Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกมะพร้าว

Description: การปลูกมะพร้าว.

Search

Read the Text Version

มะพรา ว การเตรยี มหลมุ ปลกู พนั ธมุ ะพรา ว การใสป ยุ มะพรา วพนั ธลุ กู ผสม การกําจัดวัชพชื การสรา งสวนมะพรา ว การเพม่ิ รายไดใ นสวนมะพรา ว การเลอื กทป่ี ลกู มะพรา ว ศตั รมู ะพรา ว การคดั เลอื กมะพรา วเพอ่ื ใชท ําพันธุ โรคทส่ี ําคญั การวางผงั การปลกู มะพรา ว การเกบ็ ผล

การปลูกมะพราว 2 มะพรา ว (Coconut = โคโคนทั ) มีชื่อวิทยาศาสตรวา Cocos nucifera Linn. เปนพืชที่มีความสาํ คัญทางเศรษฐกจิ พชื หนึง่ ของประเทศไทย เนอ่ื งจากคน ไทยรูจักใชเ นอ้ื มะพรา วในการบรโิ ภคเปน อาหารทง้ั คาวและหวานในชวี ติ ประจาํ วัน ซึ่งจากสํานักงานสถิติแหงชาติไดเคยสาํ รวจพบวา ประชากรไทย 1 คน จะบริโภคเนื้อมะพราวประมาณปละ 8,273.2 กรัม หรอื ประมาณ 18 ผล/คน/ป ซึ่งปจจุบันประเทศพลเมืองประมาณ 55 ลานคน จะใชผลมะพราว ประมาณ 990 ลานผล หรอื ประมาณ 65% ของผลผลิตทั้งหมด สวนที่เหลือ ประมาณ 35% ของผลผลิตทั้งหมด หรอื 489 ลานผล ใชใ นรปู ของ อุตสาหกรรมหรอื สงออกตอ ไป ซึ่งสามารถแบงกลมอุตสาหกรรมมะพราว ใหญ ๆ ได 2 กลุม คือ 1. ผลิตภัณฑแปรรปู เพอ่ื การบรโิ ภค เชน อตุ สาหกรรมมะพรา วแหง อตุ สาหกรรมนา้ํ มันมะพราว อตุ สาหกรรมกะทิเขมขน อตุ สาหกรรมมะพรา วขดู แหง อตุ สาหกรรมน้าํ ตาลมะพราว 2. ผลิตภณั ฑเ พอ่ื อตุ สาหกรรมและอปุ โภค เชน อุตสาหกรรมเสนใยมะพราว อุตสาหกรรมแทง เพาะชํา อุตสาหกรรมเผาถานจากกะลามะพราว อุตสาหกรรมแปรรปู มะพรา ว ผลผลิตมะพราวแตละปจะมีมูลคาไมตาํ่ กวาปละ 2,700 ลานบาท คิดแลวมูลคามหาศาล ซึ่งเราไม ควรที่จะละเลยและ ควรเรง หาทางในการสง เสรมิ และพัฒนามะพราวอกี ตอ ไป มะพราวสามารถขึ้นไดในทุกจังหวัดทั่วประเทศ แตข น้ึ ไดด ใี นดนิ ทม่ี สี ภาพเปน กลางหรอื เปน กรด เล็กนอยคือ (pH ระหวาง 6-7 )ลักษณะดินรวน หรอื รว นปนทราย มกี ารระบายน้ําดี มีฝนตกกระจาย สมํ่าเสมอแทบทกุ เดอื น อากาศอบอนุ หรอื คอ นขา งรอ น และมีแสงแดดมาก ภาคท่ีมีการปลกู มะพรา วมากและปลกู เปน อาชพี คอื ภาคใต ภาคตะวนั ออก และภาคตะวนั ตก ภาคใต : จังหวัดสรุ าษฎรธ านี ชุมพร นครศรธี รรมราช ฯลฯ ภาคตะวนั ออก : จงั หวดั ชลบรุ ี ระยอง ฯลฯ ภาคตะวนั ตก : จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ สมทุ รสงคราม ฯลฯ มะพราวเปนพืชผสมขามพันธุ แตละตนจึงไมเปนพันธุแท อาศัยหลักทางการผสมพันธุที่เปนไปโดย ธรรมชาติ อาจแบง มะพรา วออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทตน เตย้ี และประเภทตน สงู

