Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเลือกชนิดพรรณไม้เพื่อปลูกป่าป้องกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คู่มือเลือกชนิดพรรณไม้เพื่อปลูกป่าป้องกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Description: คู่มือเลือกชนิดพรรณไม้เพื่อปลูกป่าป้องกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

Search

Read the Text Version

ประคําไก Putranjiva roxburghii Wall. วงศ EUPHORBIACEAE ชอื่ อื่น ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือแถบจงั หวดั ขอนแกน เรยี ก มกั คอ ลกั ษณะวสิ ยั ไมต น ขนาดเลก็ ผลดั ใบ สงู ถงึ 15 ม. กง่ิ มกั หอ ยลง เปลอื กบางสเี ทา กง่ิ ออ นมขี นสน้ั นมุ ดอกแยกเพศอยตู า งตน หรือมีดอกสมบรู ณเ พศรว มตน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งสลบั ในระนาบเดยี วกนั รปู รหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 4–14 ซม. ปลายใบมน แหลม หรอื แหลมยาว โคนใบเรยี วสอบ เบย้ี ว ขอบใบหยกั มนหรอื จกั ซฟ่ี น เปน คลน่ื เลก็ นอ ย เสน แขนงใบบาง ชอ ดอกออกเปน กระจกุ ตามซอกใบ หรือบนก่งิ บางครั้งกา นชอดอกเพศผยู าว 1–3 ซม. ดอกสเี ขยี วอมเหลือง กา นดอกสน้ั กลบี เลยี้ ง 4–5 กลีบ ขนาด ไมเ ทา กัน ขอบกลบี มีขนครยุ ไมมีกลบี ดอก เกสรเพศผู 3 อัน ดอกเพศเมยี ออกเปน กระจุก 1–4 ดอก กลบี เลย้ี งสว นมากมี 5 กลบี รังไขมีขนหนาแนน ยอดเกสรเพศเมยี มี 2–3 แฉก โคง ออกคลา ยรูปหวั ลกู ศร ไมตดิ ทน ผลแบบผลผนังชน้ั ในแขง็ รปู ไขเ กือบกลม ยาว 1.5–2.7 ซม. มีขนสน้ั นมุ มเี มลด็ เดียว เขตการกระจายพนั ธุ หิมาลยั ตะวนั ตก ศรีลงั กา พมา อินโดจนี เกาะชวา หมเู กาะโมลุกกะ ปาปวนิวกินี การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบกระจายแทบทกุ ภาค ยกเวน ภาคใต ขนึ้ ในปา ดบิ แลง ปา เบญจพรรณ หรอื บนเขาหนิ ปนู มกั พบตามรมิ ลาํ ธาร จนถงึ ระดบั ความสงู ประมาณ 550 เมตร ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พบกระจายหา ง ๆ ทัง้ 3 ลุมนํา้ ประโยชน เนอ้ื ไมค อ นขา งแข็ง ใชในการกอสรา ง เครือ่ งมอื ทางเกษตรกรรม ทั้งตนใชเ ขา เครื่องยา เปน ยาเย็น บํารุงรา งกาย แกไ ข ขบั ปสสาวะ ชาวกะเหรย่ี งใชใบทาํ เปน ชา เมลด็ ใหนา้ํ มนั ใชจ ดุ ตะเกียงได การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ระยะเวลาในการงอก 30–100 วนั ไมม ีขอมลู การปฏิบัตติ อ เมลด็ กอ นนาํ ไปเพาะ ขอแนะนํา เปนไมโตคอ นขางชา ในระยะกลาไมโตเรว็ และตอ งการแสงมาก เหมาะสาํ หรับปลกู เปน ไมช้ัน รองสําหรับฟนฟูสภาพปา ทเ่ี ส่ือมโทรมในระดับต่าํ ๆ หมายเหตุ ชอื่ พอ ง คือ Drypetes roxburghii (Wall.) Hurus. ขอ มลู เพม่ิ เตมิ PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(1) (2005) 94

ผา เสยี้ น Vitex canescens Kurz วงศ LAMIACEAE (LABIATAE) ช่ืออ่นื แถบจังหวดั สระบรุ เี รียก ข้เี ห็นหรือสวองหยวก ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื แถบจงั หวดั เลยเรยี ก จงอาง โจงอางตน หรอื สะคางตน สวนแถบจังหวดั จนั ทบุรีเรียก มะกระหรอื สามใบ ลกั ษณะวสิ ยั ไมต น ขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง สงู 7–20 ม. เปลอื กสีเทา เรียบหรือแตกเปน สะเกด็ เลก็ ๆ กิง่ ออ นเปนสเี่ หล่ียม มีขนหนาแนน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท่สี าํ คญั ใบประกอบ มี 3–5 ใบยอย เรียงตรงขามสลบั ตง้ั ฉาก กานใบยาว 4–7 ซม. ใบรปู ไข. ยาว 6–17.5 ซม. ขอบใบเรียบหรือจักหาง ๆ แผนใบมีขนและตอมสีเหลืองอมนํ้าตาลหนาแนน ชอดอกแบบชอกระจุก แยกแขนงส้นั ๆ ออกที่ปลายกิ่ง ยาวไดถ งึ 20 ซม. แตละชอกระจุก มี 5–15 ดอก กลีบเลยี้ งรูปถว ย ยาว 2–3 มม. ปลายแยกเปน 5 กลบี รปู สามเหล่ยี มขนาดเล็ก ขยายในผล ตดิ ทน กลบี ดอกรปู ปากเปด สีเหลอื งอมนํ้าตาล ยาว 6–6.5 มม. ดานนอกมีขนและ ตอ มหนาแนน กลบี บน 2 กลบี กลีบลา ง 3 กลบี ขอบกลบี ยน ขนาดใหญก วา เกสรเพศผู ส้นั 2 อัน ยาว 2 อัน โคนกานมขี น อบั เรณูสีดํา ปลายกานยอดเกสรเพศเมยี แยกเปน 2 แฉก ผลแบบผลผนงั ช้ันในแขง็ กลม เสน ผานศนู ยกลาง 3–7 มม. แกสีดาํ เขตการกระจายพนั ธุ อินเดีย จีน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบทกุ ภาค ขน้ึ ตามปา เตง็ รงั ปา เบญจพรรณ และปา ดบิ แลง ระดบั ความสงู 100–1,200 เมตร ออกดอกชว งเดอื นมนี าคม–สงิ หาคม ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พบเฉพาะทางตอนบนของลมุ นาํ้ ทง้ั สาม การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด นาจะมกี ารปฏิบตั ติ อ เมล็ดเชนเดียวกบั ตีนนก (Vitex pinnata L.) ขอแนะนาํ คลาย ๆ กับตนี นก แตสามารถปลกู ในพืน้ ท่ลี าดชันและระดับความสงู มากกวา ทนแลง ไดด กี วา ขอ มลู เพ่มิ เติม A Revision of the Genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand (Chantaranothai, 2011) 95

พะบา ง Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. วงศ SAPINDACEAE ช่ืออนื่ แถบจงั หวัดเลย เรียก สม สรอยใหญ ลกั ษณะวสิ ยั ไมพุม หรอื ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถ งึ 25 ม. เปลอื กเรียบ สเี ทาถงึ สนี ้าํ ตาล ดอกแยกเพศรว มตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรท ีส่ ําคญั ใบประกอบแบบขนนกปลายคู มใี บยอย 1–3 คู รูปขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว 5–40 ซม. ปลายใบกลมถึงเรียวแหลม โคนใบกลม แผนใบหนา ชอดอกแบบชอ กระจกุ แยกแขนง ออกตามซอกใบใกลปลายกง่ิ ยาวไดถึง 40 ซม. ดอกสีขาวแกมเขยี วอมเหลือง กลีบเลย้ี ง 5 กลบี รปู สามเหลีย่ ม ยาว 1–2 มม. โคนดานนอกมขี นละเอยี ด ไมมีกลบี ดอก เกสรเพศผู 7–8 อนั กา นชอู บั เรณมู ขี นยาวประปราย ผลแบบผลผนงั ชน้ั ในแขง็ รปู รี 1–3 ซม. สกุ สแี ดง เมลด็ สนี าํ้ ตาล เปน มนั วาว มีเยอ่ื หมุ สนี ้าํ เงิน เขตการกระจายพันธุ อนิ เดีย จนี ตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและภูมภิ าคมาเลเซีย จนถงึ ออสเตรเลยี การกระจายพันธุแ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบทกุ ภาค ขึน้ ตามปาดบิ แลง ปา ดบิ เขา และปา ดบิ ชื้น ปาเสื่อมโทรม ชายปา หรอื ทุง หญา ระดบั ความสูงจนถึงเกอื บ 2,000 เมตร เปน ผลเดือนเมษายนถงึ ธนั วาคม ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือพบ ทางตอนบน และพืน้ ท่ีตนนาํ้ ลุม นํ้ามูล ทงั้ ในระดับตํา่ ๆ จนถงึ ความสูงประมาณ 1,200 เมตร ประโยชน เนอ้ื ไมแ ข็ง ใชทําเฟอรน ิเจอร ผลสกุ รับประทานได การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ แกะเอาเยอื่ หมุ เมลด็ ออกกอ นนาํ ไปเพาะ คดั เมลด็ เสยี ทงิ้ โดยการนาํ ไปลอยนาํ้ ไมม ขี อ มลู การปฏบิ ตั ิ ตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ขอ แนะนาํ เปน ไมโ ตคอ นขา งชา ในระยะกลา ไมต อ งการแสงมาก เหมาะสาํ หรบั ปลกู ในพน้ื ทส่ี งู และทล่ี าดชนั ในพน้ื ทีป่ าดบิ แลงและปา ดิบเขาท่เี สอ่ื มโทรมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน ขอ มูลเพ่มิ เตมิ Flora of Thailand 7(1) (1999); PROSEA 2 (1992) 96

พะวา Garcinia speciosa Wall. CLUSIACEAE (GUTTIFERAE) ช่ืออนื่ แถบจังหวดั หนองคายเรียกวา กวกั ไหมหรือหมากกวกั และสม โมงปา ลกั ษณะวิสัย ไมตน สูง 12–18 ม. เปลอื กบาง สดี ําอมเขียว มยี างขาวครีม ดอกแยกเพศตา งตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรทีส่ าํ คญั ใบเรยี งตรงขาม รปู รหี รือรูปขอบขนาน ยาว 14–35 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรปู ลม่ิ แผน ใบหนา แผนใบเกลี้ยงเปนมนั วาวสองดาน เสนแขนงใบจาํ นวนมาก ดอกออกตามปลายกิง่ ชอดอกเพศผูแบบชอกระจกุ ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ดอกสีเหลืองออน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 4 กลีบ กลีบเล้ียงรูปไต ขยายในผล กลีบดอกคอนขางหนา รูปไขแกมรูปขอบขนาน ยาว 7–8 มม. เกสรเพศผจู ํานวนมาก ไมมเี กสรเพศผูทีเ่ ปน หมันในดอกเพศเมีย กลีบเลยี้ งและกลีบดอกยาวกวาดอกเพศผูเล็กนอย ผลแบบผลสดมหี ลายเมล็ด รปู ไขเกอื บกลม ปลายเปน ต่งิ แหลม ผลสกุ สแี ดง หรืออมมวง กลีบเล้ยี งขนาดใหญป ด ขั้วผล เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย การกระจายพันธแุ ละนิเวศวทิ ยา พบกระจายหา ง ๆ ทกุ ภาค ขน้ึ ในปา ดิบแลงและปา ดบิ ชนื้ โดยเฉพาะริมลาํ ธาร จนถงึ ความสงู ประมาณ 1,000 เมตร เปนผลเดือนเมษายน–พฤษภาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบกระจายหา ง ๆ ทงั้ ตอนบน และตอนลา ง การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด ไมมขี อมูลการปฏบิ ัติตอ เมล็ดกอ นนาํ ไปเพาะ ประโยชน เนือ้ ไมแข็ง สีนา้ํ ตาลแดง ใชในการกอ สรา ง ทําดามอปุ กรณตาง ๆ ผลสุกมารับประทานเปนผลไม ขอ แนะนาํ เปนไมโตชา ชอบขน้ึ ในที่มีนํา้ ขังและปา พรุ เหมาะสาํ หรับปลูกริมลําธารเพ่ือคลมุ พน้ื ทแ่ี ละ ปองกนั การพงั ทลายของดนิ ผลสุกชวยดึงดดู สตั วปา ใหเขา มาในพื้นที่ ขอมูลเพ่ิมเตมิ พรรณไมต น ของประเทศไทย (สว นพฤกษศาสตรป าไม, 2542); องคค วามรูเ ร่อื งพชื ปาทีใ่ ชป ระโยชนทางภาค เหนือของประเทศไทย 2 (สธุ รรม และคณะ, 2552) 97

พนั จาํ Vatica odorata (Griff.) Symington วงศ DIPTEROCARPACEAE ช่ืออ่นื ทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือเรยี กไมซหี รือเตง็ ดง ซ่ึงเปน ช่ือทีใ่ ชเ รียกไมวงศย างอน่ื ๆ ดวย เชน Shorea thorelii Pierre ex Laness. และ Vatica sp. ท่ยี งั ไมไดรบั การจาํ แนกชนิด ซึง่ มลี ักษณะคลา ยพันจาํ รวมไปถงึ Vatica harmandiana Pierre ลกั ษณะวิสยั ไมต นขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง สูงไดป ระมาณ 25 ม. เปลือกเรียบ มรี อยดาง ชนั สอี ําพัน ก่ิงมีขนสีนํา้ ตาลแดง ปกคลุม ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คญั หใู บรปู ใบหอก ยาวประมาณ 4 มม. รวงงา ย ใบเรยี งเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรอื แกม รูปไขกลับ ยาว 5.5–18 ซม. ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบแหลมหรือมน เสนแขนงใบขา งละ 8–10 (14) เสน มีเสนใบแซม กา นใบยาว 0.7–2 ซม. ชอ ดอกยาว 2–8 ซม. กลีบดอกสีขาวหรืออมชมพู 5 กลีบ รูปใบหอกกลบั ยาว 0.9–1.2 ซม. เกสรเพศผู 15 อนั ปลายอับเรณมู ีรยางคส นั้ ๆ รงั ไขมีขนสนั้ นมุ ผลโคนแนบติดหลอดกลีบเลย้ี ง รปู รีกวา ง ยาว 5–6 มม. มขี นสน้ั นมุ ปลาย มตี ่ิงแหลม ปกยาว 2 ปก ยาว 3–6 ซม. ปกสั้น 3 ปก ยาว 0.7–1.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอนิ โดจีน คาบสมทุ รมลายู บอรเ นยี ว การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบกระจายหา ง ๆ ทกุ ภาค ขน้ึ ตามปา ดบิ แลง และปา ดบิ ชน้ื ใกลช ายฝง ทะเล ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,100 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทุกพื้นท่ีทั้ง 3 ลุมนํ้าโดยเฉพาะทางตอนลาง บริเวณลุมน้าํ มลู การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เดด็ ปก ออกกอ นนาํ ไปเพาะ หรอื อาจใชว ธิ เี กบ็ เมลด็ ใหม ๆ กองรวมกนั คลมุ ดว ยกระสอบปา น รดนาํ้ เชา เย็นจนรากงอกแลว เด็ดปก กอ นยายลงถงุ ตามภูมปิ ญญาของชาวบา นในจงั หวัดยโสธรทป่ี ฏบิ ัติตอ เมล็ดพรรณไมใ นวงศย าง ประโยชน เนือ้ ไมแข็ง ใชในการกอสรางทัว่ ไป กงิ่ ใชท ําฟน ขอ แนะนาํ เปน ไมโ ตชา เหมาะสาํ หรับปลกู ในพื้นปา ดิบแลง เดิม ทงั้ ที่ราบและที่ลาดชัน ตองการรมเงาใน ระยะกลา ไม ใบหนาแนน ปองกันการกัดเซาะของน้ําฝนไดด ี ขอ มูลเพ่ิมเตมิ Flora Cambodge, Laos and Vietnam 25 (Smitinand et al., 1990) 98

มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum Guillaumin วงศ BURSERACEAE ชือ่ อ่นื ทางภาคตะวนั ออกเรยี ก กอกกนั มะเล่อื ม หรือมกั เหลยี่ ม ลกั ษณะวิสยั ไมตน ขนาดเลก็ ถึงขนาดกลาง สงู ไดถ งึ 25 ม. เปลือกแตกเปน สะเก็ดหรือเปนรอ งตามยาว สีเทา มียางใสหรือ ขาวขุน เม่อื แหงเปนสีดาํ ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่สี ําคญั หูใบรูปลิม่ แคบ ตดิ เปน คูทโี่ คนกา นใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน ใบ ยอยเรียงตรงขา ม รปู รี รูปขอบขนาน หรอื แกมรปู ไข ยาว 10–18 ซม. โคนใบมนหรือตดั มกั เบยี้ ว ขอบใบจักฟน เล่ือยถี่ แผนใบ ดานลา งเกลีย้ งหรอื มีขน ชอ ดอกคลายชอเชิงลด ดอกขนาดเล็กสีขาวหรอื ครีม กลีบเล้ยี งโคนเชอื่ มติดกนั รปู ถว ย ปลายแยกเปน 3 แฉก ตดิ ทน ดา นในมีขนนมุ กลบี ดอก 3 กลบี รูปขอบขนาน ยาว 7–8 มม. เกสรเพศผู 6 อัน รงั ไขรปู รี มี 3 ชอง แตละชองมี ออวุล 2 เมด็ ผลแบบผลผนงั ชัน้ ในแข็ง รูปรี ยาว 2.5–3.5 ซม. เมลด็ รูปกระสวย เปลอื กแข็ง เขตการกระจายพันธุ จนี ตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอนิ โดจีน การกระจายพันธแุ ละนเิ วศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต ขน้ึ ในปาเตง็ รัง ปา เต็งรังผสมสนเขา และ ปาเบญจพรรณ ความสงู จากระดบั น้าํ ทะเล 100–1,200 เมตร ติดผลเดอื นมกราคม–พฤษภาคม ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ พบทั่วพ้ืนท่ีทงั้ 3 ลมุ นํา้ ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง เคร่ืองมือเครื่องใช ทํากานและกลักไมขีดไฟ ผลดองหรือเชื่อม เน้ือในเมล็ดสีขาว รับประทานได การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด เมล็ดงอกงา ย แกะเอาเนือ้ หมุ เมล็ดออกกอ นนาํ ไปเพาะ ขอแนะนํา เปน ไมโ ตชา ขน้ึ ไดด ใี นทแ่ี หง แลง ทนไฟ ตอ งการแสงมาก พมุ ใบกวา ง สามารถปลกู ไดแ ทบทกุ สภาพพืน้ ที่โดยเฉพาะในทสี่ ูงและทลี่ าดชนั ยกเวนพน้ื ที่ท่ีมนี ํา้ ทวมขงั ขอ มลู เพิม่ เตมิ Flora of China Vol. 11 (2009); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543) 99

มะกายคดั Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. วงศ EUPHORBIACEAE ชื่ออืน่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เรยี ก ขางปอย ซาดปา และทองขาว สว นภาคตะวนั ออกเรยี ก ลายตวั ผู ลกั ษณะวสิ ยั ไมพ มุ หรอื ไมต น ขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง อาจสงู ไดถ งึ 25 ม. กง่ิ ออ นมขี นและขนรปู ดาว และตอ มเปน เกลด็ กระจาย ดอกแยกเพศตา งตน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งเวยี น รปู รถี งึ รปู ใบหอก หรอื แกมรปู ไข ยาว 4–22 ซม. โคนใบมตี อ มสดี าํ 2–4 ตอ ม แผนใบดานลางมีขนและตอมเกล็ดหนาแนน เสนใบออกจากโคน 3 เสน กานใบยาว 1.5–5 ซม. ชอดอกคลายชอเชิงลด ออกตามซอกใบ บางคร้งั แยกแขนง ชอดอกเพศผูยาวไดป ระมาณ 18 ซม. ดอกออกเปนกระจกุ 3–4 ดอก บนแกนชอ ดอกสีเขยี ว ไมมีกลีบดอก ดอกบานเสนผา นศูนยก ลาง 2–3 มม. กลบี เล้ยี งมี 2–4 กลบี เกสรเพศผูจาํ นวนมาก ชอ ดอกเพศเมียอาจยาวกวา ชอ ดอกเพศผู มกั แตกแขนง ดอกสเี หลอื งหรอื แดง ดอกบานเสน ผา นศนู ยก ลางประมาณ 4 มม. กลบี เลย้ี ง 3–6 กลบี รงั ไขม จี ดุ แดง ท่วั ไป มีขนสน้ั นมุ กานเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ยอดเกสรมปี ุม เล็กๆ แตกแขนง ผลแหง แตก กลมแปน หยักเปน พู ยาว 8–12 มม. สนี าํ้ ตาลเขม มีเกล็ดสแี ดงและขนสนั้ นมุ หนาแนน เมล็ดรปู รี ยาวประมาณ 4 มม. สีดํา เขตการกระจายพนั ธุ ปากีสถาน อนิ เดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา ภฏู าน จนี ตอนใต พมา ไทย ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซีย ฟลปิ ปน ส นิวกินี ออสเตรเลยี การกระจายพันธุและนิเวศวทิ ยาในประเทศไทย พบกระจายทุกภาค ขึน้ ในปาเบญจพรรณ ปา ดิบแลง และปาดบิ เขา มัก พบตามชายปา ปาเส่ือมโทรม จนถึงระดบั ความสงู 1,300 เมตร ทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือพบทัว่ พน้ื ทที่ ้งั 3 ลมุ นํา้ ประโยชน เนื้อไมคอ นขา งแข็ง แตไมท นทานมากนกั ใชใ นงานกอสรา งชัว่ คราว ทํากลอ ง กา นไมขดี ตะเกียบ มสี รรพคณุ ดา น สมุนไพรหลายอยาง เชน ราก ใบ และขนผล ตาํ รวมกับนา้ํ ผึง้ ทาแกสตั วมีพษิ กัดตอ ย แกแ ผลอกั เสบ แกสิว ลอกฝา เปนยาระบาย ผลใชย อมสใี หส แี ดง ในอนิ เดยี ใชยอ มผา ไหมและผา ขนสตั ว การขยายพันธุ เพาะเมลด็ เพาะงาย แตอตั ราการงอกคอนขา งตาํ่ มาก เนอ่ื งจากเมลด็ มักฝอ และถกู แมลงทาํ ลายไดง า ย ระยะ เวลาในการงอก 65–82 วัน ขอ แนะนาํ เปน ไมทคี่ อ นขา งโตชา แตกกอไดดี ตอ งการแสงมาก ทนแลงแตไมท นไฟ เหมาะสาํ หรับปลูก ฟน ฟสู ภาพปา ที่คอ นขางแหงแลง รว มกับไมโตเร็วหรือไมเบกิ นําอน่ื ๆ ขอ มูลเพิ่มเติม PROSEA 3 (1992), 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(2) (2007) 100

มะเกลือ Diospyros mollis Griff. วงศ EBENACEAE ชอ่ื อนื่ ภาคตะวันออกเฉียงใตมกั เรียกเปน มักเกลือ ลกั ษณะวิสัย ไมต น ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ ไมผ ลดั ใบ สงู ถงึ 30 ม. โตชา เปลอื กนอกสเี ทาดาํ แตกเปน รอ งตามยาว เปลอื กใน สีเหลือง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ี่สาํ คญั ใบรูปรหี รือรปู ขอบขนาน ยาว 4–11 ซม. ปลายใบแหลมถงึ มน โคนใบมน ขอบใบมีขน เสน แขนงใบขา งละ 10–15 เสน กา นใบยาว 0.5–1 ซม. มขี น ใบแกแ หง สดี าํ ดอกเพศผอู อกเปน ชอ กระจกุ สน้ั ๆ กลบี เลย้ี งแฉกลกึ ประมาณกง่ึ หนึง่ ดา นนอกมีขน ดอกเพศเมยี ออกเดี่ยว ๆ คลา ยดอกเพศผูแ ตม ีขนาดใหญก วา รังไขมีขน มี 8 ชอ ง เกสรเพศผทู ี่ เปน หมนั 8–10 อนั ผลแบบมเี นอ้ื หนง่ึ ถงึ หลายเมลด็ เสน ผา นศนู ยก ลางประมาณ 2 ซม. สกุ สดี าํ กลบี เลย้ี งทต่ี ดิ กบั ขว้ั ผลแฉกลกึ ประมาณกึ่งหนึ่งของความยาว ปลายกลบี โคง กลับ เมล็ด เอนโดสเปรม เรยี บ เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ลาว กัมพชู า การกระจายพันธุแ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบทวั่ ประเทศยกเวนภาคใตตอนลา ง ข้นึ ตามทเ่ี ปด โลง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง จนถึงระดับความสูงประมาณ 600 เมตร เปนผลเดือนสิงหาคม–มกราคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบ ทั่วพนื้ ที่ทัง้ 3 ลมุ น้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บในขณะทผี่ ลเร่ิมแก เพอื่ ปองกนั แมลงเจาะทาํ ลาย ลา งเปลือกออก แชน า้ํ ประมาณ 1 คืน กอนนาํ ไปเพาะ เชนเดยี วกบั การปฏบิ ตั ติ อเมล็ดกอ นนาํ ไปเพาะของพรรณไมในสกลุ มะเกลือ ประโยชน เนอ้ื ไมสีดํา แข็งแรง ทนทาน ทําเฟอรน ิเจอร ผลใชย อมผา หรอื แห แตค วรใชผลสด เก็บไวไมเ กิน 5 วัน ยังมีสรรพคุณ ในการถา ยพยาธิตัวตืด และเปลอื กใชห มกั เหลา กล่นั ขอ แนะนํา เปนไมโ ตคอ นขางชา ในระยะกลา ไมตองการรมเงา ควรปลูกหลงั จากปลูกไมโ ตเรว็ ไประยะหน่ึง แลว เหมาะสาํ หรบั ปลูกในพนื้ ทป่ี า ดบิ แลง เดมิ ตามที่ลาดชัน ขอ มูลเพิ่มเตมิ Flora of Thailand 2(4) (1981); PROSEA 3 (1991) 101

มะดนั Garcinia schomburgkiana Pierre วงศ CLUSIACEAE (GUTTIFERAE) ช่ืออ่นื – ลักษณะวิสัย ไมต น ขนาดเลก็ สงู 5–10 ม. เปลือกสีนํา้ ตาลออ นถงึ น้าํ ตาลดาํ เรียบหรอื แตกเปน รองตามยาว ดอกแยกเพศ ตา งตน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งตรงขา ม รปู ขอบขนานหรอื แกมรปู ไขก ลบั ยาว 14.5–35.5 ซม. ปลายใบมน โคนใบ รูปลิ่ม แผนใบหนา แผน ใบเกล้ยี งเปน มันวาวสองดา น เสน แขนงใบจาํ นวนมาก ไมชัดเจน ใบออนสีนํา้ ตาลแดง ชอดอกแบบ ชอ กระจกุ ออกตามซอกใบ ดอกสีชมพหู รอื อมแดง มดี อกเพศผูและดอกสมบรู ณเพศในตนเดียวกนั กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมี จํานวนอยา งละ 4 กลบี กลบี เล้ยี งคอนขางกลม งอเปน กระพุง ขยายในผล กลบี ดอกคอ นขางหนา รูปรีแกมรปู ไข ยาวประมาณ 1 ซม. เกสรเพศผจู าํ นวนมาก รงั ไขม ี 5 ชอ ง ผลแบบผลสดมหี ลายเมลด็ รปู กระสวย ผลสกุ สเี ขยี วเขม เปน มนั มี 3–6 เมลด็ สว นมาก มเี มลด็ ลบี ทําใหผลมลี ักษณะเบ้ียว เขตการกระจายพันธุ ไทย ภมู ิภาคมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายในทั่วทุกภาคของประเทศ ข้ึนริมลําธารหรือที่ราบลุมใกล แหลง นา้ํ ในปา ดบิ แลง และปา บงุ ปา ทาม จนถงึ ระดบั ความสงู ถงึ 700 เมตร ออกดอกและออกผลปล ะ 2 ครง้ั ชว งเดอื นพฤษภาคม– มถิ นุ ายน และเดอื นธนั วาคม–มกราคม เปน ผลเดอื นสงิ หาคม–ตลุ าคม และเดอื นเมษายน–มถิ นุ ายน ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พบทางตอนลางของลมุ นาํ้ มูลและลุมนํ้าโขง การขยายพันธุ เพาะเมลด็ และตอนกงิ่ เมลด็ เพาะงาย ไมม ขี อ มลู การปฏบิ ัตติ อเมล็ดกอ นนําไปเพาะ ประโยชน เนือ้ ไมค อ นขา งแข็ง แตม ขี นาดเลก็ ใชทาํ ดา มเคร่อื งมือ ผลและใบออน มรี สเปรย้ี ว รับประทานได นยิ มทําแชอม่ิ หรอื ดอง มสี รรพคณุ บรรเทาอาการไอ ขอแนะนาํ เปนไมโตชา ขึ้นไดด ีในทม่ี นี ํ้าทว มขัง กลาไมต องการรม เงา เหมาะสาํ หรับปลกู ใกลแหลง นํ้าเพ่อื ยึดดนิ ปองกนั การพงั ทลายของชายตลิ่งและหนา ดนิ ผลดงึ ดดู สัตวป า ใหเ ขามาในพ้นื ท่ี ขอมลู เพิ่มเตมิ Medicinal Plants in Thailand Vol. 2 (Saralamp, 1997); ตนไมยานารู (ธงชัย และนวิ ตั ร, 2544) 102

มะดูก Siphonodon celastrineus Griff. วงศ CELASTRACEAE ช่อื อ่นื เรยี กเปนภาษาเขมรในจงั หวัดสรุ นิ ทรว า บ๊กั โคก ลักษณะวิสัย ไมต น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถ ึง 20 ม. เปลอื กคอนขา งเรยี บ สีเทา ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คญั ใบเรยี งสลับ รปู ไข รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 6.5–15 ซม. แผนใบคอ นขางหนา ชอ ดอกออกเปน กระจกุ สน้ั ๆ ทซ่ี อกใบ กา นชอ ยาว 5–8 มม. กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมจี าํ นวนอยา งละ 5 กลบี กลบี เลย้ี งเกอื บกลม ยาว 1–2 มม. กลบี ดอกรปู ไข ยาว 2.2–3.5 มม. สขี าวแกมเขยี ว เกสรเพศผู 5 อนั ยาวประมาณ 1 มม. กา นชอู บั เรณแู บน เชอ่ื มตดิ กนั ประมาณก่ึงหนึง่ ผลแบบผลผนงั ชนั้ ในแขง็ รูปรีหรือเกอื บกลม ยาว 3–5 ซม. มีหลายเมลด็ แบน ยาวประมาณ 8 มม. เขตการกระจายพันธุ อนิ เดีย พมา ไทย ภูมิภาคอนิ โดจนี และมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทุกภาค ข้ึนในปาดิบแลง ปาดิบช้ืน ปาเบญจพรรณ และ ปาเตง็ รัง รมิ ลําธาร เขาหนิ ปูน หรือปา ทถ่ี กู ทดแทนในระดับตํา่ ๆ ออกดอกออกผลชว งเดือนมกราคม–เดือนพฤษภาคม ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ทางตอนบนของลมุ นา้ํ ชแี ละลมุ นํา้ โขง และตอนลา งบริเวณตน นาํ้ ของลุมนํ้ามลู ประโยชน ไมเนื้อแข็ง ใชกอสราง ทาํ เสา เคร่อื งตกแตงภายใน เคร่ืองมือการเกษตร ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมลด็ ไมมีขอ มลู การปฏิบตั ติ อ เมลด็ กอนนําไปเพาะ ขอแนะนํา เปน ไมโตชา ข้นึ ไดด ใี นทแี่ หงแลงท้ังท่รี าบลมุ และท่ลี าดชัน ใบขนาดใหญอ อกหนาแนน ตองการ แสงมาก เหมาะสาํ หรับปลูกพรอมกับไมโตเรว็ หรือไมเ บิกนาํ ได ขอ มลู เพ่ิมเตมิ Flora of Thailand 10(2) (2010); ตน ไมเ มอื งเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543) 103

มะแฟน Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl. วงศ BURSERACEAE ชอื่ อืน่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือเรยี ก แฟนสม หรอื สม แปน เรียกเปน ภาษาเขมรทางแถบจงั หวดั จันทบุรวี า สัพะตรี ลกั ษณะวิสัย ไมต นขนาดเล็กถงึ ขนาดกลาง ไมผลดั ใบ สงู ไดถ ึง 25 ม. เปลอื กแตกเปน สะเก็ด ดอกแยกเพศตา งตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คญั ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวยี น มีใบยอย 3–11 ใบ เรยี งตรงขาม รูปไข รูปขอบ ขนาน หรอื รปู ใบหอก ยาว 6–13 ซม. ขอบใบเรยี บหรือจักฟนเล่อื ยหา ง ๆ แผน ใบคอนขางหนา เกลย้ี งท้ังสองดา น ชอ ดอกแบบ ชอแยกแขนง ออกตามซอกใบและปลายกง่ิ กลีบเล้ยี งโคนเชอื่ มตดิ กนั เปนรปู ถว ย ยาวไมเกนิ 1 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉกขนาด เลก็ มขี นดา นนอก กลีบดอก 5 กลบี รปู ขอบขนาน ยาว 1.5–2 มม. มขี นท้ังสองดาน เกสรเพศผู 10 อนั จานฐานดอกคลาย เบาะ ยอดเกสรเพศเมียหยักเปน พู ผลแบบผลผนงั ชัน้ ในแขง็ มี 2–3 เมลด็ ผลแกส นี าํ้ ตาลดํา เขตการกระจายพันธุ อินเดยี จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนเิ วศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต ขน้ึ ในปาเบญจพรรณ ปาเตง็ รัง ปา ดิบแลง และปาดิบชนื้ ระดับความสูง 100–1,000 เมตร ออกดอกออกผลชว งเดือนมกราคมถงึ เดือนเมษายน ทางภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือสว นมากพบทางตอนบนของลมุ นา้ํ ชีและบรเิ วณตน น้าํ ของลมุ นาํ้ มูล ประโยชน ไมเนอื้ แขง็ ใชใ นการกอสราง เฟอรนเิ จอร ใชเ ล้ียงคร่ังไดดี ผลรับประทานได การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด ลางเอาเย่ือหมุ เมลด็ ออก ไมม ีขอ มูลการปฏบิ ัตติ อ เมล็ดกอ นนาํ ไปเพาะ ขอ แนะนาํ เปน ไมโตชา ข้ึนไดดีท้ังทีแ่ หง แลงและที่ชมุ ชน้ื ท้งั ท่รี าบลมุ และพื้นที่สงู กลา ไมต อ งการรม เงา เหมาะสาํ หรบั ปลกู หลงั จากท่ีปลูกไมโ ตเรว็ เพื่อใหร มเงาแลว ผลดงึ ดดู สตั วป าเขามาในพื้นท่ี ขอ มูลเพ่มิ เตมิ ตน ไมเมอื งเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543) 104

มะมวงปา Mangifera caloneura Kurz วงศ ANACARDIACEAE ช่อื อ่นื – ลกั ษณะวสิ ยั ไมต น ไมผ ลดั ใบ ขนาดใหญ สูงถึง 20 ม. เรอื นยอดรูปไข ลาํ ตน เปลาตรง เปลอื กนอกเมือ่ ออนสีนํา้ ตาลปนเขียว เม่อื แกสเี ทา มนี ้าํ ยางใส ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งเวยี น รปู ขอบขนานหรอื รปู หอก กวา ง 3.5–8 ซม. ยาว 10–22 ซม. ปลายเรยี วแหลม หรอื มน โคนรูปลมิ่ หรอื มน ขอบเรียบ แผนใบหนา เสนแขนงใบดานละ 15–22 เสน กา นใบ ยาว 2.5–4 ซม. บวมทโี่ คน ชอ ดอก แบบแยกแขนง ออกทป่ี ลายกง่ิ หรอื ซอกใบ ยาวไดถ งึ 25 ซม. มขี นสน้ั หนานมุ ปกคลมุ กลบี เลย้ี ง 5 กลบี ยาว 2 มม. มขี น กลบี ดอก 5 กลีบ รปู หอก ยาว 4 มม. เกสรเพศผทู ีไ่ มเ ปนหมัน 5 อนั ขอบจานฐานดอกหยกั เวา 5 พู กา นเกสรเพศเมยี ติดดานขาง ผลแบบผนงั ชนั้ ในแขง็ รปู รี ปลายผลเปน จะงอย สกุ สเี หลอื งอมเขยี ว ยาว 4–7 ซม. เนอ้ื ผลออ นรสเปรย้ี ว มกี ลน่ิ คลา ยนา้ํ มนั ยางสน ผลสุกรสหวาน กลิ่นหอม เขตการกระจายพนั ธุ พมา ไทย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา เบญจพรรณ และปา ดบิ แลง เปน ผลเดอื นเมษายน– พฤษภาคม ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือพบทัว่ พ้นื ทที่ งั้ 3 ลมุ นาํ้ ประโยชน เนือ้ ไมแข็ง ทนทาน ลวดลายสวยงาม ใบออ นใชเปน ผกั สด การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ แกะเนือ้ ออกกอ นนาํ เมล็ดไปเพาะ ไมมเี ทคนิคพิเศษในการปฏบิ ัตติ อเมลด็ กอ นนาํ ไปเพาะ ขอแนะนํา เปน ไมโ ตชา ในระยะกลาไมตองการแสงมาก ควรปลูกไปพรอมกับไมโ ตเรว็ หรือไมเบกิ นาํ ไดทรง พุมกวาง จึงควรเวนระยะหา งพอสมควร ขอ มลู เพ่ิมเตมิ Flora of Thailand 10(3) (2010); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543) 105

มะมว งหวั แมงวนั Buchanania lanzan Spreng. วงศ ANACARDIACEAE ชอ่ื อ่นื – ลกั ษณะวิสัย ไมยืนตน สูง 20 ม. เปลือกตน สีเทาเขม แตกเปนชองส่ีเหลย่ี มแคบ ๆ และลึก เปลือกช้นั ในสีชมพู มีน้ํายางใสท่ี ไมมพี ิษ กง่ิ ออ นมขี นอุยสีน้ําตาลเขม ลักษณะทางพฤกษศาสตรทีส่ ําคญั ใบเด่ยี ว รูปรี รปู ขอบขนาน หรอื แกมรูปไขกลบั ยาว 15–25 ซม. ปลายมนหรอื ตง่ิ มน โคนแหลมหรอื มน ใบออ นมขี นสนี าํ้ ตาลอมแดง ใบแกแ ขง็ และเหนยี ว แผน ใบดา นลา งมขี นตามเสน แขนงใบ เสน แขนงใบขา งละ 10–17 เสน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกทปี่ ลายกง่ิ หรอื ตามซอกใบใกลป ลายก่ิง ดอกสีขาว กา นดอกมขี นสีน้ําตาลหนาแนน กลีบเลี้ยง 4–5 กลบี กวางประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ขยายในผลเล็กนอ ย ติดทน กลบี ดอก 4–5 กลบี รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 4 มม. เกสรเพศผู 8–10 อนั รงั ไขม ขี นส้นั นมุ กา นเกสรเพศเมยี ส้นั ตดิ ทน ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รปู ไข เบี้ยว ยาวประมาณ 1 ซม. สกุ สีมวง มเี มลด็ เดียว เขตการกระจายพนั ธุ อินเดีย พมา ไทย ลาว เวยี ดนาม การกระจายพันธุและนิเวศวทิ ยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และภาคตะวันตกเฉยี งใต ข้นึ ตามปา เบญจพรรณ และปา เตง็ รงั ระดับความสูงจนถึงประมาณ 500 เมตร เปน ผลระหวา งเดอื นมีนาคม–พฤษภาคม ทางภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือพบทั่วพื้นทท่ี ั้ง 3 ลุมนํา้ ประโยชน เนอื้ ไมแ ขง็ ใชในการกอสราง นํ้ามันจากเมล็ดมสี เี หลืองออน ลักษณะใกลเ คียงกบั น้ํามนั มะกอก การขยายพันธุ เพาะเมลด็ ไมม ีขอ มูลการปฏิบัตติ อเมลด็ กอ นนาํ ไปเพาะ ขอแนะนาํ เปนไมโ ตชา ข้ึนไดดใี นทแ่ี หง แลง ตองการแสงมาก เหมาะสาํ หรบั ปลกู ฟน ฟสู ภาพพ้ืนที่ท่ีแหงแลง โดยเฉพาะปาเต็งรงั ท่เี สอื่ มโทรม ขอมูลเพม่ิ เตมิ Flora of Thailand 10(3) (2010) 106

มะมุน Elaeocarpus serratus L. วงศ ELAEOCARPACEAE ช่ืออน่ื – ลักษณะวิสยั ไมต น ขนาดกลาง ไมผลดั ใบ สงู ถงึ 25 ม. เรือนยอดโปรง เปลือกนอกสนี ํ้าตาลเทา คอนขา งเรียบ กิง่ ออ นมขี น ปกคลมุ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบรปู ขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 10–17 ซม. ปลายใบแหลมหรือมน ขอบใบจัก ละเอยี ด ใบแกก อ นรว งสีแดง เสน แขนงใบขางละ 8–13 เสน โคงจรดกนั กอนถึงขอบใบ ชอดอกแบบชอ กระจะ ออกที่กิง่ กา น ชอยาว 6–10 ซม. ดอกสีขาว กา นดอกยอ ยยาวประมาณ 1 ซม. มขี น กลบี เลี้ยงและกลบี ดอกมจี าํ นวนอยา งละ 5 กลีบ กลบี เลี้ยง ดานนอกมีขน กลบี ดอกสขี าว รปู ไขแกมขอบขนาน ยาว 1–2 ซม. ดานนอกมขี นยาว ปลายกลีบจกั เปนครยุ ยาวประมาณก่ึงหนงึ่ ของความยาวกลบี ดอก เกสรเพศผจู าํ นวนมาก ยาวประมาณ 8 มม. มขี นประปราย ปลายเปน หนามแขง็ รงั ไขม ขี นยาวประปราย จานฐานดอกจกั 5 พู ผลแบบผลผนงั ชน้ั ในแขง็ รูปรี ยาว 2.5–3.8 ซม. มี 2–5 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ อินเดยี เนปาล พมา ไทย กมั พชู า อินโดนีเซีย ออสเตรเลยี การกระจายพันธุและนิเวศวทิ ยาในประเทศไทย พบทว่ั ประเทศ ขึ้นตามปาดบิ ชนื้ ดบิ แลง และปา ดิบเขา ระดบั ความสูง 600–900 เมตร เปน ผลเดอื นมิถนุ ายน–กันยายน ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือพบบรเิ วณพื้นท่ตี น นํ้าลมุ น้าํ ชแี ละลุมน้ํามลู ประโยชน เนอ้ื ไมค อ นขา งแขง็ แตไ มท นทาน ใชใ นงานกอ สรา งชว่ั คราว ทรงพมุ สวยงามเหมาะสาํ หรบั ปลกู เปน ไมป ระดบั ในสวน สาธารณะและสองขา งถนน ผลมสี รรพคณุ ดา นสมนุ ไพรแกท อ งเสยี ในศรลี งั กานาํ ผลไปดองจมิ้ เกลอื ขายทวั่ ไป หรอื บดทาํ มสั ตารด เปน เครือ่ งเคยี งในอาหารพืน้ เมอื ง การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ดและปก ชาํ นาจะใชการปฏิบตั ิตอ เมลด็ กอ นนําไปเพาะเชน เดียวกับพรรณไมใ นสกุลมะมนุ อนื่ ๆ คอื ควรนําผลไปแชนํ้า 1 คนื ลา งเอาเปลือกออก ขลบิ ใหเ กิดแผล แลวนําไปแชนา้ํ อกี 1 คืน เมล็ดมอี ัตราการงอกคอ นขา งตํา่ ใชเ วลา ในการเพาะนาน ควรคัดเมลด็ ท่ีมีคุณภาพและแกจ ัด การปกชาํ อาจทาํ ไดรวดเร็วกวา ขอแนะนํา เปน ไมโ ตชา แตในระยะกลา ไมโ ตคอ นขางเรว็ กลา ไมตอ งการแสงมาก เหมาะสาํ หรับสภาพพนื้ ที่ สูงหรอื ท่ีลาดชนั สามารถปลูกพรอมไมโตเรว็ ได ผลชวยดงึ ดดู สตั วปาเขามาในพน้ื ท่ีไดด ี ขอมูลเพ่มิ เตมิ Flora of Thailand 2(4) (1981); ปลกู ใหเ ปน ปา แนวคดิ และแนวปฏบิ ตั สิ าํ หรบั การฟน ฟปู า เขตรอ น (Elaeocarpus lanceifolius Roxb.) (หนว ยวิจยั การฟน ฟปู า , 2549) 107

มะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. วงศ SAPINDACEAE ชอ่ื อ่นื ภาคกลางเรยี ก กะซาํ่ หรอื กาํ ซาํ ภาคตะวนั ออกเฉยี งใต เรยี ก ชนั รู มะหวดบาท หรอื มะหวดลงิ สว นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรียก มะหวดปา หรือหวดคา ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 16 ม. เปลือกเรียบ สีเทาถึงสีน้ําตาล กิ่งมีขนยาวสีน้ําตาลแดงหนาแนน เรือนยอดกลมหรอื รี ลักษณะทางพฤกษศาสตรท ี่สําคญั ใบประกอบแบบขนนกปลายคู มใี บยอ ย 3–6 คู รปู ไข ยาว 5–30 ซม. แผน ใบมขี นยาว ท้ังสองดาน ชอ ดอกแบบชอแยกแขนง ยาวประมาณ 50 ซม. มกี ลนิ่ หอม ดอกสีขาวอมเหลือง กลีบเลย้ี งรูปไขก วา งเกือบกลม ยาว 1.2–3 มม. กลบี ดอก 4–5 กลบี รปู ไขก ลับ ยาว 2–4 มม. มีกา นกลบี ส้นั ๆ ปลายกา นมเี กล็ดและมสี ัน 2 สนั รูปคลายกระบอง ปลายมขี นยาว จานฐานดอกเปน วง เกสรเพศผู 8 อนั ผลแบบผลผนังช้ันในแข็ง แยกเปน 2 พู รูปรี ยาว 0.8–1.3 ซม. สเี ขียว เปลย่ี นเปนสแี ดงและดํา เกล้ียง เมลด็ สีนาํ้ ตาล เขตการกระจายพนั ธุ อนิ เดยี จีนทางตอนใต ไทย ภมู ภิ าคอินโดจีนและมาเลเซยี ออสเตรเลีย การกระจายพันธแุ ละนเิ วศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามปา ผลดั ใบ ดิบแลง ชายปา ริมลําธารระดบั ความสงู 300–1,200 เมตร เปน ผลเดือนเมษายนถึงตลุ าคม ทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือสว นมากพบทางบรเิ วณตนนํ้าของพืน้ ที่ทงั้ 3 ลุมนํา้ ประโยชน เนอ้ื ไมแ ข็ง ใชใ นการกอสรา ง ทาํ เครื่องมือการเกษตร ใบออนกนิ เปน ผกั ผลสุกมีรสหวานรับประทานเปน ผลไม เปน ยาสมานแผล แกไ ขรากสาด แกปวดมวนในทอง เปลอื กตน แกบดิ มกู เลือด รากแกไ ข ไขฝ ภ ายใน การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอ มูลการปฏบิ ตั ิตอ เมล็ดกอ นนาํ ไปเพาะ ขอแนะนาํ เปนไมโตคอนขา งชา ขน้ึ งาย ทนความแหง แลง ไดด ี เปนไมขนาดเลก็ เหมาะสําหรับปลกู เปนไม ช้ันรอง เปน ไมท ีม่ ปี ระโยชนห ลายอยาง ผลสกุ ชวยดึงดูดสัตวป า เขา มาในพน้ื ที่ ขอมูลเพม่ิ เตมิ Flora of Thailand 7(1) (1999); Flora of China Vol. 12 (2007); องคค วามรูเ รอ่ื งพืชปาท่ีใชป ระโยชนท างภาค เหนือของไทย เลม 2 (สุธรรม และคณะ, 2552); ไมอเนกประสงคกินได (สุรีย และอนันต, 2540); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอ้อื มพร และปณิธาน, 2547) 108

เมาชา ง Antidesma bunius (L.) Spreng. วงศ EUPHORBIACEAE ชื่ออื่น ทางภาคตะวนั ออกแถบจังหวัดจันทบุรเี รยี ก เมา ชา ง หรอื แมงเมา ควาย ลกั ษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงถึง 30 ม. โคนตนมกั มีพพู อน ดอกแยกเพศตางตน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คญั ใบเรยี งเวียน รูปรถี ึงรูปขอบขนาน ยาว 5–32 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม แผนใบหนา ชอ ดอกแบบชอ กระจะออกตามซอกใบ ไมมีกลบี ดอก ชอ ดอกเพศผูยาว 6–25 ซม. มักแยกแขนง ดอกไรกาน กลบี เลยี้ ง 3–5 กลบี รูปรกี วาง ยาวประมาณ 1 มม. จานฐานดอกรปู วงแหวนหรือจักเปน พู เกสรเพศผู 3–5 อัน เกสรเพศเมียเปน หมันรปู กระบอง ชอ ดอกเพศเมยี สนั้ กวา ชอ ดอกเพศผู ไมแ ยกแขนง กานดอกยาว 0.5–2 มม. กลีบเลี้ยงมี 3 กลบี คลายดอกเพศผู รงั ไขเ กลยี้ ง ยอด เกสรเพศเมยี แยกเปน 3–4 หรอื 6 แฉก ตดิ ทน ผลรูปรี แบนดา นขาง ยาว 0.5–1 ซม. เมลด็ สีดาํ เขตการกระจายพันธุ อินเดยี ศรลี ังกา จีนตอนใต ภูมภิ าคอนิ โดจนี คาบสมุทรมาเลเซีย นวิ กินี ประเทศในหมเู กาะมหาสมุทร แปซฟิ ก การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค ตะวนั ออกเฉยี งใต และภาคตะวนั ตกเฉยี งใต ขน้ึ ในปา เตง็ รงั ปา เบญจพรรณ ปา ดบิ แลง และปา ดบิ เขา มกั พบตามชายปา รมิ ลาํ ธาร จนถงึ ระดบั ความสงู ประมาณ 2,100 เมตร ผลแกเ ดอื นสงิ หาคม–กนั ยายน ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พบทว่ั พน้ื ทท่ี ง้ั 3 ลมุ นาํ้ ประโยชน ไมเ น้อื คอนขา งแขง็ ใชใ นการกอสรา งชว่ั คราว ดามเคร่ืองใช ผลเปน อาหารของสตั วป า นยิ มปลูกเพ่ือรบั ประทาน ผลหรือนําไปหมกั ทําไวน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ปก ชาํ ติดตา หรอื ทาบกงิ่ เมลด็ กอ นนําไปเพาะใหแ ชกรดซลั ฟว ริก 15 นาที แลวแชใ นนา้ํ 1 วนั อัตราการงอกคอ นขา งสงู ใชเ วลา 30–60 วัน ขอแนะนาํ เปน ไมค อนขางโตชา ระยะกลาไมตองการแสงมาก เหมาะสําหรับพื้นที่ราบลุม และพืน้ ทสี่ งู สามารถปลกู พรอ มไมโ ตเรว็ และไมเ บกิ นําได ผลชวยดึงดูดสัตวปาเขา มาในพนื้ ท่ีไดดี ขอมูลเพิ่มเตมิ PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(1) (2005) 109

โมกมนั Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. วงศ APOCYNACEAE ช่ืออ่นื – ลักษณะวิสยั ไมพมุ หรือไมตนขนาดเลก็ ถึงขนาดกลาง สูงไดป ระมาณ 20 ม. กิ่งออนมีขนส้นั นมุ และมีชองอากาศ ทกุ สว นมี ยางสขี าว ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบรปู รหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 6–17 ซม. ปลายใบแหลมยาว โคนใบรปู ลม่ิ หรอื มน แผน ใบ มขี นส้ันนุมทง้ั สองดา น กลบี เล้ียง 5 กลบี รปู ไข ยาว 1–3 มม. โคนกลีบดานในมแี ผน เปน เกล็ด กลบี ดอกสีเขยี วออ น ขาว หรอื อมเหลอื ง หลอดกลีบดอก ยาว 3–6.5 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก รปู ขอบขนาน ยาว 0.7–1.5 ซม. มขี นสัน้ นมุ ดา นนอก มกี ระ บังรอบปากหลอดกลบี ดอก มีขนสัน้ นมุ ดา นนอก เกสรเพศผู 5 อนั อบั เรณรู ูปหวั ลูกศรติดแนบกับยอดเกสรเพศเมีย ผลเปนฝก แตกแนวเดยี ว 1 คู เช่อื มตดิ กนั หอ ยลง เกลย้ี ง มชี องอากาศกระจาย เมลด็ มีกระจุกขนที่ปลายดา นหนึง่ เขตการกระจายพันธุ อนิ เดยี ศรีลังกา จนี ตอนใต พมา ไทย ลาว การกระจายพันธแุ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และภาคตะวันตกเฉยี งใต ข้นึ ตามพ้ืนทท่ี ีถ่ ูกแผว ถาง ทุงหญา ปาผลัดใบ และชายปาดิบแลง ออกดอกเดอื นกนั ยายนถึงเมษายน ผลแกเ ดอื นมนี าคมถึงเดอื น พฤษภาคม ระดบั ความสงู จนถึงประมาณ 1,500 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื พบกระจายทวั่ พน้ื ท่ที ้งั 3 ลุมนาํ้ ประโยชน เนอื้ ไมคอ นขางแขง็ สีขาวนวล สวยงาม ใชท ําเฟอรน ิเจอร เครื่องมอื เครอ่ื งใชข นาดเล็ก ในประเทศอนิ เดียเนอ้ื ไมใ ช ทําดินสอ การขยายพันธุ เพาะเมลด็ กง่ิ หรอื รากปก ชาํ หรอื ตอนกง่ิ เมลด็ เพาะงา ย ไมม เี ทคนคิ พเิ ศษในการปฏบิ ตั ติ อ เมลด็ กอ นนาํ ไปเพาะ เมลด็ เบา ปลิวงา ย ควรใชท รายกลบในแปลงเพาะ ขอควรระวัง ใบเกิดโรคราสนิมไดง าย ขอ แนะนํา เปนไมโตคอ นขา งชา ขน้ึ ไดดใี นทีโ่ ลง ทแี่ หงแลง ตองการแสงมาก คลา ยไมเ บิกนาํ ใบหนาแนน สามารถปลกู พรอมไมโตเร็วและไมเ บิกนาํ ไดท้ังในที่ราบลมุ และพ้ืนทีส่ งู ขอมูลเพม่ิ เตมิ Flora of Thailand 7(1) (1999) 110

ยอเถอื่ น Morinda elliptica Ridl. วงศ RUBIACEAE ชื่ออื่น – ลกั ษณะวิสยั ไมตน สูง 5–15 ม. ลาํ ตน มกั คดงอ เปลือกนอกสีน้ําตาลแดง แตกเปน รอง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท สี่ าํ คญั หใู บรว มตดิ ระหวา งโคนกา นใบ ใบเรยี งตรงขา ม รปู รี ยาว 10–20 ซม. ปลายใบแหลม หรือมน โคนใบเรียวสอบเขาหากานใบ สวนมากเบ้ียว แผนใบเกล้ียงทั้งสองดาน กานใบยาวประมาณ 1 ซม. ชอดอกแบบ ชอ กระจกุ แนน ออกตามซอกใบ ดอกจาํ นวนมาก กลบี เลย้ี งเชอ่ื มตดิ กนั เปน หลอด ปลายแยก 5 แฉกตน้ื ๆ หรอื ตดั เกสรเพศผู 5 อนั ตดิ ภายในใกลป ากหลอดกลบี ดอก รังไขเชอื่ มติดกัน กานเกสรเพศเมยี แยกเปน 2 แฉก ผลรวม ผลยอยเชอื่ มติดกัน รปู คอนขาง กลมถงึ รูปไข สุกสดี ํา แตละผลยอ ยมี 1 เมลด็ เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย คาบสมทุ รมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย สวนมากพบทางภาคตะวันออกเฉียงใตและภาคใต ข้ึนตามชายปาดิบ แลง และปา ดิบช้ืน ระดบั ความสูงไมเกิน 300 เมตร เปน ผลเดือนพฤษภาคม–สงิ หาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทาง ตอนลา งบรเิ วณลุม นํ้ามูล ประโยชน เนอ้ื ไมใชทําเคร่อื งแกะสลัก หรอื ดามเครอ่ื งมอื รากใชแ กเ บาหวาน ใชยอ มผา ใหมสี เี หลอื ง แกนตมนาํ้ ดืม่ บํารุงเลอื ด ใบตาํ พอกศีรษะฆาเหา การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ไมมขี อ มูลการปฏบิ ตั ติ อเมลด็ กอนนาํ ไปเพาะ ขอแนะนาํ เปน ไมขนาดเล็ก กลา ไมตองการแสงมาก ทนแลงและทนไฟ ใบหนาแนน เหมาะสาํ หรบั ปลกู คลมุ ดนิ รวมกับไมโ ตเรว็ หรือไมเ บกิ นาํ ได โดยเฉพาะในท่รี าบลุม ในระดับตํ่า ๆ ขอ มูลเพ่ิม ไมป า ยนื ตนของไทย 1 (เออ้ื มพร และปณธิ าน, 2547) 111

ยางกราด Dipterocarpus intricatus Dyer วงศ DIPTEROCARPACEAE ชือ่ อืน่ เรียกในภาษาอสี านวา กราด ชาดหรือซาด ภาษาเขมรแถบจังหวดั สรุ นิ ทรเรยี ก จกิ ชะแบง ตะแบง กราย หรือตรายด ลักษณะวสิ ัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สงู ไดถงึ 20 ม. บางคร้งั สูงไดเ กือบ 30 ม. เปลือกแตกเปนรองลึกตามยาว ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท สี่ าํ คญั สว นตา ง ๆ มขี นกระจกุ รปู ดาวทวั่ ไปตามกง่ิ ออ น หใู บ แผน ใบดา นลา ง กา นใบ และ ชอดอก ใบรูปไขห รอื แกมรูปขอบขนาน ยาว 10–25 ซม. พับจีบ เสน แขนงใบเปนเสนตรง มี 10–15 เสนในแตละขาง โคนใบเวา รปู หัวใจต้ืน ๆ ชอ ดอกมกี าบหุม ดอกบดิ เวยี นมี 5 กลบี เกสรเพศผูมีประมาณ 30 อนั ปลายอบั เรณมู ีรยางค ผลมปี กยาว 2 ปก รปู ใบพาย ยาว 6–7 ซม. ปกส้ันรูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงพับจีบเปนคล่ืน ปกออ นสีแดงสด เขตการกระจายพนั ธุ ไทย ภมู ภิ าคอินโดจนี การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบมากทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา ง ขนึ้ ตามทรี่ าบและทมี่ นี า้ํ ทว มขงั โดยเฉพาะบนดนิ ลกู รงั และดนิ ทราย ขน้ึ หนาแนน หรอื กระจดั กระจายในปา เตง็ รงั รว มกบั ไมว งศย างทผี่ ลดั ใบอน่ื ๆ และรอย ตอ ระหวา งปา ดบิ แลง และปาสนสองใบในระดับต่าํ ๆ จนถงึ ระดบั ความสูงประมาณ 400 เมตร ผลแกเดือนเมษายน–พฤษภาคม การสืบตอพนั ธุตามธรรมชาติคอนขางดี โดยเฉพาะการแตกหนอ ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือพบทวั่ ไปทกุ พื้นทที่ งั้ 3 ลุมน้ํา การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ใหเดด็ ปก กอนนําไปเพาะ หรอื อาจใชวิธเี ก็บเมล็ดใหม ๆ กองรวมกันคลมุ ดว ยกระสอบปา น รดนาํ้ เชาเย็นจนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตามภูมิปญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรท่ีปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ขอควรระวงั เมลด็ มักถูกแมลงพวกดว งเจาะไชไดง า ย ประโยชน เปนไมเนื้อแข็งปานกลาง ใชประโยชนในการกอสรางและเครื่องมือเกษตรกรรมที่ไมตองการความแข็งแรงมากนัก ชันใชทาํ ข้ไี ตค ณุ ภาพดี ดอกออน รส ฝาดเปร้ียว รบั ประทานสดกบั นํา้ พรกิ ขอ แนะนํา เปน ไมโ ตชา แตใ นบางพืน้ ทีโ่ ตคอ นขางเร็ว กลา ไมตองการรมเงาในระยะแรก เหมาะสาํ หรับปลกู พ้ืนท่รี าบลุมทวั่ ไปและพื้นที่ทม่ี ีนา้ํ ทว มขงั ในฤดูนาํ้ หลาก ยดึ เกาะหนา ดินไดดี สามารถปลูกผสมผสานกบั ไมว งศ ยางท่ผี ลัดใบหลายชนดิ ไดด ีทง้ั กระบาก พะยอม เหยี ง และพลวง และพรรณไมปาดิบแลง และปา เต็งรังอื่น ๆ ทั้งไมโตชา และโตเร็ว ขอมูลเพ่ิมเติม Flora of Laos, Cambodiia and Vietnam (Smitinand et al., 1990); การจัดการเพาะชํากลาไมคุณภาพ (กรมปา ไม, 2542) 112

ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. วงศ DIPTEROCARPACEAE ชอื่ อน่ื ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มกั เรยี กวา กงุ สว นในภาษา เขมรเรียกวา คลง คลอง คลงุ หรอื โคลง ลกั ษณะวิสยั ไมตน ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ สงู ไดถ งึ 30 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบสีชมพูอมน้ําตาล ยาว 7–10 ซม. ใบขนาดใหญโ ดยเฉพาะในกลา ไมอาจยาวไดก วา 70 ซม. รูปรี ปลายใบแหลม โคนใบรปู หัวใจ มีเสน แขนงใบขา งละ 9–16 เสน เกลี้ยงหรือมีขนรปู ดาวประปรายดานลาง ชอดอกยาว 5–15 ซม. กลบี ดอก 5 กลบี บิดเวียน รปู ใบหอกหรอื รูปเคียว ยาว 2.5–3 ซม. เกสรเพศผมู ีประมาณ 30 อัน ปลายมรี ยางค ผลมปี ก ยาว 2 ปก รูปใบพาย ยาว 9–15 ซม. หรอื อาจยาวไดถ ึง 20 ซม. ปก สัน้ 2 ปก รูปรกี วาง ยาว 1.5–2 ซม. ขอบมวนเขา หลอดกลีบ ชว งบน มี 5 สัน เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมภิ าคอนิ โดจีน การกระจายพนั ธุและนเิ วศวิทยาในประเทศไทย ขนึ้ เปน กลุมหนาแนนหรือกระจัดกระจายในปาเต็งรังปะปนกับไมเหียง กราด เต็ง และรัง โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคตะวันออก- เฉยี งเหนือ แตไ มพ บทางภาคใตแ ละภาคตะวนั ออกเฉยี งใต บางครง้ั พบปะปนในปา เตง็ รงั ผสมสนเขา แตไ มห นาแนน เทา ยางเหยี ง และพบ ในระดับความสูงไม่เกิน 1,000 เมตร ผลแก่ประมาณเดือน เมษายน–พฤษภาคม การสบื ตอ พนั ธตุ ามธรรมชาตคิ อ นขา งดี ทาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือพบทั่วพน้ื ทที่ ้งั 3 ลมุ นาํ้ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเปน เมล็ดสดทป่ี ก เร่มิ เปลี่ยนเปนสนี ํ้าตาลบนตน เดด็ ปกกอ นนําไปเพาะ หรือเก็บเมลด็ ท่ีรว ง และกาํ ลงั งอกเพาะลงใสถ งุ ไดท นั ที หรอื กองรวมกนั คลมุ ดว ยกระสอบปา น รดนา้ํ เชา เยน็ จนรากงอกแลว เดด็ ปก กอ นยา ยลงถงุ ตาม ภมู ปิ ญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรท่ีปฏบิ ัติตอเมลด็ พรรณไมในวงศยาง ขอควรระวัง เมล็ดถกู แมลงเจาะทําลายงา ย ประโยชน เนอ้ื ไมค อ นขา งแขง็ ทนทานทง้ั ในรม และกลางแจง เหมาะสาํ หรบั การกอ สรา งทต่ี อ งการความแขง็ แรง และเฟอรน เิ จอร ทวั่ ไป ชนั ติดไฟเชน เดยี วกบั ชนั ไมสกุลยางท่ัว ๆ ไป ใบขนาดใหญนยิ มใชหอ อาหารหรือทําหลังคาทีม่ ีอายกุ ารใชนานกวา 3 ป ขอแนะนาํ เปนไมโตชา ในระยะกลาไมต อ งการรม เงา ทนแลงและทนไฟไดดี สามารถปลกู ผสมผสานกบั ไมว งศย างชนดิ อน่ื ๆ และไมใ นปา ดบิ แลง และปา เตง็ รงั หลายชนดิ ไดด เี ชน เดยี วกบั เหยี ง ใบไมถ กู แมลงกดั กนิ ไดง า ย ขอ มลู เพ่ิมเตมิ PROSEA 18 (2001); Vietnam Forest Trees (Nguyen et al., 1996); ชีพลกั ษณด อกและผลไมย างพลวง (จินตนา และบุญชบุ , 2540). Website: ARCBC BISS Species Database 113

ยางเหยี ง Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. วงศ DIPTEROCARPACEAE ชอ่ื อน่ื ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มกั เรยี กวา ตะแบงหรอื สะแบง คลา ยกบั ยางกราด สว นภาษาโซ ในจงั หวดั นครพนมเรยี กวา ครา ด ลักษณะวิสยั ไมตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ อาจสูงไดถ งึ 30 ม. ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี ําคัญ สว นตา ง ๆ มีขนรปู ดาวหรือเกอื บเกลยี้ ง ใบรปู รี ยาว 10–30 ซม. เสน แขนงใบ 10–20 เสน ในแตละขา ง ชอ ดอกมีกาบหมุ ดอกบิดเวียน มี 5 กลีบ กลีบรปู ใบหอก ยาว 4–6 ซม. เกสรเพศผมู ีประมาณ 30 อนั อบั เรณู ปลายมีรยางค ผลมีปกยาว 2 ปก รูปใบพาย ยาว 8–15 ซม. ปกส้ันรปู รี ยาว 1.5–2 ซม. หลอดกลบี เล้ยี งเรยี บ เสนผาน ศูนยกลาง 2.5–3 ซม. ปก ออ นสีแดงสด เขตการกระจายพันธุ อนิ เดีย พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน ทางตอนบนของคาบสมทุ รมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ข้ึนหนาแนนเปนกลุมใหญโดยเฉพาะในปาเต็งรังในระดับตํ่า ๆ แถบ ชายฝง ทะเลจนถงึ ระดบั ความสงู กวา 1,300 เมตร ในปา เตง็ รงั ผสมสนเขาทางภาคเหนอื และยงั พบหนาแนน บรเิ วณทร่ี าบสงู ทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือท้ัง 3 ลุมน้ํา โดยเฉพาะข้ึนปะปนกับยางกราด เต็ง และพลวง การสืบตอพันธุตามธรรมชาติและ แตกหนอ ตามธรรมชาติดี ผลแกต ัง้ แตเ ดอื นมกราคม–พฤษภาคม การขยายพันธุ โดยการเพาะเมล็ด ใหเดด็ ปกกอ นนาํ ไปเพาะ เกบ็ เมล็ดท่ีรวงและกําลงั งอกเพาะลงใสถงุ ไดทันที หรืออาจใชว ธิ ี เก็บเมล็ดใหม ๆ กองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้ําเชาเย็นจนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตามภูมิปญญาของ ชาวบา นในจงั หวัดยโสธรทีป่ ฏิบัติตอ เมลด็ พรรณไมใ นวงศยาง ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง แตไมทนทานสําหรับการใชงานกลางแจง ทนปลวก เหมาะสําหรับการกอสรางภายใน ทาํ เฟอรนเิ จอร หรอื ไมอัด ชันใชทาํ ขี้ไตแ ตคณุ ภาพไมด เี ทาเหยี ง กราด ขอแนะนาํ เปนไมโตชา แตในบางพ้นื ทอ่ี าจโตคอนขา งเร็ว เหมาะสําหรับพ้นื ท่ีราบลมุ ทนแลง และทนไฟปา ไดด ี กลา ไมต อ งการรม เงาในระยะ 2 ป แรก สามารถปลกู ผสมผสานกบั ไมห ลายชนดิ ของปา เตง็ รงั และปา ดบิ แลง เชน เดยี วกบั เหยี ง กราด สามารถปลกู รว มกบั ไมส นเขาโดยเฉพาะสนสองใบตามทร่ี าบทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา งไดด ี และไมใบกวางทโ่ี ตชา เชน รัก สาน สารภีปา เหมือด และฮอ ยจัน่ ขอ มูลเพิม่ เตมิ PROSEA 18 (2001); Vietnam Forest Trees (Nguyen et al., 1996); Flora Cambodge, Laos and Vietnam (Smitinand et al., 1990); Foresters’ manual of dipterocarps (Symington, 1941). Website: ARCBC BISS Species Database 114

รักใหญ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou วงศ ANACARDIACEAE ช่อื อน่ื เรยี กเปนภาษาเขมรวา มะเรียะ ลกั ษณะวิสัย ไมตน สูงไดถงึ 20 ม. ก่งิ ออ นปกคลุมดวยขนสขี าว ก่ิงแกเกลย้ี งหรือมีขนส้นั ๆ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ่สี าํ คญั ใบเรยี งเวยี น รปู รี รูปขอบขนาน หรือแกมรปู ไข ยาว 8–20 ซม. ปลายใบแหลมหรอื กลม แผน ใบหนา เกลย้ี งหรอื มขี นสน้ั เสน แขนงใบขา งละ 15–25 เสน ชอ ดอกแบบชอ แยกแขนง ออกทป่ี ลายกง่ิ หรอื ซอกใบใกลป ลายกง่ิ ยาวถงึ 35 ซม. มีขนสั้นนมุ สีนํา้ ตาลหนาแนน ปลายดอกตมู มีขนเปนกระจุก ดอกสีขาว อมชมพหู รอื แดง กลีบเลยี้ งรปู ราง คลายหมวก ยาว 3–7.5 มม. ดา นในมขี นส้นั นมุ กลบี ดอกรปู ขอบขนาน ยาว 6–7 ซม. มีขนอยุ ข้ึนหนาแนน ขยายเปน ปก ในผล เกสรเพศผูม ปี ระมาณ 30 อัน ยาวประมาณ 1 ซม. รงั ไขอ ยใู ตวงกลบี ผลแบบผลผนังช้นั ในแขง็ คอนขา งกลม เสนผา นศูนยก ลาง ยาว 1–3 ซม. มปี ก ทโี่ คน เขตการกระจายพนั ธุ อินเดีย พมา ไทย ภูมภิ าคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ข้ึนกระจายท่ัวไปในปาเต็งรัง ปาเต็งรังผสมสนเขา และ ปาเบญจพรรณ ทุงหญา ระดับความสูง 100–1,000 เมตร ออกดอกเดือนธันวาคม–มกราคม ผลแกเดือนมีนาคม–เมษายน การสบื ตอพันธตุ ามธรรมชาตคิ อนขา งดี ยกเวน พ้นื ที่ท่ถี ูกไฟไหม ทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื พบทวั่ พ้ืนท่ีท้ัง 3 ลมุ นํ้า ประโยชน ไมเ นือ้ แข็ง ทนทาน ใชท าํ เฟอรนเิ จอร เสา คาน รางรถไฟ นา้ํ มันยางใชท าํ นา้ํ มนั เคลอื บเงา แตน ้าํ ยางสดมพี ษิ ทาํ ให ผวิ หนงั อกั เสบ การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด เมลด็ มอี ายสุ น้ั ควรรีบเพาะทนั ที เมลด็ ใชเ วลาในการงอก 2–3 สปั ดาห อตั ราการงอกสงู รอยละ 70–80 ขอ แนะนาํ เปนไมโ ตชา กลาไมตองการแสงมาก แตไ มทนไฟ ข้ึนไดดใี นที่แหงแลง มหี นา ดินตืน้ เหมาะ สาํ หรบั ปลกู ในพื้นทป่ี า เต็งรังท่ีเสอ่ื มโทรมเพอ่ื ยดึ หนาดิน โดยเฉพาะปาเต็งรงั ผสมสนเขาในระดับต่าํ บรเิ วณ ลุมน้าํ มูลตอนลาง และยงั สามารถข้ึนไดด ีในทส่ี งู ไมเ กิน 1,000 เมตร และยังเหมาะปลกู ในปา ชุมชนเพ่ือการใช ประโยชน ขอมลู เพ่มิ เตมิ Flora of Thailand 10(3) (2010) 115

รัง Shorea siamensis Miq. วงศ DIPTEROCARPACEAE ช่อื อน่ื ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือเรียก ฮัง สว นในภาษาเขมรเรียกวา เรยี งหรอื พนมเรยี ง ลักษณะวิสัย ไมต น ขนาดเล็กถงึ ขนาดกลาง สงู ไดประมาณ 25 ม. เปนไมโตชา บางพ้ืนทีล่ าํ ตน มกั เปลาตรง ลักษณะทางพฤกษศาสตรท ีส่ าํ คัญ กิ่งออ นและใบออนมขี นรปู ดาว ใบรปู ไข ปลายใบกลม ปลายมักเปนต่งิ แหลม โคนใบ รปู หวั ใจ ใบออ นสนี าํ้ ตาลแดง ใบแกเ ปลยี่ นเปน สแี ดงกอ นหลดุ รว ง เสน แขนงใบขา งละ 9–16 เสน ชอ ดอกออกตามซอกใบ ดอก สีเหลือง กลบี ดอกเรียงชดิ บิดเวยี นและพับงอกลับ รปู รีกวาง ยาว 1.5–2 ซม. เกสรเพศผมู ปี ระมาณ 15 อัน เรยี ง 2 วง วงนอก มี 10 อนั ปลายอับเรณูมรี ยางค ยาวประมาณครง่ึ หน่ึงของอบั เรณู ผลรปู ไข ยาว 1.5–2 ซม. เกลย้ี ง มปี ก รปู ใบพาย ปก ยาว 3 ปก ยาว 5–8 ซม. ปกสัน้ 2 ปก เรียวแคบ ยาว 1–5 ซม. เขตการกระจายพนั ธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจนี คาบสมทุ รมลายูตอนบน การกระจายพันธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบทุกภาค ข้นึ เปน กลมุ หนาแนน หรอื กระจัดกระจายในปาเต็งรังปะปน กบั เตง็ เหียง กราด หรอื พลวง นอกจากน้ียงั พบปะปนในปาเตง็ รังผสมสนเขาโดยเฉพาะสนสามใบ จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,300 เมตร และยังพบทัว่ ไปตามเขาหนิ ปนู ทางภาคใต ติดผลเดือนกุมภาพนั ธ– เมษายน ประโยชน เนือ้ ไมแขง็ แรงและทนทาน ใชทาํ ประโยชนเ ชน เดียวกบั ไมเ ตง็ ใบใชห อ ขนมแทนใบตองได การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด แตเ มล็ดสูญเสียการงอกเร็ว เมลด็ จะงอกทันทหี ลงั จากรวงหลน โดยเฉพาะถามนี ้าํ ฝน เก็บเมล็ดที่ รว งและกาํ ลงั งอกเพาะลงใสถ งุ ไดท นั ที สามารถทาํ เปน เหงา ปลกู ได หรอื อาจใชว ธิ เี กบ็ เมลด็ แกบ นตน กองรวมกนั คลมุ ดว ยกระสอบ ปา น รดนํ้าเชา เยน็ จนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถงุ ตามภูมปิ ญญาของชาวบานในจังหวดั ยโสธรท่ีปฏบิ ตั ติ อ เมล็ดพรรณไมใ น วงศยาง ขอ แนะนํา เปนไมโตชา ทนแลงและทนไฟมาก แตในระยะกลา ไมไ มทนไฟ สามารถปลูกในดนิ ทีข่ าดความ อดุ มสมบรู ณและมหี นา ดนิ ต้ืน หรือพืน้ ที่ทมี่ ีหินปะปนหนาแนน ขอมลู เพมิ่ เตมิ PROSEA 18 (2001); Dipterocarps of South Asia (Regional Office for Asia and the Pacific, 1985); Vietnam Forest Trees (Nguyen et al., 1996) 116

ราชพฤกษ Cassia fistula L. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE) ชื่ออ่ืน คนู ลักษณะวสิ ยั ไมตน ขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง ผลดั ใบ สูง 10–20 ม. กิง่ เกลีย้ ง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรทีส่ ําคญั ใบประกอบแบบขนนก เรียงเวยี น มีใบยอย 3–8 คู ออกตรงขามกนั รปู ไขหรอื แกมรูป ขอบขนาน ยาว 7–15 ซม. แผนใบออ นมขี นละเอียด ชอดอกแบบกระจะ ออกตามซอกใบหรือตามกง่ิ ยาว 20–45 ซม. ดอก จาํ นวนมาก กานดอกยาว 1.5–3.5 ซม. กลีบเลยี้ ง 5 กลบี รูปไข ยาว 1–1.5 ซม. กลีบดอก 5 กลบี รูปไข ยาว 3–3.5 ซม. มีกาน กลีบส้นั ๆ เกสรเพศผู 10 อนั อันยาว 3 อนั กา นชูอบั เรณยู าวประมาณ 3 ซม. อันสนั้ 4 อัน กานชอู บั เรณูยาวประมาณ 1 ซม. ลดรูป 3 อนั กา นชูอับเรณยู าวประมาณ 5 มม. รงั ไขแ ละกา นดอกมีขนละเอียด ผลเปนฝกทรงกระบอก ยาว 20–60 ซม. เสน ผานศูนยก ลาง 1.5–2 ซม. เมลด็ จํานวนมาก มผี นังก้นั รูปรี แบน สีน้ําตาล ยาว 8–9 มม. เขตการกระจายพันธุ อินเดยี ศรีลังกา พมา ไทย การกระจายพันธแุ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ กระจายหา ง ๆ ในปา เบญจพรรณและปา เตง็ รงั ระดบั ความสงู ไมเ กนิ 300 เมตร นยิ มปลกู เปน ไมป ระดบั ทว่ั ประเทศ ออกดอกเดอื นกมุ ภาพนั ธ– พฤษภาคม ท้ิงใบกอนออกดอก เมลด็ แกเ ดือนมกราคม–มิถนุ ายน ทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื พบทัว่ ไปทง้ั 3 ลมุ นํ้า ประโยชน เนอื้ ไมใ ชใ นการกอสรา ง ทาํ เสา ลอเกวยี น เปลือกและไมใ ชฟ อกหนงั ยอมผา ใบตม กนิ เปนยาระบาย ปลกู บาํ รงุ ดิน ดอกดกสวยงาม นยิ มปลูกเปนไมป ระดับสองขา งถนน เนอ้ื ไมสับเปนชนิ้ เลก็ ใชเค้ยี วกับหมาก การขยายพันธุ เพาะเมล็ด นําเมล็ดมาตัดหรือทําใหเกิดแผลที่ปลายเมล็ด แลวแชน้าํ รอนทิ้งไวประมาณ 1 วัน หรือแชกรด เขมขน 45 นาที กอนนาํ ไปเพาะ หรือขอ มลู จากภมู ิปญญาชาวบา น จงั หวดั ยโสธร ใหขลิบเมลด็ ใหเกิดแผล แชน าํ้ 1–3 วนั นําขึ้น หอกระสอบปาน รดนา้ํ พอชุม 2–3 วัน เมล็ดงอกแลว ยายลงถงุ กลา ไมท ่เี หมาะสมในการนาํ ไปปลูกควรมีอายมุ ากกวา 6 เดอื น ขอ แนะนํา เปน ไมโ ตชา ในระยะกลา ไมต อ งการแสงมาก ระบบรากแผกวาง ลึก เหมาะสาํ หรับการปลูกฟน ฟู ปา ชายนา้ํ หรอื ทีร่ าบลุม โดยเฉพาะในปา เบญจพรรณท่แี หงแลง ชวยบํารุงดิน ควรระวงั ในเรอ่ื งดวงแมลงปกแขง็ ทีช่ อบไชลําตน และกง่ิ ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 4(1) (1984); การจัดการเพาะชํากลาไมคณุ ภาพ (กรมปา ไม, 2542); ลักษณะทางสณั ฐาน วทิ ยาของกลาไมข นาดเหมาะสมตอการปลูกปา (อาํ ไพ, 2544) 117

ลาย Microcos paniculata L. วงศ MALVACEAE ชื่ออ่ืน ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกคลายกันในหลายชื่อ ไดแก ตาปลา หมากคอม คอม ปอกุม พา มะคอม มะกอ ม ใหคอย และผาออม ภาคกลางเรยี ก คอมและหลาย ลักษณะวสิ ัย ไมตน ขนาดเล็กถงึ ขนาดกลาง ผลัดใบ สงู ไดป ระมาณ 20 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่สี าํ คัญ ใบเรียงสลบั ในระนาบเดยี วกัน รูปรหี รือรปู ขอบขนาน ยาว 8–17 ซม. ปลายใบแหลม หรอื แหลมยาว โคนใบรูปลิ่ม กลม หรือเวาตืน้ ๆ ขอบใบเปนคลนื่ เสน โคนใบ 3 เสน เสนแขนงใบขา งละ 6–8 เสน เสนแขนงใบ ยอ ยแบบขน้ั บนั ได ชอ ดอกแบบชอ กระจกุ แยกแขนง ออกตามซอกใบทป่ี ลายกง่ิ ยาว 5–10 ซม. กลบี เลย้ี ง 5 กลบี แยกกนั รปู ไขก ลบั ยาว 5–7 มม. มีขนดานนอก กลบี ดอก 5 กลบี รูปรี ยาว 2–4 มม. มตี อ มที่โคนดานใน เกสรเพศผจู าํ นวนมาก ตดิ บนเสาเกสร เกล้ียง อับเรณูติดท่ีโคน รังไขรูปไข ยาวประมาณ 2 มม. เกล้ียง ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไขกลับ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ผิวคลายแผนหนัง เกลยี้ ง เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา จีน พมา ไทย ภมู ิภาคอนิ โดจนี คาบสมุทรมลายู ชวา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ข้ึนในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และ ปาดิบชื้น โดยเฉพาะตามชายปา ระดับความสูง 100–600 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทุกพ้ืนท่ีท้ัง 3 ลุมน้ํา โดยเฉพาะทางตอนลา งของลมุ นํ้ามลู ประโยชน เน้อื ไมคอ นขา งแข็ง ใชทําเฟอรนิเจอรส ํานกั งาน เปน สมนุ ไพรจนี มีสรรพคุณชว ยระบบยอ ยอาหาร แกห วัด ทองเสยี หรอื เปนไข การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมม ีขอมูลการปฏบิ ตั ิตอเมล็ดกอ นนาํ ไปเพาะ ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขา งชา ในระยะกลา ไมต อ งการแสงมาก ทนแลงและทนนํ้าทวม เหมาะสําหรบั ปลกู ตามพนื้ ทรี่ าบลุมเพ่ือปองกนั การพังทลายของดิน ขอมูลเพ่มิ เตมิ Blumea Volume 56(3) (Chung & Soepadmo, 2011); Flora of Thailand 6(1) (1993); Flora of China Vol. 12 (2007) 118

ลําดวน Melodorum fruticosum Lour. วงศ ANNONACEAE ชือ่ อนื่ – ลักษณะวสิ ยั ไมต น ขนาดเลก็ สูง 6–12 ม. เปลอื กสีน้ําตาล ลักษณะทางพฤกษศาสตรท สี่ าํ คญั ใบเด่ยี ว รปู ขอบขนาน ยาว 5–12 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนรปู ลม่ิ เสน แขนงใบขา งละ 12–15 เสน กานใบยาว 4–6 มม. ดอกออกเดยี่ ว ๆ ทีป่ ลายกงิ่ หรือตามซอกใบ ดอกสเี หลืองหรือสแี ดง มกี ลิ่นหอม กลีบเลยี้ ง รปู ถวย ปลายแยกเปน 3 แฉก รูปสามเหลย่ี ม กลบี ดอกเรียงเปน 2 ชน้ั ดอกบานเสน ผานศูนยกลางประมาณ 2 ซม. แผนกลีบหนา รูปไข กลบี ชน้ั ในหนาและแขง็ กวา กลบี ดอกช้นั นอก หอตวั เรยี งชดิ กนั เปนทรงกลม ผลกลุม มีผลยอย 15–20 ผล กลม ๆ รี ๆ เสนผา นศูนยกลาง 5–6 มม. ปลายมีต่ิงส้ัน ๆ สุกสดี ํา มเี มลด็ เดยี ว เขตการกระจายพันธุ ไทย กัมพชู า เวียดนาม ชวา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคของประเทศ ยกเวนภาคใตและภาคตะวันตกเฉียงใต ขน้ึ ตามปา ดบิ แลง ใกลแ หลง นาํ้ ระดบั ความสงู 100–200 เมตร เปน ผลระหวา งเดอื นมถิ นุ ายน–กรกฎาคม ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พบมากทางตอนลางของลมุ นาํ้ มลู ประโยชน เน้อื ไมค อ นขา งแขง็ แตม ีขนาดเล็ก ใชทาํ ดามเคร่ืองมือ ปลูกเปนไมป ระดบั มีดอกหอม การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ และตอนกง่ิ จากภมู ปิ ญ ญาชาวบา นในจงั หวดั ยโสธร ใหน าํ เมลด็ แชน าํ้ ประมาณ 3 วนั หรอื จนเมลด็ พอง กอ นนาํ ไปเพาะลงแปลงเพาะ ขอแนะนาํ เปน ไมโ ตชา ข้นึ ไดด ที ัง้ ทีแ่ หงแลง และมีน้ําทว มขัง เหมาะสาํ หรับปลกู เปน ไมช้ันรองในปาดิบแลง ในระดบั ตาํ่ ๆ หรอื ทรี่ าบลมุ ขอมลู เพิม่ เติม พรรณไมว งศกระดังงา (ปยะ, 2544) 119

ลํ่าตาควาย Diospyros coaetanea H. R. Fletcher วงศ EBENACEAE ช่ืออ่นื แถบจังหวดั เลยเรยี ก หอมขวาน ลักษณะวสิ ยั ไมต น ขนาดกลาง ผลดั ใบ สงู ถงึ 25 ม. เปลอื กนอกสเี ทาดาํ แตกเปน รอ งตน้ื ๆ ตามยาว เปลอื กในสนี าํ้ ตาลแดง ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คญั ใบรูปรหี รอื ขอบขนาน ยาว 12–20 ซม. ปลายใบแหลม แผน ใบหนา ดานลางมีขนสัน้ นุม หรอื เกลี้ยง เสน แขนงใบขางละ 20 เสน โคง จรดกันกอ นถึงขอบใบ กา นใบยาว 7–10 มม. ดอกเพศผอู อกเปน ชอแบบชอเชงิ หลนั่ หรอื ชอ แยกแขนง ดอกเพศเมยี ออกเดย่ี ว ๆ กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมจี าํ นวนอยา งละ 4–5 กลบี กลบี เลย้ี งโคนเชอ่ื มตดิ กนั รปู ระฆงั ปลายแยกเปนแฉกลึกประมาณกึ่งหน่ึง มีขนส้ันนุมสีนํ้าตาลดําท้ังสองดาน กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอด ปลายแยกลึก ประมาณหนึง่ สว นหา ของความยาว ดานนอกมขี นส้นั นมุ เกสรเพศผู 10–14 อัน รงั ไขล ดรูปเปน กระจุกขน ดอกเพศเมียคลา ย ดอกเพศผูแ ตม ีขนาดใหญกวา ผลแบบผลสดมีหลายเมลด็ กลม ๆ เสนผานศูนยก ลาง 2–3 ซม. เปลือกนอกแข็ง มขี นประปรายท่ี สวนโคน เขตการกระจายพนั ธุ พืชถน่ิ เดยี วของไทย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบทว่ั ทกุ ภาคของประเทศ ขน้ึ ตามพน้ื ทเ่ี ปด โลง ปา เบญจพรรณ ปา เตง็ รงั และปาดิบแลง ระดับความสูง 200–500 เมตร ออกดอกเดือนมีนาคมถึงเมษายน เปนผลเดือนเมษายน–กรกฎาคม ทางภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื บรเิ วณลุมนา้ํ ชีและลมุ น้าํ มลู การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บในขณะทผ่ี ลเร่มิ แก เพ่ือปอ งกนั แมลงเจาะทําลาย ลา งเปลอื กออก แชนํ้าประมาณ 1 คนื กอ นนาํ ไปเพาะ เชนเดียวกบั การปฏบิ ัติตอเมลด็ กอนนําไปเพาะของพรรณไมในสกุลมะเกลือ ประโยชน เน้อื ไมแ ข็ง ทนทาน ใชในการกอ สราง เฟอรนิเจอร ผลสุกเปนอาหารของสตั วป า ขอ แนะนาํ เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตอ งการรม เงา ทนแลงและไฟปา เหมาะสําหรับฟน ฟสู ภาพพื้นท่ี ทแ่ี หง แลง ดึงดดู สัตวป า เขามาในพนื้ ท่ี ขอ มูลเพ่ิมเติม Flora of Thailand 2(4) (1981). Website: Cambodian Tree Species 120

สาธร Millettia leucantha Kurz วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE) ช่อื อ่นื บางจังหวดั ทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เรยี ก กระเจา ะ ลักษณะวสิ ัย ไมต นขนาดเล็กถงึ ขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10–20 ม. สเี ทาเรียบหรอื แตกเปน สะเกด็ ตื้น ๆ ก่งิ ออนมีขนสัน้ นมุ สีนาํ้ ตาลแดง กิ่งแกม ชี อ งอากาศ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ีส่ ําคัญ มขี นสัน้ นมุ ตามแกนใบ แผนใบดา นลาง กานใบยอ ย ชอ ดอก กลีบเลี้ยง และผล ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ยาว 10–50 ซม. รวมกาน มีใบยอย 3–9 ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4–30 ซม. ปลายใบแหลม ยาว มหี ใู บยอ ยขนาดเลก็ ยาวประมาณ 1 มม. เสน แขนงใบขา งละ 6–12 เสน กา นใบยอ ยยาว 4–5 มม. ชอ ดอกคลา ยชอ กระจะ หอ ยลง ยาว 15–20(–45) ซม. รวมกานชอ ท่ียาว 1–4 ซม. แตละขอ มี 2–5 ดอก รูปดอกถั่ว กานดอกยาว 1–4 มม. ดอกยาว 1.2–1.4 ซม. กลีบเลย้ี งเชื่อมติดกนั เปนหลอด ยาว 5–6 มม. ปลายแยกแยกเปน 4 กลีบ รปู สามเหล่ียม ยาว 3–5 มม. กลบี ดอก สมี วงอมขาว กลีบกลางกลมกวา ง โคนเวา รปู หัวใจ มีกา นสัน้ ๆ รงั ไขม ีขนยาว ฝก รปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอกกลบั ยาว 7–17 ซม. มี 1–5 เมล็ด รปู รี ยาว 1.5–2 ซม. เขตการกระจายพนั ธุ จนี ตอนใต พมา ไทย ลาว กมั พูชา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาค ยกเวนภาคตะวันออกเฉียงใตและภาคใต ขึ้นใน ปา เบญจพรรณ สว นมากพบในระดบั ความสงู ไมเ กนิ 500 เมตร ตดิ ผลเดอื นพฤศจกิ ายน–สงิ หาคม ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สวนมากพบทางตอนบน ประโยชน เนื้อไมคอ นขางแขง็ ใชใ นการกอ สราง ทาํ เครอ่ื งเรือน และดา มเครือ่ งมือตาง ๆ บางชนดิ ท่มี ีลักษณะคลา ย ๆ กัน เชน สะทอนนาํ้ ผัก (Millettia utilis Dunn) ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบนแถบจงั หวัดเลยใชใ บหมักไดเปนนํ้าปรุงรส เรียกวา นา้ํ ผกั สะทอน การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ใหน าํ เมลด็ แชน า้ํ เยน็ นาน 16 ชวั่ โมงกอ นนาํ ไปเพาะ มอี ตั ราการงอกสงู กลา ไมท เี่ หมาะสมในการนาํ ไปปลูกควรมีอายมุ ากกวา 6 เดือน ขอ แนะนาํ เปนไมโ ตชา ชอบทแ่ี หง แลง เหมาะสาํ หรับปลูกฟน ฟสู ภาพปาเบญจพรรณทีเ่ สื่อมโทรม โดย เฉพาะพนื้ ทท่ี ่มี ีหนิ ปะปนหนาแนน ชว ยบาํ รุงดนิ ขอมูลเพ่ิมเติม Flora of China Vol. 10 (2010); ลกั ษณะทางสณั ฐานวิทยาของกลา ไมข นาดเหมาะสมตอการปลกู ปา (อําไพ, 2544) 121

สเี สยี ดนํา้ Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw วงศ EUPHORBIACEAE ชอ่ื อน่ื แพงพวยบก ลกั ษณะวสิ ยั ไมพ มุ หรอื ไมต น ขนาดเลก็ สงู ถงึ 15 ม. มเี กลด็ ตอ มสเี หลอื งหรอื นาํ้ ตาลแดง และขนรปู ดาวหรอื ขนธรรมดาปกคลมุ ท่ัวไป ดอกแยกเพศตางตน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ี่สาํ คญั หูใบรปู สามเหลย่ี ม ยาวไดเ กือบ 1 มม. ใบ เรียงเวียนหรอื เกือบตรงขาม รูปรี รูปขอบ ขนาน หรอื แกมรปู ไขกลับ ยาว 5.5–16 ซม. โคนใบเวา ต้ืน ๆ หรือมน มีตอมท่โี คนใบ 1–5 ตอม ขอบใบหยกั มน มีตอ มทข่ี อบ หยัก กา นใบยาว 1.2–4 ซม. ชอ ดอก มี 1–3 ชอ ชอ ดอกเพศผยู าวไดป ระมาณ 18 ซม. ดอกออกเปนกระจกุ 3–7 ดอก บนแกน ชอ ดอกบานเสน ผานศนู ยก ลาง 4 มม. กลีบเลี้ยง 3–4 กลบี ไมมกี ลีบดอก เกสรเพศผู 20–25 อัน ชอดอกเพศเมยี ยาว 7–21 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ บนแกนชอ ดอกบานเสน ผานศูนยกลาง 3–4 มม. กลบี เลีย้ ง 5–6 กลบี ไมม ีกลีบดอก รงั ไขมี 3 ชอง ยอดเกสร เพศเมยี แยก 3 แฉก ไรก า น ผลแบบแคปซลู แหงไมแตก มปี ก 3 ปก ดูคลา ยรูปพีระมดิ กลับดา น ยาวประมาณ 3 ซม. เมลด็ กลม สนี ้าํ ตาล เปน มันวาว เสน ผา นศนู ยก ลาง 4–5 มม. เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอนิ โดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคกลาง ภาคเหนือตอนลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลา ง ขนึ้ ตามรมิ น้าํ หรือในปาดบิ แลงในระดับตา่ํ ระดับความสูงไมเกิน 150 เมตร ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือพบเฉพาะ บรเิ วณลุมนาํ้ มลู ตอนลาง ประโยชน ไมเ นอ้ื แข็ง แตม ขี นาดเล็ก ใชทําฟน ไมมกี ารนําไปใชป ระโยชนด านอน่ื การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมม ีขอมลู การปฏิบัตติ อเมลด็ กอนนําไปเพาะ ขอ แนะนาํ เปนไมโตชา ตนขนาดกลาง พุม กวา งหนาแนน ระบบรากลกึ ทนนาํ้ ทว ม เหมาะสําหรบั ปลูกใน ทีร่ าบลมุ ที่มีนาํ้ ทวมขัง ชวยปองกนั การพังทลายของชายฝง แมนํ้าไดดี หรือปลูกเปน ไมชั้นสองเพ่อื ฟน ฟสู ภาพ ปาดบิ แลงที่เสื่อมโทรมในระดับตํ่า ๆ ขอ มลู เพิ่มเติม Flora of Thailand 8(2) (2007) 122

หวาหิน Syzygium claviflorum (Roxb.) A. M. Cowan & Cowan วงศ MYRTACEAE ชื่ออืน่ – ลักษณะวสิ ัย ไมต นขนาดกลาง ไมผ ลดั ใบ สูงถงึ 25 ม. เรือนยอดโปรง เปลอื กนอกสีนํ้าตาลเทา เรยี บหรือลอ นเปน แผน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งตรงขา ม รปู รี รปู ไข หรอื แกมขอบขนาน ยาว 5–17 ซม. แผน ใบเหนยี ว เสน กลางใบ เปน รอ งทางดานบน เสน แขนงใบขา งละ 13–26 เสน เสนขอบใบ 2 เสน ชอ ดอกแบบชอแยกแขนง ออกทซี่ อกใบหรือปลายกง่ิ ยาวถึง 3 ซม. ดอกสขี าวหรอื สเี หลอื งออ น ไรกา น ฐานดอกรปู กระบองหรือรปู แตร ยาว 1–2 ซม. กานดอกเทยี ม ยาว 0.7–1.5 ซม. กลบี เลยี้ ง 4 กลบี ขนาดเล็ก มฝี าปดคลายหมวกบาง ยาว 1.5–4 มม. กลบี ดอก 5–10 กลีบ มตี อม 20–30 ตอ ม เกสรเพศผู จํานวนมาก วงนอก ยาว 0.5–1.2 ซม. กานชเู กสรเพศเมยี ยาว 0.6–1.8 ซม. ผลแบบมีเนื้อมีหลายเมลด็ รปู ขอบขนาน สกุ สดี ํา เขตการกระจายพันธุ อนิ เดีย บังกลาเทศ จีน พมา ไทย เวยี ดนาม ภูมภิ าคมาเลเซีย ออสเตรเลยี การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ข้ึนตามริมลําธารในปาดิบแลงและปาดิบช้ืน จนถึงระดับ ความสงู ถึงประมาณ 1,200 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบบรเิ วณตน นํ้าของลุมนํ้ามลู และลมุ น้าํ ชี แถบจงั หวัดเลย ชัยภูมิ และขอนแกน ประโยชน เน้อื ไมแ ขง็ ใชในการกอ สรา ง เครือ่ งมอื ผลสุกรบั ประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด คดั เมลด็ เสียท้ิง แกะเอาเนอ้ื ออก ไมม วี ิธีปฏบิ ตั ิตอ เมล็ดกอ นนําไปเพาะ อตั ราการงอกสงู กลา ไม คอนขา งโตเร็ว ขอแนะนาํ เปน ไมโตคอ นขา งชา ชอบความชมุ ชื้น เหมาะสาํ หรบั ปลูกฟน ฟสู ภาพปา ดบิ แลง ริมลําธาร ใน ทส่ี งู โดยเฉพาะทร่ี าบลมุ บนภเู ขาหนิ ทราย ผลดงึ ดดู สตั วป า ไดด ี เชน เดยี วกบั หวา นา Syzygium cinereum (Kurz) Chantar. & J. Parn. ทลี่ กั ษณะทางนเิ วศวิทยาคลา ย ๆ กนั ขอ มูลเพม่ิ เติม Flora of Thailand 7(4) (2002) 123

เหมอื ดโลด Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. วงศ EUPHORBIACEAE ช่ืออ่นื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรียก เหมอื ดสม หรอื โลด ลักษณะวิสยั ไมตนขนาดเล็ก สูง 8–10 ม. ยอดออนและก่งิ ออนมีขนสั้นนุมสนี าํ้ ตาลแกมเหลอื ง เปลือกหนา แตกเปน รองลกึ ตามยาว ดอกแยกเพศตางตน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ีส่ ําคญั ใบเรยี งเวยี น รปู รหี รอื รปู ไขก ลับ 10–16 ซม. โคนใบกลมหรอื เวาต้นื ๆ มีตอ มตามขอบ ใบ แผน ใบคอ นขา งหนา ดา นลางมีขนสัน้ นมุ ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงสน้ั ๆ คลายชอ เชงิ ลด ออกตามซอกใบ มขี นสน้ั นุม ท่ัวไป ดอกไรก าน กลีบเลี้ยง 4 กลบี ไมม กี ลบี ดอก ชอดอกเพศผูอ อกยาว 1–5.5 ซม. ดอกออกเปนกระจุก 2–6 ดอกบนแกนชอ เกสรเพศผู 2–3 อัน ชอดอกเพศเมยี สัน้ มาก ดอกออกเดย่ี ว ๆ บนแกนชอ มีประมาณ 7 ดอก รงั ไขม ขี นสั้นนุม เกสรเพศเมีย แยก 2 แฉก ผลแหงแตก รปู ไข ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีต่งิ แหลม มีขนสีน้าํ ตาลแกมเหลืองหนาแนน สว นมากมเี มล็ดเดียว มีเยอ่ื หุมสีสม เขตการกระจายพนั ธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมภิ าคอนิ โดจีน การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย พบแทบทกุ ภาคยกเวน ภาคใต ขนึ้ ทว่ั ไปในปา เตง็ รงั ปา เตง็ รงั ผสมสนเขา ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดบิ เขา จนถึงระดบั ความสูงประมาณ 1,500 เมตร ผลแกเดอื นเมษายน–พฤษภาคม ทางภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื พบทุกพืน้ ทีท่ ง้ั 3 ลมุ น้าํ ประโยชน เนอื้ ไมใ ชใ นงานกอ สรา งชวั่ คราว ผลเปน อาหารสตั วป า เปลอื กตน มยี างสแี ดงใชเ ปน สยี อ ม ปรงุ เปน ยาขบั ลมในลาํ ไส และขับระดู การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ไมมขี อมลู การปฏิบัติตอเมลด็ กอ นนาํ ไปเพาะ ขอ แนะนาํ เปน ไมโ ตชาขนาดเลก็ ตอ งการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกในสภาพพ้ืนที่แหงแลงทีเ่ สือ่ มโทรม โดยเฉพาะในปาเตง็ รัง หมายเหตุ มลี กั ษณะใกลเคียงกบั นวลเส้ียน Aporosa octandra (Buch.-Ham ex D. Don) Vickery โดยเฉพาะชนิดพนั ธุยอ ย var. yunnanensis มาก แตโคนใบเวารปู หัวใจ และนวลเสย้ี นมกั มกี ิ่งหรือใบทีเ่ กลี้ยงหรอื มีขนประปราย และพบปะปนกบั เหมือด โลดท่วั ไปทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ในที่นีพ้ รรณไมท ง้ั สองชนดิ แยกไดค อนขางยากและสามารถใชแทนกนั ได ขอมลู เพิ่มเตมิ Flora of Thailand 8(1) (2005) 124

แหว Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Perry วงศ MYRTACEAE ชอ่ื อ่นื แถบจังหวดั เลยเรยี ก หวาข้นี ก ลกั ษณะวสิ ัย ไมตนขนาดเล็กถงึ ขนาดกลาง ไมผลดั ใบ สูงถึง 15 ม. เรอื นยอดกลมแนน ทึบ ลาํ ตนเปลาตรง เปลือกสีเทา เรยี บ หรอื แตกเปน สะเก็ด ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งตรงขา ม รปู ใบหอก ยาว 5–13 ซม. แผน ใบเหนยี ว เสน กลางใบเปน รอ งทางดา นบน เสนแขนงใบขา งละ 13–25 เสน มเี สน ขอบใบ 1 เสน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกท่ีซอกใบและปลายก่งิ ยาวถึง 9 ซม. ดอก สีขาวหรอื สีเหลอื งออน ไรก า น ฐานดอกรปู แตร ยาว 3.5–5.5 มม. กา นดอกเทียม ยาว 2–2.5 มม. กลีบเลย้ี ง 4 กลีบ ขนาดเลก็ กลีบดอก 4 กลบี กลบี มตี อม 5–8 ตอ ม เกสรเพศผจู าํ นวนมาก กา นชอู ับเรณวู งนอกยาวกวาวงใน ยาว 3–6.5 มม. กานเกสรเพศ เมยี ส้ันกวากา นชอู บั เรณูวงนอก ผลแบบมีเนอื้ มีหลายเมลด็ รปู รแี คบ ๆ ยาว 8–9 มม. สกุ สดี าํ เขตการกระจายพนั ธุ พมา ไทย ภูมิภาคอนิ โดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต และภาคตะวนั ตกเฉยี งใต ขึน้ ตามรมิ ลาํ ธารในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ระดับความสูง 150–800 เมตร ทางภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนอื พบกระจายทัว่ พ้นื ทลี่ ุม นาํ้ ทง้ั 3 โดยเฉพาะรมิ ลําธารและแมน ํา้ ประโยชน เนื้อไมแ ขง็ แตม ขี นาดเลก็ ใชท าํ ฟน ผลสกุ รบั ประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด คัดเมลด็ เสยี ท้ิง แกะเอาเน้อื ออก ไมม ีวธิ ปี ฏบิ ัติตอ เมลด็ กอนนําไปเพาะ อตั ราการงอกสูง กลาไม คอนขา งโตเร็ว ขอแนะนาํ เปนไมโตคอนขา งชา ระบบรากลกึ ชอบที่ชมุ ชืน้ เหมาะสาํ หรับปลกู ฟนฟูสภาพปาทง้ั ปา เตง็ รัง และปา ดิบแลง โดยเฉพาะริมลาํ ธารทง้ั ท่รี าบลมุ ระดบั ตาํ่ ๆ และทรี่ าบลุมในระดบั สงู บนภูเขาหนิ ทราย ปองกนั การกัดเซาะและการพังทลายของดนิ ผลดึงดดู สัตวป าใหเ ขา มาในพ้นื ท่ี ขอมูลเพิม่ เตมิ Flora of Thailand 7(4) (2002) 125

อีโด Diospyros bejaudii Lecomte วงศ EBENACEAE ชอ่ื อื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบนเรยี ก มันหมู ภาคตะวนั ออกเฉยี งใตเ รยี ก พลบั ดง ลักษณะวสิ ัย ไมตน ไมผ ลัดใบ โตชา สงู ถึง 20 ม. ลาํ ตน เปลาตรง เปลอื กนอกสีขาวเทา กิง่ ออนมขี นประปราย ดอกแยกเพศ ตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ ําคญั ใบรปู ไขหรอื รปู ขอบขนาน ยาว 3–15 ซม. แผนใบหนา ใบแกแหงสีดํา เสนแขนงใบขาง ละ 8–15 เสน โคงจรดกนั กอนถึงขอบใบ ดอกเพศผูอ อกเปนชอกระจุก 2–4 ดอก ท่ซี อกใบ ไรก า น กลีบเล้ยี งรปู ระฆัง ยาว 4–6 มม. ปลายแฉกลกึ ประมาณกง่ึ หนง่ึ ดานนอกมขี นส้นั นมุ กลบี ดอกรปู กงลอ ยาว 1–1.5 ซม. ปลายแฉกลกึ ประมาณกึง่ หนง่ึ ดา น นอกมขี นคลายไหม เกสรเพศผู 14–20 อนั เกสรเพศเมยี ลดรูปเปนขน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ คลา ยดอกเพศผูแ ตมีขนาด ใหญก วา รงั ไขม ขี นคลา ยไหม ผลแบบมเี นอ้ื มหี ลายเมลด็ รปู รี ยาว 3–3.5 ซม. เปลอื กแหง แขง็ กลบี เลย้ี งตดิ ทนแผข ยาย ขอบกลบี เปนคลืน่ เมล็ดมเี อนโดสเปร มยน เปน ลาย เขตการกระจายพนั ธุ ไทย กมั พูชา คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธแุ ละนิเวศวทิ ยาในประเทศไทย พบท่วั ทุกภาคของประเทศ ขน้ึ ตามปา ดบิ แลง ปาดบิ ชนื้ และเขาหนิ ปูน ระดับความสูงจนถงึ ประมาณ 300 เมตร เปนผลเดือนพฤษภาคม–ธนั วาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบกระจายหา ง ๆ ทั้ง 3 ลุม นํา้ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บในขณะที่ผลเริ่มแก เพอื่ ปองกนั แมลงเจาะทําลาย ลา งเปลอื กออก แชนาํ้ ประมาณ 1 คืน กอ นนําไปเพาะ เชนเดียวกบั การปฏิบตั ิตอเมล็ดกอ นนําไปเพาะของพรรณไมในสกุลมะเกลือ ประโยชน เนื้อไมสีขาว แกน มีสดี ําเพยี งเล็กนอย เน้อื ไมแข็งแรง ทนทาน เหมาะสําหรับทาํ เฟอรนิเจอร เครือ่ งดนตรี และดา ม เครอ่ื งมือชั้นดี ผลเปนอาหารของนกหรือสัตวปา ขอ แนะนํา เปน ไมโ ตชา ในระยะกลาไมตองการรม เงา ทนแลง และไฟปา เหมาะสําหรับปลกู ในพ้ืนท่ีราบลมุ ท่แี หง แลงในระดบั ตาํ่ ๆ ใบหนาแนน ผลชวยดงึ ดดู สัตวปาเขามาในพื้นท่ี ขอมลู เพม่ิ เตมิ Flora of Thailand 2(4) (1981); Cambodian Tree Species, Monographs (DANIDA, 2004) 126

ºÃóҹءÃÁ กรมปาไม. 2542. การจัดการเพาะชํากลาไมค ุณภาพ. สว นเพาะชาํ กลา ไม, สาํ นักสง เสรมิ การปลกู ปา . จําลอง เพ็งคลาย, ธวัชชัย วงศป ระเสรฐิ , ธีรวัฒน บุญทวีคุณ, พงษศ ักด์ิ พลเสนา และทนงศักด์ิ จงอนรุ กั ษ. 2549. พรรณไมวงศไ มกอของไทย. โรงพมิ พก รงุ เทพ (1984) จํากดั , กรงุ เทพฯ. จนิ ตนา บุพบรรพต และบุญชุบ บญุ ทว.ี 2540. ชีพลักษณดอกและผลไมย างพลวง. เอกสารผลงานวิจัย สวนวน วัฒนวิจยั สาํ นกั วชิ าการปา ไม, กรมปา ไม. ไซมอน การดเนอร, พนิ ดา สทิ ธิสุนทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร. 2543. ตนไมเมอื งเหนอื . โครงการจดั พมิ พ คบไฟ, กรุงเทพฯ. ธงชยั เปาอินทร และนิวัตร เปาอินทร. 2544. ตน ไมยานาร.ู พิมพคร้งั ที่ 1. บรษิ ทั ออฟเซ็ท เพรส จํากัด, กรุงเทพฯ. ธวัชชัย สันติสุข. 2549. ปาของประเทศไทย. สํานักหอพรรณไม, กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ. นันทวัน บุณยะประภศั ร และคณะ. 2542. สมนุ ไพรไมพืน้ บา น (3). สํานักพมิ พป ระชาชน, กรงุ เทพฯ. นิตย โกมาสถิตย. 2530. การประเมินผลผลติ ของเมลด็ และระยะเวลาในการเกบ็ เมลด็ . กรมปาไมแ ละศนู ยเ มล็ด พนั ธไุ มป า อาเซ่ียน-แคนาดา อ.มวกเหล็ก จ.สระบรุ ี. ปย ะ เฉลมิ กล่นิ . 2544. พรรณไมวงศก ระดังงา. บริษทั อมรนิ ทรพ ริน้ ติง้ แอนดพ บั ลิชชงิ่ จํากัด (มหาชน), กรงุ เทพฯ. วิโรจน รัตนพรเจรญิ . 2546. ความผนั แปรของการเตบิ โตและลักษณะทางกายภาพบางประการของไมสกลุ ยมหิน จากถ่ินกําเนิดตา ง ๆ. วทิ ยานิพนธปรญิ ญาโท, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร. ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2538. อนกุ รมวธิ านพชื อักษร ก. พมิ พค รง้ั ที่ 1. บริษัทเพือ่ นพมิ พ จํากัด, กรงุ เทพฯ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หง ประเทศไทย 2551 พชื กนิ ไดในปา สะแกราช เลม 1. สว นพฤกษศาสตรป า ไม. 2542. พรรณไมต นของประเทศไทย. บรษิ ัท ไดมอนด พริ้นตงิ้ จํากัด, กรงุ เทพฯ. สวนพฤกษศาสตรปาไม. 2544. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน ฉบับแกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2544. บริษัท ประชาชน จาํ กัด, กรงุ เทพฯ. สํานักงานหอพรรณไม. 2555. คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัย. โรงพิมพสํานักงานพระพุทธ ศาสนาแหงชาต,ิ กรุงเทพฯ. สํานกั คณะกรรมการการวิจยั แหงชาต.ิ 2540. ไมเ อนกประสงคก ินได. คณะกรรมการประสานงานวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรปา ไมแ ละไมโ ตเร็วเอนกประสงค. สํานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหงชาติ. สุธรรม อารกี ุล, จาํ รัส อนิ ทร, สุวรรณ ทาเขียว และอองเตง็ นันทแกว . 2552. องคค วามรเู รอื่ งพืชปาทใ่ี ชประโยชน ทางภาคเหนือของไทยเลม 1–3. มูลนิธิโครงการหลวง. บริษัท อมรินทรพร้ินต้ิง แอนด พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ. สรุ ีย ภมู ิภมร และอนันต คําคง. 2540. ไมอ เนกประสงคก ินได. เฟอ งฟา พริน้ ต้งิ , กรงุ เทพฯ. 57–58 หนา . หนวยวิจัยการฟนฟูปา. 2543. เมล็ดและกลาไมยืนตน เพื่อการฟนฟูปาในภาคเหนือของประเทศไทย. ภาควิชา ชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร, มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม. อําไพ ศิริลักษณ. 2544. ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมขนาดเหมาะสมตอการปลูกปา. สวนวนวัฒนวิจัย สํานักวชิ าการปาไม, กรมปาไม. 127

อทุ ศิ กฎุ อนิ ทร. 2542. นเิ วศวทิ ยาพืน้ ฐานเพ่ือการปา ไม. ภาควชิ าชวี วทิ ยาปา ไม, คณะวนศาสตร, มหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. เออ้ื มพร วีสมหมาย และปณธิ าน แกวดวงเทยี น. 2547. ไมปายนื ตน ของไทย 1. โรงพิมพ เอช เอน็ กรปุ จาํ กัด, กรงุ เทพฯ. Blakesleya, D., Elliottb, S., Kuarakb, C., Navakitbumrungb P., Zangkumb, S. & Anusarnsunthornb, V. 2002. Propagating framework tree species to restore seasonally dry tropical forest: implications of seasonal seed dispersal and dormancy. Forest Ecology and Management 164: 31–38. Chantaranothai, P. 2011. A Revision of the Genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand. Tropical Natural History 11(2): 91–118. Chung, R. C. K. and Soepadmo, E. 2011. Taxonomic revision of the genus Microcos (Malvaceae-Grewioideae) in Peninsular Malaysia and Singapore. Blumea Volume 56(3): 273–299. Kopachon, S, K. Suriya, S. Plukum, G. Pakaad, P. Navakitbumrung, J. F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, N. C. Garwood, D. Blakesley and S. Elliott. 1997. Forest restoration research in northern Thailand: 2. The fruits, seeds and seedlings of Gluta usitata (Wall.) Ding Hou (Anacardiaceae). National History Bulletin Siam Society 45: 205–215. Forest Restoration Research Unit (FORRU). 2000. Tree Seed and Seedling for Restoring Forests in Northern Thailand. Biology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand. Furtado, C. X. 1969. A revision of Lagerstroemia L. (Lythraceae). The Gardens’ Bulletin, Singarpore 24: 267–272. Kochummen, K. M. 1989. Lauraceae. In : Ng, F. S. P. Tree Flora of Malaya 4 : 98–178. Art Printing Works Sdn. Bnd., Kuala Lumpur. Lemmens, R. H. M. J., Soerianegara I. & Wong W. C. (eds.). 1995. Plant Resources of South-East Asia. No 5 (2). Timber trees: minor commercial timbers. Backhuys Publishers, Leiden. Nguyen et al., 1996: Vietnam Forest Trees. JICA/Vietnam Inventory and Planning Institute. Niyomdham, C. 2002. An account of Dalbergia (Leguminosae-Papilionoideae) in Thailand. Thai Forest Bulletin No. 30: 124–166. Saralamp, P. 1997. Medicinal Plants in Thailand Vol. 2. Deptartment of Pharmaceutical Botany, Faculty of Pharmacy, Mahidol University, Bangkok. Saralamp, P., Chuakul, W., Temsirikul, R. & Clayton, T. 1996. Medicinal Plants in Thailand Vol. 1. Department of Pharmaceutical Botany, Faculty of Pharmacy, Mahidol University, Bangkok. Smitinand, T. 1989. Thailand, pp. 63–82. In D. G. Campbell and D. H. Hammond (eds.). Floristic inventory of tropical countries: status of plant systematics, collections and vegetation, plus recommendations for the future. New York Botanical Garden, New York. Smitinand, T., J. E. Vidal and HÔ, P. H. . 1990. Dipterocarpaceae. Flora Cambodge, Laos and Vietnam 25. 128

Soepadmo, E. and Wong, K. M. (eds.). 1996. Tree flora of Sabah and Sarawak Vol. 2. Sabah Forestry Dept., Forest Research Institute Malaysia and Sarawak Forestry Dept. Symington, C. F., 1941. Foresters’ manual of dipterocarps. Malayan Forest Records No 16. Forest Department, Kuala Lumpur. pp. xliii + 244. van Den Brink, R. C. B. and J. Th, Koster. 1963. Notes on the Flora of Java VIII. Blumea 12: 63. Flora of Thailand Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1993. Flora of Thailand 6(1). Diamon Printing, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1997. Flora of Thailand 6(3). Diamon Printing, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1999. Flora of Thailand 7(1). Diamon Printing, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2001. Flora of Thailand 7(3). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2002. Flora of Thailand 7(4). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2005. Flora of Thailand 8(1). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2005. Flora of Thailand 9(1). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2010. Flora of Thailand 10(2). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2010. Flora of Thailand 10(3). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2011. Flora of Thailand 10(4). Prachachon, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1970. Flora of Thailand 2(1). The Tister Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1981. Flora of Thailand 2(4). The Tister Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1984. Flora of Thailand 4(1). The Tister Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1987. Flora of Thailand 5(1). The Chutima Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1992. Flora of Thailand 5(4). The Chutima Press, Bangkok. Flora of China Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 1994. Flora of China Vol. 17. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2003. Flora of China Vol. 5. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2007. Flora of China Vol. 12. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2007. Flora of China Vol. 13. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2009. Flora of China Vol. 11. Science Press, Beijing. 129

Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2010. Flora of China Vol. 10. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2011. Flora of China Vol. 19. Science Press, Beijing. PROSEA PROSEA. 1991. Plant Resources of South-East Asia 3: Dye and tannin-producing plants. Pudoc, Wageningen, The Netherlands, pp. 70–72. PROSEA. 1991. Plant Resources of South-East Asia 2. Edible Fruits and Nuts. E. W. M. Verheij and R. E. Coronel (eds.). PROSEA, Pudoc, Wageningen. PROSEA. 1994. Plant Resources of South East Asia 5(1) Timber trees: Major commercial timbers. PROSEA. 1998. Plant Resources of South-East Asia 5(3). Timber trees: Lesser-known timbers. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia. PROSEA. 2001. Plant Resources of South-East Asia 12(2). Medicinal and poisonous plants 2. Backhuys Publisher, Leiden, The Netherlands. PROSEA. 2001. Plant Resources of South East Asia 18. Plant producing exudates. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia. PROSEA.1999. Plant Resources of South-East Asia 12(1) Medicinal and poisonous plants 1. Backhuys Publisher, Leiden, The Netherlands. p. 302. Websites AgroForestryTree Database, PROSEA, INTERNATIONAL CENTER FOR RESEARCH IN AGROFORESTRY. Available at <http://www.worldagroforestry.org/Sea/Products/AFDbases/AF/index.asp>. ARCBC BISS Species Database. Available at <http://arcbc.org/cgi-bin/abiss.exe>. Australian Tropical Rainforest Plants website version 6.1 (2010). Available at <http://keys.trin.org.au:8080/ key-server/data/0e0f0504-0103-430d-8004-060d07080d04/media/Html/taxon/index.htm>. Cambodian Tree Species, Forestry Administration/DANIDA. Available at <http://www.treeseedfa.org/ cambodia_monograph.htm>. ForestryNepal. Available at <http://www.forestrynepal.org/>. Lao Tree Seed Project. Available at <http://www.nafri.org.la/>. NAFRI. Lao Tree Seed Project, Nam Souang Forest Research Centre, Naxaythong District, Vientiane Municipality, Lao P.D.R. Available at <http://www.nafri.org.la/>. The Gymnosperm Database. Available at <http://www.conifers.org/pi/Pinus_merkusii.php>. 130

ÃÒªÍè× Ç§ÈᏠÅЪÍè× ¾Ä¡ÉÈÒÊμÏ Achariaceae Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. Anacardiaceae Buchanania lanzan Spreng. Gluta usitata (Wall.) Ding Hou Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Mangifera caloneura Kurz Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman Annonaceae Melodorum fruticosum Lour. Miliusa velutina (Danal) Hook. f. & Thomson Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. & Hook. f. ex Bedd. Apocynaceae Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. Bignoniaceae Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis Markhamia stipulata (Wall.) Seem. Millingtonia hortensis L. f. Burseraceae Canarium subulatum Guillaumin Garuga pinnata Roxb. Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl. Cannabaceae Gironniera subaequalis Planch. Trema orientalis (L.) Blume Celastraceae Siphonodon celastrineus Griff. Clusiaceae (Guttiferae) Garcinia cowa Roxb. ex DC. Garcinia schomburgkiana Pierre Garcinia speciosa Wall. Combretaceae Combretum quadrangulare Kurz Crypteroniaceae Crypteronia paniculata Blume Datiscaceae Tetrameles nudiflora R. Br. Dipterocarpaceae Dipterocarpus intricatus Dyer Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. Dipterocarpus tuberculatus Roxb. Hopea ferrea Laness. Hopea helferi (Dyer) Brandis Hopea thorelii Pierre Shorea obtusa Wall. ex Blume Shorea siamensis Miq. Vatica odorata (Griff.) Symington Ebenaceae Diospyros bejaudii Lecomte Diospyros coaetanea H. R. Fletcher Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don Diospyros mollis Griff. Elaeocarpaceae Elaeocarpus serratus L. 131

Euphorbiaceae Antidesma bunius (L.) Spreng. var. bunius Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. Bridelia retusa (L.) A. Juss. Croton persimilis Müll. Arg. Falconeria insignis Royle Glochidion sphaerogynum (Müll. Arg.) Kurz Mallotus nudiflorus (L.) Kulju & Welzen Mallotus paniculatus (Lam.) Müll. Arg. Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw Putranjiva roxburghii Wall. Suregada multiflora (A. Juss.) Baill. Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae) Cassia bakeriana Craib Cassia fistula L. Dialium cochinchinense Pierre Fabaceae (Leguminosae-Mimosoideae) Adenanthera microsperma Teijsm. & Binn. Albizia lebbeckoides (DC.) Benth. Fabaceae (Leguminosae-Papilionoideae) Dalbergia cultrata Graham ex Benth. Dalbergia oliveri Gamble Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. Millettia leucantha Kurz Fagaceae Quercus kerrii Craib Gentianaceae Fagraea fragrans Roxb. Hypericaceae Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume Lamiaceae (Labiatae) Gmelina racemosa (Lour.) Merr. Vitex canescens Kurz Vitex peduncularis Wall. ex Schauer Vitex pinnata L. Lauraceae Phoebe tavoyana (Meisn.) Hook. f. Lythraceae Lagerstroemia calyculata Kurz Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia venusta Wall. Lagerstroemia cochinchinensis Pierre Malvaceae Bombax anceps Pierre Bombax ceiba L. Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. Microcos paniculata L. Microcos tomentosa Sm. Sterculia foetida L. Sterculia hypochra Pierre Meliaceae Azadirachta indica A. Juss. Chukrasia tabularis A. Juss. Walsura trichostemon Miq. Moraceae Ficus altissima Blume Ficus hispida L. f. 132

Ficus rumphii Blume Streblus asper Lour. Myristicaceae Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb Myrtaceae Syzygium claviflorum (Roxb.) A. M. Cowan & Cowan Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Perry Pinaceae Pinus merkusii Jungh. & de Vriese Polygalaceae Xanthophyllum lanceatum (Miq) J. J. Sm. Rosaceae Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook. f. Rubiaceae Gardenia sootepensis Hutch. Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze Morinda elliptica Ridl. Neonauclea pallida (Reinw. ex Havil.) Bakh. f. Salicaceae Casearia grewiifolia Vent. Sapindaceae Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. Nephelium hypoleucum Kurz Simaroubaceae Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston Picrasma javanica Blume 133

´ªÑ ¹Õª×è;ġÉÈÒÊμÏ 47 Lagerstroemia cochinchinensis Pierre 34 Adenanthera microsperma Teijsm. & Binn. 51 Lagerstroemia macrocarpa Wall. 62 Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston Albizia lebbeckoides (DC.) Benth. 27 Lagerstroemia venusta Wall. 60 Antidesma bunius (L.) Spreng. var. bunius Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. 109 Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. 73 Azadirachta indica A. Juss. Bombax anceps Pierre 124 Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. 108 Bombax ceiba L. Bridelia retusa (L.) A. Juss. 53 Mallotus nudiflorus (L.) Kulju & Welzen 50 Buchanania lanzan Spreng. Canarium subulatum Guillaumin 31 Mallotus paniculatus (Lam.) Müll. Arg. 57 Casearia grewiifolia Vent. Cassia bakeriana Craib 32 Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. 100 Cassia fistula L. Chukrasia tabularis A. Juss. 93 Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw 122 Combretum quadrangulare Kurz Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume 106 Mangifera caloneura Kurz 105 Croton persimilis Müll. Arg. Crypteronia paniculata Blume 99 Markhamia stipulata (Wall.) Seem. 81 Dalbergia cultrata Graham ex Benth. Dalbergia oliveri Gamble 64 Melodorum fruticosum Lour. 119 Dialium cochinchinense Pierre Diospyros bejaudii Lecomte 26 Microcos paniculata L. 118 Diospyros coaetanea H. R. Fletcher Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don 117 Microcos tomentosa Sm. 44 Diospyros mollis Griff. Dipterocarpus intricatus Dyer 52 Miliusa velutina (Dunal) Hook. f. & Thomson 77 Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. Dipterocarpus tuberculatus Roxb. 58 Millettia leucantha Kurz 121 Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Elaeocarpus serratus L. 90 Millingtonia hortensis L. f. 42 Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook. f. Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. 43 Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. 96 Fagraea fragrans Roxb. Falconeria insignis Royle 25 Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze 23 Fernandoa adenophylla (Wall. ex G.Don) Steenis Ficus altissima Blume 74 Morinda elliptica Ridl. 111 Ficus hispida L. f. Ficus rumphii Blume 83 Neonauclea pallida (Reinw. ex Havil.) Bakh. f. 39 Garcinia cowa Roxb. ex DC. Garcinia schomburgkiana Pierre 78 Neophelium hypoleucum Kurz 79 Garcinia speciosa Wall. Gardenia sootepensis Hutch. 126 Phoebe tavoyana (Meisn.) Hook. f. 38 Garuga pinnata Roxb. Gironniera subaequalis Planch. 120 Picrasma javanica Blume 68 Glochidion sphaerogynum (Müll. Arg.) Kurz Gluta usitata (Wall.) Ding Hou 89 Pinus merkusii Jungh. & de Vriese 54 Gmelina racemosa (Lour.) Merr. Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. 101 Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. & Hook. f. ex Bedd. 69 Hopea ferrea Laness. 112 Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl. Hopea thorelii Pierre 104 Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. 114 Putranjiva roxburghii Wall. 94 Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. Lagerstroemia calyculata Kurz 113 Quercus kerrii Craib 67 28 Shorea obtusa Wall. ex Blume 92 107 Shorea siamensis Miq. 116 85 Siphonodon celastrineus Griff. 103 37 Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman 48 71 Sterculia foetida L. 59 36 Sterculia hypochra Pierre 40 29 Streblus asper Lour. 75 24 Suregada multiflora (A. Juss.) Baill. 76 49 Syzygium claviflorum (Roxb.) A. M. Cowan & Cowan 123 46 Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Pery 125 82 Tetrameles nudiflora R. Br. 56 102 Trema orientalis (L.) Blume 45 97 Vatica odorata (Griff.) Symington 98 80 Vitex canescens Kurz 95 86 Vitex peduncularis Wall. ex Schauer 72 61 Vitex pinnata L. 91 30 Walsura trichostemon Miq. 70 115 Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. 110 33 Xanthophyllum lanceatum (Miq.) J. J. Sm. 84 41 88 87 22 66 55 35 134

ÃÒ¹ÒÁ¤³Ð·Òí §Ò¹ ท่ีปรกึ ษา นายมโนพัศ หวั เมอื งแกว อธบิ ดีกรมอุทยานแหง ชาติ สัตวป า และพนั ธพุ ชื นายนิพนธ โชตบิ าล รองอธบิ ดีกรมอทุ ยานแหงชาติ สัตวป า และพันธุพ ชื นายธรี ภทั ร ประยูรสิทธิ รองอธบิ ดกี รมอทุ ยานแหงชาติ สตั วปา และพันธพุ ชื นายเสรมิ ยศ สมม่ัน รองอธบิ ดกี รมอุทยานแหงชาติ สตั วปา และพนั ธพุ ืช นายณรงค มหรรณพ ผอู ํานวยการสาํ นักวจิ ยั การอนรุ ักษปาไมแ ละพนั ธพุ ืช นางเตอื นใจ นุชดํารงค ผูอ ํานวยการสํานกั อนุรกั ษสัตวปา นายจําลอง เพ็งคลา ย นายธวัชชยั สันตสิ ขุ นางกอ งกานดา ชยามฤต นางลนี า ผูพ ัฒนพงศ คณะทํางาน นายราชนั ย ภมู า นายสคุ ิด เรืองเรอื่ นางสาวนนั ทนภสั ภทั รหริ ัญไตรสนิ นายทวีโชค จาํ รัสฉาย นายพาโชค พดู จา นายสมราน สุดดี นายวรดลต แจม จาํ รญู นางสาวสุคนธทพิ ย ศริ ิมงคล นางสาวนันทวรรณ สุปน ตี นายมานพ ผูพัฒน นายวชิ ัย ออ นนอม นายปย ชาติ ไตรสารศรี นายทนงศักด์ิ จงอนรุ ักษ นางสาวโสมนสั สา แสงฤทธ์ิ นายนมิ ติ ร รกั ธงชัย นายเอกวิทย เทอดเกียรตกิ ุล ออกแบบรปู เลม นายปรชี า การะเกตุ

¤íÒ¹ÔÂÁ คณะผจู ดั ทาํ ขอขอบคณุ งานวจิ ยั และจดั การเมลด็ พนั ธไุ มป า กลมุ งานวนวฒั นวจิ ยั สาํ นกั วจิ ยั และพัฒนาการปาไม และสํานักสงเสริมการปลูกปา กรมปาไม ที่ใหความอนุเคราะหขอมูลท่ีเปน ประโยชนด า นการเพาะชาํ กลา ไมแ ละการปลกู ปา สว นภมู สิ ารสนเทศ สาํ นกั ฟน ฟแู ละพฒั นาพนื้ ทอี่ นรุ กั ษ สาํ นกั อนรุ กั ษแ ละจดั การตน นาํ้ กรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ชื เออื้ เฟอ ขอ มลู รายละเอยี ด เกี่ยวกับแผนท่ีและขอมูลพ้ืนที่ลุมน้ํา นายชวน ธีรวุฒิอุดม อนุเคราะหขอมูลดานการเพาะชําพืช บางชนดิ และขอ มลู การเพาะชาํ โดยภมู ปิ ญ ญาชาวบา น คณุ อนชุ ติ แตงออ น ทเี่ ออื้ เฟอ ภาพกรวย นาย อรณุ สนิ บาํ รงุ เออื้ เฟอ ภาพพรรณไมบ างชนดิ นอ งๆ ผชู ว ยนกั วจิ ยั ของสาํ นกั งานหอพรรณไมท ช่ี ว ย รวบรวมขอ มลู ทงั้ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรบ างสว น ขอ มลู การเพาะชาํ และการใชป ระโยชนข องพรรณไม หลายชนดิ ดงั รายนามตอ ไปน้ี นางสาววลยั พร วิศวชัยวฒั น นายวทิ วัส เขยี วบาง นางสาวออ พร เผอื กคลาย นางสาวรัมภรดา มบี ุญญา นางสาวพรเพญ็ สภุ าโชค นางสาววันวสิ า ภูไชยศรี นางสาว เทพวลี คะนานทอง นางสาวเบญจลักษณ ชืน่ เจริญ นางสาวกมลชนก เปยถนอม นางสาวกฤตกิ า ทองอยู และนายเสกสรร ไกรทองสุข ขอบคณุ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งทงั้ ในประเทศและตา งประเทศทม่ี สี ว นในการผลติ สอ่ื ดา นการ ปลกู ฟน ฟสู ภาพปา การเพาะชาํ กลา ไม และการใชป ระโยชนพ ชื สาํ หรบั ใชอ า งองิ ในการจดั ทาํ หนงั สอื คูมอื เลือกชนดิ พรรณไมเ พ่อื ปลูกปา ปองกนั อุทกภยั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื น้ี

คมู อื เลือกชนิดพรรณไมเ พื่อปลกู ปาปอ งกนั อทุ กภยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สงวนลิขสทิ ธิ์ พ.ศ. 2556 พมิ พครงั้ ท่ี 1 จาํ นวนพิมพ 3,000 เลม พุทธศกั ราช 2556 ขอมลู ทางบรรณานุกรมของสํานกั หอสมุดแหง ชาติ National of Library of Thailand Cataloging in Publication Data สาํ นกั งานหอพรรณไม. กรมอคุทมู ือยาเลนอื แกหชงนชิดาตพิ รสรตั ณวไปมาเ พแ่ือลปะพลูกนั ปธาุพ ปืชอกงรกะันทอรทุ วกงทภรยั ัพภยาาคกตรธะรวรันมอชอากตเิแฉลยี ะงสเหิ่งนแวอื ด.-ล-อ มกร, งุ 2เ5ท5พ6ฯ. : 152 หนา . 1. พฤกษศาสตร. I. ชือ่ เรื่อง. 580 ISBN 978-616-316-110-9 หนงั สอื เผยแพร หา มจาํ หนา ย พมิ พท ่ี : โรงพมิ พสาํ นกั งานพระพุทธศาสนาแหงชาติ 314–316 แขวงบานบาตร เขตปอมปราบศตั รูพา ย กรงุ เทพฯ โทร 0 2223 3351 โทรสาร 0 2621 2910 สํานกั งานหอพรรณไม กรมอุทยานแหง ชาติ สัตวปา และพนั ธพุ ชื กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

ISBN 978-616-316-110-9 กรมอุทยานแหง ชาติ สตั วป า และพันธพุ ืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม