็นขุนนางมอญ ราชทินนามของท่านบอกหน้าที่ว่า “เป็นผู้ ควบคมุ ให้ความค้มุ ครองคมุ นกั รบหรือคนกล้า ไพร่ทหารอาสามอญ” และบริเวณพลับพลาที่ประทับ ต่อมาได้สร้างเป็นวดั มอญขนึ้ คอื วดั ปทมุ ทองในปัจจบุ ัน ประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่า มอญพวกพญาเจ่งคือเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) น้ัน มีบุตรคน สาคัญคอื เจา้ พระยามหาโยธา (ทอเรยี ะ) บตุ รหลานของทา่ นเปน็ มอญทีเ่ ตบิ ใหญ่อยู่ในเขตเมืองท่ีมีบัว หลวงข้ึนอยู่มากมายมาก่อน เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ได้ทรงสร้าง เมืองนครเขื่อนขันธ์สาเร็จ เมื่อปี ๒๓๕๘ สร้างป้อมปืนป้องกันข้าศึกท่ีจะมาทางทะเลไว้หลายป้อม โปรดเกล้าฯ ให้มอญพวกพญาเจ่งท่ีอาศัยอยู่ในเขตเมืองปทุมธานีนี่เองย้ายมาเป็นกองทหารประจา เมืองเป็นทหารมอญอาสาด่านหน้า โดยเลือกเอาครอบครัวที่มีหัวหน้าเป็นชายฉกรรจ์ ๓๐๘ คน มอญเป็นพวกมั่นคงถือเคร่งทางศาสนา ที่พระประแดงนครเข่ือนขันธ์นี่เอง กรมหมื่นศักดิพลเสพ โปรดให้สร้างวัดท่ีคลองลัดหลังเมืองนครเข่ือนขันธ์ ๑ วัดชื่อวัดไพชยนต์พลเสพ และพระยาเพ็ชรพิ ชัย (เกษ) ซ่ึงเป็นนายงานสรา้ งเมืองนครเข่ือนขันธ์ สร้างวัดข้ึน ๑ วัดใกล้กับวัดไพชยนต์ ชื่อวัดโปรด เกษเชษฐาราม ยังเป็นพระอารามหลวงอยู่ทั้ง ๒วัด (พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒ เล่ม ๒ :หน้า ๑๗๒) ให้คนมอญ ได้ทาบุญทากุศลในพระพุทธศาสนา พร้อมกันนั้น ได้ พระราชทานท่ีดินให้ทากินในเขตเมืองพระประแดง บางพลี บางแก้ว และตั้งบุตร-หลานเจ้าพระยา มหาโยธา (เจ่ง) คนมอญเป็นเจ้าเมืองปกครองเมืองนครเข่ือนขันธ์ติดต่อกันมาหลายคน เริ่มต้ังแต่ พระยานครเข่ือนขันธ์รามัญราชชาติเสนาบดีศรีสิทธิสงคราม (สมิงทอมา คชเสนี) บุตรคนที่ ๓ ของ เจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี) พ.ศ. ๒๓๕๘-๒๔๐๑) พระยาดารงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี) บุตร คนท่ี ๓ ของเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ) บุตรหลานของตระกูล “คชเสนี” ได้เป็นเจ้าเมือง ตดิ ตอ่ กันถงึ ๘ คน จนถึงพระยานาคราชกาแหงประแดงบุรีนายก (แจ้ง คชเสนี) บุตรคนท่ี ๑๘ ของ ทา่ นจุ้ย (พ.ศ. ๒๔๕๒-๒๔๖๗) จงึ เปลย่ี นระบบแต่งต้งั เป็นผ้วู ่าราชการจังหวัด (กรมศิลปากร, ๒๕๐๔ ในประวัติเมอื งนครเขื่อนขนั ธ์ และประเพณเี กย่ี วกบั ชีวติ ) เซอรจ์ อห์น เบาวร์ ิง กลา่ วไว้ในบนั ทกึ เรอื่ งราชอาณาจักรและราษฎรสยาม หนา้ ๕๕ ว่า “ท่าเรือสาคัญของสยาม คือเมืองท่าปากน้า ท่ีต้ังอยู่ตรงปากแม่น้าเจ้าพระยา มีราษฎรประมาณ ๖,๐๐๐-๗,๐๐๐ คน มีปอ้ มปาราการทแ่ี ขง็ แรง ๓ แห่งอยู่ฟากแม่น้าข้างละป้อม ส่วนอีกป้อมหน่ึงอยู่ ตรงกลางเป็นศนู ย์บญั ชาการท่ีปากทางรอ่ งน้าต้นไม้ชนิดหนึ่งเรียกว่า แสม ข้ึนอยู่เต็มทั่วไปในบริเวณ ปากนา้ แสมเปน็ ไม้มลู ค่ามากเพราะเม่อื เผาเป็นถ่านไม้แลว้ ให้เปลวไฟแรงดีและติดไฟทนทานราษฎร ปากนา้ ต้องพร้อมจะถกู เรียกเข้าประจาการในปอ้ มไดท้ กุ เวลา เหนือจากปากน้าข้ึนมา ๒-๓ ไมล์ คือ ปากลัด (คือเมืองนครเขื่อนขันธ์ สร้างข้ึนในสมัยพระ พุทธเลิศหล้านภาลัย แล้วโปรดเกล้าฯให้กวาดต้อนครัวมอญพวกพญาเจ่ง (ต้นตระกูลคชเสนี) จาก ปทมุ ธานมี าต้ังบา้ นเรอื น) เมืองทร่ี าษฎรส่วนใหญ่เป็นชาวมอญ มีจานวนประมาณ ๗,๐๐๐ คนมีป้อม ปราการท้ังสองฟากของแม่น้า ป้อมทางฝั่งซ้ายมีท่ีขวางกันแม่น้าอย่างแข็งแรง ประกอบไปด้วยลวด เหล็กเส้นโตและเคร่ืองไม้ทาจากต้นเสาเป็นที่ก้ันขนาดใหญ่ ที่ใช้ขวางกั้นลาน้ามิให้เรือรบของศัตรู แลน่ ทวนน้าขึ้นไปถงึ กรุงเทพฯ มีทหารประจาการในป้อมไม่มากนัก ปากลัดเป็นแหล่งส่งไม้ฟืนให้กับ เมอื งหลวง มกี ารเพาะปลกู ขา้ วกบั พชื สวนตา่ ง ๆและตน้ จากท่ใี ชใ้ บจากมุงหลงั คาบ้านของคนจน”

-๑๗- คนมอญท่ีพาครอบครัวพวกพ้องมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่นครเขื่อนขันธ์พระประแดงนั้น ต่างก็แยกย้าย กนั ต้ังบา้ นเรอื นเปน็ หมู่ ๆ สาหรับชายฉกรรจ์ท่ีทรงโปรดให้ย้ายครอบครัวมาจากเมืองปทุมธานีเมือง บวั หลวงข้นึ มากมายนน้ั เม่ือย้ายมาก็พากันเก็บเม็ดบัวแห้งมาเป็นที่ระลึกด้วย หัวหน้าครอบครัวคน มอญที่มีอาชีพเป็นทหารมีเบี้ยหวัดเงินปี ทรงแต่งต้ังให้มียศมีบรรดาศักดิ์เป็นทหารประจากรมกอง ประจาป้อมจานวนมาก สมัยนั้นเป็นยุคศักดินา ผู้มีบรรดาศักด์ิตั้งแต่ “ขุน” หรือ “สมิง” ข้ึนไป มี ศักดินา ๔๐๐ ไร่ นับเป็นผู้ดี พ้นการเป็นไพร่ ไม่ต้องสังกัดมูลนายและมีสิทธิคุ้มครองลูกเมีย ครอบครัวพ้นการเป็นไพร่ทาสไปด้วย และในขณะเดียวกันมีไพร่ทาสท่ีอพยพตามมาอยู่ในสังกัดเป็น แรงงานไว้ทานาทาสวนในท่ีนาที่ได้รับพระราชทานด้วย กองทหารปืนใหญ่รามัญท่ีมาประจาอยู่ท่ี ป้อมปากน้าเมืองพระประแดง มี ๒๖ กอง เช่น กองพระยาปราบปัจจามิตร ควบคุมมอญหัวหน้า ครอบครวั ๒๓ คน กองสมิงรามรณเดช คุมมอญหัวหน้าครอบครัว ๒๐ คน กองสมิงปราบหงสา คุม หัวหน้าครอบครัว ๑๐ คน กองสมิงราชาเทวะคุมหัวหน้าครอบครัว ๒๗ คน กองสมิงเทวะอักษรคุม หัวหน้าครอบครวั ๑๘ คน แต่ละครอบครวั ก็มีสมาชกิ ในครวั เรือนอยู่ในระบบไพร่ทาสอีกจานวนหนึ่ง เปน็ ตน้ มอญบางพลี รุ่น ปู่ย่าตายาย เล่ากันสืบมาว่า เม่ือครั้งท่ีแยกย้ายครอบครัวมาจากปทุมธานี เมืองท่ีมีบัวเต็มท้องทุ่งน้ัน ชีวิตมีแต่ความยากลาบากที่ต้องหักร้างถางพง เพ่ือสร้างบ้านเรือน ท่ีพัก อาศัย วัสดุอย่างดีก็คือไม้ไผ่ ต้นหมาก ใบจาก หญ้าคา ที่ดินทามาหากินก็พอปลูกผักผลไม้ได้บ้าง พวกผู้ชายที่มีโอกาสเป็นทหาร จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่า คือมีเงินเดือนสาหรับใช้จ่าย การทานา คือ อาชีพหลักที่มอญเลือก เพราะมีความถนัดมาแต่เม่ือครั้งอยู่เมืองมอญหงสาวดี เม่ือมาอยู่ปทุมธานี เมอื งบัว ก็ปลกู ขา้ วตามบรรพบุรุษ เมื่อย้ายมาอยู่บางพลี ก็เอาท้ังบัวท้ังข้าวมาเป็นแบบอย่างวิถีชีวิต ไมใ่ หล้ มื กาพดื ตน เมลด็ บัวที่นามาจากเมืองปทุม ก็เอาดินหุ้มทาเป็นลูกกระสุน พบหนองน้า บริเวณ น้าขัง น้าท่วมถึงก็หว่านลงไป ไม่กี่เดือนหลังจากน้ัน ก็แตกใบอ่อน เติบโตออกดอกเต็มท้องน้า เชน่ เดยี วกบั บัวเมอื งปทุม ๒. กลมุ่ ไทยบางพลีฝพี ายชาวสยาม ไทยสยามบางพลีน้ันเปน็ คนสยามพน้ื ถนิ่ มหี นา้ ท่ี เปน็ ไพร่หลวง ไพร่สว่ ย คอื ราษฎรท่ีสังกัด มลู นาย (ไพร่หลวง เขา้ เดอื น ออกเดอื น ไพรส่ ว่ ย ใชเ้ งินแทนเขา้ เดอื น ปลี ะ ๑๘ บาท) “จึงโปรดชักเอาฝีพายบ้าง ไพร่หลวงบ้าง เลขสมกาลัง ที่ในแขวงเมืองสมุทรปราการเป็น ทหารปนื ใหญเ่ พิ่มเตมิ ข้ึนอกี ” ประวตั ิศาสตร์และสงั คมของคนรับบัวบางพลี พ.ศ. ๒๓๕๗ ปีท่ีโปรดเกล้าฯ ให้คนมอญ สามโคก ปทุมธานี และปากเกร็ด กลุ่มพญาเจ่ง เจา้ เมอื งเมาะตะมะย้ายมาประจาป้อมที่พระประแดงน้ัน สภาพสังคมยังเป็นสังคม ไพร่ ทาส คือทาส ต้องสกั เลข สังกัดมูลนาย ทั้งไทย ลาว มอญรามัญ เดิมที ต้องเข้าเดือน ออกเดือน คือ ปีหน่ึงต้องไป รบั ใช้นาย เปน็ ฝีพาย หามแคร่ ทานา 6 เดือน ในขณะไปรบั ใช้ ตอ้ งเตรียมเสบียงอาหารไปเองด้วย จนกระทั่งมาถึงรัชกาลท่ี ๒ ได้ออกพระราชกาหนดบทพระอัยการ “วันอาทิตย์ ขึ้น ๖ ค่า เดือนอ้าย ปีมะเมีย โทศก จุลศักราช ๑๑๗๒ ตรงกับพุทธศักราช ๒๓๕๓ ในรัชกาลพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

-๑๘- กฎให้ไวแ้ ก่พระสรุ สั วดี ซา้ ย ขวา ใน นอก ...... ผรู้ ักษาเมอื งผรู้ ัง้ เมอื ง หัวเมืองเอก โท ตรี จัตวา ท้ัง ปวงจงท่ัว......ด้วยสมเด็จพระธรรมิกราชา นราธิบดีศรีสุริยวงศ์ องค์ราเมศวราช...ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ว่าเลิกไพร่หลวงทั้งปวงนั้น ใครได้รับราชการเหนื่อยยากตรากตรามาหลายปี คร้ังน้ี พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเจา้ อยูห่ ัวเสดจ็ ปราบดาภิเษกใหม่ ทรงพระมหากรุณาลดหย่อนให้เข้ามารับ ราชการแต่เดือนหนึ่ง ใหอ้ อกไปทามาหากินอยสู่ ามเดอื นและให้กระทาตามพระราชกาหนดกฎหมาย น้จี งทุกประการ ถ้าผู้ใดมิฟัง จะเอาตวั เปน็ โทษ” ทด่ี ินพระราชทาน ที่ดนิ ในสมัยนัน้ ยงั รกรา้ งว่างเปลา่ อย่อู ีกมาก ประชากรมีน้อย ประกอบกับช่วงรัชกาลที่ ๒- ๓ เกิดวิกฤตกาลแรงงาน ๒ ครั้ง คือเกิดกรณี “ข้าหนีเจ้า บ่าวหนีนาย” เน่ืองมาจากไพร่ฟ้าข้า แผ่นดิน ถูกเรียกเก็บภาษีแรงมาก ถูกเกณฑ์แรงงานสร้างเมือง ขุดคลอง จนไม่มีเวลาทากินของ ตนเอง ประการ ๑ อีกประการหนึ่งเกิดโรคห่าระบาด มาจากปากน้าขึ้นไปกรุงเทพ คนตาย ๓-๔ หมนื่ คน ราษฎรพากันหลบหนีโรค “ห่า” กันหมดทาใหข้ าดกาลังแรงงาน กฎหมายลกั ษณะเบ็ดเสร็จ มาตรา ๕๒ ได้ระบุไว้ในตอนหน่ึงว่า “ ที่ในแว่นแคว้นกรุงเทพ พระมหานครศรีอยุธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย์เป็นที่แห่งพระเจ้าอยู่หัว หากให้ราษฎร ทัง้ หลายผเู้ ปน็ ข้าแผน่ ดินอยู่ จะไดเ้ ป็นท่รี าษฎรหามิได”้ (กรมศลิ ปากร พ.ศ.๒๕๒๑ หน้า ๓๘๘) จาก ข้อความในกฎหมายมาตราน้ี สันนิษฐานและตีความได้ว่า พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นเจ้าของที่ดิน ทัง้ หมดในพระราชอาณาจักรแตเ่ พียงพระองค์เดียว จะพระราชทานสิทธิในการถือครองแก่ใครผู้ใดก็ ได้และทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจที่จะเรียกท่ีดินคืนเม่ือไรก็ได้ โดยไม่ต้องจ่ายค่าเวนคืน (ศุภรัตน์ เลิศ พาณิชย์กลุ ในหาอยูห่ ากนิ เพ่ือคา้ เพอ่ื ขาย เศรษฐกิจไทย รัตนโกสนิ ทร์ ตอนตน้ , หนา้ ๓๒) ๓. กลมุ่ คนลาวเชือ้ วงศ์ ลาวที่มาร่วมสร้างตานานรับบัว-โยนบัวท่ีบางพลีนั้นไม่ใช่ลาวธรรมดา เป็นลาวเช้ือวงศ์ กษัตริย์ โอรส-ธิดาของท่านถูกราชภัยกวาดตอ้ นมาจากเวียงจันทน์ ลาวที่มาร่วมสร้างตานาน “รับบัว – โยนบัว” ที่บางพลีน้ันอพยพมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๕๒- ๒๓๖๗ เป็นลาวมรี ะดับ มีภูมิปัญญาความรู้ เป็นลาวเจ้าเมืองและลาวราชสานักเวียงจันทน์เชื้อสาย กษัตริย์ลาวพระเจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์ ถูกกวาดต้อนมาให้มาป้องกันเมืองปากน้าให้ตั้ง ภมู ลิ าเนาท่คี ลองมหาวงศแ์ ละพระราชทานทดี่ นิ ทานาทบี่ างพลี “พ.ศ. ๒๓๗๐-๒๓๗๑ กองทัพไทยตีได้นครเวียงจันทน์ จับตัวเจ้าอนุได้กวาดต้อนครัวเมือง เวียงจันทน์สง่ มากรงุ เทพฯ เดอื น ๑๑ ขึ้น ๑๓ คา่ จลุ ศกั ราช ๑๑๙๐ (พ.ศ. ๒๓๗๑) ไดต้ วั ราชวงศ์เจ้า เหม็น เจา้ ขันติยะ อคี าปล้องภรรยาอนุ อีบุษบาภรรยาอนุ อีคาแพง อีหนู อ้ายหนู บุตรอนุ อีเชียงคา พ่ีราชวงศ์ อบี ัวภรรยาราชวงศ์ อที องดี ไพร่ ๓ คน ช้าง ม้า ๕ ม้า เมื่อเจ้าอนุถูกทรมานป่วยเป็นโรค ลงโลหติ ตายโปรดให้เอาศพเสียบประจานไว้ท่ีสาเหร่ การที่จะประหารชีวิตบุตรหลานญาติพ่ีน้องน้ัน ก็สงบเงียบ โปรดใหเ้ จ้าเหม็น พาญาติพี่น้องไปอยคู่ ลองมหาวงศ์ พวกลาวอาสา”

-๑๙- ลาวท่ีอพยพมาพงึ่ พระบรมโพธสิ มภาร ไดร้ บั พระราชทานที่ดนิ ทากนิ ท้ังทากินและเกณฑ์เสบียงขึ้นยุ้ง ฉาง ที่บางพลี มี ๒ พวก พวกหน่ึงหนีราชภัยมา คือพวกพระบรมราชาเจ้าเมืองนครพนม อีกพวก หนึ่งคือเชอื้ สายเจา้ อนวุ งศ์ เวยี งจันทน์ ๔. กลุ่มรามญั นครเขื่อนขนั ธ์ “ในปมี ะเสง็ เอกสก (พ.ศ. ๒๓๕๒) พระบรมราชาเจา้ เมอื งนครพนมวิวาทกบั ทา้ วไชยอุปฮาด พวกบา่ วไพร่อุปฮาดไม่ยอมอยู่ในบังคับบัญชาพระบรมราชา อุปฮาดจึงพาสมัครพรรคพวกประมาณ ๒,๐๐๐ คนเศษ อพยพมาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภารในกรุงเทพมหานคร มาถึงกรุงเมื่อเดือนย่ี โปรด ให้ตั้งบ้านเรอื นอยู่ ณ คลองมหาวงศ์ เมอื งสมุทรปราการ และให้ทาบัญชีสารวจ ได้ชายฉกรรจ์ ๘๖๐ คน ทรงพระกรุณาโปรดให้ท้าวอินทสารบุตรผู้ใหญ่ (ของ) อุปฮาด เป็นพระยาปลัดเมือง สมุทรปราการ ดูแลควบคุมพลพวกน้ันต่อมา” (กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒ (โรงพมิ พส์ ะพานยศเส) ๒๔๕๙ หน้า ๖๗) คนรามัญที่ถูกเกณฑ์มาประจาป้อมท่ีพระประแดงน้ันไพร่ทาสบริวารมีความชานาญในการ ทานา พระประแดงฝ่ังซ้ายที่เป็นกระเพาะหมูปัจจุบัน เป็นท่ีสวนมีที่ราบทานาน้อย เมื่อได้รับ พระราชทานทดี ินบางพลี ให้เป็นที่ทากิน คร้ันถึงฤดูทานา เดือน ๓ เดือน ๔ ฝนปรอยเม็ด สมิงมอญ หวั หน้าจะพาขบวนเรือบริวารบรรทุกเสบียงอาหาร ไปต้ังกองทานาท่ีบางพลี ขบวนเรือแจวพายเข้า คลองสาโรงระยะทางมากกวา่ ๒๐ กิโลเมตร เมื่อส่งไพร่ทาสให้อยู่ทานาแล้วก็กลับ จะมารับใหม่เม่ือ การทานาเสร็จส้ิน ซ่งึ ตรงกับฤดอู อกพรรษา บางพลีน้ันมีทั้งคนไทยด้ังเดิมอยู่แล้ว มีคนลาวอพยพมา ใหม่ เมื่อมีกาลังไพร่พลเพิ่มขึ้นจึงตกลงทิศทางท่ีจะหักร้างถางพง ปราบท่ีดินทานาให้กว้างขวาง ออกไปอีก ด้วยน้าใจไมตรีคนไทยเจ้าของท้องถ่ินตกลงกันว่าคนลาวแยกไปจับจองท่ีทากินแถว คลองสลุด คนไทยไปทางคลองชวดลากข้าว และคนรามัญไปทางคลองลาดกระบัง ทากินมีอุปสรรค อย่างไร ครบปกี จ็ ะกลบั มาพบหารือกันทว่ี ดั บางพลี ชาวรามัญนั้นจะมาเฉพาะฤดูทานาทุกปี ขบวนเรือท่ีจะมารับพวกพ้องในวันออกพรรษามี ความรื่นเริง มีกระจับป่ีสีซอ ร้องราทาเพลงกันสนุกสนาน ถึงท่ีนัดหมายวัน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ท่ีวัด หลวงพ่อโตบางพลี ชาวรามัญปากลัด เป็นผู้เคร่งครัดในพระพุทธศาสนา เม่ือกลับบ้านถิ่นเดิมก็จะ ไปเกบ็ ดอกบวั ทตี่ าบลบางพลีใหญ่ ซ่งึ มีมากมายเพื่อจะไปทาบุญถวายดอกบัววัดที่มีการเทศคาถาพัน ส่งท้ายพรรษาประจาปี ครง้ั แรกกเ็ ก็บกันเอง ต่อมาชาวอาเภอบางพลีเห็นวา่ ชาวรามัญมาเก็บดอกบัว จานวนมากทุกปี ไปไหว้พระคาถาพันท่ีวัดปากลัดพระประแดง เป็นกุศลอย่างย่ิง จึงมาช่วยเก็บ ดอกบัวเตรียมไว้ให้ที่วัดบางพลี และฝากไปไหว้พระคาถาพันเทศมหาชาติงานใหญ่ด้วยตามนิสัยคน ไทยคนลาวที่ชอบเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่มีจิตเป็นบุญเป็นกุศล ส่งเสริมการทาดี ก่อนไปชาวมอญก็จะพาย เรอื ไปร่าลาตามบ้าน ชาวบ้านไทย-ลาวก็จะฝากบัวไปทาบุญเพ่ิมเติมอีกด้วย ระยะแรกก็ส่งให้กับมือ มกี ารไหว้ขอบคณุ ตอ่ มาก็เกิดความคุ้นเคยถ้าใกล้ก็ส่งถึงมือ ถ้าไกลก็โยนให้ จึงเรียกว่า “รับบัว โยน บัว” และเมอ่ื กลับ ขบวนเรือก็จะแขง่ ขันพาย-แจวกันสนุกสนานเป็นประจา เม่ือการต้ังถ่ินฐานม่ันคงขึ้นชาวรามัญต่างถ่ินที่มารับบัวจากชาวบางพลีค่อย ๆ ลดลง เกิด ตาบลคนมอญสมิงราชาเทวะ สมงิ เทวะอกั ษร เป็นชมุ ชนใหญท่ ีบ่ างแกว้ พ.ศ. ๒๔๐๐ นายน้อย หมื่น ราชรว่ มกับศรัทธาชาวบา้ นสร้างวัดราชศรัทธารามขึ้นปัจจุบันคือวัดบางพลีใหญ่กลาง พวกลาวสร้าง

-๒๐- วดั บางลาว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๔ วันขึน้ ๑๓ ค่าเดือน ๑๑ ออกพรรษา กระจับปี่สีซอในท้องน้ายังคึกคัก ติดต่อกันมาหลายปี พุทธศักราช ๒๔๔๘ การเลิกทาสสมบูรณ์แล้ว พวกมอญปากลัด ลาวคลอง มหาวงศ์ท่ีมาทานาท่ีบางพลี ได้จับจองท่ีดินเป็นของตนเอง มีทับกระท่อม เรือนเคร่ืองผูกเป็นสิทธ์ิ ของตนเองมากขนึ้ เป็นชุมชนขึ้นมีวัดราษฎร์ศรัทธาธรรมไว้ทาบุญปฏิบัติธรรมตามศรัทธา ไม่ต้องไป ทาบญุ ที่วดั ปากลดั พระประแดงเช่นเคย

บทที่ ๒ สาระประเพณรี ับบัว ๒.๑ ชือ่ ทป่ี รากฏในทอ้ งถิ่น หรือชือ่ เทยี บเคียง ประเพณีรับบัว/ประเพณโี ยนบัว คาขวัญอาเภอบางพลี รว่ มบุญบวั หลวง หวานมะมว่ งน้าดอกไม้ ไหว้หลวงพ่อโตศักดส์ิ ิทธิ์ ยอดปลาสลิดบางพลี ผ่องปฐพสี วุ รรณภมู ิ (เนาวรัตน์ พงษ์ไพบลู ย์ ประพนั ธ์) เพลงทุง่ บางพลี พีม่ าเมืองกรุงจติ มุ่งมาเตือนขวัญตา เรอื่ งรกั เราที่บ้านนาสัญญาน้องคงลมื สิน กลิน่ กองฟางหลงั ควายและไออุ่นดิน ทุ่งบางพลีท่ีเปลย่ี วถวลิ ปลกู เรือนหอรอกานดา แว่วเพียงเลาเลาวา่ เจ้าได้เปน็ เทพี เกยี รติสงู ลอยศักดศิ์ รีสงั คมนิยมทั่วหนา้ พีเ่ ดินทางแสนไกลมาตามแก้วตา เจ้ากลบั ท้าผยองเหมือนดังดอกฟา้ น่แี หละหนาคนมหี ัวใจ ทรามเชยใจนอ้ งนันเคยคิดหรอื เปล่า ชอื่ เสียงอันใดเลา่ จะยืนฝืนนจิ จงั ได้ ลมร้าเผยปากสังคมชมกันไป นอ้ งเจ้าคงเหลงิ ใจระเริงเลน่ ในวิมานฉิมพลี ทุ่งนาบางพลแี ตก่ ่อนเคยมเี สอื ร้าย บดั นีมนั สนิ ลายวอดวายนอ้ งจงเชื่อพ่ี ทรัพยใ์ นดนิ สินในน้าเรามากมี กลบั บ้านนานะเจา้ คนดีเพ่ือเป็นศรีบางพลีขวญั เรอื น

-๒๕- (บทประพันธ์ เนอื ร้อง ทา้ นอง โดย ม.ร.ว ถนดั ศรี สวสั ดวิ ัตน์) เป็นงานประเพณีท้องถิ่นของอ้าเภอบางพลี ท่ีน่ีมีบึงใหญ่และมีดอกบัวขึนอยู่มากมาย ดอกบัวเป็นดอกไม้ท่ีมีอิทธิพลต่อคนไทยเป็นอันมาก กล่าวคือเป็นดอกไม้ที่เก่ียวข้องกับพุทธ ศาสนา ชาวพุทธใช้ดอกบัวบูชาพระรัตนตรัย จึงได้เกิดประเพณีรับบัวขึนที่บางพลี มีความ เก่ียวเน่ืองกับความผูกพันระหว่างชาวไทย มอญ และลาว ดังพระครูวุฒิธรรมสุนทร (พุฒ แย้ม สบาย) เจ้าคณะอ้าเภอบางพลี เจ้าอาวาสวัดบางพลีใหญ่ใน ได้บันทึกประวัติประเพณีรับบัว ใน หนังสอื ประวตั ิหลวงพอ่ โต มคี วามเป็นมาตอ่ ไปนี ในสมัยก่อนนัน ในแถบอ้าเภอบางพลีมีประชาชนอาศัยอยู่แบ่งเป็น ๓ พวกด้วยกัน คือ คนไทย คนมอญ คนลาว ซึ่งแต่ละพวกก็มีผู้ควบคุมดูแลและท้ามาหากินในอาชีพต่างๆ กัน ซึ่ง ก่อนนี พืนท่ีของเขตบางพลี เต็มไปด้วยป่าพงดงอ้อ พงแขม และพันธุ์ไม้นานาชนิดขึนเต็มไป หมด มสี ัตวร์ า้ ยนานาชนดิ อาศัยอยู่ ทางฝั่งใต้ของล้าคลองก็เต็มไปด้วยป่าแสม น้าก็เป็นน้าเค็มท ทางฝั่งเหนือก็เต็มไปด้วยบึงใหญ่ๆ แต่ละบึงก็ลึก มีบัวหลวงขึนมากมาย พวกคนไทย มอญและ ลาว ได้ปรึกษากันว่าสมควรจะช่วยกันหักร้างถางพงให้กว้างขวางย่ิงขึน เพื่อท้าไร่และท้าสวน ต่อไป จึงพยายามชว่ ยกนั หกั รา้ งถางพงมาจนถึงสามแยก คือ คลองสลุด ๑ คลองชวดลาดข้าว ๑ คลองลาดกระบัง ๑ คนทัง ๓ พวก ตกลงกนั ว่าควรจะแยกยา้ ยกันไปทา้ มาหากินกันคนทาง เพื่อ จะได้รู้ถึงภูมิประเทศว่าด้านไหนจะหากินได้คล่องกว่ากัน จึงต่างก็แยกทางกันไปท้ามาหากิน คน ลาวไปทางคลองสลุด คนไทยไปทางคลองชวดลาดข้าว คนรามัญไปทางคลองลาดกระบัง ๒ - ๓ ปีตอ่ มา พวกรามัญท้านาไม่ได้ผล เพราะนกและหนูชุกชุมรบกวนพืชผลต่างๆ จนเสียหายเป็นอัน มาก จงึ ปรกึ ษาหารือกันเพื่อเตรียมตัวอพยกกลับถิ่นเดิมทางฝั่งปากลัด และเริ่มอพยพในตอนเช้า มืดของเดือน ๑๑ ขึน ๑๔ ค่้า ก่อนไปก็พากันเก็บดอกบัว ในบึงบริเวณนันไปมากมายบอกว่าจะ เอาไปบูชาพระคาถาพันที่ปากลัด และได้สั่งเสียคนไทยท่ีรักใคร่สนิทชิดชอบกันว่าในปีต่อ ๆ ไป เมอื่ ถึงเดอื น ๑๑ ขึน ๑๔ ค่า้ ให้ช่วยกันเก็บดอกบัวดอกบัวหลวงไว้ให้ท่ีวัดหลวงพ่อโตนีด้วย แล้ว พวกตนจะมารับเอาดอกบัวไป ด้วยอุปนิสัยของคนไทยนันมีจิตใจโอบอ้อมอารีต่อพวกพ้องและ ผู้อื่นอยู่แล้ว ก็ตอบตกลงว่า ยินดีที่จะจัดการเก็บดอกบัวไว้ให้ พวกรามัญ จึงน้าดอกบัวไปกราบ นมัสการหลวงพ่อโต พร้อมทังขอน้ามนต์ของหลวงพ่อเพ่ือเป็นสิริมงคลแล้วลากลับถ่ินเดิมพร้อม ทงั น้าดอกบัวอีกส่วนหน่ึงไปบูชาพระคาถาพันที่ปากลัดตอ่ ไป จึงเปน็ ทีม่ ีของประเพณรี บั บัวดงั เดมิ กอ่ น พ.ศ. ๒๔๗๘ พอถงึ วันขนึ ๑๓ ค้่า เดอื น ๑๑ (ตังแต่ตอนเยน็ หรอื คา่้ ) ของทุกปี ชาว อ้าเภอ เมืองสมุทรปราการและชาวอ้าเภอพระประแดงจะชักชวนญาติมิตร และเพื่อนฝูงพา กันลงเรือล้าเล็กบ้าง ล้าใหญ่บ้าง ทังจ้า ทังพาย ทังถ่อ ทังแจว น้าเครื่องดนตรี เช่น ปี่ ซอ ฉ่ิง ฉาบ กระจับ โทน รา้ มะนา ฯลฯ ร้องร้าท้าเพลงเป็นท่ีสนุกครึกครืนทังคืน เรือบางล้าพายมาตาม ล้าแม่น้าเจ้าพระยา แต่ก็มีบางล้าก็วกเข้าตามล้าคลองต่างๆ จนเข้าสู่คลองส้าโรง แล้วมุ่งตรงไป ยังหมบู่ า้ นบางพลีใหญ่ ส้าหรับชาวบางพลีใหญ่ที่ถือปฏิบัติกันเป็นประจ้าทุกปี คือเม่ือถึงวันขึน ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ จะต้องเตรียมข้าวปลาอาหารไว้ต้อนรับแขกผู้มาเยือน ตามแบบของนิสัยคนไทยใครมาถึง เรือนชานก็ต้องต้อนรับ พอรุ่งเช้า ขึน ๑๔ ค้่า เดือน ๑๑ ชาวบางพลีจะเตรียมหาดอกบัวหลวง

-๒๖- ไว้ให้ผูม้ าเยอื น ได้น้าดอกบัวส่วนหนึ่งไปนมัสการองค์หลวงพ่อโต พระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิที่วัดบาง พลใี น และนา้ ดอกบัวอกี สว่ นหน่งึ เตรียมไวใ้ หช้ าวมอญน้ากลับไปบชู าพระคาถาพันที่ปากลัด เช้าวันนนั ชาวต่างถ่ินก็พายเรือของตนแยกย้ายกันไป เพื่อขอรับบัวจากชาวบ้านบางพลี ทังสองฝั่งคลองส้าโรง การให้และการรับกระท้ากันอย่างสุภาพ คือรับส่งและรับกันมือต่อมือ กอ่ นจะใหต้ ้องมกี ารอธิษฐานเสียก่อน และผู้รับก็ต้องพนมมือไหว้ขอบคุณ ส่วนผู้ท่ีคุ้นเคยกันก็จะ โยนดอกบวั ให้กันโดยไมม่ ีพิธีรตี อง ถือเปน็ คนกนั เอง การโยนดอกบัวให้แก่กันระหว่างผู้คนคุ้นเคย สนทิ สนมนีเอง เมอื่ เปน็ ไปนานๆ เข้าก็ค่อยๆ กลายเป็นความนิยมกันไป การให้และการรับมือต่อ มอื เลยเสอ่ื มไป จนมกี ารน้ามาพูดกันในระยะหลงั ว่า โยนบวั แทนท่จี ะเรยี กวา่ รับบวั การรับดอกบัวของคนต่างถ่ินจากชาวบางพลี จะเริ่มตังแต่เช้ามืดและไปสินสุดตอนช่วง สาย หลงั จากนนั ชาวต่างบา้ นจะทยอยกันกลบั ไป ตอนขากลับนีเองจะมีการพายเรือแข่งขันไป ดู ว่าใครจะถึงจุดหมายปลายทางก่อนกันไม่ต้องมีกรรมการตัดสิน ไม่จ้าเพาะเจาะจงต้องเป็นเรือ ชนดิ ใด ใครพอใจจะแข่งกไ็ ด้ หรอื จะเปล่ียนคู่แข่งขนั ในระหวา่ งทางกไ็ มห่ า้ ม จนกระทง่ั ราวปี พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๔๘๑ นายชืน วรศิริ นายอ้าเภอบางพลีเห็นว่าประเพณี รับบัวมีทีท่าว่าจะสูญหายไป เลยคิดท่ีจะฟ้ืนฟูขึนมาใหม่ ด้าเนินการจัดงานประเพณีรับบัวขึน นับว่าเป็นครังแรกท่ีทางราชการเข้ามาเกี่ยวข้องกับประเพณีรับบัวของชาวบางพลี ในครังนันมี การประกวดเรือสวยงาม โดยมีนายไสว โตเจริญ ผู้เอาไม้ไผ่มาสานเป็นโครงรูปองค์พระพุทธรูป ปิดหุ้นด้วยกระดาษทอง น้ามาตังบนเรือสังเค็ต สมมติว่าเป็นหลวงพ่อโตแห่งวัดบางพลีใหญ่ใน นอกจากนียังมีแจกข้าวต้มมัดแก่แขกต่างบ้าน และผู้จัดเรือประกวด ในปีต่อมาการจัดงาน ประเพณีรบั บัวของทางอา้ เภอบางพลี จัดเหมือนปีแรกโดยมีการแห่รูปหลวงพ่อโตด้วยไม้ไผ่ที่ท้า ไวเ้ มื่อปกี ่อน จดั เปน็ ขบวนเรอื แห่ไปตามลา้ คลองส้าโรงในวันขึน ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ เพ่ือเป็นการ ประกาศขา่ วงานรับบวั ใหป้ ระชาชนทราบ ต่อมาราวปี พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๙๐ นายเชื่อม ศิริสนธ์ เป็นนายอ้าเภอบางพลี ได้เพ่ิม กิจกรรมในงานประเพณีรับบัวขึน คือจัดให้มีมหรสพกลางแจ้งท่ีบริเวณวัดบางพลีใหญ่ใน หรือ “วัดหลวงพ่อโต” วัดบางพลีใหญ่กลาง และหน้าท่ีว่าการอ้าเภอบางพลีตลอดคืน ทังยังได้จัดให้มี ตลาดนดั การประกวดพืชผักและประกวดนางงาม ส่วนรายการอน่ื ๆ กจ็ ดั ให้มีเหมอื นเดมิ ปัจจุบันประเพณีนี ยังคงอยู่และได้รับการสนับสนุนการจัดจากการท่องเท่ียวแห่ง ประเทศไทย ถือเป็นงานประเพณีส้าคัญงานหนึ่งของจังหวัดสมุทรปราการ และใช้ชื่อว่า “ประเพณีรับบวั ” สืบเนอื่ งมาถึงปจั จบุ นั ๒.๒ ประเภท งานเทศกาล (Festival) สาขาแนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมและงานเทศกาล ๒.๓ สถานที่/แหลง่ ปฏบิ ตั ิ

-๒๗- ในปจั จุบันการรับบัว-โยนบัวจะเป็นการจัดให้มีการแห่องค์หลวงพ่อโตจ้าลองไปตามล้าคลอง ส้าโรงระหว่างบางพลีกับหัวตะเข้หรือจระเข้ใหญ่และส้าโรง ในวันขึน ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ ประชาชนที่ อยู่สองฝ่ังคลองส้าโรงที่ขบวนแห่องค์หลวงพ่อโตจ้าลองผ่าน จะจัดให้มีการประดับธงทิวตกแต่ง บ้านเรือนและโต๊ะหมู่บูชา กลางคืนมีมหรสพตลอดคืนท่ีบริเวณวัดบางพลีใหญ่ใน โดยเร่ิมมาตังแต่วัน ขึน ๑๑ ค้่า เดือน ๑๑ บริเวณวัดบางพลีใหญ่กลางและบริเวณที่ว่าการอ้าเภอบางพลี จังหวัด สมทุ รปราการ ประเพณีรับบัวมี “บางพลี” เป็นสถานท่ี/แหล่งปฏิบัติทังในอดีตและปัจจุบัน เป็นต้าบล เก่าแกใ่ นประวัตศิ าสตร์ แหล่งปฏบิ ัตพิ ธิ ีกรรมเก่ียวเน่อื งกับคลองส้าโรง “บางพลี”เป็นต้าบลมีชื่อในประวัติศาสตร์ เกี่ยวเนื่องกับคลองส้าโรงคลองยุทธศาสตร์ ภาคตะวันออก เกี่ยวเนือ่ งกบั หลวงพ่อโตศักดิสิทธ์ิต้านานพระลอยน้าลุ่มเจ้าพระยาและตลาดน้า ๑๕๐ ปีบางพลี บางพลี มีต้านานก่อให้เกิดกัลยาณมิตร ไมตรีจิตรมิตรภาพ ความเอืออาทรต่อ กันของคน มอญ ไทย และลาว เดิมช่ือต้าบล”บัตรพลี”คือเครื่องสังเวย ในพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา แผ่นดินพระรามาธิบดีท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๐๓๕-๒๐๗๒) กล่าวว่า “ เมื่อ พ.ศ.๒๐๔๑ ขณะนั้นคลองสำโรงที่จะไปคลองศีรษะจรเข้ คลองทับนำงจะไปปำกแม่น้ำเจ้ำพระยำตื้น เรือ ใหญ่จะเดินไปมำขัดสน จึงให้ชำระขุด ได้รูปเทพำรักษ์ ๒ องค์ หล่อด้วยทองสัมริด จำรึกองค์ หน่ึงชื่อพญำแสนตำ องค์หนึ่งช่ือบำทสังขกร ในที่ร่วมคลองสำโรงกับคลองทับนำงต่อกัน จึงให้ พลกี รรมบวงสรวง แล้วรับออกมำปลูกศำลเชิญขึ้นประดิษฐำนไว้ ณ เมืองพระประแดง” ตำบลที่ ทำพลีกรรมบวงสรวงเทวรูปท้งั สองน้ี ตอ่ มำได้ชอ่ื ว่ำ “บำงพลี” (สงั ข์ พธั โนทัย, ๒๕๐๔) “ คลองส้าโรง”ชื่อคลองเป็นภาษาเขมร เป็นชื่อต้นไม้ใหญ่ ขอม ขุดตังแต่ครังเรือง อ้านาจ ระหว่างพ.ศ. ๙๗๘-๑๗๐๐ ใช้เป็นคลองยุทธศาสตร์ขนเสบียง ปืนใหญ่กระสุนดินด้าและ เคลื่อนย้ายก้าลังพลท้าศึกกันและกันระหว่างสยาม เขมรและญวนมาจนถึงรัชกาลที่ ๓ เป็น เสน้ ทางเดินทัพของเจ้าพระยาบดินทร์เดชาผู้เป็นแม่ทัพ คลองส้าโรงแยกจากแม่น้าเจ้าพระยาที่ วดั สา้ โรงเหนอื ต้าบลส้าโรงใต้ อ้าเภอพระประแดง เป็นคลองลัดไปทางตะวันออกเลียบถนนปู่เจ้า สมิงพราย บรรจบกับแม่น้าบางประกงที่ต้าบลท่าสะอ้านอ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา คลองส้าโรงมีความยาว ๕๕ กิโลเมตร กว้าง ๕๐ เมตร ลึก ๔-๕ เมตร ผ่านพืนที่ อ้าเภอเมือง สมุทรปราการ บางพลี บางบ่อ ต้าบลบางพลีอยู่ห่างจากปากคลองด้านแม่น้าเจ้าพระยา ประมาณ ๑๕ กโิ ลเมตร พนื ทีฝ่ ัง่ เหนือคลองส้าโรงเรียกว่า ฝ่ังทุ่ง เป็นท่ีราบใช้ท้านาท้าสวน ส่วน คลองส้าโรงฝั่งใต้เป็นป่าแสม เรียก ฝ่ังป่า ชาวบ้านมีอาชีพตัดฟืน ฟืนไม้แสมคุณภาพดีที่สุดให้ พลังความร้อนสูง เป็นท่ีนิยมของบ้านผู้ดีมีฐานะในอดีต เม่ือ พ.ศ.๒๓๓๙ สุนทรภู่ กวีเอกราช ส้านักสยาม อายุ ๒๐ ปี เดินทางไปเย่ียมบิดาท่ีบวชจ้าพรรษาอยู่ที่เมืองแกลงก็ใช้เส้นทางคลอง ส้าโรงนี ทา่ นไดก้ ล่าวถึงต้าบลต่าง ๆ ที่ผ่านไป ไว้ในนิราศเมืองแกลงหลายต้าบลแสดงว่ามีชุมชน อยเู่ ปน็ แห่ง ๆ บา้ งแลว้ เชน่ ถงึ บางผงึ ผงึ รงั ก็รังร้าง พี่รา้ งนางรา้ งรักสมัครหมาย มาแสนยากฝากชพี กับเพื่อนชาย แมเ้ พ่ือนตแายมม้เพิไดือ่ ้มนาตพายามบไิ ดา้มลาพยาบาล ถงึ ปากลัดแลท่าชลาตนื ดเู ลอื่ มลน่ื เลนลากลา้ ละหาน

-๒๘- เขาแจวจ้วงลว่ งแล่นแสนสา้ ราญ มาพบพานบางกะจา้ วย่ิงเศร้าใจ พอแจ่มแจง้ แสงเงนิ เงาระยับ ดาวเดอื นดบั เด่นดวงพระสุรยี ์ใส ถงึ ปากช่องคลองสา้ โรงส้าราญใจ พอนา้ ไหลขึนเชา้ ก็เข้าคลอง เหน็ เพื่อนเรือเรียงรายทังชายหญงิ กด็ ูยิ่งทรวงชา้ เปน็ น้าหนอง ไม่แมน้ เหมือนค่เู ชยเคยประคอง ก็เลยล่องหลกี มาไม่อาลยั ถึงบางพลมี ีเรือนอารามพระ ดูระกะดาดทางไปกลางทุ่ง เป็นเลนลุ่มลึกเหลวเพยี งเอวพุง ตอ้ งลากจูงจ้างควายอยรู่ ายเรียง ดเู รอื แพแออดั อยู่ยัดเยียด เขาเบยี ดเสยี ดแทรกกนั สนน่ั เสยี ง แจวจงั กดู เกะกะปะกรรเชยี ง บ้างท่มุ เถยี งโดนดนุ กนั วุ่นวาย จนตกลกึ ลว่ งทางถึงบางโฉลง เปน็ ท่งุ โล่งลานตาลว้ นปา่ แขม เหงอื กปลาหมอกอกกกับกุ่มแกม คงคาแจ่มเค็มจัดดังกัดเกลอื ถงึ หยอ่ มย่านบา้ นไร่อาลัยเหลียว สันโดษเดย่ี วมิไดพ้ บเพื่อนสนอง เขารบี แจวมาในนทที อง บ้านชอ่ งมิไดแ้ จ้งแห่งตา้ บล ถึงชวากปากคลองเปน็ สองแพรง่ น้ากแ็ หง้ สุริยนกห็ ม่นหมอง ขา้ งซา้ ยมือนนั แลคอื ปากตะครอง ข้างขวาคลองบางเหยี ทะเลวน หนงั สือเก่ารวมบทกวีสุนทรภู่ (ประยรู พิศนาคะ, ๒๔๙๑) คลองส้าโรงที่ไหลผ่านต้าบลบางพลีนีมีวัดเก่าแก่ตังอยู่ ๒ วัด คือ วัดพลับพลาชัยชนะ สงคราม ไม่ปรากฏปีท่ีสร้าง กวีเอกสุนทรภู่ ผ่านบริเวณนีเมื่อ พ.ศ.๒๓๓๙ ขณะนันยังไม่เป็นวัด สมบรู ณ์คือมีกุฏิหลังคามุงจากหลายหลัง ฝากุฏิเป็นไม้ไผ่ขัดแตะไต้ถุนสูง เป็นที่พ้านักพระสงฆ์ มี เรื่องเล่าว่าเป็นที่ตังพลับพลาประทับของสมเด็จพระนเรศวร สมัยเม่ือยกทัพปราบนักพระสัตถา พระยาละแวก กษัตริย์เขมร เม่ือ พ.ศ.๒๑๓๗ เสด็จมายังทัพ ท้า “บัดพลี” ตัดไม้ข่มนามตาม ต้าราพิชัยยุทธ์เพื่อให้มีชัยชัยต่อข้าศึกที่น่ี เม่ือเลิกทัพไปแล้ว ชาวบ้านน้าพลับพลาที่ประทับมา สร้างเป็น อารามท่ีพ้านักพระสงฆ์ เกิดเป็นชุมชน “พลับพลาชัยชนะสงคราม”และ ต่อมาเม่ือมี ประชาชนหาแน่นขึน ชาวบ้านได้ร่วมกันสร้างโบสถ์วิหารศาลาเสนาสนะ สถาปนาเป็นวัดให้บุตร หลานได้บรรพชาอุปสมบท เรยี กชอ่ื ตามตา้ บลวา่ “วัดชนะสงคราม” มีพระสงฆ์อยู่จ้าพรรษาและ ภายหลังเมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครังท่ี ๒ มีพระพุทธรูปศักด์ิสิทธ์ิตังบนแพลอยน้ามาชาวบ้านได้ อญั เชญิ เปน็ พระพทุ ธรูปศักดิ์สทิ ธิ์ประจ้าวัดคือหลวงพ่อโต องค์ปัจจุบัน และได้เปลี่ยนชื่อเป็นวัด บางพลีใหญ่ในตามชื่อต้าบลใน ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์ใหญ่ศิลปะสุโขทัยปางมารวิชัย ลืม เนตร หนา้ ตกั กว้าง เนือทองสัมริดประธานในโบสถ์ ชาวบ้านถือกนั วา่ เปน็ พระท่ีมีความศักดิ์สิทธ์ิมี อภินิหาร มีต้านานร่วมกันกับพระพุทธรูปโบราณลอยน้า แห่งลุ่มน้าทังห้า รุ่นเดียวกับหลวง พ่อบา้ นแหลมและพระพุทธโสธร ประชาชนท้องถ่ินและต่างถ่ินเลื่อมใสมาก เรียกท่านว่า “หลวง พ่อโต วัดบางพลี” เป็นวัดที่คนไทยคนลาวใช้ท้าบุญ ถัดไปไม่ไกลนักมีอีกวัดหน่ึงคือวัดบางพลี ใหญ่กลาง เป็นวัดที่มพี ระพทุ ธรูปปางสีหไสยาสน์ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย คือยาว ๕๓ เมตร เดิม ชอื่ วัดราษฎร์ศรัทธาราม ราษฎรชาวมอญเปน็ ก้าลังส้าคัญในการสร้างเม่ือปี ๒๓๖๗ สมัยรัชกาลที่

-๒๙- ๓ คนมอญนนั ถือเคร่งในวัตรปฏบิ ตั ิ ไมเ่ หมือนพระไทยจงึ ตอ้ งมีสถานทป่ี ฏบิ ัตธิ รรมเป็นการเฉพาะ ของตนเอง วดั มอญนนั จะมเี สาหงษ์ ธงตะขาบเป็นสัญลักษณ์ ๒.๔ ระเบียบพิธีกรรม/การประพฤติปฏบิ ตั ขิ องการแสดงออกน้ัน ๆ ประเพณีรับบัวเป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมายาวนานของชาวบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จัดขนึ เปน็ ประจา้ ทกุ ปี ในวนั ขนึ ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ ในช่วงเช้าตรู่ของวันขึน ๑๔ ค้่า เดือน ๑๑ จะเป็น งานประเพณกี ารสง่ บัว-รับบัว ระหว่างชาวไทยชาวลาว กับชาวรามัญในอดีต ต่อมาจึงเปล่ียนเป็นการ ที่ชาวบางพลีโยนดอกบัวลงในเรือขบวนแห่พระพุทธรูปจ้าลองของหลวงพ่อโต ในขณะเดียวกันชาว บางพลีก็จะโยนบัวให้กับคนต่างบ้านท่ีพายเรือมาเที่ยวด้วย เพ่ือเป็นการท้าบุญร่วมกัน การจัดงาน ดังกล่าวประกอบด้วยการนมัสการและขบวนแห่หลวงพ่อโต แห่งวัดบางพลีใหญ่ ใน จังหวัด สมุทรปราการ ทังทางบกและทางน้า และยังจัดให้มีการแข่งขันกิจกรรมพืนบ้าน อาทิ การจัดพาน ดอกบัว การประกวดเรือ และการแสดงการละเล่นพืนบ้าน เช่น เพลงเรือ เป็นต้น ปัจจุบันยังมี กิจกรรมอื่น ๆ อีก อาทิ การจดั ลานวัฒนธรรมและวิถีความเป็นอยู่ของคนไทย คนลาวและคนมอญใน อดีต การจัดแขง่ ขันตอบปัญหาเรื่องประเพณรี ับบัว การแข่งเรือมาด การแข่งขันการประกวดเรือท่ีเข้า รว่ มขบวนพิธี เป็นตน้ ในการจัดงานประเพณีรับบัวมีองค์ประกอบที่ส้าคัญคือ มีการแห่หลวงพ่อโต ซ่ึงแต่เดิม ยังมิได้มีการแห่ดังเช่นสมัยนี ในราวปี พ.ศ. ๒๔๖๗ นางจ่ันกับพวกได้พร้อมใจกันสร้างพระปฐม เจดีย์ขึน ในวัดบางพลีใหญ่ใน เม่ือสร้างเสร็จแล้ว ก็จัดให้มีการฉลองโดยแห่องค์พระปฐมเจดีย์นี ตามลา้ คลอง แลว้ กลับมาห่มองค์พระปฐมเจดีย์กลางคืนก็จัดให้มีมหรสพสมโภช แห่ไปได้ ๒-๓ ปี ก็หยุดไปด้วยเหตุใดไม่ปรากฏ ซ่ึงเชื่อว่าการแห่ผ้าห่อองค์พระปฐมเจดีย์นีได้รับแบบอย่างมาจาก การแห่ผ้าห่มองค์พระสมุทรเจดีย์ของอ้าเภอเมืองสมุทรปราการ ต่อมาก็มีการแห่รูปหลวงพ่อโต แทน โดยความเหน็ ชอบของท่านสมภารกุ่ย และนายฉลวย งามข้า แห่รูปภาพของหลวงพ่อโตมา หลายปี จนกระท่ังปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ก็มีการท้าหุ่นจ้าลองหลวงพ่อโต สานด้วยโครงไม้ปิดกระดาษ ทาสีทอง แลว้ น้าแหแ่ ทนรปู ภาพของหลวงพ่อโต ซง่ึ สรา้ งโดยนายไสว โตเจรญิ ตกกลางคืนก็มีงาน มหรสพฉลองกันอย่างครึกครืนจนถึงสมัยพระครูพิศาลสมณวัตต์เป็นเจ้าอาวาสวัดบางพลีใหญ่ใน ก็ได้จัดให้ท้าการหล่อรูปหลวงพ่อจ้าลองขึน ส้าหรับแห่ตามล้าคลองด้วยอลูมิเนียมใน พ.ศ. ๒๔๙๗ ปัจจุบันมีการแห่โดยรูปหล่อจ้าลองหลวงพ่อโต (รูปป้ัน) โดยจัดเป็นขบวนแห่ไปตามล้า คลองส้าโรงในวนั ขนึ ๑๓ คา้่ เดือน ๑๑ เปน็ การประกาศข่าวงานรับบัวให้ประชาชนทราบและวิธี นีกลายเป็นประเพณีแห่หลวงพ่อโตก่อนวันงานรับบัว คือ วัน ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ ตลอดจนถึง ปัจจบุ นั การแห่หลวงพ่อโตจึงเป็นส่วนหน่ึงของงานประเพณีรับบัว ประชาชนท่ีอยู่สองฝั่งคลอง ส้าโรงที่ขบวนแห่หลวงพ่อโตผ่านจัดประดับธงทิว ตกแต่งบ้านเรือนและตังโต๊ะหมู่บูชา พอเช้า

-๓๐- วันรุ่งขึน ๑๔ ค่้า เดือน ๑๑ มีการประกวดเรือประเภทต่างๆของต้าบลใกล้เคียงและโรงเรียนส่ง เข้าประกวด ซ่ึงเริ่มตังแต่ พ.ศ. ๒๕๐๐ มีการจัดประกวด ปัจจุบันการประกวดเรือมี ๓ ประเภท ด้วยกัน คือ ประเภทสวยงาม ประเภทความคิด และประเภทขบขันหน้าท่ีว่าการอ้าเภอบางพลี ซ่งึ จะเร่ิมตังแตเ่ วลา ๐๖.๐๐ น.และงานจะสนิ สุดลงเวลา ๑๑.๐๐ น. ของวันเดียวกัน ในบางปีจัด ให้มีการประกวดเทพีการแข่งเรือ หรืออย่างอื่นแล้วแต่คณะกรรมการ จัดงานรับบัวแต่ละปีจะ พิจารณาเห็นสมควร ส่วนการร้องร้าท้าเพลงไปตามล้าน้าดูหายๆไปจนปัจจุบันไม่มีแล้ว คงเท่ียว สนุกสนานกนั ตามบรเิ วณทจ่ี ดั ให้มีมหรสพเทา่ นัน ดังนัน จงึ พอท่จี ะสรุปพิธีกรรมของประเพณีรับบัวในแต่ละยคุ สมัย ดงั นี ยคุ สมัยที่ ๑ (ยุค ไพร่-ทาส) คนรามัญจากพระประแดง มาท้านาบางพลี ถึงเวลากลับ เก็บดอกบัวไป ไหว้พระคาถา พัน พิธกี รรมอยู่ท่ี การเอาดอกบัวไหวก้ ัณฑ์เทศน์มหาชาติ ตามวัดต่าง ๆ ได้ อานิสงส์ของการให้ ทาน คณุ ของการแบ่งปนั การเออื เฟ้ือเผอ่ื แผ่ ยุคสมยั ท่ี ๒ (ยุคสมยั เปน็ ไทย สร้างวัดมีท่ีอยู่ท่ีทากินถาวร พวกพระประแดงไม่มาทา นาอีกแลว้ ) พิธีกรรมอยู่ที่การแห่เรือรับบัวตามบันใดบ้าน คนบางพลี เก็บบัวไปให้พระท้าพิธี ปวารณาวันออก พ.ศ. ๒๔๐๐ นายน้อย หมื่นราชร่วมกับศรัทธาชาวบ้านสร้างวัดราชศรัทธาราม ขึนปัจจุบันคือวัดบางพลีใหญ่กลาง พวกลาวสร้างวัดบางลาว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๔ วันขึน ๑๓ ค่้า เดอื น ๑๑ ออกพรรษา กระจับปี่สีซอในท้องน้ายังคึกคักติดต่อกันมาหลายปี พุทธศักราช ๒๔๔๘ การเลิกทาสสมบูรณ์แล้ว พวกมอญปากลดั ลาวคลองมหาวงศ์ที่มาท้านาท่ีบางพลี ได้จับจองท่ีดิน เป็นของตนเอง มีทับกระท่อม เรือนเคร่ืองผูกเป็นสิทธ์ิของตนเองมากขึน เป็นชุมชนขึนมีวัด ราษฎร์ศรัทธาธรรมไว้ท้าบุญปฏิบัติธรรมตามศรัทธา ไม่ต้องไปท้าบุญท่ีวัดปากลัดพระประแดง เชน่ เคย ยคุ สมยั ท่ี ๓ (ไหว้หลวงพ่อโต พ.ศ.๒๔๗๕) มีการสร้างเจดีย์ สานองค์พระแห่ไปตามล้า คลอง บอกบุญชาวบ้านตังโต๊ะบูชา โยน ดอกบัวและข้าวต้มผัด ข้าวต้มลูกโยน พิธีกรรมอยู่ที่ฉลอง หลวงพ่อโต หลังจากรับบัวมาจาก ชาวบ้านแล้ว ยุคสมัยที่ ๔ ยคุ ปจั จบุ ัน ๑๑ หมู่บ้านของบางพลี จัดตกแต่งเรือประกวดกัน แห่ไปตามล้าคลอง ให้ชาวบ้านใน ต้าบลของตนโยนบัวประกวดกัน ใครได้มากกว่ากัน ดอกบัวนันตัวแทนของหมู่บ้านจะเอาไปไหว้ หลวงพ่อโต พิธีกรรมอยู่ท่ีการระลึกถึงพระพุทธคุณ การอธิษฐานขอพร สร้างความมั่นใจในการ ดา้ เนนิ ชวี ิต ถอื เปน็ การเสย่ี งทายการด้าเนินชวี ติ ก่อนท่ีจะโยนดอกบัวด้วยวิธีการหงายมือเป็นการ แสดงความเคารพหลวงพ่อโต มีพิธกี รรมกอ่ นอญั เชิญองค์จา้ ลองหลวงพ่อโตลงเรือ พระสงฆ์จะท้า พิธสี วดพระปริตร

-๓๑- ๒.๕ ภูมธิ รรม ภูมิปญั ญา เอกลักษณ์ อัตลกั ษณ์ ประเพณีรับบัวมีความส้าคัญในด้านความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษของชาวบาง พลีได้มอบไว้ให้ลูกหลานของตน มีความส้าคัญทางประวัติศาสตร์อันแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ชุมชน และความหลากหลายทางวัฒนธรรมและชาติพันธ์ุ แสดงให้เห็นถึงแบบอย่างของภูมิปัญญาบรรพบุรุษ ทไ่ี ดร้ ว่ มกันสร้างอัตลักษณ์ชุมชนบนพืนฐานของความเป็นกัลยาณมิตร เอืออาทรช่วยเหลือซ่ึงกันและ กัน ทังอาชีพการงานและความเป็นอยู่ ตลอดจนความเชื่อในเรื่องบุญกุศลทังภพนีและภพหน้า เป็น วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น เอาไมตรีจิต สร้างกิจกรรมให้ได้มีการระลึกถึงกัน ให้ได้มีโอกาสได้ร่วม ท้าบุญกุศลร่วมกัน มีความสนุกสนาน และช่วยเหลือเอืออาทรกันเป็นประจ้าทุกปีสืบต่อกันมาอย่าง ยาวนาน เป็นกิจกรรมทท่ี วคี วามงอกงามขนึ ทางดา้ นจติ ใจทีย่ ึดถือรว่ มกันในสงั คม ๒.๖ ความเชือ่ “ดอกบัว” : ความหมายและคุณค่า เคร่ืองสักการบูชาของชาวบางพลีดอกบัวเป็น สัญลักษณ์การประสูติของพระพุทธเจ้า “ในราตรีวันอาสาฬหปุรณมี เพ็ญเดือน ๘ พระนางเจ้า มหามายาทรงพระสุบินว่าช้างเผือกชูดอกบัวบุณฑริกเข้ามาเฝ้าพระนางในราตรีนันก่อนพุทธศก ๘๑ ปี อันเป็นเวลาทพี่ ระบรมโพธสิ ตั วจ์ ตุ ลิ งสู่พระครรภ์” ดอกบัวปทุมชาติ ได้รับยกย่อง เป็นดอกไม้ศักด์ิสิทธ์ิในพุทธศาสนาเป็นสัญลักษณ์แทน พระพุทธองค์มาตังแต่ครังพุทธกาล ภาพบัวบานเป็นสัญลักษณ์การประสูติ กิริยาที่บาน หมายถึง การท่ีพระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติขึนในโลกและได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หลักฐานนีปรากฏ ท่ีรปู หนิ สลักสถปู ภารหตุ กลมุ่ สถูปสาญจี และกลุม่ สถปู อมราวดี ประเทศอินเดียตังแต่ สมัย พ.ศ. ๓๐๐ ถงึ ๖๐๐ ก่อนที่จะมีภาพพระพทุ ธรปู แบบองคจ์ ริง ดอกบัวมีความส้าคัญและเปน็ มงคลกล่าว ชาวบางพลีจึงมีใจรักใจศรัทธาสร้างวัฒนธรรม ประเพณีด้วยการตกแตง่ เรอื พาหนะทางน้าล่องไปตามล้าคลองรับบัวจากเพ่ือนบ้านรับฝากไปไหว้ พระพุทธรูปศกั ดสิ์ ิทธิร์ ะลกึ ถงึ พุทธธรรมค้าสอนของพระพทุ ธเจ้า บรรพชนชาวบางพลีตระหนักถึง คณุ ค่าและความหมายของดอกบัวสูง ดอกบัวเป็นดอกไม้ท่ีสะอาดบริสุทธิ์ แม้เกิดในน้าและเปือก ตม แต่ก็ไม่ติดทังน้าและเปือกตมอันสกปรก พระพุทธองค์ทรงอุบัติและด้ารงพระชนม์ชีพอยู่ใน ท่ามกลางกองกิเลส อันสกปรกครอบง้าโลก แต่กิเลสเหล่านันมิได้แปดเป้ือนพระหฤทัยเลย เช่นเดียวกับดอกบัวไม่เป้ือนด้วยเปือกตมและน้า (พุทธทาสภิกขุในภาพพุทธประวัติจากหินสลัก ยุคก่อนมีพระพุทธรูป) บัวที่ชาวบางพลีเก็บมาไหว้พระคือ “บัวหลวง ปทุมชาติ” ดอกไม้น้าที่มี ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาสืบมาตังแต่สมัยพุทธกาลเช่นเดียวกัน ชาวพุทธทุกลัทธิ นกิ ายนิยมใชด้ อกบัวหลวงในพิธีทางศาสนา พทุ ธศาสนาฝา่ ยมหายาน ก็ก้าหนดให้พระพุทธเจ้าใน อดีตมสี ัญลักษณเ์ ปน็ ดอกบวั พระอมิตาภะเป็นดอกบัวบาน พระไวโรจนะดอกบัวจึงเป็นท่ีนิยมว่า เป็นของมงคลของสูง เป็นสัญลักษณ์แห่งดวงปัญญา บัวไม้น้านีมีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า Nelumbo nucifera Gaertn นักพฤกษศาสตร์แบ่งบัวออกเป็น ๓ สกุลใหญ่ คือ สกุลเนลุมโบ

-๓๒- (Nelumbo) บัวหลวงหรือปทุมชาติ สกุลนิมเฟียร์ (Nymphaea) หรืออุบลชาติ สกุลวิกตอเรีย (Victoria) หรอื บวั วิกตอเรยี (พระพิมลธรรม (ชอบ อนจุ ารมี หาเถร) ในพทุ ธประวัตทิ ัศนศึกษา) บัวหลวงหรือปทุมชาติเป็นสัญลักษณ์ของความศักด์ิสิทธ์และเป็นตรีรัตนะ กลิ่นหอมจรรโลงใจ ของดอกบัวท้าให้เกิดความสุขความรื่นรมย์ควรแก่การใช้สักการบูชาส่ิงเคารพสูงสุดของชาวพุทธ ดอกบัวหลวงเป็นบัลลังก์รองรับพุทธสรีระ พุทธจริยาทุกปาง ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพานมีกลีบ ดอกบัวงดงามประดับเป็นบัลลังก์ บัวหงายหมายถึงตัวดอกบัว บัวคว้่าหมายให้เป็นเงาของ ดอกบัวแสดงเป็นนยั ว่าบัวลอยอยู่ในนา้ การกระท้าทงั อญั ชลี วันทนาและอภิวาท การกระพุ่มมือ จะเปน็ รูปดอกบวั ตูมรปู หวั ใจทกุ ครัง บัวเป็นสัญญลักษณ์ของความรัก จริงใจบริสุทธิ์ สะอาด คุณ งามความดี สุนทรียภาพและความพากเพียรในพระพุทธศาสนา พระสมณโคดมทรงพากเพียร ศึกษาเหตุปัจจัยของความทุกข์ ทรงฝึกจิตจนเกิดธรรมสมาธิค้นพบพระนิพพานวิธีการดับทุกข์ ทรงเมตตาสอนบุคคลให้พ้นทุกข์ โดยเปรียบบุคคลผู้สามารถบรรลุธรรมได้เป็นดอกบัวสามเหล่า อุคฆฏิตญั ญบู วั ทตี่ ังขนึ พ้นนา้ รอสัมผสั แสงอาทิตย์ก็จะบานในวันนี เป็นผู้รู้เข้าใจได้ฉับพลัน แต่พอ ท่านยกหัวข้อขึนแสดง หรือบุคคลมีปัญญามาก แค่ฟังธรรมเพียงครังเดียวก็บรรลุธรรม วิป จิตัญญู ดอกบัวท่ีตังอยู่เสมอน้าจักบานในวันพรุ่งนี ผู้รู้เข้าใจต่อเมื่อท่านขยายความ หรือผู้ฟัง ธรรม ไตรต่ รองได้รับการอธิบายเพิ่มเตมิ กบ็ รรลุธรรม บัวท่ียังอยู่ในน้าจักบานในวันต่อๆไป เนย ยะ ผู้ทีพ่ อจะแนะนา้ ตอ่ ไปได้ หรอื ผู้ได้ฟงั ธรรมแลว้ เพียรส่ังสอนเพียรฝึกหดั กบ็ รรลธุ รรมได้ เซอร์จอห์น เบาว์ริง (ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และกัณฐิกา ศรีอุดม, หน้า ๒๐๔) ราชทูต องั กฤษ เขา้ มาเจรญิ ทางพระราชไมตรีสมัยรัชกาลท่ี ๓ เมอ่ื ปี ๒๓๙๘ (ช่วงระยะเวลามีเทศกาลรับ บัวบางพลี) กลา่ วถงึ ดอกบวั ไวว้ า่ “ดอกบัว เป็นดอกไม้ท่ีบ้านเมืองนับถือศาสนาพุทธถือได้ว่าเป็นดอกไม้ศักดิ์สิทธิ์ เป็นท่ี นิยมชมชอบในหมู่คน ในเมืองสยามมีดอกบัวถึง ๗ ชนิด ชนิดดอกเล็กท่ีสุดสีขาว ขนาดไม่โตกว่า ดอกเดซี่ มากนกั จะพบตามล้าน้าในฤดนู ้านอง บัวสีแดง หมายถึง เทพธิดาแห่งขุนเขาและทะเล ท่ีเป็นสีน้าเงินและสีเขียว สีเหลืองอ่อน เหลืองแก่มีอยู่บ้าง แต่ดอกบัวสีเหล่านีหายาก บัวท่ีมี ความนิยมเป็นเลิศคือบัวท่ีมีสีดอกกุหลาบ เกสรสีทองของมันส่งกลิ่นหอมหวานไปทั่ว ดอกบัวใช้ ประดับในงานนักขัตฤกษ์ร่ืนเริงและถูกน้าไปถวายพระเจ้าแผ่นดิน พระภิกษุสงฆ์และพระพุทธ เมื่อแก่จัดเกสรร่วงหมด จะมีเมล็ด ๗-๘ เมล็ด เกิดขึนในฝักสีเขียว เมล็ดพวกนีเมื่อน้าไปต้มหรือ อบดว้ ยความร้อน กจ็ ะไดข้ องกินเลน่ ทีโ่ อชะมาก เมล็ดบัวนีเมื่อเอาดินอ่อนๆ หุ้มและป้ันเป็นก้อน กลม ๆ แล้วขว้างลงไปก้นบ่อน้า ในไม่ช้าจะมีใบบัวเล็ก ๆ แตกออกมาอยู่เหนือผิวน้า และจะ ค่อย ๆ โตขึน จนใบบัวมีเสน้ ผ่าศูนยก์ ลางถึง ๑ ฟุต” ตา้ นาน”รับบวั ” ไมม่ บี ันทกึ ในประวัตศิ าสตร์ ชุมชนชาติพันธต์ุ า่ งๆ เกบ็ ประวตั วิ ถิ ีชีวิต ทอ้ งถนิ่ ของตนในรูปของนิทาน นยิ าย ตา้ นานหรือค้าบอกเล่า ข้อมูลบอกเล่าแผกผิดเพียนไปตาม กาลเวลาและตามภูมิธรรมของผู้เล่า มีการจดจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรน้อยมาก ขาด กา้ หนดเวลาของเหตุการณ์ที่เกิดขึน ไม่มีบันทึกสภาพสังคมส่ิงแวดล้อม การด้าเนินวิถีชีวิตชุมชน ท้าใหข้ าดความเขา้ ใจและเข้าถึงคติความเป็นอยู่ของบรรพชนดงั เช่นในอดีต ๒.๗ ลกั ษณะเฉพาะอืน่ ๆ

-๓๓- ๑๑ หมบู่ า้ นของบางพลี จดั ตกแตง่ เรือประกวดกัน แห่ไปตามล้าคลอง ใหช้ าวบา้ นในต้าบล ของตนโยนบัวประกวดกนั ใครไดม้ ากกว่ากัน ดอกบวั นันตัวแทนของหม่บู ้านจะเอาไปไหว้หลวงพ่อโต เป็นการระลกึ ถงึ พระพทุ ธคุณ การอธิษฐานขอพร สร้างความมน่ั ใจในการด้าเนนิ ชวี ิต ถอื เป็นการเสี่ยง ทายการด้าเนนิ ชีวิตและเปน็ สร้างอานสิ งส์ผลบุญใหก้ ับตนเองและครอบครัว ๒.๘ คุณคา่ หรือความหมาย ประเพณีรับบัวจึงมีความส้าคัญในด้านความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษของชาว บางพลีได้มอบไว้ให้ลูกหลานของตน มีความส้าคัญทางประวัติศาสตร์อันแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ ชุมชนและความหลากหลายทางวัฒนธรรมแสดงให้เห็นถึงแบบอย่างของภูมิปัญญาบรรพบุรุษที่ได้ ร่วมกนั สร้างอัตลกั ษณ์ชมุ ชนบนพืนฐานของความเป็นกัลยาณมิตร เอืออาทรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทังอาชีพการงานและความเป็นอยู่ ตลอดจนความเช่ือในเร่ืองบุญกุศลทังภพนีและภพหน้า เป็น วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น เอาไมตรีจิต สร้างกิจกรรมให้ได้มีการระลึกถึงกัน ให้ได้มีโอกาสได้ร่วม ท้าบุญกุศลร่วมกัน มีความสนุกสนาน และช่วยเหลือเอืออาทรกันเป็นประจ้าทุกปีสืบต่อกันมา มากกว่า ๑๘๐ ปี เป็นกิจกรรมท่ีทวีความงอกงามขึนทางด้านจิตใจท่ียึดถือร่วมกันในสังคม อย่างไรก็ ตาม ลักษณะของประเพณีและกิจกรรมประกอบต่าง ๆ ได้ผันแปรไปตามยุคสมัย มีการอ้างปูม ต้านานแตกต่างกนั อย่างหลากหลาย มีหลกั ฐานอา้ งองิ บ้าง ไมม่ บี ้าง แต่งเติมเสริมแต่งบ้าง และก้าลัง จะไม่เห็นเค้ามูลอุดมการณ์ดังเดิม การสืบทอดประเพณีรับบัวขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่าง แทจ้ ริง ทา้ ให้สายใยวัฒนธรรมชมุ ชนเรม่ิ ขาดหายไป จา้ เปน็ อย่างยิ่งท่ตี อ้ งมีการส่งเสริมสนับสนุนการ กระตุ้นจติ ส้านึกการมีส่วนร่วมของบุคคล กลุ่มบุคคลและชุมชนในการสืบทอด และปกป้องคุ้มครอง มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้สืบทอดต่อไปอย่างไม่ขาดสายและสร้างความยั่งยืน เพ่ือสืบสาน พัฒนาและสืบทอดอนุรักษ์ทังประวัติและคติวิธีการ ไว้เป็นมรดกวัฒนธรรมท้องถ่ิน ชุมชน และ ประเทศชาติ และยาวนานไปจนกระท่งั ถงึ ความเปน็ มรดกวฒั นธรรมโลกสืบต่อไป ๑.ประเพณีรับบัวเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีบรรพบุรุษของชาวบางพลีได้มอบไว้ให้ลูกหลาน ของตน ประเพณีรับบัว เป็นประเพณีเก่าแก่ที่เกิดและจัดขึนในอ้าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มาช้านาน อ้าเภอบางพลี มีดอกบัวมากมายตามล้าคลอง หนองบึงต่างๆ เป็นที่ต้องการของ พุทธศาสนิกชน ในอันท่ีจะน้าไปบูชาพระ เกิดจากชาวอ้าเภอพระประแดง และชาวอ้าเภอเมือง สมุทรปราการ ท่ีเป็นชาวมอญ ต้องการน้าดอกบัวไปบูชาพระคาถาพันและบูชาพระในเทศกาลออก พรรษา ดังนนั เมอ่ื ถงึ วันขึน ๑๓ ค้่า เดอื น ๑๑ ประชาชนทังสองอ้าเภอนี ได้ชักชวนกันพายเรือมาตาม ล้าคลองส้าโรงเพื่อมาเก็บดอกบัว เม่ือเก็บได้เพียงพอแล้วก็จะเดินทางกลับบ้านของตนในวันรุ่งขึน (ขึน ๑๔ ค่้า) ต่อมาชาวอ้าเภอบางพลี มีน้าใจที่จะอ้านวยความสะดวกให้ในฐานะท่ีตนเป็นเจ้าของ บ้าน เม่ือถึงวันขึน ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ ของทุกปี ก็จะร่วมแรงร่วมใจกันเก็บดอกบัวและเตรียมอาหาร คาวหวานไว้เพ่ือรอรับชาวอ้าเภอพระประแดงและชาวอ้าเภอเมืองฯ เช้าตรู่ของวันขึน ๑๔ ค้่า เดือน ๑๑ ขบวนเรือพายของชาวอ้าเภอพระประแดงและชาวอ้าเภอเมืองฯ ก็จะมาถึงหมู่บ้านบางพลีใหญ่

-๓๔- เม่ือรับประทานอาหารท่ีชาวอ้าเภอบางพลีเตรียมไว้ต้อนรับจนอ่ิมหน้าส้าราญดีแล้ว ก็จะพายเรือไป ตามล้าคลองสา้ โรง เพือ่ ขอรบั ดอกบัวจากชาวอ้าเภอบางพลีทังสองฝ่ังคลอง การส่งมอบดอกบัวจะท้า กันอยา่ งสภุ าพ คือสง่ และรบั บวั กันมอื ตอ่ มอื โดยผูใ้ ห้และผู้รบั พนมมือตังจิตอธิษฐานอนุโมทนาผลบุญ ร่วมกัน การกระท้าเช่นนีเองจึงได้ช่ือว่าการ “รับบัว” เมื่อปฏิบัติติดต่อกันหลายๆ ปี จึงได้กลายเป็น “ประเพณรี ับบัว” ไปในทสี่ ดุ ๒. ประเพณีรับบัวมีความส้าคัญทางประวัติศาสตร์อันแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ชุมชนและ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม ในอดีตอ้าเภอบางพลีเป็นสังคมเกษตรกรรม ประกอบด้วยประชากร ๓ พวก คือ คนไทย รามัญ และลาว ต่างชาติพันธ์ุและวัฒนธรรม แสดงให้เห็นถึงแบบอย่างของภูมิปัญญาบรรพบุรุษที่ได้ รว่ มกนั สร้างอัตลักษณ์ชุมชนบนพืนฐานของความเป็นกัลยาณมิตร เอืออาทรช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ทังอาชพี การงานและความเป็นอยู่ ตลอดจนความเช่ือในเรื่องบุญกุศลทังภพนีและภพหน้า ประเพณี รับบัวเป็นวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น เอาไมตรีจิต สร้างกิจกรรมให้ได้มีการระลึกถึงกัน ให้ได้มี โอกาสได้ร่วมทา้ บญุ กุศลรว่ มกนั มคี วามสนุกสนาน และช่วยเหลือเอืออาทรกันเป็นประจ้าทุกปีสืบต่อ กนั มามากกวา่ ๑๘๐ ปี เป็นกิจกรรมท่ที วีความงอกงามขึนทางด้านจิตใจท่ียึดถือรว่ มกันในสังคม ๓. ประเพณีรับบัวเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมายาวนานของชาวบางพลี จังหวัด สมุทรปราการอาจเสี่ยงต่อการสูญหาย ถูกฉกฉวยน้าไปใช้ประโยชน์ในทางท่ีไม่ถูกต้องและไม่ เหมาะสม และ/หรอื ถูกเบ่ียงเบนไปจากปูมต้านานดังเดิมของบรรพบุรุษโดยมิได้สะท้อนถึงอัตลักษณ์ ของชุมชนอย่างถกู ต้องแทจ้ รงิ ลักษณะของประเพณีและกิจกรรมประกอบต่าง ๆ ได้ผันแปรไปตามยุคสมัย มีการอ้างปูม ตา้ นานแตกตา่ งกันอยา่ งหลากหลาย มีหลกั ฐานอา้ งอิงบ้าง ไม่มีบ้าง แต่งเติมเสริมแต่งบ้าง และก้าลัง จะไมเ่ หน็ เคา้ มูลอดุ มการณ์ดังเดิม เปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม การสืบทอด ประเพณรี ับบวั ขาดการมีส่วนร่วมของชมุ ชนอย่างแทจ้ ริง ท้าใหส้ ายใยวัฒนธรรมชมุ ชนเรมิ่ ขาดหายไป จ้าเป็นอย่างย่งิ ที่ต้องมีการส่งเสริมสนบั สนนุ การกระต้นุ จิตส้านึกการมีส่วนร่วมของบุคคล กลุ่มบุคคล และชุมชนในการสืบทอด และปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้สืบทอดต่อไปอย่าง ไมข่ าดสายและสรา้ งความยงั่ ยืน เพอ่ื สบื สานพฒั นา และสืบทอดอนุรักษ์ทังประวัติและคติวิธีการ ไว้ เป็นมรดกวัฒนธรรมท้องถ่ิน ชุมชน และประเทศชาติ และยาวนานไปจนกระทั่งถึงความเป็นมรดก วฒั นธรรมโลกสบื ต่อไป ๒.๙ การถา่ ยทอดและการสืบทอด การสืบทอดงานประเพณีรับบัวเป็นงานบุญและเป็นการแสดงให้เห็นความเอืออาทรซึ่ง กันและกนั ระหวา่ งชาวไทยและชาวมอญ มกี ารเปลีย่ นแปลงดงั นี ๑) รูปแบบของประเพณีรับบัวแบบดังเดิมได้เปล่ียนแปลงจากเดิมที่ชาวมอญพายเรือ จากคลองส้าโรงมารับดอกบัวท่ีบางพลีไม่มีแล้ว เน่ืองจากเส้นทางคมนาคมทางน้ามีการปิดประตู กันน้า จงึ ท้าให้การสัญจรทางคลองส้าโรงถูกตัดขาดจากกัน ประเพณีที่ชาวมอญจะมารับดอกบัว

-๓๕- เช่นเคยมาไม่ได้ (สภาวัฒนธรรมอ้าเภอบางพลี, ๒๕๔๑ ; ๓๔-๓๕ อ้างในชูศรี สัตยานนท์, ๒๕๔๘) ๒) การแห่หลวงพ่อโตในงานประเพณีรับบัวเดิมมีการแห่หลวงพ่อโตทางน้าจากวัดบาง พลีใหญใ่ นถึงสา้ โรงและจากวดั บางพลใี หญใ่ นถงึ บางบ่อ ปัจจุบันการแห่หลวงพ่อโตทางน้าจากวัด บางพลีใหญ่ในถึงวัดบางพลีใหญ่กลาง ส่วนไปทางบางบ่อใช้แห่หลวงพ่อโตทางรถแทน (นิยม ณ บางกรวย, สมั ภาษณ์, ๒๕๔๗ อา้ งในชศู รี สัตยานนท์, ๒๕๔๘) ๓) เดิมประชาชนท่ีอาศัยอยู่ในอ้าเภอบางพลี มีความศรัทธาต่อพระศาสนามาก ดังนัน เมื่อใกล้ถึงงานประเพณีรับบัวจะเตรียมท้าความสะอาดหน้าบ้าน และจัดตังโต๊ะหมู่บูชาที่ท่าน้า เพื่อรอรับขบวนเรือหลวงพ่อโต เม่ือหลวงพ่อโตผ่านหน้าบ้านจะให้ลูกหลานจุดธูปเทียนบูชาพระ และกราบนมัสการหลวงพ่อโตด้วยดอกบวั ซง่ึ ใชก้ ริยาอย่างนอบน้อมและสุภาพอีกทังจะอธิษฐาน ให้หลวงพ่อโตคุ้มครอง แต่ปัจจุบันวิถีชีวิตของชุมชนบางพลีเปลี่ยนแปลงไปจึงท้าให้ชาวบ้านไม่ จัดตงั โตะ๊ หมบู่ ูชารับหลวงพ่อโต และคนรุน่ หลงั นมสั การหลวงพอ่ โตอยา่ งไมส่ ุภาพ ๔) ดอกบัวท่ีนมัสการองค์หลวงพ่อโตจะห่อด้วยใบบัว มัดด้วยดอกหรือเชือกกล้วย เพ่ือ ไม่ให้ดอกบัวเหย่ี วสามารถนา้ ไปบชู าได้ ภายในห่อจะมีดอกบัว ๓ ดอก เพ่ือเป็นการบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เพราะถือว่าดอกบัวท่ีเรือหลวงพ่อโตถือว่าศักด์ิสิทธ์ิเป็นสิริมงคล แต่ปัจจุบัน ใชด้ อกบัวเพยี งหนึง่ ดอก หรือก้าโดยไม่ใช้ใบบัวห่อ และไม่ค่อยมีคนสนใจน้าไปบูชา ปล่อยให้ลอย ไปตามกระแสนา้ (เงนิ สตั ยานนท์, สมั ภาษณ์, ๒๕๔๗ อา้ งในชศู รี สัตยานนท์, ๒๕๔๘) ๕) กิจกรรมในงานประเพณรี ับบัว จะเปล่ียนไปตามยุคสมยั ดังนี เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ – ๒๔๘๑ นายชืน วรศิริ นายอ้าเภอบางพลี เหน็ วา่ ประเพณรี ับบัวจะ เสื่อมสูญหายไป จึงคิดฟ้ืนฟูส่งเสริมให้ย่ังยืนสืบไป ได้ปรึกษากับพ่อค้า คหบดี และข้าราชการ ดา้ เนินการจดั งานประเพณรี บั บัวขนึ โดยเร่ิมงานวันขึน ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ งานประเพณีรับบัวถือ เป็นครงั แรกท่ที างราชการเข้ามาเกย่ี วข้อง มกี ารประกวดเรือประเภทต่างๆ ท่ีหน้าที่ว่าการอ้าเภอ บางพลี เรือท่ีจัดเข้าประกวดในครังแรกนันมีผู้แต่งเรือสังเค็ต เอาไม้ไผ่มาผูกขึนเป็นโครงรูปองค์ พระพุทธปิดหุ้มด้วยกระดาษทอง ตังมาบนเรือสมมติว่าเป็นหลวงพ่อโตแห่งวัดบางพลีใหญ่ใน ผู้ แต่งเรือคือ นายไสว โตเจรญิ กจิ กรรมในงานประเพณีรบั บัวไดม้ กี ารเปลยี่ นแปลงในเวลาต่อมาอีก ดงั นี พ.ศ. ๒๔๕๒ – ๒๔๙๐ นายเช่ือ ศิริสนธิ นายอ้าเภอบางพลีได้เพ่ิมกิจกรรมในงาน ประเพณีรับบัวขึน โดยจัดให้มีมหรสพกลางแจ้งขึนท่ีบริเวณท่ีว่าการอ้าเภอบางพลีตลอดคืนและ จัดให้มีตลาดนัด การประกวดพืชผักสวนครัวและการประกวดนางงาม การประกวดเรือประเภท ตา่ งๆ เชญิ ชวนประดบั ธงตกแตง่ บา้ นเรือนและตังโต๊ะหมบู่ ชู า พ.ศ. ๒๕๑๒ นายชัด รัตนราช นายอ้าเภอบางพลี จึงได้ขอให้เรือหลวงพ่อโตน้าขบวน เรอื ประกวด เพ่ือให้ผูช้ มมาชมเรอื ประกวด และนา้ ดอกบัวนมสั การองคห์ ลวงพ่อโต พ.ศ. ๒๕๓๖ – ๒๕๓๙ นายวงษ์ เลิศไพศาล นายอ้าเภอบางพลีได้ประสานกับการ ท่องเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย ไดส้ นับสนนุ งบประมาณบางสว่ นในการจดั งานประเพณีรับบัวเพื่อเป็น การเผยแพร่ให้ชาวไทยและชาวต่างประเทศได้รู้จักประเพณีรับบัว และได้จัดกิจกรรมเสริมขึนใน วันขึน ๑๓ ค้่า เดือน ๑๑ โดยเน้นกิจกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวอ้าเภอบางพลี เช่น อาหาร

-๓๖- ไทยโบราณ การละเล่นโบราณ ฟ้ืนฟูการแข่งขันเรือมาด เรือยาว ประกวดหนุ่มสาวรับบัวในล้า คลองสา้ โรง เป็นต้น และถอื ปฏิบัตมิ าจนถึงปัจจุบนั ต่อมาเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๑ นายชลอ ใบเจริญ นายอ้าเภอบางพลียังเพ่ิมกิจกรรมเปิดตลาด น้าบางพลี มีเรือพายจ้าหน่ายสินค้า เพื่อเป็นการย้อนรอยในอดีต อนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงาม ส่งเสริมรายได้ให้กับประชาชนและพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกแหล่งหนึ่งของจังหวัด สมทุ รปราการ (สภาวัฒนธรรมอ้าเภอบางพลี, ๒๕๔๐ : ๓๑ – ๓๒) สรปุ สภาพการเปล่ียนแปลงของประเพณีรับบัว จะมีการเปลี่ยนแปลงในด้านธรรมเนียม ปฏิบัติท่ีสืบทอดต่อกันมา จากเดิมเม่ือวันขึน ๑๒ ค่้า เดือน ๑๑ ทุกบ้านจะต้องท้าความสะอาด บ้าน และจัดตังโต๊ะหมู่บูชาท่าน้า เพ่ือรอรับขบวนเรือหลวงพ่อโตและกราบนมัสการด้วยดอกบัว แตป่ จั จุบนั ชาวบ้านจะไม่จัดโต๊ะหมู่บูชารอรับหลวงพ่อโต ส่วนกิจกรรมในงานประเพณีรับบัว จะ เปลีย่ นไปตามยุคสมัยและเนน้ วิถชี ีวติ ชาวบางพลใี นอดีต ส้าหรับแนวทางในการอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีรับบัวไปยังลูกหลาน ชูศรี สัตยา นนท์ (๒๕๕๕) เห็นว่า ประเพณีรบั บัวเป็นประเพณที ่ีเก่าแก่ปฏิบัติสืบทอดกันมา โดยทุกภาคส่วน ได้ร่วมกันอนุรักษ์และสืบทอดทังภาคราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน ชุมชน วัด ร่วมมอื กันจัดกจิ กรรมอยา่ งต่อเนอ่ื งเปน็ ประจา้ ทกุ ปี โดยกา้ หนดวันขนึ ๑๔ ค่้า เดือน ๑๑ ของทุก ปี เปน็ วันจัดงาน และไดเ้ สนอแนวคิดในการอนุรกั ษแ์ ละสืบทอดประเพณรี ับบัวไว้ ดงั นี ๑) พ่อแม่ผู้ปกครองตลอดจนสมาชิกในครอบครัว ควรจะได้มีปลูกฝังความรู้ ประสบการณ์เก่ียวกับความเป็นมาของประเพณีรับบัว เพื่อให้สมาชิกเกิดความตระหนักเห็น คุณคา่ เกดิ ความหวงแหนท่จี ะรกั ษาประเพณีรับบัวใหค้ งอย่ตู ลอดไป ๒) สถานศึกษาควรจัดเนือหาเก่ยี วกับประเพณีรับบัว ในลกั ษณะของหลักสูตรท้องถ่ินให้ นักเรียนได้ศึกษาซ่ึงเช่ือว่าผู้ทรงความรู้ในท้องถ่ินพร้อมท่ีจะถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้ที่ สะสมมาแตเ่ ดิมให้ด้วยความเต็มใจ ๓) สว่ นราชการควรเขา้ มาเปน็ เจา้ ภาพหลักให้เกิดการฟ้ืนฟู สืบทอดประเพณีรับบัวโดย ตอ้ งประสานผ้นู ้าชมุ ชน ผ้เู ฒ่าผ้แู ก่ ทีเ่ ปน็ แกนหลกั ของชุมชนรว่ มกนั สืบสานประเพณีนีต่อไป ๔) ควรมีการจัดประเพณีรับบัวนีอย่างต่อเน่ือง และต้องจัดกิจกรรมให้มีความ หลากหลายพัฒนาให้เหมาะสมกบั สภาพการเปลีย่ นแปลงของสงั คมท่เี กดิ ขนึ อยขู่ ณะนัน ๕) ควรให้ทุกฝ่ายทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วม ตลอดจนยกย่องเชิดชู เกยี รตแิ ดผ่ ้ทู ี่ให้การสนบั สนนุ สรา้ งคุณความดีตอ่ การสบื ทอดประเพณีอยา่ งเดน่ ชัดเปน็ รปู ธรรม ๖) ควรส่งเสริมในวงกว้างโดยให้คนในสังคมได้รับรู้รับทราบประเพณีรับบัวของชาว อา้ เภอบางพลโี ดยทว่ั กนั ซึ่งจะตอ้ งให้ภาครฐั โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้ เข้ามาช่วยกันส่งเสริมให้แพร่หลายไปทุกส่วนของสังคมทังในประเทศและนอกประเทศ ผลท่ี ตามมาคือ จะท้าให้ทุกฝ่ายเกิดความตระหนักเห็นความส้าคัญและช่วยกันอนุรักษ์และสืบทอด ประเพณนี ีต่อไป ๗) ในระดับจังหวัดควรมีนโยบายและก้าหนดยุทธศาสตร์โดยใช้ประเพณีรับบัวเป็น กิจกรรมหนงึ่ ทจี่ ะช่วยกันส่งเสริมให้เกิดการสืบทอดและช่วยในการประชาสัมพันธ์ตลอดจนสร้าง รายได้ใหแ้ กช่ าวอา้ เภอบางพลีและจงั หวดั อกี ทางหนงึ่

-๓๗- ๒.๑๐ ขอ้ มูลของผู้บอกรายละเอยี ด เจา้ อาวาสวดั บางพลใี หญใ่ น จงั หวัดสมทุ รปราการ ๑. พระโสภณพัฒนากร ปราชญช์ าวบา้ นและประธานสภา วฒั นธรรมอ้าเภอบางพลี ๒. นางสาวชูศรี สตั ยานนท์ ปราชญ์ชาวบ้าน ไวยาวัจกรวัดบางพลีใหญ่ใน ๓. นายแฉล้ม สา้ เภาพร ไวยาวจั กรวัดบางพลใี หญ่ใน ๔. นายหย่ี วงษด์ ี ชาวชมุ ชนบางพลแี ละอธิการบดี ๕. นายชนินทร์ สวา่ งแกว้ วิทยาลัยเซาธ์อสี ท์บางกอก ๖. ดร.สมศักด์ิ รงุ่ เรอื ง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ ๑๐ ต้าบลบางพลี ใหญ่ ๗. นายสทิ ธชิ ัย โรจนร์ ัตนชัย ชาวชมุ ชนบางพลี ครูโรงเรียนสนั ต์เสริมวทิ ย์ ๘. นางประทุม เนตรสุขแสง ผูเ้ ช่ียวชาญและนักประวตั ิศาสตร์ ๙. นางสาวอรญั ญา ศรีนารตั น์ ท้องถน่ิ ๑๐.นายสมชาย ชปู ระดิษฐ์ นักวชิ าการด้านภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ นักวิชาการด้านภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ๑๑.ผศ.ดร.อ้าพล นววงศ์เสถยี ร นักวชิ าการด้านภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ๑๒. ดร.ประสิทธิ์ ทองไสว นักวชิ าการทอ้ งถน่ิ ๑๓. นายทนิ ภทั ร ประภาสพงษ์ ชาวชุมชนบางพลี ๑๔. ดร.ไพรวัน จงรักดี นายอา้ เภอบางพลี ๑๕. นายวชิ ยั ฉันทโชติ นกั วิชาการทอ้ งถ่นิ ๑๖. นายวิวฒั น์ ฉันทนานุรักษ์ ชาวชมุ ชนบางพลี ๑๗. นางพรทิพย์ เดชะทศั น์ เลขานกุ ารเจ้าคณะต้าบล ๑๘. ดร.ธีรยุทธ์ รงุ่ เรอื ง บางพลี วดั บางพลีใหญ่ใน ๑๙. พระครูปลดั อนนั ต์ อินทปัญญโญ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา้ น หมู่ ๑๘ ต้าบลบาง พลีใหญ่ ๒๐.นางธัญรศั ม์ิ แซ่กัง ชาวชุมชนบางพลี ๒๑. นางยพุ ิน ใจมสี ขุ ทุกเพลา ๒.๑๑ ผ้เู ก็บข้อมูล และวันเวลาท่เี ก็บ

-๓๘- ครั้งท่ี ๑ เม่ือวันท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕ จัดประชุมขึนท่ีห้องประชุมกลุ่มย่อย ณ ส้านักหอสมุด วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีทีมวิจัยทุกคนเข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยทีมวิจัย ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จ้านวน ๕ คน ได้แก่ ผศ.ดร.อ้าพล นววงศ์เสถียร อาจารย์ทินภัทร ประภาสพงษ์ อาจารย์ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อาจารย์วฤนดา วงษ์เล็ก และทีมวิจัยชุมชน จ้านวน ๓ คน ได้แก่ นางสาวศริ วิ รรณ ด้ารงค์กลุ นางยุพิน ใจมสี ขุ ทกุ เพลา และนางธัญรัศม์ิ แซ่กงั คร้ังท่ี ๒ เม่ือวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๕ จัดประชุมขึนที่ห้องประชุม โรงเรียนสันต์เสริมวิทย์ อ้าเภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ ทีมวิจัยได้ร่วมประชุมกับทีมวิจัยชุมชน ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ ชูศรี สัตยานนท์ ดร.ธีรยุทธ์ รุ่งเรือง อาจารย์ทินภัทร ประภาสพงษ์ ดร.ประสิทธ์ิ ทองไสวอาจารย์ สมชาย ชูประดิษฐ์ และนางสาวศิริวรรณ ด้ารงกุล นางยุพิน ใจมีสุขทุกเพลา และนางธัญรัศม์ิ แซ่กัง นกั วิจัยชมุ ชน เพอ่ื ร่วมกับแลกเปล่ียนขอ้ มลู เกีย่ วกับสถานภาพความรู้ที่มีอยู่ของประเพณีรับบัว มีการ ก้าหนดแนวค้าถามและประเด็นท่ีจะศึกษา เทคนิคและวิธีการท่ีจะให้ชุมชนมีส่วนร่วมและระดับการมี ส่วนร่วมของชุมชน สภาพพืนท่ีและชุมชนท่ีเกี่ยวข้อง ซักซ้อมแนวค้าถามท่ีจะใช้ถามกลุ่มเป้าหมาย โดยให้ใช้ภาษาพูดที่ท้าให้เป้าหมายสามารถเข้าใจค้าถามว่าผู้วิจัยต้องการทราบเร่ืองอะไร และเป็น คา้ ถามทีเ่ ข้าใจไดง้ า่ ย ประเด็นใดบ้าง และค้าถามอ่ืน ๆ นอกเหนือจากท่ีก้าหนดเป็นค้าถามหลัก ทังนี เพ่อื ให้ได้ข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและแนวค้าถามหลัก ทีมวิจัยได้มี การรวบรวมวรรณกรรมและเอกสารท่เี กย่ี วข้องกบั ประเพณรี ับบัวมาแลกเปล่ียนกันในท่ีประชุม และท่ี ประชุมมีกันนัดหมายกันเพ่ือร่วมประชุมครังที่ ๓ เพื่อร่วมกันจัดท้ารายงานความก้าวหน้าในการเก็บ รวบรวมขอ้ มลู ครงั ท่ี ๑ เพ่ือรายงานใหก้ รมส่งเสริมวัฒนธรรมได้ทราบตอ่ ไป คร้ังที่ ๓ เม่ือวันท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ทีมวิจัยได้ร่วมปรึกษาแนวทางในการจัดท้ารายงาน ความก้าวหน้าในการเก็บรวมข้อมูลครังท่ี ๑ เพื่อรายงานให้กรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้ทราบ และ จัดเตรียมความพร้อมในการเปิดเวทีชีแจงโครงการเก็บรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ประเพณีรับบัวในกลุ่มชุมชน ผู้น้าชุมชน ผู้น้าท้องถิ่น ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องซ่ึงเป็นเจ้าของ มรดกภูมิปัญญาที่ห้องประชุมอ้าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการได้รับทราบ รวมทังขอความ อนเุ คราะหแ์ ละความรว่ มมอื ในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลจากชมุ ชนด้วย คร้ังท่ี ๔ เม่อื วันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ จัดประชุมท่ีห้องประชุมองค์การบริหารส่วนต้าบล บางพลีใหญ่ใน อา้ เภอบางพลี จังหวัดสมทุ รปราการ เพอื่ ร่วมหารือกับผู้น้าชุมชนในการลงพืนท่ีในการ จดั เก็บขอ้ มลู ภาคสนาม โดยชมุ ชนประกอบด้วย สมาชิกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต้าบลบางพลใี หญ่ใน ปลัด องคก์ ารบริหารสว่ นตา้ บลบางพลีใหญ่ หัวหนา้ ฝ่ายการศกึ ษาและวฒั นธรรม ครั้งท่ี ๕ เมื่อวันท่ี ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๕ ทีมวิจัยได้จัดเวทีชีแจงการด้าเนินการของโครงการ จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประเพณีรับบัว ขึนที่ห้องประชุมอ้าเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการโดยมีชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน วัฒนธรรมต้าบล ผู้น้าชุมชน ผู้น้าท้องถิ่น ภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวข้องซ่ึงเป็นเจ้าของมรดกภูมิปัญญา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทังหมด ๔๕ คน

-๓๙- โดยมีวัตถุประสงค์ให้ชุมชนได้ทราบและเข้าใจความเป็นมา ความส้าคัญของการด้าเนินการของ โครงการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประเพณีรับบัว และชีแจง กระบวนการในการจดั เกบ็ และรวบรวมขอ้ มูลโดยเน้นการมสี ่วนร่วมของชุมชนทกุ ภาคส่วน ครั้งท่ี ๖ เม่ือวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ส้านักหอสมุด วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ได้จัดการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการเรื่อง ประเพณีรับบัว มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาว บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือฝึกอบรมให้ทีมวิจัยของชุมชน และทีมวิจัยของ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกเพ่ือให้เข้าใจเคร่ืองมือ ข้อค้าถาม และระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบมีสว่ นร่วม และระเบียบวธิ ีการวิจยั เชิงคณุ ภาพเม่ือลงพนื ท่เี กบ็ รวบรวมขอ้ มูล ครัง้ ที่ ๗ เม่ือวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ส้านักหอสมุด สืบเนื่องจากการประชุม ทีมวิจัยชมุ ชนและทมี วิจยั ของวทิ ยาลัย เมอ่ื ครงั ท่ี ๑ เม่ือวนั ท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕ นักวิจัยได้รับมอบ ให้ค้นคว้าและเก็บรวบรวมวรรณกรรมและเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับประเพณีรับบัวทังในอดีตและ ปัจจุบัน นอกเหนือจากวรรณกรรมและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องที่ทีมวิจัยของวิทยาลัยได้รวบรวมมาแล้ว กอ่ นหน้านี ทังนีเพื่อให้ทมี วิจัยชมุ ชนได้มีสว่ นรว่ มและกระตุ้นให้เกิดความสนใจและตระหนักถึงคุณค่า ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นเอง และให้น้ามารวบรวมและแลกเปลี่ยนกันในการ ประชุมครังหนา้ นัน คร้งั ที่ ๘ เมื่อวันที่ ๒๖-๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ทีมวิจัยชุมชนร่วมกับทีมวิจัยวิทยาลัย ได้ร่วมกัน ลงพืนท่ีจัดงานประเพณีรับบัว เพ่ือจัดเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์ชาวชุมชนบางพลี ซ่ึงเป็นเจ้าของ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม คร้ังท่ี ๙ ในระหว่างวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ทีมวิจัยของ วิทยาลัยและทีมวิจัยชุมชนได้ลงพืนที่ชุมชน อาทิ ชุมชน วัด โรงเรียน อ้าเภอ สถาบันการศึกษา องค์การบริหารส่วนต้าบล เป็นต้น เพื่อท้าการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้วิธการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็น ทางการ และให้ขอ้ คา้ ถามทกี่ ลุ่มเป้าหมายเขา้ ใจได้งา่ ย แต่ให้เป็นไปตามกรอบแนวค้าถามหลัก โดยใช้ วิธีการพูดคุยกันอย่างเป็นกันเอง เพื่อให้เกิดความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และมีความเป็นกันเอง และ ใช้ข้อค้าถามท่ีเข้าใจง่ายโดยการใช้ทีมวิจัยของชุมชนเป็นผู้สัมภาษณ์และจดบันทึกข้อมูล ทังนีเพื่อให้ ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้วัฒนธรรมของตนเองจากปราชญ์ชุมชน ผู้เฒ่าผู้แก่ พระสงฆ์ นัก ประวัติศาสตร์ของท้องถ่ิน ผู้น้าชุมชนและชุมชน เป็นการกระตุ้นของเจ้าของวัฒนธรรมเกิดความรัก ความหวงแหนและความภาคภูมิใจในมรดกภูมิปัญญาที่บรรพชนมอบไว้ให้ตนและชุมชนของตน เพ่ือ น้าไปสู่การเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติและมนุษยชาติ โดยมีรายละเอียดผู้ให้การ สัมภาษณ์และลงชื่อในใบแสดงความยินยอมให้น้าประเพณีรับบัวไปสู่การเป็นมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมของชาติและมนุษยชาติ ครง้ั ท่ี ๑๐ เมื่อวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๕๕ เวลา ๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุมอ้าเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการ ทีมวิจัยรว่ มกบั ผนู้ า้ ชุมชน ได้แก่ นายวิวัฒน์ ฉันทนานุรักษ์ นายอ้าเภอบาง

-๔๐- พลี จังหวัดสมุทรปราการ ได้จัดเวทีเพ่ือระดมความคิดเห็น ซึ่งเวทีประกอบด้วยชุมชน ผู้น้าชุมชน ผู้น้าท้องถิ่น สภาวัฒนธรรมบางพลี ตลอดจนภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องทังหมด โดยมี วัตถุประสงค์ให้ชุมชนได้ทราบและเข้าใจความเป็นมา ความส้าคัญของการด้าเนินการของโครงการ จัดเก็บและรวบรวมข้อมลู มรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมประเพณีรับบัว และชีแจงกระบวนการในการ จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนทุกภาคส่วน และเปิดโอกาสให้ชุมชนได้ แสดงความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมเพื่อการสืบสาน อนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การ แสดงความคิดเห็นเพื่อเป็นแนวทางการร่วมกันเก็บข้อมูล และพิจารณาร่วมกันว่าข้อมูลส้าคัญของ ประเพณีรับบัวท่ีจะต้องจัดเก็บและรวบรวมบันทึกไว้มิให้สูญหายไปมีอะไรบ้าง และกิจกรรมท่ีควรจัด เพื่อสืบสาน ปกป้อง และคุ้มครองประเพณีรับบัวควรจะมีอะไรบ้าง ในที่ประชุมได้ร่วมกันระดมความ คิดเห็นร่วมกัน และขณะเดียวกัน โดยคนในชุมชนเป็นผู้ตังค้าถาม เป็นผู้จัดเวที โดยให้ทีมวิจัยชุมชน เป็นผู้ตังประเด็นค้าถามเอง เพ่ือกระตุ้นให้ชุมชนเห็นความส้าคัญของปัญหา อุปสรรคในการสืบสาน ปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาของชุมชนเอง โดยชุมชนได้เห็นปัญหาเอง และร่วมกันเสนอแนว ทางการแก้ปญั หากนั เอง คร้ังท่ี ๑๑ ในระหว่างวันท่ี ๒๖-๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ณ บริเวณพืนท่ีท่ีว่าการอ้าเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นพืนที่จัดงานประเพณีรับบัว ทีมวิจัยของชุมชนและทีมวิจัยของ วิทยาลัยได้เข้าฝังตวั ในชุมชนโดยวิธีการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมโดยเข้าไปในพืนที่จัดงานประเพณีรับ บัวประจ้าปี ๒๕๕๕ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือจัดเก็บข้อมูลประเพณีรับบัวและเพ่ือให้ทีมนักวิจัยเกิด กระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน และเป็นการกระตุ้นจิตส้านึกเก่ียวกับความส้าคัญของมรดกภูมิ ปัญญาทางวัฒนธรรมให้กับชุมชน ชุมชนได้ตระหนักและเห็นความส้าคัญของมรดกภูมิปัญญาทาง วฒั นธรรมประเพณีรับบวั และเกิดความรกั และหวนแหน

บทท่ี ๓ เง่ือนไขภาวะวิกฤต/ปจั จยั คกุ คามของประเพณีรบั บัว ๓.๑ สภาพปจั จุบนั นับต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๒๘ ถึงปัจจุบัน ชาวอาเภอบางพลีต่างยังไม่แน่ใจว่าตนโชคดีหรือโชคร้าย กันแน่ที่พ้ืนที่ที่ตนเองอาศัยอยู่ได้กลายเป็นจุดที่นักลงทุน ท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความ สนใจที่จะมาลงทุนทากิจการต่างๆ เนื่องจากพวกเขาเห็นว่า อาเภอบางพลี อยู่ใกล้กับกรุงเทพฯ การ คมนาคมสะดวกและเป็นแหล่งท่ีสามารถรองรับความเจริญจากกรุงเทพฯ ได้โดยตรง จึงได้พากันมา ลงทุนต้ังโรงงานอุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่มาก ปัจจุบันอาเภอบางพลีมีโรงงาน อตุ สาหกรรมเกอื บ ๑,๒๐๐ แห่ง นอกจากนห้ี มู่บ้านจดั สรรก็ผดุ ขึน้ ราวกับดอกเห็ด สนามกอล์ฟ ขนาด ใหญห่ ลายแห่ง มไี วเ้ พือ่ เปน็ ทพี่ กั ผอ่ นหย่อนใจของผู้มอี ันจะกินเพียงระยะเวลาไม่ถึง ๑๐ ปี สภาพของ อาเภอบางพลี เปล่ียนไปราวกับหน้ามือเป็นหลังมือ จากสังคมชนบทที่ประชาชนมีวิถีชีวิตท่ีเรียบง่าย มีความสุขตามอัตภาพ กลายเป็นสังคมเมืองอุตสาหกรรม ชาวบ้านหลายครอบครัวได้กลายเป็น “เศรษฐีใหม่” ภายในพริบตา โดยการขายที่ดินให้กับนักลงทุนในราคาสูงล่ิว ปัจจุบันสภาพสังคมใน อาเภอบางพลี ไม่แตกตา่ งไปจากสังคมกรงุ เทพฯ เท่าใดนัก ท้งั ดา้ นคา่ ครองชีพ การจราจร การแข่งขัน ประกอบธุรกิจ ฯลฯ ในสภาวะเช่นนี้แม้แต่ชาวบางพลีท่ีเป็นคนเก่าแก่เองก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ามีส่วนทาให้ ประเพณรี ับบวั เปลย่ี นรปู โฉมจากเดิม ๓.๒ ปจั จยั คกุ คาม ลักษณะของประเพณีและกิจกรรมประกอบต่าง ๆ ได้ผันแปรไปตามยุคสมัย มีการอ้างปูม ตานานแตกต่างกันอย่างหลากหลาย มีหลักฐานอ้างอิงบ้าง ไม่มีบ้าง แต่งเติมเสริมแต่งบ้าง และกาลัง จะไม่เห็นเค้ามูลอุดมการณ์ดั้งเดิม การสืบทอดประเพณีรับบัวขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่าง แทจ้ รงิ ทาให้สายใยวัฒนธรรมชุมชนเร่ิมขาดหายไป จาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนการ กระตุ้นจิตสานึกการมีส่วนร่วมของบุคคล กลุ่มบุคคลและชุมชนในการสืบทอด และปกป้องคุ้มครอง มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้สืบทอดต่อไปอย่างไม่ขาดสายและสร้างความยั่งยืน เพื่อสืบสาน พัฒนาและสืบทอดอนุรักษ์ท้ังประวัติและคติวิธีการ ไว้เป็นมรดกวัฒนธรรมท้องถ่ิน ชุมชน และ ประเทศชาติ และยาวนานไปจนกระท่ังถึงความเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของโลกสืบต่อไป อีกท้ังรูปแบบของประเพณีรับบัวแบบด้ังเดิมได้เปล่ียนแปลงไปจากเดิมที่ชาวมอญพายเรือจากคลอง สาโรงมารับดอกบัวท่ีบางพลีได้หายไป เนื่องจากเส้นทางคมนาคมทางน้ามีการปิดประตูกั้นน้า การ สญั จรทางคลองสาโรงถูกตัดขาดจากกัน และเปลี่ยนรูปแบบมาเป็นการแห่องค์จาลองหลวงพ่อโตทาง น้าจากวัดบางพลีใหญ่ในถึงสาโรง และจากวัดบางพลีใหญ่ในถึงบางบ่อ แต่เดิมชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริม คลองสาโรงจะจัดโต๊ะหมู่บูชาที่ท่าน้า เพื่อรอรับขบวนเรือแห่องค์จาลองหลวงพ่อโต และจุดธูปเทียน

-๔๕- บูชาที่โต๊ะหมู่บูชาท่ีท่าน้าหน้าบ้านเม่ือขบวนเรือแห่องค์หลวงพ่อโตจาลองแห่ผ่าน (ชูศรี สัตยานนท์, ๒๕๕๕) แต่ปัจจุบันวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ไม่มีการจัดต้ังโต๊ะหมู่บูชา อีกท้ังยังพบว่าคนรุ่นหลังจะมี การนมสั การองค์หลวงพ่อโตจาลองทแี่ หม่ าทางเรอื อย่างไม่สภุ าพ