การปลูกมะพราว 3 มะพรา วประเภทน้ี มกี ารผสมตวั เองคอ นขา งสงู จึงมักใหผลดกและไมคอยกลายพันธุ สวนใหญ นิยมปลูกไวเพื่อรับประทานผลออนเพราะในขณะที่ผลยังไมแก อายุประมาณ 4 เดอื น เนอ้ื มลี กั ษณะออ นนมุ และน้ํามีรสหวาน บางพันธุนํา้ มีคุณสมบัติพิเศษ คือ มีกลิ่นหอม ลักษณะทั่วไป :- ลาํ ตน เลก็ โคนตนไมมีสะโพก ตน เตย้ี โตเต็มที่สูงประมาณ 12 เมตร ทางใบสั้น ถามีการดูแลปานกลางจะเริ่มใหผลเมื่ออายุ 3-4 ป ใหผลผลิตประมาณ 35-40 ป มะพราวประเภทตนเตี้ยมีหลายพันธุ แตละพันธุมีลักษณะแตกตางกัน เชน เปลือกสีเขียวเหลือง นวล (สีงาชาง) น้าํ ตาลแดง หรือสีสมนํ้ามีรสหวาน มีกลิ่นหอม มะพราวตนเตี้ยทุกพันธุจะมีผลขนาดเล็ก เมอ่ื ผล แกม เี นอ้ื บางและนอ ย ซึ่งไดแกพันธุ นกคุม หมูสีเขียว หมสู ีเหลืองหรือนาฬกิ า มะพรา วเตย้ี น้าํ หอม และ มะพราวไฟ แตปจจุบันมะพรา วน้ําหอมกาํ ลงั เปน พชื เศรษฐกจิ อกี ชนดิ หนง่ึ ทน่ี ยิ มใชใ นการบรโิ ภคสดและ สงออกไปยังตลาดตางประเทศ ตลอดจนใชเ ปน วตั ถดุ บิ ในอตุ สาหกรรมเครอ่ื งดม่ื ตามปกติมะพราวตนสูงจะผสมขามพันธุ คือ ในแตล ะชอ ดอก (จน่ั ) หนง่ึ ๆ ดอกตวั ผจู ะคอ ย ๆ ทยอยบาน และรว งหลน ไปหมดกอ นทด่ี อกตวั เมยี ในจน่ั นน้ั จะเรม่ิ บาน จงึ ไมม โี อกาสผสมตวั เอง มะพราว ประเภทนี้เปนมะพราวเศรษฐกิจสวนใหญปลูกเปนสวนอาชีพ เพื่อใชเนอ้ื จากผผลแกไ ปประกอบอาหาร หรือเพื่อทํามะพรา วแหงใชใ นอตุ สาหกรรมนาํ้ มันพืช ลักษณะทั่วไป :- ลําตน ใหญ โคนตน มสี ะโพกใหญ ตน สงู โตเตม็ ทส่ี งู ประมาณ 18 เมตร ทางใบใหญและยาว ถามีการดูแลปานกลางจะเริ่มใหผลเมื่ออายุ 5-6 ป อายุยืนใหผลผลิตนานประมาณ 80 ป มะพราวตน สงู มผี ลโตเนอ้ื หนาปรมิ าณเนอ้ื มาก มีลักษณะภายนอกหลายอยางที่แตกตางกัน เชน ผล ขนาดกลาง ขนาดใหญ รูปผลกลมผลรี บางพันธุเปลือกมีลักษณะพิเศษ คือ ในขณะที่ผลยังไมแก เปลือกตอน สวนหัวจะมีรสหวานใชร ับประทานได จึงมีชอ่ื เรยี กตา ง ๆ กัน ไดแกพันธุกะโหลก มะพราวใหญ มะพราว กลาง ปากจก ทะลายรอย เปลือกหวานและมะแพรว แมวามะพราวพ้ืนเมอื งทเ่ี กษตรกรปลกู กนั มาแตด ง้ั เดมิ จะมีลักษณะดีหลายอยาง เชน มขี นาดผล คอนขางโต และทนทานตอสภาพอากาศแลงไดดี แตในวงการอุตสาหกรรมมะพรา วในปจจุบนั ไดพ ัฒนา

การปลกู มะพราว 4 ทางดานคุณภาพมะพราวมากมาย โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ปรมิ าณเปอรเ ซน็ ตน ้ํามัน ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร กรม วิชาการเกษตรมีหนาที่รับผิดชอบดานวิจัยและพัฒนามะพราวไดผลิตมะพราวพันธุลูกผสม ซ่ึงไดผ า นการรับ รองพันธุออกมาแลว 2 พันธุ ดงั น้ี พันธุสวีลูกผสม 1 (Sawi Hybrid No.1) เปนมะพราวพันธุลูกผสมที่เกิดจากการผสมระหวางมะพราว พันธุมลายูสเี หลืองตน เตีย้ xเวสทอ ฟั รกิ นั ตน สงู (MYD x WAT) ลักษณะเดนของมะพราวพันธุนี้คือมีอายุ การตกผลเร็ว สามารถเก็บผลผลิตไดในปที่ 5 ผลผลิตเฉลี่ย 2,781ผลตอ ไร หรือคิดเปน นา้ํ หนกั แหง 566 กก. ตอไร จากจํานวนมะพราว 22 ตน ตอ ไร เนอ้ื มะพรา วแหง มเี ปอรเ ซน็ ตน า้ํ มันสูงถึง 64 เปอรเ ซน็ ต จงึ เปน มะพราวที่เหมาะสาํ หรบั อตุ สาหกรรมนา้ํ มันมะพราวมาก พันธุชุมพรลูกผสม 60-1 (Chumphon Hybrid 60-1) เปนมะพราวลูกผสมที่เกิดจากการผสมระหวาง พันธุเวสทอัฟริกันตนสูง x ไทยตนสูง สามารถเก็บผลผลิตไดในปที่ 5 หลังจากปลูก ขนาดผลมตี ง้ั แตข นาด กลางถึงขนาดใหญ ผลผลิตเฉลี่ย 2,257 ผลตอ ไร หรือคิดเปน นา้ํ หนักมะพราวแหงสูงถึง 628 กก.ตอไร เนอ้ื มะพราวแหงมเี ปอรเ ซน็ ตน า้ํ มันสูง 63 เปอรเ ซน็ ต เนอ่ื งจากขนาดผลของมะพรา วพนั ธนุ ค้ี อ นขา งโตกวา พันธุสวีลูกผสม 1 จึงสามารถจาํ หนายไดทั้งผลสดและในรูปมะพราวแหงสงโรงงานสกัดนํ้ามัน มะพราวลูก ผสมทั้ง 2 พันธุ ใหผลผลิตสูงกวาพันธุพื้นเมืองเกือบ 2 เทา กลาวคือ พันธุไทยใหผลผลิต 1,084 ผลตอ ไร คิด เปนผลผลิตเนื้อมะพราวแหง 374 กก.ตอไร และมีปริมาณเปอรเซ็นตนํ้ามัน 59-60 เปอรเ ซน็ ต ลักษณะทั่วไป :- ตนโตปานกลาง ถา มีการดูแลดีจะใหผลเมื่ออายุ 4 ป หลังจากปลูก มีความตอบสนองตอ ปยุ ดี ทนตอสภาพแหงแลงไดดีพอสมควร ถาฝนแลง 2-3 เดอื น ตนจะยังไมแสดงอาการขาดนาํ้ ผลดก ขนาดคอ นขา งเลก็ แตเ นอ้ื หนา ขอ หา ม เนื่องจากมะพราวพันธุสวีลูกผสม 1 เกิดจากการผสมขามพันธุ ลักษณะของลูกชั่วที่ 1 จะมี ลักษณะดีขมลักษณะที่ดอยไว แตถาเอาผลไปทาํ พันธุตอจะเกิดการกลายพันธุ เพราะลักษณะดอยที่อยูในตน พอและตนแมจะปรากฏออกมาใหเห็นในลูกชั่วที่ 2 จึงหามไมใหเก็บผลไปเพาะทําพันธุ เนื่องจากมะพราวเปนพืชยืนตนที่มีอายุยาวนานมาก หลังจากปลูกแลว 5-6 ป จึงจะใหผล การสรา ง สวนมะพรา วตอ งลงทนุ พอสมควร และใชเวลานาน จึงควรทราบสภาพแวดลอ มท่ีมะพราวชอบ ลักษณะวิธี การคัดเลือกพันธุการเพาะชํา การคดั เลอื กหนอ การปลูก ตลอดจนการปฏบิ ตั ดิ แู ลรกั ษาเพอ่ื ใหไ ดผ ลตอบ แทนจากสวนมะพราวอยางคุมคา

การปลกู มะพรา ว 5 หลกั ทว่ั ไปในการคดั เลอื กทป่ี ลกู มะพรา วควรคาํ นึงถึงสิ่งตอไปนี้ ดนิ เปนดินรวน หรอื รว นปนทราย อมุ น้าํ ไดด ี ถาเปนดนิ เหนยี วตอ งมกี ารระบายนา้ํ ดี สภาพดิน เปน กลาง หรือเปน กรดเพยี งเลก็ นอ ยpH ระหวาง 6-7 หนาดินมีความลึกไมนอยกวา 1 เมตร ระดบั น้าํ ใตด นิ ไมค วรตน้ื กวา 2 เมตร ปรมิ าณนา้ํ ควรมฝี นตกไมนอ ยกวา 1,300 มม./ป และตกกระจายสมํา่ เสมอแทบทกุ เดอื น ถามีฝน ตกนอยกวา 50 มม./เดอื น เปน เวลานานตดิ ตอ กนั เกนิ กวา 3 เดอื น ผลผลิตจะลดลง หรือไมไหผลเลย อุณหภูมิ ถา มอี ณุ หภมู ติ าํ่ กวา 15 องศาเซลเซียส ตดิ ตอ กนั หลาย ๆ วนั มะพราวจะใหผลนอย อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ ระหวาง 27 + 7 องศาเซลเซยี ส ระดบั ความสงู ของพน้ื ท่ี ถาปลูกมะพราวในที่ที่สูงกวาระดับนํ้าทะเลมาก ๆ มะพราวจะไมคอย ออกผล การทาํ สวนเพ่อื การคา ควรเปนท่ีสงู กวาระดับนา้ํ ทะเลไมเกิน 100 เมตร แสงแดด มะพราวตอ งการแสงแดดประมาณวันละ 7 ชว่ั โมง ถา ปลูกมะพราวในที่แสงแดดสอง ไมถึง ตน จะสงู เรว็ และไมค อ ยออกผลเนอ้ื ในผลกจ็ ะบาง จึงไมค วรปลกู มะพรา วในทีร่ ม หรอื ปลูกถี่เกินไป เพื่อใหไดตนมะพราวที่มีลักษณะดีตามที่ตองการ จําเปน จะตอ งคดั เลอื กทจ่ี ะนาํ ไปเพาะ และเมื่อ เพาะงอกเปน หนอ แลว กจ็ ะตอ งคดั เลอื กหนอ พนั ธดุ ว ย โดยมขี น้ั ตอนการคดั เลอื กดงั น้ี เปนสวนที่ปลูกมะพราวพันธุเดียวกัน ขนาดสวนไมนอยกวา 10 ไร อยูในแหลงที่มีการปลูกมะพราวเปนอาชีพ ตนมะพราวมีขนาดอายุไลเลี่ยกัน และควรจะมีอายุไมตาํ่ กวา 15 ป เปนสวนที่มีการดูแลปานกลาง และมีตนที่มีผลดกอยูเปนสวนมาก ไมม โี รคหรอื แมลงระบาด ในกรณีที่อยูไกลแหลงปลูกมะพราวเปนอาชีพ ไมมีสวนขนาดใหญอาจคัดเลือกเพียงบาง หลักการ เทาที่จะทาํ ได หรอื คดั เลอื กเปน ตน ๆ ก็ได ควรเปนตนทอี่ ยใู นบรเิ วณกลาง ๆ สวน ใหผลดกไมนอยกวา 60 ผล/ตน /ป

การปลกู มะพรา ว 6 ควรมีการจดบันทึกการใหผลของตนที่คิดวาจะใชเปนตนพันธุกอนสัก 3-4 ป เพอ่ื ใหแ นใ จวา ให ผลดกจริง โดยทาสไี วท ต่ี น เปน ทส่ี งั เกตหรอื อาจทาํ เครอ่ื งหมายอยา งอน่ื กไ็ ด เปนตนที่ไมอยูใกลบาน คอกสตั วห รอื ในทท่ี ดี กี วา ตน อน่ื ลําตน ตรง แขง็ แรง อวบ ปลองถี่ พุมใบเปนรูปวงกลม หรอื ครง่ึ วงกลม มจี ํานวนทาง (ใบ) มาก โคนทางสั้นและใหญ มจี ่นั อยางนอ ย10 จน่ั กระจายอยรู อบตน และทุกจั่นมีผลขนาดตาง ๆ กนั ตดิ อยู ทะลาย ควรนั่งทางกานทะลายสั้นและใหญ เปนตนที่มีอายุไมนอยกวา 15 ป ใหผลมีลักษณะกลมขนาดใหญ เสนรอบของกะลาไมตํ่ากวา 45 ซม. เนอ้ื หนา เปลอื กไมห นาหรอื บางเกนิ ไป ผลมะพราวแมจะเก็บจากตนแมพันธุที่ไดรับการคัดเลือกแลวก็ตาม อาจมีบางผลที่มีลักษณะ ไม เหมาะจะนําไปเพาะทาํ พันธุ เชน ผลแตกระหวางเก็บเกี่ยว มโี รคแมลงทาํ ลาย จงึ ควรคดั เลือกผลกอนนําไป เพาะ ซึ่งมีลักษณะการพิจารณาดังนี้ เปนผลที่ไดรับความกระทบกระเทือนนอย จงึ ควรเกบ็ โดยใชเ ชอื กโยงลงมา หรอื โยนลงนา้ํ ผลโตไดข นาด รูปผลคอนขางกลม หรือมีลักษณะตรงตามพันธุ ผลแกจัด เปลือกมสี กี า มปู หรอื สนี ้าํ ตาล มีลักษณะคลอนนํา้ ไมมีโรคแมลงทาํ ลาย ปาดเปลือกทางดานหัวออกขนาดประมาณเทาผลสมเขียวหวานเพื่อใหนาํ้ ซึมเขาไดสะดวกใน ระหวางเพาะ และชวยใหหนองอกแทงออกมาไดงาย

การปลูกมะพรา ว 7 ถาเปนผลที่ยังไมแกจัด เปลือกมีสีเขียวปนเหลือง ใหนาํ ไปผึ่งไวในที่รมโดยวางเรียงให รอยปาด อยูดานบน ผึ่งไวประมาณ 15-30 วนั จนเปลือกเปลี่ยนเปนสีนาํ้ ตาล เตรียมผลพันธุไวประมาณ 2 เทา ของจาํ นวนหนอที่ตองการเพราะในขณะเพาะจะมีพันธุที่ไม งอกและเมอ่ื งอกแลว กต็ อ งคดั หนอ ทไ่ี มแ ขง็ แรงออก แปลงเพาะควรอยูกลางแจง ใกลแหลงนํ้า และมีการระบายนํา้ ดี ไมเปนแหลงที่เคยมีโรคและแมลงระบาดมากอน พ้ืนแปลงควรเปน ทรายหยาบ เพื่อสะดวกในการเพาะและยายกลา ปราบวัชพืชออกใหหมด ถา พื้นดนิ เปน ดนิ แขง็ ควรไถดินลกึ 15-20 ซม. ถาแปลงกวางมาก ควรแบง เปน แปลงยอ ย ขนาดกวางประมาณ 2.50 เมตร ยาวตามความตองการ เวนทางเดินระหวางแปลง 50 ซม. ในแตละแปลงยอยขุดเปนรองลึกประมาณ 10 ซม. กวางเทาขนาดของผลมะพราว ยาวตลอด พื้นที่แตละแปลงจะเพาะมะพราวได 10 แถว

การปลูกมะพราว 8 วางผลมะพรา วตามแนวนอนลงในรอ งทเ่ี ตรยี มไว หนั ดานท่ปี าดขึ้นขางบนเรยี งไปตามทศิ ทาง เดียวกันใหแตละผลติดกันหรือหางกันไมเกิน 5 ซม. กลบทรายหรอื ดนิ ใหส ว นของผลมะพรา วโผลพ น ผวิ ดนิ ประมาณ 1/3 ของผล ถาฝนไมตก รดนา้ํ ใหชุมอยูเสมอ โดยสงั เกตจากความชน้ื ตรงบรเิ วณรอยปาด คอยดูแลกาํ จัดวชั พืช โรค-แมลงตาง ๆ หลังจากเพาะแลวประมาณ 2-3 สปั ดาหห นอ จะเรม่ิ งอก ในระยะแรก ๆ จะงอกนอ ย เมอ่ื เลย 4 สัปดาหไปแลวหนอจะงอกมากขึ้นมะพราวที่ไมงอกภายใน 10 สัปดาห หรอื 70 วนั ควรคดั ทง้ิ หรอื นาํ ไปทาํ มะพรา วแหง เพราะถาปลอยทิ้งไวใหงอกก็จะไดหนอที่ไมดี ตามปกตมิ ะพรา วจะ งอกประมาณรอยละ 60 ภายใน 10 สัปดาห เมอ่ื หนอ ยาวประมาณ 1-3 นว้ิ ควรยายลงแปลงชาํ ในการคาจะไมยายลงแปลงชําทีละ นอย แตจ ะรอยา ยพรอ มกนั ในคราวเดยี ว ในกรณีที่ทาํ การเพาะมะพราวเปนจาํ นวนไมมากนักอาจทาํ การเพาะโดยไมต อ งนาํ ลงแปลงชาํ ก็ได แตในการเพาะจะตองขยายระยะใหกวางขึ้น โดยวางผลหางกันประมาณ 45-50 ซม. เพอ่ื ใหห นอ เจรญิ ไดด ี จะไดห นอ ทอ่ี ว นและแขง็ แรง เมอ่ื หนอ มใี บประมาณ 4-6 ใบ ก็คัดไป ปลูกได เตรียมแปลงชาํ เชนเดียวกับแปลงเพาะ แปลงชาํ ควรอยูใกลกับแปลงเพาะ เพื่อสะดวกในการขนยายหนอ ถาดินไมดีใหใสปุยคอกไรละ 24 ปบ (240 กก.) หวานใหทั่วแปลงแลวไถกลบ ขุดหลุมขนาดเทาผลมะพราว ระยะระหวา งหลมุ 60 ซม. อาจวางผงั การทาํ แบบสามเหลี่ยมดาน เทา หรือแบบสเ่ี หล่ียมจตรุ ัสก็ได ยายหนอมะพราวจากแปลงเพาะลงชาํ ในหลมุ ใหห นอ ตง้ั ตรง กลบดินหนาประมาณ 2/3ของผล เพื่อไมใหดินทับสวนคอของหนอ พันธุ ใชทางมะพราวหรือหญาแหงคลุมแปลง (อาจใชวัสดอุ น่ื กไ็ ด) เพื่อรักษาความชุมชื้น ถาฝนไมตก รดนา้ํ ใหชุมอยูเสมอ ปองกันกําจดั วัชพชื โรค-แมลง เมื่อมะพราวมีอายุระหวาง 6-8 เดอื น( อยูในแปลงชาํ 4-6 เดอื น) หรอื มีใบประมาณ 4-6 ใบ (ทาง) ก็คัดเลือกหนอที่สมบูรณไปปลูกได หนอมีอายุ 6-8 เดอื น หรอื มใี บ 4-6 ใบ หนอมลี กั ษณะอวบ โคนหนอ โต ใบกวางสีเขียวเขม กานทางสั้นใหญ ไมมีโรคและแมลงทาํ ลาย

การปลกู มะพรา ว 9 ในพื้นที่ราบสามารถวางผังปลูกได 2 แบบ คอื จะมีระยะระหวางตนและระหวางแถวเทากัน

การปลูกมะพราว 10 จะมีระยะระหวางตนยาวกวาระยะระหวางแถว แตทุกตนก็มีระยะหางเทากัน เชนเดียวกับการปลูก แบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส(ดรู ปู ประกอบ)การปลูกแบบสี่เหลี่ยมดานเทานี้จะไดจํานวนตน ตอ ไรม ากกวา การปลกู แบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสประมาณ 15 % ระยะปลูกเปนปจจัยสาํ คญั อยา งหนง่ึ ทม่ี ผี ลตอ จํานวนผลผลิตที่จะไดรับถาปลูกถี่เกินไปตนมะพราว จะบังรมกัน ไมสามารถจะปรุงอาหารไดอยางเต็มที่ ตนสูงชะลูด ออกผลไมด ก แตถาปลูกหางกันมาก จะได จํานวนตน นอ ย ผลผลติ กน็ อ ย ระยะปลูกที่เหมาะสมกับแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสและแบบสามเหลี่ยมดานเทาของมะพราวพันธุตางๆ มี ดงั น้ี แบบสเ่ี หลย่ี มจตั รุ สั แบบสามเหลย่ี มดา นเทา พนั ธุ ระยะปลกู ระยะปลกู ตน /ไร ตน /ไร (เมตร) ตน / (เมตร) ตน /แถว ตน เตย้ี แถว 44 6.5X5.6 43 ตน สงู 20 9X7.8 22 ลูกผสม 6X6 22 8.5X7.4 25 9X9 8.5X8.5 หมายเหตุ มะพราวตนเตี้ยควรปลูกไรละประมาณ 40-45 ตน สาํ หรับพื้นที่ลุม หรอื ดนิ เปน ดนิ เหนยี ว การ ระบายนํ้าไมดี ควรยกรองใหสูงกวาระดับนาํ้ ทวมสูงสุดไมนอยกวา 50 ซม. ขดุ รอ งตามความยาวของพน้ื ท่ี สันรองกวาง 5 เมตร สาํ หรบั พนั ธตุ น เตย้ี 8 เมตร สาํ หรับพันธุตนสูง ครู อ งกวา ง 2 เมตร ควรเตรียมหลุมในฤดูแลง ขุดหลุมขนาด 50 X 50 X 50 ซม. แยกดินสวนบนไวตางหาก ตากหลมุ อยางนอย 1 สัปดาห ถามีปลวกใหเผาเศษไมใบใมแหงหรือขยะในหลุม อาจจะใชยากันปลวกโรยกนหลุม แทนการเผาก็ได ถาปลูกมะพราวในพื้นที่แหงแลง หรือดินที่ปลูกเปนทรายจัดใหใชกาบมะพราวรองกนหลุม โดยวางกาบมะพราวใหดานที่มีเสนใยหงายขึ้นดานบนวางซอนกัน 2-3 ชั้น เพื่อชวยเก็บความชื้นในดิน ถา ไมมีกาบมะพราวจะใชวัสดุอื่นๆ เชน ฟางขาว ใบไมแหง หญา แหง ฯลฯ แทนก็ไดใสดินบนที่ผสมปุยคอก หรือปุย หมักในอัตรา 1:7 รองกน หลมุ สวนดินลางผสมดวยปุยรอคฟอสเฟตหลุมละครึ่งกิโลกรัม (ประมาณ 2 กระปองนม)และใสฟูราดาน 1 กระปอ งนม เพื่อปองกันปลวกกินผลพันธุมะพราว เอาดินใสลงในหลุมให เต็ม ทิ้งไวจนถึงฤดูปลูก

การปลูกมะพรา ว 11 ควรปลูกในฤดูฝน ขุดดินบนหลุมปลูกที่เตรียมไว ใหเปนหลุมเล็กๆ ขนาดเทาผลมะพราว เอาหนอที่คัดเลือกแลวมาตัดรากที่หักชํ้าออก ใชป นู ขาวหรอื ยากนั ราทาตรงรอยตดั วางหนอ ลง ในหลุม ใหห นอ ตง้ั ตรง ตัดหนอ ไปในทิศทางเดยี วกัน เอาดินกลบอยางนอย 2/3 ของผล เพื่อใหพอดีมิดผลมะพราว แตร ะวงั อยา ใหด นิ ทบั โคนหนอ เพราะจะทําใหห นอ ถกู รดั ตน จะโตชา แตเ มอ่ื มะพรา วโตขน้ึ กค็ วรจะกลบดนิ ใหส งู ขน้ึ เพอ่ื ปอ งกนั โคนลอย เอาไมปกเปนหลักผูกยึดกับตนใหแนน เพื่อปองกันลมโยก เหยยี บดนิ รอบโคนหนอ ใหแ นน ควรทํารม ใหใ นระยะแรก เพอ่ื ลดอตั ราการตายเนอ่ื งจากถกู แดดจดั เกนิ ไป ในบริเวณที่ปลูกถามีสัตวเลี้ยง ใหทาํ รั้วปองกันสัตวมาทาํ ลาย ปลูกมะพรา วใหต น ต้ังตรง มดั หลกั ยดึ ตน กนั ลมโยก ทํารมบังแดดใหในระยะแรกหลังปลูก แมวามะพราวเปนพืชท่ีสามารถปลูกไดในสภาพดินแทบทุกชนิด แตปริมาณผลผลิตนั้นขึ้นอยูก บั ปริมาณธาตุอาหารในดิน และสภาพความอุดมสมบูรณของดิน สภาพความเปน กรดเหน็ ดา งของดนิ ทเ่ี หมาะ แกการปลูกมะพราวควรอยูในชวงระหวาง pH 6-7 การใสปุยใหพอเหมาะแกความตองของมะพราวนั้น ควร ไดนําตัวอยางดินไปเขาวิเคราะหในหองปฏิบัตติการดวย พบวาในปหนึ่งๆ มะพราวจะดูดธาตุอาหารไปใช ดงั น้ี ไนโตรเจน 9.44-14.56 กก.ตอ ไร ฟอสฟอรัส 4.32-6.40 กก.ตอ ไร โปแตสเซียม 13.60-20.96 กก.ตอ ไร

การปลูกมะพรา ว 12 ในบรรดาธาตุดังกลาว โปแตสเซียมมะพราวจะดูดไปใชมากที่สุด ประมาณ 62 % ของโปแตสเซียม ถูกนําไปใชในการเพิ่มจํานวนผลผลิตของมะพราว ชนิดของปุยที่ใชไดผลและเพิ่มผลผลิตของมะพราวไดสูงสุด คือ ปุยเกรด 13-13-21 และปยุ เกรด 12-12-17-2 แมกนีเซียมซัลเฟต และปยุ หนิ ปนู โดโลไมล ในการใชปุยแมกนีเซียมซัลเฟต หรอื โดโลไมท นน้ั ใหพ จิ ารณาถงึ สภาพความเปน กรดเหน็ ดา งของดนิ ดว ย กลาวคือ ในสภาพดินที่มีแนว โนมการเปนกรดเห็นดางสูงใหใชปุยแมกนีเซียมซัลเฟต และในสภาพดินที่มีความเปนกรดเปนดางตาํ่ ใหใช ปุยโดโลไมทใ นการใชป ยุ โดโลไมทน น้ั ควรใหกอนหรือหลังใสปุยเคมี ประมาณ 1 เดอื น เพือ่ ปอ งกันการ ดูดตรึงธาตุอาหารไวในดินทําใหมะพราวไมสามารถนําไปใชประโยชนได การใสปุยควรใสใหสัมพันธกับ อายุมะพราวดังตารางขางลางนี้ อายมุ ะพรา ว ปุยผสม 13-13-21 แมกนีเซียมซัล โดโลไมท (ป) 12-12-17-2(กก.) เฟต(กรมั ) (กก.) 1 1 200 - 2 2 300 2 3 3 400 3 4 500 4 4 หรอื มากกวา ฤดูที่เหมาะที่สุดที่จะใสปุยใหมะพราว คือ ในชวงตน และปลายฤดูฝน ในชวงนี้มีความชื้นเพียงพอที่ จะชวยละลายปุย และรากของมะพราวกาํ ลงั เจรญิ เตบิ โตเตม็ ทส่ี ามารถดดู ปยุ ไปใชไ ดด ี การหวานปุยจากการศึกษาพบวา รากมะพราวที่สามารถดูดปุยไดดีอยูบริเวณติดกับลาํ ตนและอยู หางจากลําตนภายในรัศมี 2 เมตร ดงั นน้ั การใสป ยุ จงึ ควรโรยหรอื หวา นปยุ ตง้ั แตโ คนตน ไปจนถงึ 2 เมตร โดยรอบแตถาเปนมะพราวที่ยัเล็กอยูควรหวานปุยใกลโคนมะพราวเพราะรากยังนอย หลังจากหวานปุยแลว ควรพรวนดินตื้นๆ ลึกประมาณ 10-15 ซม. เพื่อใหปุยไดคลุกเคลากับดินและปองกันการชะลางนั่นเอง การเพม่ิ ปยุ อนิ ทรยี แ ละปยุ พชื สด ประเทศท่ีอยใู นเขตรอ นเชน ประเทศไทย อินทรียวัตถุในดินสวนมากมีนอยและมีการสลายตัวเร็ว เพราะมีฝนตกชุกและอุณหภูมิสูงพวกแบคทีเรียในดินจะเจริญเติบโตไดดีคอยยอยและทําลายพวกอินทรีย วัตถุไดอยางรวดเรว็ อินทรียวัตถุจะเปนตัวชวยใหดินมีความอุดมสมบูรณและสภาพทางฟสิกสของดินดีขึ้น ทําใหดินรวนซุย การระบายนํ้า ระบายอากาศไดดี รากของมะพรา วสามารถชอนไชไปหาอาหารไดอ ยา ง กวางขวาง การเพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดินสามารถกระทาํ ไดหลายแบบ เชน การใสปุยคอก ปุยหมัก หรอื ปยุ พืชสด เชน ปอเทือง แลวทาํ การไถกลบ หรือใชวิธีการเลี้ยงสัตวในสวนมะพราวก็ได

การปลูกมะพรา ว 13 แสดงบริเวณที่ใสปุย ใชแรงคน โดยการถากดวยจอบ หรือดายดวยมีด ใชเ ครอ่ื งทนุ แรง เชน รถไถหญา รถไถนาขนาดเลก็ ปลูกพืชคลุม ใชพืชตระกูลถั่ว เชน คาโลโปโกเนียม เพอรร าเรยี หรอื เซน็ โตรมา โดยการปลูก ใหห า งโคนตน เกนิ รศั มี 1 วา ใชสารเคมี เชน ไกลโฟเซ็ท(ชื่อการคาวา ราวด- อพั หรอื คาวบอย) หรอื ดาลาพอน (ชื่อการคาวา คาลาลา หรอื ดาวพอน ฯลฯ) กาํ จัดวัชพืชขามป เชน หญา คา ใชพาราควอท (ชื่อการคาวา กรัมมอกโซน กลาสโซน เพลนโซน นอ กโซน ฯลฯ)กาํ จัดวัชพืชลมลุกตางๆ เชน ตนี นก ตนี กา สาบแรง สาบกา (อัตรา และวิธีใชตามฉลากยา เวลาใชตองระวังอยาใหละอองสารเคมีถูกตนหรือใบมะพราว) เนื่องจากมะพราวจะเริ่มใหผลหลังจากปลูกประมาณ 5-6 ป ดังนั้นในขณะที่ตนยังเล็กอยู จงึ ควร ปลูกพืชแซมระหวางแถวมะพราว เปนประเภทพืชที่มีอายุสั้น อาจเปนพืชไร เชน สับปะรด ถั่วตา ง ๆ หรอื พืชผัก เชน ฟกทอง แตงกวา แตงโมขา วโพดหวาน ฯลฯ เม่ือมะพรา วโตข้ึน มีอายุได 4-5 ป จะมที รงพมุ ใหญ บังแสงแดดจึงไมควรปลูกพืชแซม เพราะจะได ผลไมคุมคา และทาํ ใหต น มะพรา วโตชา แตเ มอ่ื มะพรา วมอี ายไุ ด 12-15 ป ทาง(ใบ) จะเริ่มสั้นลง เปดใหแสง แดดสองถึงพื้นดินไดมากขึ้น จงึ ควรปลกู พชื ยนื ตน ทเ่ี จรญิ เตบิ โตไดด ี ในที่ที่มีรมเงาแซมลงในสวนมะพราว เชน กาแฟ โกโก พริกไท ดีปลี ฯลฯ

การปลกู มะพรา ว 14 ในสวนมะพราวที่ใหผลแลว นอกจากจะจะเพิ่มรายไดโดยการปลูกพืชแซมแลว ยงั อาจเลย้ี งผ้งึ หรอื เลี้ยงวัวในสวนมะพราวได ซึ่งเปนวิธีการเพิ่มผลผลิตของมะพราวอีกทางหนึ่งดวย ศัตรทู ส่ี ําคญั ของมะพรา วมอี ยู 2 ชนดิ คอื เปนแมลงปกแข็งตัวใหญมีสีนาํ้ ตาลเขม บนหวั มนี อ เหมอื นแรด ตัวแกกัดกินยอดและใบออนทาํ ให ดวงงวงมาวางไข สามารถจะปองกันและกาํ จดั ไดท ง้ั ในระยะทเ่ี ปน ตวั หนอนและตวั เตม็ วยั โดยปฏิบัติดงั นี้ รักษาสวนใหสะอาด เปน การทาํ ลายแหลงวางไข เพราะดวงแรดชอบวางไขในกองขยะ กองปุย หมัก กองเศษไม ตอไมผ ุ ฯลฯ ถาเห็นใบยอดขาดเปน ริ้วๆแสดงวาถูกดว งแรดกดั ใหใชต ะขอหรือเหล็กแหลมแทง ดึงเอาตวั ออกมาทําลาย ใชสารเคมี เชน 1. ออลดริน ชนดิ นา้ํ 5 ชอ นแกง ผสมนํ้า 1 ปบ ราดที่คอมะพราวทุก 2 เดอื น 2. อโซดริน 3 ชอ นแกง ผสมนํ้า 1 ปบ ราดที่คอมะพราวเดือนละครั้ง 3. ออลดริน ชนดิ ผงคลกุ กบั ขเ้ี ลอ่ื ยในอตั รา 1 ชอ นแกง ตอขี้เลื่อย 8 กระปอ งนม โรยทค่ี อมะพรา ว ตนละ 1 กระปองนมทุก 2 เดอื น 4. สําหรับตน มะพรา วทม่ี ลี ําตนสูงมาก ใชพวก นวู าครอนหรอื อโซดรนิ ฉดี เขา ลําตน โดยเอาสวา น เจาะลําตน ใหเ ปน รจู าํ นวน 2 รอู ยตู รงขา มกนั ใชเข็มฉีดยาดูดสารเคมี 10 ซีซี ฉีดใสในรูที่เจาะไวขางละ 5 ซีซี จะมีฤทธิ์อยูนานประมาณ 30 วนั วิธีนี้หามเก็ยผลมะพราวกอนครบกําหนดหลังจากฉีดสารเคมีแลว อยาง นอ ย 30 วนั ใชวิธีชีวิตินทรียโดยธรรมชาติจะมีเชื้อราและเชื้อไวรัสที่สามารถทาํ ลายดวงแรดไดท ้ังท่เี ปนตัว หนอนและตวั เตม็ วยั คือ (1.) เชื้อราเขียว Metarhizium anisophiae จะเขาทาํ ลายตวั หนอนมองเหน็ เปน เสนใยสขี าวจับกนั เปน กอนอยูที่ผิวภายนอกตัวหนอนตอไปจะเปลี่ยนเปนสีเขียว ถา ตัวหนอนของดวงแรดมีลักษณะดังกลาวควรนาํ ไปใสใหกระจายตามกองขยะ กองปุยหมัก ปุยคอก ตอหรอื ทอ น มะพราวผุๆ ซึ่งเปนแหลงเพาะขยายพันธุของดวงแรด จะชวยลดปริมาณดวงแรดลงไดมาก (2.) เชื้อไวรัส Rhabdiomvirus oryctes หรอื ทเ่ี รยี กกนั วา แบคคลู าไวรสั (Baculavirus) จะเขาทาํ ลาย ตัวหนอนมีลักษณะท่ีสังเกตไดง ายคือสวนทา ยของตวั หนอน(rectum) จะพองโตยน่ื ออกมาเหน็ ไดช ดั เมอ่ื พบ

การปลูกมะพรา ว 15 หนอนที่มีลักษณะนี้ควรเก็บใสไวตามแหลงขยายพันธุของดวงแรด จะทําใหด ว งแรดเปน โรคแพรก ระจาย มากข้นึ ปริมาณของดวงแรดจะลดลง มีขนาดเล็กกวาดวงแรด เขาทาํ ลายตนมะพราวโดยการวางไข ตามรอยแผลที่มีอยูแลว เชน แผลที่ เกิดจากดวงแรดกัดทําลายเมื่อไขฟกตัวแลวหนอนก็จะกัดกินสวนที่ออนแลวเจาะไชเขาในลาํ ตน ทาํ ใหตน มะพราวเหี่ยวเฉาและตายได การปอ งกนั และกําจัด ปองกันกําจดั ดว งแรดอยา ใหเ กดิ ระบาดทาํ ลายตนมะพราวเพราะแผลที่ดวงแรดกัดเปนชองทางให ดวงงวงเขาไปวางไข ระวังอยาใหตนมะพราวเกิดบาดแผล เชน การใชมีดฟนตน เพราะดวงงวงจะเขาไปวางไขตาม รอยแผล อยาปลูกมะพราวตื้น เพราะรากจะลอย ดว งงวงสามารถเขา ไปในรอยเปด ของเปลอื กตรงสว นของ โคนตนที่ติดกบั พื้นดนิ ได ถาพบตนที่ถูกดวงงวงทาํ ลาย และตนยังแข็งแรงอยู ใหใ ชย าคารโ บฟรู าน(ฟูราดาน หรอื ครู าแทร 3% G) โรยบรเิ วณโคนตน เกลี่ยดินกลบ รดนา้ํ ใหชุม สารเคมีจะซึมผานขึ้นไปจนถึงยอด ฆา หนอนทก่ี นิ อยู ภายในได และอยาเก็บผลไปรับประทานภายใน 30 วนั หลังจากใสสารเคมีแลว ตนที่ถูกดวงงวงทาํ ลายจนตาย ควรโคน ทง้ิ แลว เผาทําลาย โรคยอดเนา (Heart leaf rot) เกดิ จากเชอ้ื รา Pythium sp. และมักเกิดกับมะพราวพันธุที่นาํ เขา จากตาง ประเทศ เชน พันธุมลายูสีเหลืองตนเตี้ย โรคนม้ี กพบบอ ยในระยะตน กลา ในสภาพที่มีฝนตกชุก และอากาศ มีความชื้นสูง ลักษณะอาการ ระยะแรกจะพบแผลเนาสีดาํ บรเิ วณตรงโคนยอด จากนั้นจะขยายลุกลามตอไปจนทาํ ใหใบยอยทั้งใบ แหงเปนสีนํ้าตาล สามารถดึงหลุดออกไดงาย ตนกลาจะเหี่ยวเฉาและแหงตายไปในที่สุด หากเกิดกับ มะพรา วใหญ อาจมีทางใหมเ กิดขน้ึ แตใบจะผิดปกติ กานทางจะสั้น มีใบยอยเล็กๆ เกดิ เฉพาะบรเิ วณปลาย กานทาง

การปลกู มะพราว 16 การปอ งกนั กําจัด ในการยายตนกลาอยาพยายามใหหนอชํา้ เพราะโรคอาจจะเขา ทาํ ลายไดงาย หากพบอาการของโรค ในระยะแรกใหต ดั สว นทเ่ี ปน โรคออก แลว ฉดี พน ดว ยสารฆา เชอ้ื ราทม่ี สี ารประกอบทองแดง ตน กลาหรอื สวนทโ่ี รคทาํ ลายใหเผาทาํ ลายใหหมดเพื่อปองกันการทาํ ลายตอไป โรคใบจดุ (Helminthosporium leaf rot) เกดิ จากเชอ้ื รา Helminthosporium sp. โรคนจ้ี ะทาํ ความเสีย หายใหแกมะพราวในระยะตนกลามากและลุกลามอยางรวดเร็ว ลักษณะอาการ เร่ิมแรกจะเกดิ จดุ แผลสเี หลอื งออ น ขนาดหวั เขม็ หมดุ ตอ มาจะเปลย่ี นเปน สนี ํ้าตาลแดง มวี งสเี หลอื ง ลอมรอบแผลจะขยายใหญอ อก มีลักษณะคอนขางกลม กลางแผลจะมีจุดสีนาํ้ ตาลแดง ขอบแผลสีนํ้าตาลเขม ในที่สุดจะขยายรวมกันทาํ ใหใบแหง ตน มะพรา วชะงกั การเจรญิ เตบิ โตและตายในทส่ี ดุ การปอ งกนั กําจัด ฉีดพนดวยสารกาํ จดั ศตั รพู ชื เชน เธอรแรม (thiram) อตั รา 50 กรัม ตอ นา้ํ 20 ลิตร ผสมสารลงไป 15 ซีซี ฉีดพนทุก 10-14 วนั นอกจากนี้ยังมีโรคอื่นๆ เชน โรคตาเนา (Bud rot) โรคโคนผุ (Stem bleeding) โรคใบจดุ สเี ทา (Grey leaf spot) โรคกา นทางแตก(Frond Break) โรครากเนา (Root rot) เปน ตน โรคดังกลาวนี้แมวาจะพบในแหลง ปลูกมะพราวมากแตก็ไมพบทาํ ความเสียหายใหแกมะพราวมากนัก มะพราวออกดอกโดยเฉลี่ยปละ 12 จน่ั ถาไดรับการดูแลดีก็จะติดผล ทุกจั่น ไดผ ลผลติ ทกุ เดอื นเดอื นละ 1 ทะลาย แตตามปกติจะเก็บผลมะพราวได ไมเทา กนั ในแตล ะเดอื น เดอื นทใ่ี หผ ลผลติ นอ ยคอื ระหวา งเดอื นธนั วาคมถงึ มีนาคม ตอจากนั้นจะเก็บผลมะพราวไดมากขึ้นเรื่อยๆ ชวงที่เก็บผลไดมาก ที่สุดคือ เดือนสิงหาคมถึงกันยายน ผลมะพรา วจะเรม่ิ แกเ มอ่ื อายปุ ระมาณ 11 เดอื น จนอายุ 12 เดอื น ก็จะแกเต็มที่ ลักษณะผลแกสังเกต ไดจากผวิ ของเปลอื ก จะเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีกามปู หรอื สนี ้าํ ตาล และปริมาณนํา้ ในผลจะนอยลง ดงั นน้ั เมือเขยาผลดูก็จะไดยินเสียงนํ้าคลอน มะพราวในทะลายเดียวกันจะแกไมพรอ มกนั จึงควรเลือกเก็บผลจาก มะพราวที่ผลมะพราวแกหมดแลว เกษตรกรนิยมสอยมะพราวทุกๆ 45-60 วนั แลวแตปริมาณผลมะพราวในสวน การสอยสวนใหญ นิยมใชไมไผลาํ ยาวๆ ที่มีตะขอผูกติดไวที่ปลายลาํ ใชตะขอเกี่ยวทะลายที่มีผลแกแลว ดึงกระตุกใหผลหลุด ตกลงมา แตถาตนมะพราวสูงมากๆ เกษตรกรมักใชลิงเก็บผลมะพราวแทน ใน 1 วันจะเก็บผลมะพรา วได ประมาณ 600 ผล จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร