โครงการรวบรวมและจัดเก็บขอ้ มูลมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม โนราโรงครู คณะผ้ดู าเนินโครงการ นายพทิ ยา บุษรารตั น์ นายชยั วุฒิ พยิ ะกลู นายเชดิ ชัย อ๋องสกลุ นายรัชการ วิชชุรังศรี นายวิทยา บุษบงค์ นางองิ อร จลุ ทรัพย์ นางสาวขวญั เรอื น บญุ กอบแก้ว โครงการน้ีได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม ๒๕๕๗
โครงการรวบรวมและจัดเกบ็ ขอ้ มลู มรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม โนราโรงครู ทป่ี รกึ ษาโครงการ รองศาสตราจารย์ไพบลู ย์ ดวงจันทร์ คณะผ้ดู าเนนิ โครงการ นายพทิ ยา บุษรารัตน์ นายชัยวฒุ ิ พยิ ะกลู นายเชดิ ชยั ออ๋ งสกลุ นายรัชการ วชิ ชุรังศรี นายวิทยา บษุ บงค์ นางองิ อร จลุ ทรพั ย์ นางสาวขวญั เรอื น บุญกอบแกว้ โครงการนไ้ี ด้รบั งบประมาณสนับสนนุ จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ๒๕๕๗
บทคัดย่อ การรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลโนราโรงครู เพ่ือเสนอให้เป็นมรดกภูมิป๎ญญาทางวัฒนธรรม คณะผรู้ วบรวมไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยวิธีการสัมภาษณ์ การสังเกต และการจัดประชุม เสวนาโดยชุมชนมสี ว่ นรว่ ม ผลการรวบรวมข้อมลู สรุปได้ ดังนี้ โนราโรงครู เป็นความเช่ือและพิธีกรรมท่ีแสดงให้เห็นถึงมรดกภูมิป๎ญญาทางวัฒนธรรมท่ีมี ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชาวบ้านในภาคใต้ ทั้งนี้เพราะโนราโรงครูเป็นพิธีกรรมทางความเชื่อที่เป็นความ เชื่อทางพระพุทธศาสนาระดับชาวบ้าน อันหมายถึงความเชื่อในหลักธรรมคาสอนของพุทธศาสนา ซ่ึง ผสมผสานกับลัทธิพราหมณ์และความเชื่อในเร่ืองไสยศาสตร์หรือผีสางเทวดา อันรวมไปถึงการเซ่นไหว้บรรพ บุรุษ การเข้าทรงและพิธีกรรมทางความเช่ือ อ่ืนๆท่ีปรากฏในโนราโรงครู เช่น พิธีครอบเทริด หรือผูกผ้าใหญ่ พิธีราสอดเครื่องหรือสอดกาไล เป็นการแสดงออกถึงคุณธรรมด้านการดารงคุณค่าในการเคารพนับถือครูบา อาจารย์ มคี วามกตญั ํรู คู้ ณุ มีเมตตาธรรมเป็นเครื่องช้ีนาในการช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับความทุกข์ ความเดือดร้อน ช่วยคล่ีคลายป๎ญหาท้ังด้านร่างกายและจิตใจ จึงมีส่วนสาคัญในการสืบทอดและรักษามรดกภูมิป๎ญญาทาง วฒั นธรรมโนราโรงครูจากอดตี จนถงึ ปจ๎ จบุ ัน อาจกลา่ วได้วา่ โนราโรงครู เป็นพิธีกรรมในการนับถือบรรพบุรุษ ซ่ึงยังมีการจัดพิธีและแนวปฏิบัติรองรับอย่างเข้มข้นในหมู่บ้านต่างๆโดยเฉพาะในเขตภาคใต้ตอนบนและ ภาคใต้ตอนกลาง ได้แก่ จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ตรัง กระบี่ ระนอง ซึ่งชาวบ้านท่ีมีบรรพบุรุษรุ่นใดรุ่นหน่ึงเป็นโนราจะต้องนับถือครูหมอตายายโนราและสืบทอดการทาพิธีโนรา โรงครู ด้วยเหตุท่ีพิธีกรรมโนราโรงครูและการนับถือครูหมอตายายโนราเป็นวิธีการของชาวใต้ในการนับญาติ และการรวมกลุ่ม รวมทั้งมีส่วนในการแก้ป๎ญหาต่างๆท้ังของป๎จเจกบุคคล และสังคมส่วนรวมท่ีเป็นป๎ญหา พ้ืนฐานท้ังด้านร่างกายและจิตใจท่ีเก่ียวกับความสัมพันธ์ทางเพศ ปากท้อง ความขัดแย้ง การอบรมส่ังสอน สมาชิกใหม่ ความลี้ลับและอานาจเหนือธรรมชาติ ป๎ญหาโรคภัยไข้เจ็บ การติดต่อส่ือสารกัน การแสดงออก และการพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น แม้ว่าพิธีกรรมโนราโรงครูยังคงดารงอยู่ได้ในท่ามกลางความเปล่ียนแปลง ทางสงั คมและวัฒนธรรม กย็ งั จาเป็นจะตอ้ งได้รบั การอนรุ ักษ์ ส่งเสรมิ และพัฒนา ท้งั จากหนว่ ยงานภาครัฐและ เอกชนโดยเฉพาะชุมชนผู้เป็นเจ้าของมรดกภูมิป๎ญญาทางวัฒนธรรม รวมทั้งการรวบรวมและจัดทาข้อมูลเพื่อ เสนอให้โนราโรงครเู ปน็ มรดกภมู ปิ ญ๎ ญาทางวัฒนธรรมของชาติตอ่ ไป
Abstract Collecting data of “Nora Rong Khru” (worshipping to gurus of Nora) was aimed to deliver it out as a heritage of cultural wisdom. The collecting committee had gathered the fieldwork data by interview, observation, and seminar with participations from communities. The data collection resulted as follows. Nora Rong Khru has been a belief and a ritual ceremony showing the heritage of cultural wisdom that is relating to the folk way of life of southern people. Because Nora Rong Khru has been a ceremony of Buddhist belief among localities. That referred to a belief in the Dharmic principle in Buddhism that has been blending with Brahmanism together with superstition including worshipping to ancestors, spiritualism, and other functions as exist in the ceremony of Nora Rong Khru such as ceremony of taking “Zert” (เทริด) and ceremony of “Ram Sod” (ราสอด) that show the Dharma in maintaining the value of worshipping guru led by gratefulness and mercy as a direction to help sufferers in both mind and physical that are also the essence in inheritance of cultural wisdom since the old times until the present. It might be saying that Nora Rong Khru is a ceremony of paying respect to ancestors that has been organized strictly in many localities especially in upper South and middle South such as Chumporn, Surat Thani, Nakhon Si Thammarat, Phatthalung, Songkhla, Trang, Krabi, and Ranong. Anyone whose ancestor was a Nora performer must respect the Nora gurus and carry on the ceremony of Nora Rong Khru. As the ceremony of Nora Rong Khru and the respect to Nora gurus have been a procedure of relatives connection and relatives assemble that also involve with solving any problem of an individual and of their society whether bodily or mentally including sex, occupation, conflict, teaching new members, superstition, sickness, intercommunication, expression, recreation, etc. Though the ceremony of Nora Rong Khru is maintaining among social and cultural changes, it is also desired for conservation, support, and development from government authorities and also private sector, particularly communities that own such cultural wisdom, as well as the data collection to propose Nora Rong Khru to be a national wisdom in culture.
คานา โครงการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลโนราโรงครู เพื่อเสนอให้เป็นมรดกภูมิป๎ญญาทาง วัฒนธรรม เป็นโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม การรวบรวม ข้อมลู โนราโรงครคู ร้งั น้ี เป็นการดาเนินการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่ ๑) จังหวัดพัทลุง ได้แก่ วัดท่าแค อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ๒) จังหวัดสงขลา ได้แก่ วัดท่าคุระ อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา และวัด คลองแห อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา การเก็บรวบรวมข้อมูลโนราโรงครูครั้งนี้ได้สาเร็จด้วยดี เนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์จาก ชมุ ชนทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั มรดกภูมิปญ๎ ญาทางวัฒนธรรม ประกอบด้วย คณะโนรา คนทรงครูหมอโนรา ผู้มีเช้ือสาย โนรา ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้รู้ในท้องถิ่น นักวิชาการท้องถ่ิน และผู้นาชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่ทาการศึกษา รวมทั้ง ศิลปินโนราและคณะโนราในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดตรัง คณะผู้วิจัยจึงขอ กราบขอบพระคุณทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูล ทาให้การดาเนินการโครงการในครั้งนี้ สาเร็จด้วยดี พทิ ยา บษุ รารัตน์ และคณะฯ พฤษภาคม ๒๕๕๘
สารบญั หนา้ บทคดั ยอ่ คานา บทท่ี ๑ ๑ บทนา ๒ บทที่ ๒ ๒๒ องค์ความรมู้ รดกภมู ิป๎ญญาทางวัฒนธรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับโนราโรงครู ๖๔ ๓ บทที่ ๓ ๖๕ เงอื่ นไขภาวะ/ ป๎จจยั คุกคามของมรดกภูมปิ ๎ญญาทางวฒั นธรรมโนราโรงครู ๗๖ ๔ บทที่ ๔ ๗๗ การสงวนรักษาและแนวทางการสง่ เสริมให้โนราโรงครเู ป็นมรดกภูมิป๎ญญาทางวฒั นธรรมของชาติ ๘๖ / มนุษยชาติ ๕ สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ๘๗ ตอนท่ี ๒ กระบวนการมีส่วนรว่ มของชุมชน ๙๖ พน้ื ทจี่ งั หวดั พัทลงุ ณ วัดท่าแค ตาบลทา่ แค อาเภอเมืองพัทลุง จังหวดั พัทลงุ ๑๓๑ พน้ื ทจี่ ังหวดั สงขลา ณ วัดทา่ ครุ ะ ตาบลคลองรี อาเภอสทงิ พระ จังหวัดสงขลา ๑๕๘ พน้ื ท่ีจงั หวดั สงขลา ณ วัดคลองแห ตาบลคลองแห อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ภาคผนวก ๑๗๓ ภาคผนวก ก แบบบันทึกขอ้ มลู รายการมรดกภูมิป๎ญญาทางวฒั นธรรม/ การจดั การประชุมโดยชุมชนมสี ่วนร่วม ๑๙๓ ภาคผนวก ข ใบแสดงความยินยอม ๒๐๐ บรรณานุกรม
บทท่ี ๑ บทนา ๑.๑ หลกั การและเหตผุ ลท่ีตอ้ งรวบรวมและจัดเก็บขอ้ มูล ภาคใต้มี ศิลปะการละเล่น และการแสดงพื้นบ้านหลายอย่างท่ีทาหน้าท่ีในการให้ความ บนั เทงิ และการประกอบพิธีกรรม ไม่ว่าจะเป็นเพลงบอก ลิเกปุา โนรา หนังตะลุง ฯลฯ แต่ที่เด่นมากอย่าง หน่ึง คือ โนรา ท่ีเรียกว่า “โนราโรงครู” ซ่ึงเชื่อกันว่าก่อนที่โนราจะก้าวมาดารงบทบาทการสร้างความ บนั เทงิ แกช่ ุมชน โนราคงจะแสดงเพ่ือการประกอบพิธีกรรมที่สาคัญมาก่อน เช่น พิธีกรรมของกษัตริย์หรือ เจ้าเมือง และชนช้ันสูงในแต่ละท้องถ่ิน ซึ่งอาจมองเห็นได้จากเคร่ืองแต่งกายที่มีลักษณะคล้ายเคร่ืองทรง กษัตริย์โบราณ หรือตานานท่ีเก่ียวกับกาเนิดของโนรา ก็เป็นเรื่องราวท่ีเก่ียวข้องกับเทพเจ้า สิ่งศักด์ิสิทธ์ว่า เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าราต่าง ๆ และร่องรอยของความเป็นพิธีกรรม ยังจะเห็นได้จากความเช่ือเร่ืองครูหมอตา ยายโนรา การไหว้ครูการเข้าโรงครู และความเชื่อเรื่องการทาคุณไสย เช่น การราเฆ่ียนพราย และการ เหยียบลูกมะนาว เปน็ ต้น๑ โนราโรงครูจึงเป็นการราเพ่ือประกอบพิธีกรรมในการไหว้ครูหรือไหว้ครูหมอตายายโนรา อันเป็นการแสดงกตเวทิตาคุณต่อครูของตน เพ่ือทาพิธีแก้บนหรือ “แก้เหมรย” เพ่ือทาพิธีครอบเทริดหรือ พธิ ี “ผูกผ้าใหญ่” หรอื พิธี “แตง่ พอก”๒ นอกจากนกี้ ารจดั โนราโรงครูในบางพื้นท่ียังมีความมุ่งหมายเฉพาะ บางอย่างด้วย เช่น โนราโรงครูวัดท่าแค ตาบลท่าแค อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง เป็นการจัดเพื่อให้ ครูหมอตายายโนราทั้งหมดมาร่วมชุมนุมกัน เพราะชาวบ้านเช่ือว่าบ้านท่าแคเป็นแหล่งกาเนิดโนรา เป็นท่ี พานักของครูโนรา๓ โนราโรงครูวัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา หรือที่เรียกว่า “งานตายายย่าน” มีความมุ่งหมายในการจัดเพ่ือการแก้บนและแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อเจ้าแม่อยู่หัว ซึ่งชาวบ้านเชอ่ื ว่าเปน็ พระพุทธรูปศักดสิ์ ิทธิ์และมีประวัติความเปน็ มาที่เก่ยี วข้องกบั โนรา เป็นตน้ ๑ ฉตั รชัย ศุกระกาญจน.์ “ความเชื่อบางประการของโนรา,” ใน พุ่มเทวาที่ระลกึ งานเชดิ ชเู กียรติศิลปนิ ภาคใต้: ขุนอปุ ถมั ภน์ รากร. หนา้ ๑๑๑-๑๒๕ กรงุ เทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ,๒๕๒๓. ๒ ภญิ โญ จติ ตธ์ รรม. โนรา. สงขลา:โรงเรยี นฝึกหดั ครสู งขลา, ๒๕๐๘. ๓ พิทยา บุษรารตั น.์ “โนราโรงครูตาบลทา่ แค อาเภอเมอื ง จงั หวัดพัทลงุ \" ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. สงขลา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ สงขลา.๒๕๓๕ ถา่ ยเอกสาร.รายงานการวิจยั โนราโรงครวู ัดทา่ คุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทงิ พระ
๒ โนราโรงครยู ังกระทากนั อยทู่ ั่วไปในภาคใต้ทั้งท่ีเป็นโนราโรงครูประจาปีและโรงครูท่ีจัดขึ้น เพอ่ื แก้บน โดยเฉพาะจังหวดั นครศรธี รรมราช จังหวัดตรงั จงั หวดั พทั ลุง และจังหวัดสงขลา ยังคงปรากฏ อยูอ่ ย่างเด่นชดั รวมท้งั โนราโรงครใู นภาคใต้ตอนบน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร ภาคใต้ฝ่ังตะวันตก เชน่ จงั หวดั ตรงั จังหวัดกระบ่ี รวมท้ังภาคใต้ตอนลา่ ง เชน่ จงั หวดั ปัตตานี เป็นตน้ โนราโรงครู ทง้ั ด้านความ เชือ่ และพธิ กี รรม จึงเปน็ มรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมของผู้คนและชุมชนภาคใต้อย่างกว้างขวาง มีการสืบ ทอดกันมาอย่างต่อเน่ืองและยาวนาน แต่จากสภาพปัจจุบันท่ีสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง ความเจริญ ทางด้านเทคโนโลยแี ละการสอ่ื สาร รวมท้ังอิทธิพลวัฒนธรรมบริโภคนิยมจากชาติตะวันตก ทาให้คนรุ่นใหม่ และชุมชนต่าง ๆ ละเลยให้ความสาคัญกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมน้อยลง รวมท้ังการปรับเปล่ียน รูปแบบและลดความเข้มข้นในความเช่ือและพิธีกรรม ซ่ึงเป็นอันตรายต่อการดารงอยู่ของโนราโรงครู ด้วย เหตุน้ีจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องเร่งรีบดาเนินการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเร่ือง “โนราโรงครู” เพื่อเสนอให้ “โนราโรงครู” เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของภาคใต้และของชาติ ดงั กล่าวแล้ว ๑.๒ วัตถุประสงค์การรวบรวมและจดั เกบ็ ข้อมลู การรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลโนราโรงครู เพื่อเสนอเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม มวี ตั ถุประสงค์ ดังน้ี ๑.๒.๑ เพ่ือใหไ้ ดอ้ งคค์ วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั โนราโรงครูในแถบเขตภาคใต้ของประเทศไทย ๑.๒.๒ เพื่อสร้างกระบวนการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลเก่ียวกับโนราโรงครู โดยชุมชนมีส่วนร่วม และ ให้ชมุ ชนเกดิ จิตสานึกในคณุ คา่ และมกี ารสืบทอดตอ่ ไปอย่างเหมาะสม ๑.๒.๓ เพ่ือนาไปส่กู ารเสนอให้ “โนราโรงครู” เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในขอบเขตของ ประเทศไทยและของโลก ๑.๓ ขอบเขตในการดาเนนิ การโครงการ ๑.๓.๑ การดาเนนิ การในครัง้ นี้ ไดก้ าหนดขอบเขตด้านพื้นทหี่ ลัก ๒ พนื้ ท่ี ดังนี้ ๑) จงั หวัดพัทลงุ - วัดทา่ แค อาเภอเมืองพทั ลุง จังหวดั พัทลุง ๒) จงั หวดั สงขลา - วดั ทา่ ครุ ะ อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
๓ - วัดคลองแห อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา ๑.๓.๒ พ้นื ท่ีจังหวัดอ่ืนๆ ในภาคใตท้ ม่ี กี ารประกอบพธิ ีกรรมโนราโรงครู ๑.๔ วิธีการดาเนินการเก็บรวบรวมและจัดเก็บขอ้ มลู การเก็บรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลได้กาหนดแผนการดาเนินงาน เพื่อให้เกิดกระบวนการ ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูล จึงได้กาหนดวิธีดาเนินการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เป็นแผนเบอื้ งตน้ เพือ่ ใหท้ ีมงานนาไปพัฒนาในรายละเอียดใหเ้ หมาะสมกบั พื้นท่ีแต่ละชุมชนและสอดคล้อง กบั วัตถปุ ระสงค์ โดยดาเนนิ การดงั นี้ ๑. คณะทางานเกบ็ ข้อมูล ประกอบด้วย ๑.๑ นกั วชิ าการทมี่ ปี ระสบการณแ์ ละมีความรเู้ กย่ี วกับโนราโรงครู มีหวั หน้าทีมและ ผู้รว่ มทีม ๑.๒ ตวั แทนจากชมุ ชนท่มี ีความรู้และความสนใจเกยี่ วกบั โนราโรงครู ๒. การประชุมทีมงาน ๒.๑ ทาความเขา้ ใจในเรื่องภารกิจทต่ี อ้ งดาเนินงานรว่ มกนั ๒.๒ กาหนดขอบเขตชมุ ชนและบทบาทของชุมชนทเ่ี ขา้ มาร่วม ๒.๓ พจิ ารณาขอบเขตของโนราโรงครทู ่จี ะต้องนาไปเก็บขอ้ มูลในชมุ ชน ๒.๔ มอบหมายใหผ้ ูร้ ว่ มทีมงานคนใดคนหนึ่งทาหนา้ ท่เี ปน็ เลขานุการ เหรัญญิก และประสานงานกบั ท้องถิน่ ๒.๕ กาหนดกรอบงานและแบ่งงานใหผ้ ูร้ ่วมทมี งานอยา่ งชัดเจน ๒.๖ กาหนดตวั บคุ คลทจี่ ะทาหน้าทีเ่ กบ็ ข้อมูลและประสานงานในแต่ละชุมชน ๒.๗ กาหนดวนั และประเด็นที่จะประชุมเชิงปฏิบัติการทีช่ มุ ชนมีส่วนร่วม ๓. การจัดการและดาเนนิ การในชุมชนตามข้ันตอนต่าง ๆ ดังนี้ ขนั้ ตอนที่ ๑ ๑. สารวจชุมชน หาผูร้ ู้ ศิลปนิ ผู้เกีย่ วข้อง และผู้ชม ๒. ชี้แจงโครงการตอ่ ชุมชน และผู้เก่ียวขอ้ ง ๓. เลือกตัวบุคคลท่ีเป็นตวั หลกั ในชมุ ชนเปน็ (Key Person) โดยใชว้ ธิ ี snowball
๔ ขน้ั ตอนที่ ๒ ๑. จัดเวทีชี้แจงโครงการกับผู้ร่วมปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบมีส่วน ร่วม(PAR) และใช้แนวคิดเกี่ยวกับการส่ือสารตามแบบจาลองของเดวิด เค เบอร์โล(David k. Berlo) (SMCR) ซึ่งประกอบด้วย แหล่งสารหรือผู้ส่งสาร (sender-s) เนื้อหาสาร(Message-M) ช่องทางสาร(Channel-C) และผู้รับ สาร (Receiver-R) ๒. จดั เตรยี มคาถามและใช้วธิ กี ารสัมภาษณ์เชงิ ลกึ (Depth interview) ๓. ผลท่คี าดหมาย และการสังเกตอย่างมีสว่ นรว่ ม (Participant Observation) ๔. นาขอ้ มูลท่ีได้และไม่ได้จากการจดั เวทวี ิเคราะห์/สงั เคราะห์ข้อมูลไปปรับใช้ในเวที ท่ี ๒ ขน้ั ตอนท่ี ๓ การบันทกึ รวบรวมองค์ความรู้ และกระตุ้นจิตสานึกชุมชน โดยใช้กระบวนการ S M C R (ทฤษฎีการสอ่ื สาร) โดยการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) ขั้นตอนท่ี ๔ ชาวบา้ นช่วยกนั บนั ทกึ ขอ้ มลู และองค์ความรู้ เกดิ จติ สานกึ และมผี สู้ ืบทอดโนรา โรงครู ขั้นตอนท่ี ๕ เติมเต็มข้อมูล จากศิลปิน ปราชญ์ชาวบ้าน เยาวชน ครู ชาวบ้าน และผู้มีส่วน เก่ียวข้องกบั โนราโรงครู ขน้ั ตอนท่ี ๖ การตอบคาถามยูเนสโก (Unesco) จานวน ๓๐ ข้อ โดยเติมเตม็ ขอ้ มูล จากเวทตี ่างๆ ด้วยการปฏบิ ตั ิการแบบมสี ่วนร่วม (PAR) ขั้นตอนที่ ๗ คืนความรูส้ ชู่ ุมชน ข้นั ตอนท่ี ๘ การประชมุ เพ่อื หาขอ้ สรปุ จากกลุ่มตา่ งๆ และไดร้ ับการยืนยันและยนิ ยอมใหน้ า โนราโรงครขู น้ึ ทะเบียนเป็นมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม
๕ ๔. การตดิ ตามงาน ประชุมทีมงานอย่างสม่าเสมอและรายงานผลการดาเนินงานอย่างเป็น ระบบ หากมีปัญหาให้รีบแก้ไขทันที และสามารถปรับเปล่ียนประเด็นได้ตามความ เหมาะสม มีการบันทึกพูดคุย และสังเกตสภาพการณ์ทั่วไปอย่างละเอียด ซึ่งทาให้ทั้ง การรายงานเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร หรือรายงานด้วยวาจาในท่ีประชุมเป็นไปอย่างถูกต้อง สมบรู ณต์ ามหลักวิชาการ ๕. การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ประชุมทีมวิจัยนาข้อมูลท่ีได้จากการสารวจ ภาคสนามและข้อมูลจาการสนทนากลุ่ม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน มาวิเคราะห์ โดย สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของคณะทางาน เพ่ือตอบโจทย์วิจัยและร่วมกันเขียน รายงาน ๑.๔ สถานภาพองค์ความร้/ู งานวิจัย/ทฤษฎที เี่ ก่ียวข้อง โนราโรงครู เป็นความเชื่อและพิธีกรรมท่ีแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาที่มีความสัมพันธ์กับ วิถีชีวิตของชาวบ้านในภาคใต้ ท้ังน้ีเพราะโนราโรงครูเป็นพิธีกรรมทางความเชื่อที่เป็นความเช่ือทางพุทธ ศาสนาระดับชาวบ้าน อันหมายถึงความเชื่อในหลักธรรมคาสอนของพุทธศาสนา ซึ่งผสมผสานกับลัทธิ พราหมณ์และความเช่ือในเร่ืองไสยศาสตร์หรือผีสางเทวดา อันรวมไปถึง การเซ่นไหว้บรรพบุรุษ การ เข้าทรง และพิธีกรรมทางความเชื่ออ่ืน ๆ ที่ปรากฏในโนราโรงครู จึงมีบทบาทและหน้าท่ีต่อปัจเจกบุคคล และต่อสังคมส่วนรวมตามลักษณะของพุทธศาสนาระดับชาวบ้าน๑ จึงเห็นได้ว่าโนราโรงครูและพิธีกรรม บางอย่าง เช่น พิธีครอบเทริด หรือผูกผ้าใหญ่ พิธีราสอดเครื่องหรือสอดกาไล เป็นการแสดงออกถึง คุณธรรมด้านการดารงคุณค่า ในการเคารพนับถือครูบาอาจารย์ มีความกตัญญู รู้คุณ มีเมตตาธรรมเป็น เครอื่ งชี้นาในการช่วยเหลือผู้ที่ไดร้ ับความทุกข์ ความเดือดร้อน ช่วยคล่ีคลายปัญหาทั้งทางด้านร่างกายและ จิตใจ จึงมีส่วนสาคัญในการสืบทอดและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมการราโนราโรงครูจากอดีต จนถึงปัจจุบัน แม้ว่าปัจจุบันสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปมากแล้วก็ตาม แต่ความเช่ือและพิธีกรรมโนราโรงครู ยังคงมั่นคงอยู่ในสังคมภาคใต้ ดังจะเห็นได้จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับโนราโรงครู ดังกรณี ตัวอยา่ งดังตอ่ ไปน้ี ๑ ฉลาดชาย รมิตานนท.์ พเ่ี จา้ นาย กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์พายัพออฟเซทพริน้ ท,์ ๒๕๒๗.
๖ ภิญโญ จิตต์ธรรม และเย่ียมยง สุรกิจบรรหาร๑ ได้รวบรวมเรื่องราวความเป็นมาของ โนราเป็นรูปเล่มขึ้นคร้ังแรก ข้อมูลส่วนหนึ่งได้มาจากคาบอกเล่าของขุนอุปถัมภ์นรากร (พุ่ม เทวา) โดย กล่าวยกยอ่ งว่า โนราเปน็ นาฏศิลปะท่ขี น้ึ ชอื่ ของภาคใต้ เป็นการร่ายราประกอบด้วยการขับร้องและดนตรี อันเป็นแบบฉบับที่มีศิลปะเฉพาะถิ่นไม่ซ้าแบบใครและเป็นต้นแบบไปสู่กรุงศรีอยุธยาให้บังเกิดการละคร ชาตรีขนึ้ งานเขยี นช้นิ นยี้ งั ได้เสนอความเป็นมาของโนรา โดยอา้ งหลกั ฐานหลายอย่างยืนยันว่า ครูต้นแบบ อย่างโนราเกิดข้ึนท่ีบางแก้วเมืองพัทลุง ระหว่าง พ.ศ.๑๘๕๘ - ๒๐๓๑ มีเจ้าเมืองชื่อพระยาสายฟูาฟาด หรือท้าวโกสนิ ทร์ มีมเหสีชื่อนางศรีมาลา หรือ อินทรกรณีย์ มีลูกชายชื่อ เทพสิงหร และลูกสาวช่ือ นวล ทองสาลี หรือศรีคงคา เป็นพ่ีน้องร่วมท้องเดียวกัน เรียนรู้วิชาการต่างๆ ด้วยกันกับคณะราชครู แต่วิชาที่ เรียนกันสนุกสนานครื้นเครงทั้งกลางวันและกลางคืน คือ วิชาขับร้องฟูอนราไม่จาเพาะแต่พี่น้องหนุ่มสาว เทา่ นน้ั ยังมขี ้าราชสานักร่วมอยดู่ ้วย นางนวลทองสาลฝี กึ หดั จนชานาญ ๑๒ ท่า จนสามารถฝึกสอนผู้อ่ืน ไดท้ ั้งสองคดิ ท่าท่ี ๑๓ ข้ึนมาเอง คือ ลักลอบได้เสียกันในทางชู้สาวระหว่างพี่น้อง และพวกราชครูบางคนก็ ได้เสียกบั ลูกศิษย์ เรือ่ งเปดิ เผยข้นึ เมอื่ นางนวลทองสาลีหรือศรคี งคามีท้อง ตลอดไปถึงสาวชาววังอ่ืนๆ ด้วย จึงถูกลงโทษลอยแพไป ส่วนนายคงคอผมหอม นายชม นายจิตร นายทองกันดาร รวม ๔ คน พระยา สายฟาู ฟาดส่ังให้เอาเชือกผกู คอถ่วงน้าเสยี ในยา่ นทะเลสาบ ตามบทไหวค้ รวู ่า เม่ือยามเป็นคนพอ่ ทองหลวงนาย ท้าวมาไร้ความคดิ หลวงชมตาจติ ร ผิดด้วยสนมกรมชาววัง พ่ออาบนา้ ทาแปูง ดับแดงไมท่ ันไดห้ ันหลงั ผิดด้วยสนมกรมชาววัง รบั สัง่ ผูกคอใหฆ้ า่ เสยี พอ่ ไม่ทันได้สง่ั ลูก บญุ ปลูกไม่ทันได้สัง่ เมยี รบั สั่งผูกคอให้ฆา่ เสีย ในฝ่งั แมน่ า้ ย่านยาว ส่วนในส่วนอ่ืนที่กล่าวถึงการท้องของนางนวลทองสาลีว่ากินดอกบัวเข้าไป ผู้เขียนให้ เหตผุ ลว่าเป็นเรอื่ งทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด้ เปน็ เพยี งการหาทางออกโดยยกบาปให้กบั เทวดา แพของนางได้ลอยไปติด ท่เี กาะกะชัง ก็คือ เกาะใหญ่ในทะเลสาบสงขลา จนครบกาหนดคลอดบุตรชาย ได้ฝึกหัดฟูอนราจนชานาญ เที่ยวแสดง ไปตามสถานท่ีต่างๆ จนได้มีโอกาสกลับไปเมืองพัทลุง พระยาปุูเจ้าเมืองเรียกตัวไปราให้ดู เมื่อ ได้พบกันความขุ่นข้องแต่หนหลังก็หมดสิ้น จึงได้มีการรับเทพสิงหรและนางนวลทองสาลีกลับ และแต่งตั้ง ๑ ภิญโญ จิตต์ธรรม และเย่ียมยง สุรกิจบรรหาร. (๒๕๐๘) โนรา. พระนคร : โรงพิมพ์บารุงนุกลู กจิ .
๗ หลานให้เป็น ขุนศรีศรัทธา อันเป็นตาแหน่งครูเฒ่าโนรา รับช่วงกันมาเร่ือย ศิลปะ การละเล่น และการ แสดงพนื้ บา้ นเป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนเชน่ เดยี วกบั วฒั นธรรมด้านอนื่ ๆ ท่มี นุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของตนเองและสังคมในชุมชนน้ัน ศิลปะ การละเล่น และการแสดงพ้ืนบ้าน จึงมีหน้าท่ีต่อชุมชนผู้เป็นเจ้าของหลายอย่างท้ังด้านความบันเทิงและด้านอื่น ๆ หน้าท่ีหลักอย่างหน่ึงซ่ึ ง น่าจะมีมาแต่โบราณคือการประกอบพิธีกรรม เพราะ “ศิลปะไทยส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับศาสนาและ พธิ ีกรรม เห็นไดจ้ ากจิตรกรรมฝาผนัง โบสถ์ พระพุทธรูป และวัดวาอารามต่าง ๆ แม้ดนตรีนาฏศิลป์ก็มี ความเชื่อเก่ียวกับเทพเจ้าหรือสิ่งศักด์ิสิทธิ์ว่าเป็นผู้ให้กาเนิด หรือเป็นบรมครูแห่งศิลปวิทยาการท้ังปวง”๑ ศิลปะ การละเล่น และการแสดงพ้ืนบ้าน จึง “มีบทบาททั้งในฐานะท่ีเป็นสื่อบันเทิงใจของคนในสังคม ให้ ผ่อนคลายจากความเหน็ดเหนื่อยในการทางานและยังเป็นเครื่องประกอบในพิธีกรรมทางศาสนา และ พิธกี รรมที่เกิดข้นึ แตล่ ะช่วงชวี ิตของชาวบา้ นนบั ต้ังแตเ่ กดิ จนกระท่ังตาย”๒ ซ่ึง สุจิตต์ วงษ์เทศ๓ ก็กล่าวใน ทานองเดียวกันวา่ การละเลน่ ยุคแรก ๆ มไิ ด้มขี ึน้ มาเพอ่ื ความสนุกสนาน บันเทิงเริงรมย์เพื่อผ่อนคลายความ ตึงเครียดอย่างเดียว เพราะผู้เล่นและผู้ร่วมการเล่น (ทุกวันน้ีเรียกผู้ดู – ผู้ชม) ต่างมีความมุ่งมั่น หรือมี วตั ถุประสงคอ์ ยา่ งใดอย่างหนึ่งร่วมกัน (นอกเหนือจากความสนุกสนาน) เช่นร่วมกันจัดให้มีการละเล่นเพื่อ ความอุดมสมบูรณ์หรือเพ่ือความ “ม่ังค่ัง” และความ “มั่นคง” ท้ังในแง่ส่วนบุคคลและในแง่ส่วนรวม ระดับชุมชน การละเล่นดังกล่าวมักจะเกี่ยวข้องกับ “พิธีกรรม” ตามระบบความเช่ืออันศักด์ิสิทธิ์ เช่น พิธีกรรมเกี่ยวกับชีวิต พิธีกรรมเก่ียวกับการทามาหากิน และพิธีกรรมที่เก่ียวกับชุมชนหรือสังคมเป็น ส่วนรวม จึงกล่าวได้ว่า ศิลปะ การละเล่น และการแสดงพื้นบ้าน มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของ ชาวบ้านอย่างแนบแน่นโดยเฉพาะ “ความเชื่อถือในส่ิงศักดิ์สิทธ์ิเก่ียวกับศาสนาและเทวดาต่าง ๆ เม่ือชีวิต ของมนุษย์ผูกพันอยู่กับส่ิงเหล่านี้ ก็จะมีการแสดงออกถึงความศรัทธาเชื่อถือ เพ่ือสักการบูชาและขอพร จากส่ิงศักด์ิสิทธิ์ดังกล่าวน้ัน”๔ วัฒนธรรมเพ่ือความงามและความบันเทิงเหล่านี้ทาหน้าที่รับใช้กลุ่มคนใน ๑ ปรานี วงษ์เทศ. พนื้ บ้านพน้ื เมอื ง. หนา้ ๑๓-๑๔ กรงุ เทพฯ : เจา้ พระยา, ๒๕๒๕. ๒ ปรยี า หิรญั ประดิษฐ์. ร.อ.หญงิ . “ศลิ ปะ การละเลน่ และการแสดงพ้ืนบ้านของไทย.” ในเอกสารการสอนชดุ วชิ าศลิ ปะ การละเลน่ และการแสดงพ้นื บ้านของไทย หนว่ ยที่ ๑-๘ หนา้ ๑-๔๗. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๓๒. ๓ สจุ ติ ต์ วงษ์เทศ. ร้องราทาเพลง : ดนตรีและนาฏศลิ ปช์ าวสยาม. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๓๒. หนา้ ๒๑๕ ๔ ฉนั ทสั ทองชว่ ย. “ละครชาวบ้าน,” วารสาร วศ. สงขลา ๑ (๑) : ๙๔ - ๑๑๑ : มกราคม -มิถนุ ายน ๒๕๑๗.
๘ สังคมแต่ละชุมชนอย่างสมบูรณ์ในด้านต่าง ๆ เช่น สนับสนุนความเช่ือของกลุ่มคนในสังคม ให้การศึกษา ปลูกฝังค่านิยม เป็นต้น ดังนั้นการศึกษาเรื่องราวของพิธีกรรมที่เก่ียวข้องกับศิลปะ การละเล่น และการ แสดงพื้นบ้านของชมุ ชน หรือของภูมิภาคใดภมู ิภาคหนึง่ จะทาใหเ้ ราเขา้ ใจบทบาทหน้าทแ่ี ละความสัมพันธ์ ระหว่างศิลปะประเภทนี้ กบั วถิ ีชีวติ ของชาวบา้ น ทง้ั ด้าน ความเชอื่ เศรษฐกิจ การเมือง ชีวิตความเป็นอยู่ ทศั นคติ อารมณ์ การใชเ้ หตผุ ลและความรูส้ ึกนึกคดิ ตา่ ง ๆ ของคนในชมุ ชนหรอื ภูมภิ าคนน้ั ๆ ภาคใต้มี ศิลปะ การละเล่นและการแสดงพ้ืนบ้านหลายอย่างที่ทาหน้าที่ประกอบ พิธกี รรม ไม่ว่าจะเป็นเพลงบอก ลเิ กปาุ โนรา หนังตะลงุ ฯลฯ แต่ทีเ่ ดน่ มากอย่างหน่ึงคือ โนราท่ีเรียกว่า “โนราโรงครู” ซึ่งเช่ือกันว่าก่อนที่โนราจะก้าวมาดารงบทบาทสร้างความบันเทิงแก่ชุมชน โนราคงจะ แสดงเพอื่ ประกอบพิธกี รรมท่ีสาคญั ๆ มาก่อนเช่น พธิ ีกรรมของกษตั ริยห์ รือเจา้ เมืองและชนชั้นสูงในแต่ละ ท้องถ่ิน ซึ่งอาจมองเห็นได้จากเคร่ืองแต่งกายท่ีมีลักษณะคล้ายเคร่ืองทรงกษัตริย์โบราณ หรือตานาน เก่ียวกับกาเนิดของโนราก็เป็นเร่ืองราวที่เก่ียวข้องกับเทพเจ้า ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ท่าราต่าง ๆ และร่องรอยของความเป็นพธิ กี รรมยังจะเห็นได้จากความเช่ือเรื่องครูโนรา การไหว้ครูการเข้าโรงครู และ ความเชือ่ เรอื่ งการทาคณุ ไสย เช่น การราเฆ่ียนพรายและการเหยยี บลูกมะนาว เป็นต้น๑ โนราโรงครู หมายถึง “โนราท่ีแสดงเพื่อประกอบพิธีเชิญครูหรือบรรพบุรุษของโนรา มายงั โรงพิธี เพอ่ื รบั การเซน่ สังเวย เพ่ือรับของแกบ้ น และเพ่ือครอบเทริดหรือผูกผา้ แก่ผู้แสดงโนรารุ่นใหม่ ดว้ ยเหตุที่ตอ้ งทาการเชอื้ เชญิ ครูมาเข้าทรงหรอื มา “ลง” ยังโรงพิธี จึงเรียกพิธีกรรมนี้อีกช่ือหน่ึงว่า “โนรา ลงครู”๒ และ “โนราลงครไู ม่เนน้ การแสดง หากเป็นการเชิญพ่อแม่ตายายผู้ล่วงลับไปแล้วมาเข้าทรงลูกหลาน ทเ่ี ป็นคนทรง การลงครเู ปน็ ประเพณีอยา่ งหนึ่งของชาวปักษ์ใต้ผู้มีบรรพบรุ ุษเป็นโนรา”๓ ชวน เพชรแก้ว๔ กล่าวถึงความเชื่อเร่ืองครูโนรา การไหว้ครู และการเข้าโรงครูว่า คาว่าครู มโนราห์ในท่ีน้ีหมายถึง “ครูหมอโนรา” น่ันเองนับเป็นสิ่งสาคัญมากเพราผู้ที่จะฝึกหัดราโนราห์ หรือเป็น ๑ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์. “ความเชื่อบางประการของโนรา,” ใน ชีวิตไทยปักษ์ใต้ บรรณาธิการโดย ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์. หน้า ๑๘๓ - ๑๘๖. กรงุ เทพ ฯ : กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๓, ก. ๒ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์. “พิธีกรรมท่ีน่าศึกษาในโนราโรงครู,” ใน พุ่มเทวา ท่ีระลึกงานเชิดชูเกียรติศิลปินภาคใต้ : ขนุ อปุ ถมั ภน์ รากร. หนา้ ๑๑๑ - ๑๒๕. กรุงเทพ ฯ : สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ, ๒๕๒๓ ข. ๓ สวา่ ง สุวรรณโร. “โนราลงคร,ู ” ใน พุ่มเทวา ทรี่ ะลกึ งานเชดิ ชเู กียรติศิลปินภาคใต้ : ขุนอุปถัมภ์นรากร. หน้า ๑๐๑ – ๑๐๗. กรุงเทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ, ๒๕๒๓. ๔ ชวน เพชรแก้ว. “มโนห์รา : ศิลปะการเล่นช้ันสูง,” ใน ชีวิตไทยภาคใต้. บรรณาธิการ โดย ชวน เพชรแก้ว. หน้า ๓๑ -๓๙. นครศรธี รรมราช : ศูนยว์ ัฒนธรรมภาคใต้ วทิ ยาลัยครนู ครศรธี รรมราช, ๒๕๒๓.
๙ เชื้อสายมโนราห์เขาจะต้องกราบไหว้ทุกปี ถ้าละเลยไม่ปฏิบัติมักเป็นไปต่าง ๆ เช่น เจ็บปุวยรักษาไม่หาย จนกว่าจะได้แก้บนโดยเขา้ โรงครู ครูต้นได้แก่ นางนวลสาลี ขุนศรัทธา เป็นต้น ส่วนการไหว้ครูและเข้าโรง ครมู โนราห์จะต้องทาพิธีไหวค้ รทู กุ คร้งั แต่การไหวค้ รูท่ีสาคญั ทสี่ ดุ ซึ่งทากันทกุ ปีคือ “การเข้าโรงครู” มักจัด กนั ในเดอื นสี่หรือเดือนหก มกั ทากนั เป็นพิธใี หญ่ต้องปลกู โรงพิธี อญั เชญิ ครแู ละราถวาย... โนราโรงครูจึงเป็นพิธีกรรมท่ีเก่ียวข้องกับความเชื่อ มีบทบาทต่อวิถีชีวิตและสังคมของ ชาวภาคใต้ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโนราและผู้มีเช้ือสายโนรา เพราะครูหมอโนรา๑ แม้จะไร้ตัวตนและอยู่ใน โลกของนามธรรม แตก่ ย็ ังตดั ไม่ขาดจากมนุษย์ ยังห่วงใยผูกพันกับลูกหลานและงานศิลปะ ลูกหลานก็ยัง เคารพเซ่นพลีบูชาวิญญาณเหล่านี้ บางคร้ังเมื่อเกิดปัญหาชีวิตก็หันเข้าพ่ึงวิญญาณเหล่าน้ีได้สร้างปัญหา ใหก้ บั ลกู หลานกม็ ี สาเหตุใหญ่เชื่อว่าเน่ืองจากไหวไ้ ม่ดีพลไี ม่ถกู หรอื ละเลยไม่นับถือ๒ จึงต้องมีการบนบาน แล้วทาพิธีไหว้ครูหรือเข้าโรงครูแก้บน ส่วนชาวบ้านท่ัวไปก็ได้บนบานขอความช่วยเหลือจากครูหมอโนรา ในเร่ืองต่าง ๆ เช่น ขอโชคลาภ ขอให้หายเจ็บปุวย ขอให้พ้นจากการเกณฑ์ทหาร หรือมารับการรักษา โรคภัยไข้เจ็บบางอย่าง ที่เช่ือว่าเกิดจากอานาจของผีบางจาพวก เช่น เหยียบเสน๓ ตัดผมผีช่อ๔ เป็นต้น สง่ิ เหลา่ น้ีย่อมเปน็ สิง่ ยนื ยันถงึ ความสาคัญของโนราโรงครูทมี่ ตี ่อวถิ ีชีวิตของชาวบา้ นได้เป็นอย่างดี โนราโรงครูยงั กระทากันอยู่ท่ัวไปในภาคใต้ทั้งท่ีเป็นโรงครูประจาปีและโรงครูที่จัดขึ้นเพื่อ แก้บน โดยเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา ยังคงปรากฏอยู่ อยา่ งเดน่ ชดั แต่โนราโรงครูท่ีสาคัญและน่าสนใจอย่างยิ่งคือ โนราโรงครูวัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา ท้ังนี้เพราะเป็น “โนราโรงครูท่ีจัดขึ้นเพ่ือราแก้บนเจ้าแม่อยู่หัว ซ่ึงเป็น พระพุทธรปู ทองคา ปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้างประมาณ ๒ เซนติเมตร สูงประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร ๑ ครหู มอโนรา หมายถงึ ครตู น้ ของโนรา และบรรพบุรุษโนราท่ีล่วงลับไปแล้ว แต่วิญญาณยงั ผูกพันอยู่กบั ลกู หลาน สามารถเชญิ มาเขา้ ทรงได้ ๒ อุดม หนูทอง. “บทบาทของการละเล่นพื้นเมืองภาคใต้,” ใน หกทศวรรษวิทยาลัยครูสงขลา ๒๔๖๘ - ๒๕๒๘. หน้า ๔๕ - ๔๘ สงขลา : มงคลการพิมพ,์ ๒๕๒๘. ๓ เหยยี บเสน เป็นการทาพธิ ขี องโนราใหญ่ในโรงครเู พ่ือรักษาเสน ซึ่งเป็นเนอื้ ท่ีงอกนนู ข้ึนจากระดับผวิ หนังเปน็ แผ่นตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ใบหน้า มอื ศรี ษะ เปน็ ตน้ ชาวบ้านเชื่อว่าเสนเกิดจากการกระทาของผีท่เี รยี กว่า เจา้ เสน” หรือ “ผีโอกะ แชง” ซ่งึ เป็นผทู้ าหนา้ ทเี่ ฝูาเสาโรงโนรา ๔ ตัดผมมีช่อ เป็นการทาพิธีของโนราใหญ่ในโรงครูเพื่อตัดผมท่ีจับตัวกันเป็นกระจุกเหมือนผูกมัดเอาไว้โดยธรรมชาติตั้งแต่แรก คลอด ชาวบ้านเชื่อว่าเกิดจากความต้องการของครูหมอโนราที่จะให้บุคคลหน่ึงบุคคลใดมาเป็นโนราหรือคนทรงครูหม อโนรา จึงผูกผมเปน็ เครือ่ งหมายเอาไว้
๑๐ เกบ็ ไว้ในผอบประดษิ ฐานอยู่ในมณฑปวัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ชาวบ้าน ท่าคุระและตาบลใกล้เคียงเรียกว่า “เจ้าแม่อยู่หัว” และเชื่อว่าเป็นพระพุทธรูปศักด์ิสิทธ์ิคู่บ้านคู่เมือง มีความเกี่ยวข้องกับตานานการกาเนิดโนราจึงเป็นท่ีมาของการราโนราโรงครูวัดท่าคุระ หรือ “งานพิธี สมโภชและสรงน้าเจ้าแม่อย่หู ัว” หรอื ที่ชาวบา้ นเรยี กว่า “งานตายายย่าน” ซึง่ จดั ขนึ้ เปน็ ประจาทุกปี ใน วันแรม ๑ ค่า เดือน ๖ (วันแรม ๑ ค่าต้องตรงกับวันพุธ หากปีใดวันแรม ๑ ค่า ไม่ตรงกับวันพุธก็ให้เลื่อน ออกไป) กลายเป็นประเพณีของชาวบ้านท่าคุระที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน” คาว่า “ท่าคุระ” นอกจากหมายถึงช่ือบ้านท่าคุระแล้ว ยังหมายถึงวัดท่าคุระซึ่งต้ังอยู่ในหมู่ที่ ๙ ตาบลคลองรี อาเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา วัดท่าคุระเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเจ้าแม่อยู่หัว และเป็นสถานท่ีประกอบ พิธีโนราโรงครูแก้บนของชาวบ้านท่าคุระและตาบลใกล้เคียง ที่เรียกว่า “งานตายายย่าน” ตายายย่าน เป็นความเช่อื ในเรอ่ื งระบบเครือญาตทิ ่วี า่ ชาวบ้านท่าคุระทุกคน จากอดีตถึงปัจจุบันล้วนสืบเชื้อสายมาจาก บรรพบุรุษเดียวกัน หรือต่างก็มีตายายร่วมกันคือ เจ้าแม่อยู่หัว การจัดงานตายายย่านหรือโนราโรงครู แกบ้ นก็เพือ่ แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อเจา้ แม่อยู่หัวท่มี ีตอ่ ตนเองและครอบครัว ดังท่ี สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์๑ กล่าวถึงประเพณีงานตายายยา่ นของชาวบ้านทา่ คุระ ตอนหน่ึงว่า ประเพณีงานตายายย่าน มีจุดประสงค์สาคัญจาแนกได้เป็น ๓ ประการคือ ๑. เพ่ือ แสดงความกตญั ญูกตเวทีตอ่ “เจา้ แม่อยูห่ วั ” (ซงึ่ เปน็ พระพทุ ธรปู ทองคาปางสมาธิหน้า ตักกว้างประมาณ ๒ เซนติเมตร สูงประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร ซึ่งตามตานานว่า หล่อข้ึนท่ีวัดท่าคุระ ตรงกับวันพุธแรกของเดือน ๖ ข้างแรมเม่ือประมาณ ๓๐๐ ปี มาแล้ว และประดิษฐานอยู่ ณ วัดน้ีตราบจนทุกวันนี้) ที่ว่าเป็นการแสดงความกตัญญู กตเวทีแทนคาวา่ สมโภชกเ็ พราะชาวบ้านเชื่ออย่างแรงกล้าว่า “เจ้าแม่อยู่หัว” ให้คุณ แก่ตนนานาประการ จึงมักบนบานและวันนั้นจะเป็นวันทาพิธีแก้บนเป็นสาคัญ ๒. เพ่ือให้บรรดาบุตรหลานของชาวบ้านท่าคุระท่ีไปต้ังรกราก ณ ที่อ่ืน ได้กลับมา ชุมนุมพร้อมกันและร่วมทาบุญอุทิศกุศลให้แก่บรรพบุรุษของตน ซ่ึงเรียกตามภาษา ท้องถิ่นว่าเป็นการ “ชุมชาติ” หรือ “ชุมญาติ” ๓. เพื่อให้ผู้ท่ีเคยใช้ชีวิตอยู่ที่บ้าน ท่าคุระท้ังมวล ตลอดจนญาติมิตรได้ร่วมกันจรรโลงศาสนาและวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน ของทอ้ งถิน่ นนั้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คอื ประเพณีการราโนราโรงคร.ู .. ๑ สุธิวงศ์ พงศไ์ พบลู ย์. “ความเช่ือของชาวภาคใต้,” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๒๙ เล่ม ๙ . หน้า ๔๖๗ - ๔๖๘. กรุงเทพฯ : สถาบนั ทักษณิ คดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ สงขลา, ๒๕๒๙ ก.
๑๑ ด้วยเหตุดังกล่าว โนราโรงครูวัดท่าคุระหรืองานตายายย่าน จึงมีบทบาทต่อวิถีชีวิตของ ชาวบ้านท่าคุระทั้งในเรื่องของความเช่ือ การสืบทอดวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน การบนบานขอความช่วยเหลือ การสรา้ งเอกภาพและสัมพันธ์ภาพของคนในสังคม เป็นตน้ นอกจากนี้ อุดม หนูทอง๑ ได้รวบรวมความเป็นของโนราท้ังจากคาบอกเล่าของผู้รู้และ หลักฐานจากเอกสารสรุปท่ีมาได้ ๕ กระแสเน้ือความใกล้เคียงกันคือ การกระทาผิดของบรรพบุรุษโนรา จึงถูกลอยแพส่วนใหญ่เป็นหญิง มีเพียงกระแสเดียวท่ีเป็นชายท่ีทาความผิดคือ ขุนศรัทธาจากอยุธยา ซ่ึงเป็นหลักฐานของกรมพระยาดารงราชานุภาพ อ้างหลักฐานท่ีได้ไปจากเมืองนครศรีธรรมราช และได้ เสนอข้อวินิจฉัยตานานเหล่านี้ สรุปได้ว่า โนราเป็นการละเล่นที่มีมาแต่โบราณ กาเนิดของการละเล่น ประเภทนี้สว่ นหนง่ึ ยกให้เป็นความคิดริเริ่มของเทวดา โดยดลใจให้นางนวลทองสาลีอยากกินเกสรดอกบัว แลว้ ใหเ้ ทพบุตรจตุ ิ เพือ่ คิดการละเลน่ ชนิดนี้ขึ้น ซ่ึงดูจะเป็นเรื่องไร้เหตุผล แต่เม่ือมองอย่างลึกซึ้งแล้ว การ กล่าวเช่นน้ี ก็เพ่ือแสดงคุณวิเศษของโนราอย่างหนึ่งและปกปิดความชั่วของบรรพบุรุษโนราอีกอย่างหน่ึง แต่โนราสว่ นหนึ่งไมอ่ าพรางความผดิ ทางศีลธรรมของบรรพบุรษุ โนรากลุ่มน้ีจึงเล่าตานานท่ีบ่งว่า นางนวล ทองสาลีผดิ ประเวณี แมต้ านานจะผดิ เพ้ียนกันกเ็ ปน็ เพียงประเด็นปลีกย่อย สาระสาคัญคือ นางนวลทอง สาลีทาผิดจนพระบิดากริ้วและสง่ั ลอยแพ ดงั ปรากฏในตานานตรงกันทกุ กระแส ส่วนสถานที่ท่ีแพไปติดนั้น จะเป็นเกาะสีชังบ้าง เกาะกะชังบ้าง ข้อนี้ก็เห็นจะยุติได้ว่า เป็นเกาะกะชังในทะเลสาบสงขลาแน่นอน (ใน ท้องทก่ี ง่ิ อาเภอกระแสสินธุ์ จังหวดั สงขลา) เพราะมหี ลักฐานจากตานานกระแสหนึ่งกล่าววา่ คลนื่ ซดั มิ่งมติ ร ไปติดเกาะสชี ัง สาวนอ้ ยรอ้ ยช่ัง เคอื งคั่งบดิ ร จับระบารารอ่ น อยทู่ ี่ดอนเกาะใหญ่ ในตอนปลายของตานานได้กล่าวตรงกันว่า พระบิดาของนางให้อภัยโทษและให้ บรรดาศักดิ์แก่หลานเป็นขุนศรัทธา จากตานานที่แตกต่างกันโนราคณะไหนเช่ืออย่างไรก็นับถือครูโนรา อยา่ งนน้ั เวลามพี ิธเี ข้าโรงครโู นราก็เชิญวญิ ญาณครตู ่างๆ ทีเ่ อย่ ถงึ ในตานานมารบั เคร่ืองสังเวย ๑ อดุ ม หนทู อง. ๒๕๓๑. ดนตรแี ละการละเล่นพื้นบา้ นภาคใต.้ สงขลา : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ภาคใต้. หน้า ๑๔๘-๒๐๓
๑๒ อย่างไรก็ตาม ได้มีนักวิชาการได้ศึกษาเก่ียวกับความเป็นมาของโนราที่แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม ดังท่ี พิทยา บุษรารัตน์๑ ได้ศึกษาและนาเสนอเรื่องและในผล การศึกษา เร่ืองโนราโรงครู ตาบลท่าแค อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ในด้านความเชื่อท่ีเกี่ยวข้องกับ ตานานทอ้ งถ่ิน ความเชื่อ พิธีกรรม และความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชาวบ้าน ผลการศึกษาสรุปได้ว่าโนรา โรงครูมีความสัมพนั ธก์ ับวถิ ชี วี ติ ของชาวบ้าน โนราโรงครูมีบทบาทหน้าที่ในการสืบทอดการราโนรา การบน บานขอความช่วยเหลือ และการรักษาอาการปุวยไข้ การควบคุมพฤติกรรมของบุคคลและสังคม การสร้าง อาชีพ การสรา้ งเอกภาพ และสัมพันธภาพในสังคม การเสริมสร้างองค์ความรู้และภูมิปัญญาให้กับชาวบ้าน เป็นต้น และผู้ศึกษายังได้กล่าวถึงประวัติและตานานท้องถิ่นท่ีเก่ียวข้องกบการราโนราโรงครู ความเช่ือ พิธีกรรมและความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชาวบ้าน ดังปรากฏในการศึกษาเร่ือง โนราโรงครูวัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ซึ่งทาให้เห็นความสัมพันธ์บทบาทหน้าที่ของการแสดง พนื้ บ้าน โดยเฉพาะความเช่ือท่ีเกีย่ วกบั โนรา การประกอบพธิ กี รรมโนราโรงครทู ่ีมตี อ่ วถิ ชี ีวิตของชาวบ้านใน ทอ้ งถน่ิ ภาคใตบ้ รเิ วณรอบลมุ่ ทะเลสาบสงขลาทม่ี ีพัฒนาการสบื เนือ่ งมาจากอดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน๒ ในด้านตานานโนราที่มีความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมบริเวณรอบลุ่มทะเลสาบ สงขลา ผู้ศึกษาได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ชีวิตความเป็นอยู่ ศาสนสถานและโบราณวัตถุ พบว่า ตานานโนราและตานานท้องถ่ินสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการของชุมชน โบราณในบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา ได้แก่ ชุมชนโบราณสทิงพระหรือเมืองสทิงพาราณาสี ชุมชนโบราณ บางแกว้ หรือเมืองพัทลุง เมืองโบราณเหล่าน้ีเป็นศูนย์กลางทางการเมือง การปกครอง และการค้าระหว่าง ประเทศ และได้รับเอาวัฒนธรรมในศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนาทั้งหินยานและมหายานเข้ามาด้วย ประเพณีพิธีกรรมท่ีสาคัญเก่ียวกับโนราคือ การราโนราโรงครูที่มีส่วนสาคัญในการสร้างความรัก ความ สามัคคีและคุณธรรมให้เกิดข้ึนในชุมชนรอบทะเลสาบสงขลาแห่งน้ี และผู้ศึกษายังได้กล่าวถึงประวัติและ ตานานทอ้ งถ่ินท่ีเกี่ยวขอ้ งกบการราโนราโรงครู ความเชอ่ื พิธกี รรมและความสัมพันธก์ บั วถิ ชี วี ิตของชาวบ้าน ดงั ปรากฏในการศกึ ษาเร่อื ง โนราโรงครูวัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ซึ่งทาให้ เห็นความสัมพันธ์บทบาทหน้าท่ีของการแสดงพื้นบ้าน โดยเฉพาะความเช่ือท่ีเกี่ยวกับโนรา การประกอบ ๑ พทิ ยา บษุ รารตั น์. ๒๕๓๕ โนราโรงครูตาบลทา่ แค อาเภอเมือง จงั หวัดพัทลุง. ปริญญานพิ นธ์ ศศ.ม. สงขลา : มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ สงขลา ๒ พิทยา บุษรารัตน.์ ๒๕๓๗. รายงานการวิจัยโนราโรงครูวัดทา่ คุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทงิ พระจังหวดั สงขลา. กรงุ เทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ.
๑๓ พิธีกรรมโนราโรงครูท่ีมีต่อวิถีชีวิตของชาวบ้านในท้องถิ่นภาคใต้บริเวณรอบลุ่มทะเลสาบสงขลาที่มี พัฒนาการสืบเนอ่ื งมาจากอดีตจนถงึ ปจั จบุ นั ๑ ในทานองเดียวกัน วันดี สันติวุฒิเมธี๒ ได้กล่าวถึง วัฒนธรรมของท้องถิ่นใต้รอบ ทะเลสาบสงขลาท่ีมีลูกหลานเชอื่ เร่ือง “ครหู มอโนรา” หรือบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้วว่า ศักด์ิสิทธ์ิ มีฤทธิ์ ให้ทั้งคุณและโทษ ลูกหลานจึงต้องตอบแทนคุณด้วยการถวายเครื่องเซ่น และเชิญตายายมาเข้าทรงในพิธี โนราโรงครู โนราโรงครูในยคุ โลกาภิวตั น์ มคี ่าใชจ้ ่ายในการจัดทาโนราโรงครูค่อนข้างสูง บรรดาลูกหลาน จงึ นิยมมาแก้บนกันที่งานตายายย่าน อาเภอสทิงพระกันมากขึ้น รูปแบบพิธีกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไปเหล่าน้ี สะท้อนให้เห็นว่า แม้สงั คมภายนอกจะเปล่ียนแปลงไปเพยี งใด หากความเช่อื เรื่องตายายของลูกหลานโนรา ก็ยังดารงอยู่ แม้ว่ารูปแบบพิธีกรรมใหม่ที่จัดสอดคล้องกับยุคสมัย แต่ความหมายของพิธีกรรมยังคง เหมือนเดิม คือ ขอบคุณตายายท่ีดูแลทุกข์สุขของพวกเขาตลอดมา นั่นเป็นสิ่งยืนยันว่า โนราโรงครู วัฒนธรรมเกา่ แกข่ องชาวบา้ นรอบทะเลสาบสงขลา คงจะเชอื่ มสายใจและผกู สายสัมพันธ์ชาวใต้ตลอดไป นองจากน้ี นภสมน นิจนิรันดร์๓ ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง “โนรา: พิธีกรรม สัญลักษณ์ ตัวตน คนใต้กับพลวัตรการปรับตัวยุคโลกาภิวัตน์” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตานานโนรากับความสัมพันธ์ต่อวิถี ชีวิตวัฒนธรรมของคนใต้ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาอัตลักษณ์ของคนใต้ผ่านการให้ความหมายและ สัญลักษณ์ต่างๆ ในพิธีโนราโรงครู ตลอดจนการปรับตัวตามสภาวะสังคมที่เปล่ียนแปลงโดยเฉพาะในยุค โลกาภิวัฒน์ พบว่า ตานานโนรามีบทบาทสาคัญในการสร้างความเข้มแข็งและสืบทอดให้เกิดการ ประกอบพิธีในราโรงครู ตานานโนรายังมีลักษณะพิเศษสามารถมอบความบันเทิง สนุกสนานได้ด้วย การเล่าหรือการแสดงเรื่องราวในพิธีกรรม มีเน้ือหาท่ีสอดแทรกเพ่ือรักษาปทัสถานของสังคมสอนค่านิยม การดาเนินชีวิต ตานานโนรายังเป็นเครื่องแสดงความเชื่อของกลุ่มชน เป็นจิตวิญาณของคนท้องถิ่นใต้ โดยเฉพาะผทู้ ่มี เี ชือ้ สายตายายโนราในบรเิ วณรอบทะเลสาบสงขลา ๑ พทิ ยา บุษรารตั น.์ ๒๕๓๙. ตานานโนรา : ความสมั พนั ธท์ างสังคมและวัฒนธรรมบริเวณรอบลุม่ ทะเลสาบสงขลา . สงขลา : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ภาคใต.้ ๒ วนั ดี สนั ติวุฒเิ มธ.ี ๒๕๔๔. โนราโรงครู พธิ ีผกู สายสัมพันธค์ นใต้. ใน นิตยสารสารคดี ฉบับท่ี ๑๙๑ (มกราคม ๒๕๔๔) กรุงเทพฯ : สานกั พิมพส์ ารคด.ี ๓ นภสมน นจิ นิรนั ดร.์ ๒๕๕๐ “โนรา: พิธกี รรม สญั ลกั ษณ์ ตัวตนคนใตก้ บั พลวตั รการปรับตัวยุคโลกาภิวัตน์” กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
๑๔ ผลของความเช่ือและระบบคิดของชาวใต้ได้แสดงออกมาเป็นรูปธรรมในรูปแบบของ พิธกี รรมที่เรียกวา่ “พธิ โี นราโรงครู” ซึง่ มหี นา้ ทสี่ าคัญในการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยเน้นย้า ความสาคัญของการผูกพันทางเครือญาติ ช่วยการแก้ปัญหาความขัดแย้งในหมู่เครือญาติ เป็นการสืบทอด อานาจตามสายตระกูล นอกจากนี้ยังเป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Ritual of Affiction) มีจดุ มุ่งหมายเพื่อปลอบโยนและเพิ่มขวัญกาลังใจ (reinforce) ให้กับสมาชิกในสังคม และเพื่อ ช่วยตอบสนองต่อภาวะวิกฤตของในชีวิตของคนหรือชุมชนที่ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในช่วงต่างๆ เป็นช่วงเวลาพิเศษที่แยกออกจากชีวิตปกติ ลักษณะเช่นนี้พบได้ในพิธีโนราโรงครู ได้แก่ การครอบเทริด การประทับทรงของตายาย ซ่ึงเปล่ียนจากร่างคนธรรมดาเป็นร่างของเทพ ผู้มีอานาจพิเศษ รวมทั้งการ แสดงเชิงพิธีกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพิธี ซ่ึงล้วนมีนัยยะของการสร้างความสัมพันธ์และการผลิตซ้า ซ่ึงอัตลักษณ์ของเครือญาติในสังคมใต้ พิธีกรรมโนราโรงครูยังเป็นเครื่องมือในการขัดเกลาทางสังคมให้แก่ สมาชิกมีความเคารพผู้อาวุโส รู้จักการตอบแทนบุญคุณ ปลูกฝังค่านิยมในการยึดมั่นคาสัญญา มีความ เออื้ เฟ้อื รูจ้ กั การให้อภยั สานกึ ในหลักคาสอนทว่ี ่า “ทาดไี ดด้ ี ทาช่ัวไดช้ ว่ั ” สังคมสมัยใหม่เป็นสังคมแห่งวิทยาศาสตร์ทุกอย่างล้วนมีเหตุผลรองรับ แต่ก็เป็นท่ีน่า แปลกใจท่ีเร่ืองของพิธีโนราโรงครู ซ่ึงเกิดจากความเช่ือของลูกหลานต่อตายายโนรา ไม่มีเหตุผลทาง วิทยาศาสตรร์ องรบั แน่ชัด แต่มีเหตุผลของอารมณค์ วามรู้สกึ อย่างเต็มเปย่ี ม โนราโรงครูจึงยังคงดารงอยู่ได้ ด้วยเหตุผลท่ีมีบทบาทสาคัญและรับใช้สังคมอยู่ เน่ืองจากผู้คนเกิดความไม่ม่ันคงทางจิตใจ เพราะปัญหา จากการพัฒนาด้านต่างๆ เกิดเป็นปรากฏการณ์ท่ีเรียกว่า การย้อนกลับทางวัฒนธรรม ซึ่งวัฒนธรรมหน่ึง ทคี่ ่กู บั ชาวใต้และสังคมไทยมายาวนานกค็ อื การเคารพในบรรพบรุ ษุ จากข้อมูลดังกล่าวพอสรุปได้ว่า โนราโรงครูมีความสาคัญในฐานะพุทธศาสนาแบบ ชาวบ้าน มีบทบาทและหน้าท่ีสาคัญต่อวิถีชีวิตของชาวบ้านทั้งในฐานะปัจเจกชนและชุมชนผู้เป็นเจ้าของ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะโนราและผู้ท่ีมีเช้ือสายโนรา โนราโรงครูจึงมีความสาคัญท้ังใน ฐานะ ความเช่อื พธิ กี รรม วรรณกรรม ศลิ ปะการแสดง และพุทธศาสนาแบบชาวบ้านท่ีควรแก่การรวบรวม และจัดเกบ็ ข้อมลู มรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมของภาคใตเ้ ป็นอย่างย่งิ
๑๕ เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั เรอ่ื งโนราและโนราโรงครู นักวิชาการและนักวิจัยได้ให้ความสนใจศึกษาค้นคว้ารวบรวมเร่ืองโนราและโนราโรงครู ไว้ในแง่มมุ ต่าง ๆ ซึง่ สามารถนามาเป็นแนวทางในการศกึ ษาคน้ ควา้ ได้ดงั น้ี เทวสาโร๑ ได้เขียนเร่ือง “มโนราห์” ไว้ในหนังสือเทพสารบรรพ ๒ โดยกล่าวถึงตานานและ ความเป็นมาของโนราว่าเป็นการร่ายราสาหรับบูชาเทพเจ้า พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ในศาสนา พราหมณ์ เมื่อพราหมณ์เข้าสู่ภาคใต้ จึงนาการละเล่นชนิดนี้เข้ามาด้วย เรื่องราวของโนราคงจะเกิดข้ึน ในสมัยพระเจ้าจันทรภาณุทรงสถาปนาเมืองพัทลุงที่บางแก้ว ในครั้งท่ีมีการฉลองพระนคร และพระธาตุ บางแก้ว ได้โปรดเกล้าให้มีการแสดงโนราด้วย ผู้ที่แสดงโนราในครั้งน้ันคือ เจ้าชายรามหรือขุนศรีศรัทธา ซ่ึงเป็นพระเจ้าหลานเธอในพระเจ้าจันทรภาณุนั่นเอง แล้วกล่าวถึงประวัติของขุนศรีศรัทธาและกาเนิด โนราท่ีเกี่ยวข้องกับประวัติเมืองพัทลุง สถานท่ีสาคัญ ๆ ในจังหวัดพัทลุง และสถานท่ีบริเวณทะเลสาบ สงขลาฝั่งตะวันออกในเขตอาเภอสทิงพระ อาเภอระโนด และกิ่งอาเภอกระแสสินธ์ุ จังหวัดสงขลา ดังตัวอยา่ งคากลอนทกี่ ล่าวถึงประวัติโนราและเมอื งพัทลงุ ตอนหน่งึ วา่ ก่อกาเนดิ คราเกดิ ชาตรี ปางหลังยงั มี เมื่อครัง้ ตง้ั ดนิ บดิ าของเจา้ ช่อื ท้าวโกสินทร์ มารดายุพิน ชอ่ื นางอินกรณี ครองเมืองพัทลุง เป็นกรงุ ธานี บุตรชายท่านมี ช่ือศรสี งิ หร ทกุ เชา้ ทุกค่า เทย่ี วราเทย่ี วรอ่ น บดิ ามารดร อาวรณ์อบั อาย คดิ อา่ นไม่ถกู เพราะลูกเป็นชาย ห้ามบตุ รสุดสาย ไมฟ่ งั พ่อแม่ คดิ อา่ นไมถ่ กู จงึ เอาลกู ลอยแพ สาวชาวชะแม่ พร้อมสิบสองคน ฯลฯ ๑ เทวสาโร (นามแฝง). เทพสาร บรรพ ๒ หน้า ๑ -๒๒. พัทลงุ : โรงพมิ พส์ กุลไทย, ๒๕๐๘.
๑๖ ภญิ โญ จติ ตธ์ รรม๑ ไดเ้ รียบเรยี งเร่ืองโนรา กล่าวถึงประวตั คิ วามเป็นมาของโนราโดยนา คาบอกเล่าของขุนอุปถัมภ์นรากร (พุ่ม เทวา) และบทขับร้องของโนราท่ีเกี่ยวกับประวัติโนราจากหลาย จังหวัดมาตีความวินิจฉัยเปรียบเทียบและรวบรวมบทกาศครู คาไหว้ครู คาเชิญครู บทสรรเสริ ญคุณครู สรรเสริญคณุ มารดา บทราท่าสิบสอง บทร้องประกอบทา่ รา ครูสอน ท่าสอนรา เพลงหน้าแตระ เพลง ทบั กาพรัดหนา้ มา่ น กาพรัดชม กาพรัดบทเก้ียว บทเพลงพลายงาม การราบทสีโต การราบทสิบสอง การราคล้องหงส์ การราแทงเข้ ธรรมเนียมนิยมในการประชันโรงโนรา พิธีพอกผ้าใหญ่หรือพิธีแต่งพอก ของโนรา โดยกล่าวถึงองคป์ ระกอบและขน้ั ตอนต่าง ๆ จนจบพธิ ี สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ๒ ได้จัดพิมพ์หนังสือพุ่มเทวา ที่ระลึกงาน เชดิ ชเู กยี รตศิ ลิ ปนิ ภาคใต้ : ขุนอปุ ถมั ภน์ รากร โดยนาเอาบทความท่ีให้ความรู้เรื่องโนราในแง่มุมต่าง ๆ มา รวบรวมไว้ คือ ความเป็นมาของโนราของเย่ียมยง สุรกิจบรรหาร และภิญโญ จิตต์ธรรม ขนบนิยมใน การแสดงโนราในอดีตของชวน เพชรแก้ว องค์ประกอบของโนรารุ่นเก่าของ วิมล ดาศรี ตานานและ ความเป็นมาของโนราห์หรือโนราของ วิเชียร ณ นคร โนราลงครูของสว่าง สุวรรณโร พิธีกรรมที่น่า ศึกษาในโนราโรงครูของ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ การแสดงโนราจากอดีตถึงปัจจุบันของ ประหยัด เกษม และบทรอ้ งและท่าราของโนราของจิตร์ ฉมิ พงษ์ สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์๓ ได้เขียนเรื่อง “โนรา” ไว้ในหนังสือสารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ โดยกล่าวถึงโนราว่า เป็นการละเล่นพ้ืนเมืองที่สืบทอดกันมานานและนิยมกันอย่างแพร่หลายในภาคใต้ เป็นการละเล่นท่ีมีทั้งการร้อง การรา บางส่วนเล่นเป็นเร่ือง และแสดงตามความเช่ือที่เป็นพิธีกรรมเดิม เรียกโนราว่า “ชาตรี” ดังปรากฏหลักฐานอยู่ในตานาน วรรณกรรมท้องถิ่น วรรณคดีของภาคกลาง โนรามีพัฒนาการมาจากศลิ ปะชัน้ สูงจนกลายเป็นนาฏกรรมของราชสานกั และของท้าวพระยามหากษัตริย์ ในภาคใต้มาแล้วตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างน้อย แล้วกล่าวถึงคณะโนราว่าคณะหน่ึง ๆ มีประมาณ ๑๔ - ๒๐ คน โนราสมัยก่อนมตี ัวราเพยี ง ๓ ตัว คอื ตวั นายโรงหรือโนราใหญ่หรือตัวยืนเครื่อง ๑ ตัวนาง ๑ ภิญโญ จิตต์ธรรม. “แต่งพอก” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๒๙ เล่ม ๔. หน้า ๑๓๕๙ - ๑๓๗๐. กรุงเทพฯ : สถาบนั ทักษณิ คดศี กึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ สงขลา, ๒๕๒๙. ๒ คณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต,ิ สานักงาน. พ่มุ เทวา ที่ระลึกงานเชดิ ชเู กียรติศิลปินภาคใต้ : ขุนอุปถัมภ์นรากร. กรุงเทพ ฯ สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ, ๒๕๒๓. ๓ สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. “โนรา,” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๒๙ เล่ม ๕. หน้า ๑๘๐๔ -๑๘๑๙. กรุงเทพฯ : สถาบันทกั ษิณคดีศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา, ๒๕๒๙ ง.
๑๗ หรือนางรา ๑ ตัวตลกหรือพราน ๑ สมัยต่อมาเพ่ิมตัวนางราเป็น ๓ – ๕ คน มีนักดนตรีหรือลูกคู่ ๕ – ๗ คน เคร่ืองแต่งกายโนราที่สาคัญประกอบด้วยเทริด เคร่ืองลูกปัด (บ่า ป้ิงคอ พานนอก) ปีกนกแอ่นหรือ ปีกเหน่ง ซับทรวงหรือทับทรวงหรือตาบปีกหรือหางหงส์ ผ้านุ่ง หน้าเพลา หน้าผ้า ผ้าห้อย กาไลต้น แขนและปลายแขน กาไล เล็บ หน้าพราน หน้าทาสี เครื่องดนตรีประกอบด้วย ทับ (โทน) กลอง ป่ี โหม่ง ฉิ่ง แตระหรือแกระ โรงแสดง โอกาสที่แสดง องค์ประกอบหลักของการแสดงได้แก่ การรา การร้อง การทาบท การรา เฉพาะอย่างย่ิงการราบทครูสอน ราขอเทริด ราเพลงป่ี ฯลฯ การเล่นเป็น เรื่อง ท่ารา เช่น ทา่ จบั ระบา ทา่ ลงฉาก ท่าบัวตูม ฯลฯ เพลง การร้องและการรับลาดับการแสดง เร่ือง ทนี่ ิยมแสดง รวมทง้ั เสนอแนะข้อคดิ เห็น ขอ้ วนิ จิ ฉยั และขอ้ สงั เกตบางประการเอาไว้ดว้ ย สว่าง สุวรรณโร๑ ได้เขียนเรื่อง “โนราลงครู” ไว้ในหนังสือสารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ โดยกล่าวถึง วัตถุประสงค์ของโนราลงครู วันเข้าพิธีและวันส้ินสุดของพิธี การแต่งพอกในวันพฤหัสบดี ขั้นตอนของพิธีกรรมลงครู เร่ิมตั้งแต่ไหว้ครูไหว้พระคุณมารดา ว่าบทนกเป็ดกาน้าเป็นคติสอนใจ แสดง เรื่องสัน้ ๆ ราบทพลายงาม ราสบิ สองเรื่อง ว่ากาพรดั นกกระจอก เริ่มพิธีเชิญตาหลวงมาเข้าทรง โดยนาย โรงว่าบทเชื้อเชิญบูรพาจารย์โนรา พ่อแม่ตายายมาเข้าทรง เช่น บทเกริ่น บทเชิญตาหมอเฒ่า เชิญตา หลวงเทพ เชิญพ่อเทพสิงหร เชิญตาหลวงอินทร์ บทเชิญโนรามี บทเชิญตาหลวงคง บทเชิญตาหลวงสิทธ์ิ ครโู นราเข้าทรงรับเครื่องบูชา สรงน้า เปล่ียนเครื่องแต่งตัว พิธีแก้บนด้วยเครื่องสังเวยท่ีเตรียมไว้ แก้บนด้วย การรา ออกพราน ลูกหลานกราบขอพร โนราราส่งตายาย ไล่ผีสางท่ีเข้ามาลอบกินเคร่ืองสังเวยในโรงแล้วจึง จบพิธี พทิ ยา บษุ รารัตน์๒ ศึกษาเรอ่ื งโนราโรงครูตาบลทา่ แค อาเภอเมืองพทั ลงุ จังหวัดพัทลุง ในด้านความเช่ือที่เกี่ยวข้องกับตานานท้องถิ่น ความเช่ือ พิธีกรรม และความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของ ชาวบ้านในตาบลดังกล่าว ผลการวิจัยพบว่า ตานานท้องถ่ินที่เก่ียวข้องกับเรื่องโนราในเขตตาบลท่าแค คอื ตานานโนรา ตานานขุนศรทั ธาท่าแค ตานานนางเลือดขาว ตานานสิทธีเรือรี ตานานสถานที่ท่ีเก่ียวข้อง กับโนรา เช่น โคกขุนทา เข่ือนขุนทา ต่างบอกเล่าประวัติของโนรา เหตุการณ์สาคัญท่ีเก่ียวกับครูโนรา ๑ สว่าง สุวรรณโร. “โนราลงครู” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๒๙ เล่ม ๕. หน้า ๑๘๒๒ - ๑๘๒๕. กรุงเทพฯ : สถาบนั ทักษณิ คดีศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒสงขลา, ๒๕๒๙. ๒ พิทยา บุษรารตั น์. “โนราโรงครูตาบลทา่ แค อาเภอเมอื ง จงั หวดั พัทลงุ \" ปริญญานพิ นธ์ ศศ.ม. สงขลา มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ สงขลา.๒๕๓๕.
๑๘ และความสัมพันธ์ของโนรากับตาบลท่าแค ท่ีเชื่อว่าเป็นส่วนหน่ึงของแหล่งกาเนิดโนรา ในเรื่องความเช่ือ เก่ยี วกับโนรา ชาวบา้ นเช่ือเรื่องครูหมอโนรา ไสยศาสตร์ การบนและการแก้บนครูหมอโนรา การครอบ เทรดิ การผูกผา้ ปล่อย การตัดจกุ การเหยียบเสน การตัดผมผีช่อ การราถีบหัวควาย การรักษาอาการ ปุวยไข้ การเข้าทรงและร่างทรง ความเช่ือดังกล่าว เป็นความเช่ือระดับชาวบ้าน ท่ีมีการผสมผสาน ระหวา่ งความเชอ่ื ในพทุ ธศาสนากับลัทธพิ ราหมณ์และความเช่อื ดง้ั เดมิ ส่วนพิธีกรรมในการราโนราโรงครูมี จุดมุ่งหมายสาคัญเพ่ือเซ่นไหว้ครูหมอโนรา แก้บน ทาพิธีครอบเทริด และประกอบพิธีกรรมอ่ืน ๆ เช่น ตัดจุก เหยียบเสน ราสอดเคร่ืองสอดกาไล เป็นต้น สาหรับความสัมพันธ์ระหว่างโนราโรงครูกับวิถีชีวิต ของชาวบ้านน้ัน โนราโรงครู มีบทบาทและหน้าท่ี ในการสืบทอดการราโนรา การบนบานขอความ ช่วยเหลือและการรักษาอาการปุวยไข้ การควบคุมพฤติกรรมของบุคคลและสังคม การสร้างอาชีพ การ สร้างเอกภาพและสมั พนั ธภ์ าพในสังคม การสร้างเสริมความร้แู ละสติปัญญา เป็นต้น ผาสุก อินทราวุธ๑ ได้เขียนเร่ือง “ละครชาตรีหรือโนห์รา” ไว้ในหนังสือประวัติศาสตร์ และโบราณคดีนครศรธี รรมราชชดุ ที่ ๔ กลา่ วถงึ ละครโบราณแบบหน่ึงที่ชาวไทยภาคกลางเรียกว่า “ละคร ชาตรี” และชาวไทยภาคใต้เรียกว่า “โนห์รา” ว่ามีประวัติความเป็นมาที่ค่อนข้างสับสน มักเป็นตานาน ซึ่งเกิดจากคาบอกเล่าจากปากหน่ึงไปสู่อีกปากหน่ึง โดยยกตานานละครชาตรีท่ีมีผู้ศึกษาไว้หลายฉบับมา กล่าวสรุป เชน่ ฉบับของกรมศิลปากร ฉบับคาบอกเลา่ ของขนุ อปุ ถัมภ์นรากร ฉบับนายภิญโญ จิตต์ธรรม เป็นต้น กล่าวถึงสถานท่ีท่ีเร่ิมมีละครชาตรีโดยยกข้อสันนิษฐานของผู้รู้ เช่น สมเด็จกรมพระยาดารงรา ชานุภาพ นายมนตรี ตราโมท นายธนิต อยู่โพธ์ิ เครื่องดนตรี การเดินโรง การออกโรง เพ่ือสืบหา ต้นแบบดงั้ เดิมของละครชาตรี แลว้ สรปุ ว่าละครโนหร์ าชาตรีไดต้ ้นแบบมาจากละครรากถากลีของอินเดียใต้ โดยเข้ามาทางคาบสมทุ ร (ภาคใต)้ ของประเทศไทย ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ -๑๖ แต่นิยมเล่นเร่ืองราวทาง พุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งมาเจริญรุ่งเรืองอยู่ในดินแดนแถบน้ีโดยรับอิทธิพลมาจากนาลันทา (อินเดีย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ส่วนชื่อชาตรีนั้นน่าจะมาจากลักษณะละครท่ีร่อนเร่ไปแสดงตามท่ีต่าง ๆ ชาว อินเดียที่ต้ังถ่ินฐานอยู่ในดินแดนคาบสมุทรของประเทศไทย (ภาคใต้ของไทย) ซึ่งมีชาวอินเดียจากแคว้น เบงกอล ก็คงจะเรียกรูปแบบละครเร่ร่อนน้ีว่า ยาตรา ยาตรี (ภาษาสันสกฤต) ซึ่งสาเนียงเบงกอล กเ็ รยี กวา่ ชาตรา ชาตรี นนั่ เอง ๑ ผาสุก อินทราวุธ. “ละครชาตรีหรือมโนห์รา,” ใน ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรม ชุดท่ี ๔ เอกสารประกอบการ สัมมนาทางวิชาการ ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช คร้ังท่ี ๔. หน้า ๙๘ - ๑๐๕. นครศรีธรรมราช : วิทยาลัยครู นครศรธี รรมราช,๒๕๒๙.
๑๙ อุดม หนูทอง๑ ได้เขียนเรื่อง “โนรา” ไว้ในหนังสือดนตรีและการละเล่นพื้นบ้านภาคใต้ โดยกล่าวถึงความเป็นมาของโนราว่ามีทั้งที่ปรากฏเป็นตานานบอกเล่าหลักฐานเอกสาร ตานานโนราท่ี สืบค้นได้มี ๕ กระแสคือ กระแสท่ี ๑ ปรากฏเป็นคากาพย์ ถ่ายทอดโดยขุนอุปถัมภ์นรากร (โนราพุ่ม เทวา) กระแสท่ี ๒ เล่าโดยโนราวัดจันทร์เรือง ตาบลพังยาง อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา กระแสท่ี ๓ ปรากฏเป็นคากาพย์ ถ่ายทอดโดยนายซ้อน ศิวายพราหมณ์ ศึกษาธิการจังหวัดสุราษฏร์ธานี (พ.ศ. ๒๕๐๐) กระแสท่ี ๔ ตานานโนราของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ กระแสท่ี ๕ ตานานละครชาตรีของกรมศิลปากร และได้นาข้อวินิจฉัยตานานโนราของเย่ียมยง สุรกิจบรรหาร และภิญโญ จิตต์ธรรม ข้อวินิจฉัยของ เทวสาโร มากล่าวสรุปไว้พร้อมท้ังตั้งข้อสังเกตและเสนอความ คิดเหน็ ของผู้เขยี น แลว้ จงึ กล่าวถึงองค์ประกอบในการเล่น ได้แก่ คณะโนรา คณะหนึ่งประมาณ ๑๕ – ๒๐ คน ประกอบด้วยนายโรงหรือโนราใหญ่ ๑ คน ผู้รา ๕ -๖ คน พราน ๑ คน ทาสี ๑ คน หมอไสยศาสตร์ ๑ คน ลูกคู่ ๕ -๖ คน และผู้ติดตามท่ีคอยช่วยแบกหามสัมภาระเรียกว่า “ตาเสือ” ดนตรี มี ทับ ๑ คู่ กลอง ๑ ใบ ปี่นอก ๑ เลา โหม่ง ๑ คู่ ฉ่ิง ๑ คู่ แกระไม่จากัดจานวน โอกาสที่เล่น นิยมเล่นเพื่อความบันเทิงและ ประกอบพิธีกรรม โรงและอุปกรณ์ประกอบโรง โรงโนรามี ๒ แบบ คือ โรงแสดงท่ัวไปและโรงแสดงเพื่อ ประกอบพิธีกรรม เคร่ืองแต่งตัวและอุปกรณ์เบ็ดเตล็ด เคร่ืองแต่งตัวได้แก่ เทริด สังวาล ปีกนกแอ่น (ปีก เหน่ง) ทับทรวง หางหงส์ (ปีก) ผ้านุ่ง หน้าเพลา (สนับเพลา) หน้าผ้า (ลักษณะเดียวกับชายไหว) ผ้าห้อย กาไลต้นแขน กาไลปลายแขน และเล็บ อุปกรณ์เบ็ดเตล็ด ได้แก่ ซุมไม้หวายเฆ่ียนพราย หม้อน้ามนตร์ ศร หอก พระขรรค์ ขนบนิยมในการเล่นมี ๒ ลักษณะ คือ เล่นเพื่อความบันเทิง และเล่นเพื่อประอบพิธีกรรม ท่าราและกระบวนรา ท่าราเช่น ท่าแม่ลาย (ท่าแม่ลายกนก ท่าเทพพนม) ท่าข้ีหนอน (ท่ากินนร) ท่าจับ ระบา ฯลฯ กระบวนรา เช่น ราบทครูสอน ราบทสอนรา ราบทประถม ฯลฯ การแสดงเรื่อง กลอนและ ทานองกลอน บทร้องกลอนโนรามี ๒ ลักษณะคือ บทร้องที่มีท่าราประกอบ เช่น บทครูสอน บทสอนรา บทประถม ฯลฯ และบทร้องท่ีไม่มีท่าราประกอบ เช่น บทกาศครู บทสรรเสริญครู บทสรรเสริญคุณมารดา ฯลฯ และได้กลา่ วถงึ ความเช่อื ของโนรา เช่น ความเชื่อเก่ียวกับครูหมอโนรา ความเช่ือเร่ืองไสยศาสตร์ ความ เช่ือเรื่องอานาจเรน้ ลับของโนรา ฯลฯ รวมทั้งไดต้ ้งั ข้อสังเกตบางประการเก่ียวกับโนราเอาไว้ดว้ ย ๑ อุดม หนทู อง. ดนตรแี ละการละเล่นพ้ืนบา้ นภาคใต.้ หนา้ ๑๔๘ - ๒๐๓ สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ สงขลา, ๒๕๓๑. อัดสาเนา.
๒๐ จากข้อมูลดังกล่าวพอสรุปได้ว่า โนราโรงครูมีความสาคัญในฐานะพุทธศาสนาแบบ ชาวบ้าน มีบทบาทและหน้าที่สาคัญต่อวิถีชีวิตของชาวบ้านทั้งในฐานะปัจเจกชนและชุมชนผู้เป็นเจ้าของ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะโนราและผู้ท่ีมีเช้ือสายโนรา โนราโรงครูจึงมีความสาคัญท้ังใน ฐานะ ความเช่ือ พธิ กี รรม วรรณกรรม ศิลปะการแสดง และพุทธศาสนาแบบชาวบ้านท่ีควรแก่การรวบรวม และจัดเกบ็ ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมของภาคใต้เปน็ อย่างยงิ่ ๑.๕ คาถามในการดาเนินโครงการ ๑.๕.๑ มีวิธีการหรือกระบวนการอย่างไรที่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลโนราโรงครูได้อย่าง ครอบคลุมทุกประเด็นและตรงกับข้อเท็จจริงมากที่สุด เพื่อท่ีจะสามารถนาไปใช้ในการปกปูองคุ้มครอง มรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม ๑.๕.๒ มีวิธีการหรือกระบวนการอย่างไรในการกระตุ้นสานึกของเจ้าของวัฒนธรรมให้ร่วมกัน ปกปูองคุ้มครองและสืบทอดพิธีกรรมโนราโรงครู เพ่ือจะได้นาคุณค่าและความหมายท่ีแท้จริงของโนราโรง ครมู าใช้ประโยชน์ในการสร้างจิตสานึก การอนุรักษ์และสืบทอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถ่ิน สืบตอ่ ไป ๑.๕.๓ สถานภาพการจัดพิธีกรรมโนราโรงครูในปัจจุบันอยู่ในสภาพอย่างไร มีการดาเนินการสืบ ทอดอยา่ งเขม้ ข้นหรือลดน้อย หรือมีการปรบั เปล่ยี นอยา่ งไร ๑.๕.๔ ศิลปิน ชาวบ้านและชุมชน ยังคงมีความเช่ือในพิธีกรรมโนราโรงครู มีการประกอบ พิธีกรรมอยา่ งแพรห่ ลายในเขตชมุ ชนภาคใต้ โดยเฉพาะชมุ ชนบริเวณลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาอย่างไร ๑.๕.๕ การประกอบพิธีกรรมโนราโรงครู มีส่วนอย่างสาคัญในการสร้างศิลปินโนราและผู้สืบ ทอดโนราหรอื ไม่ ๑.๕.๖ ชาวบ้านโดยท่ัวไปก็มีส่วนได้รับประโยชน์จากการประกอบพิธีกรรมโนราโรงครูทั้งใน ด้านความเชื่อ การบนบานขอความช่วยเหลือจากครูหมอโนรา การรักษาอาการปุวยไข้ การสร้าง ความสมั พนั ธใ์ นระบบเครือญาติ และผลประโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกิจอยา่ งไร ๑.๖ ชุมชนทเ่ี ก่ียวข้อง (บคุ คล/กลุ่มคน/พ้ืนท่ี ฯลฯ) ชุมชนท่ีเก่ียวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ประกอบด้วยผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องโดยตรงกับ มรดกภูมิปัญญา ได้แก่ คณะโนรา คนทรงครูหมอโนรา ผู้มีเชื้อสายโนรา ปราชญ์ชาวบ้านและผู้รู้ท้องถิ่น ชาวบ้านหรือตัวแทนจากชุมชนที่มีความรู้และความสนใจเก่ียวกับโนราโรงครู รวมถึงผู้นาในส่วนราชการ
๒๑ ผู้นาท้องถ่ิน เช่น สานักงานวัฒนธรรมอาเภอ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัด องค์การบริหารส่วนตาบล เทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบลในพ้ืนท่ีทีเ่ ก็บรวบรวมข้อมลู ๑.๗ การกระจายตัวของมรดกภมู ปิ ญั ญาฯ การกระจายตัวของโนราโรงครูมีการปฏิบัติอย่างเข้มข้นในบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา ได้แก่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช จังหวัดพทั ลุง จังหวัดสงขลา บรเิ วณภาคใตต้ อนบนในจังหวดั สุราษฎร์ธานี จังหวัด ชุมพรบางส่วน และภาคใต้ฝั่งตะวันตก เช่น จังหวัดตรัง ระนอง กระบ่ี และภูเก็ต ส่วนในบริเวณภาคใต้ ตอนล่างปรากฏบริเวณอาเภอโคกโพธิ์ จงั หวดั ปัตตานี รวมท้งั จงั หวัดยะลาและนราธวิ าสเปน็ บางสว่ นด้วย
บทท่ี ๒ องคค์ วามรู้มรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมเกี่ยวกบั โนราโรงครู การศึกษาและรวบรวมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โนราโรงครู มีองค์ความรู้ท่ีเก่ียวกับ สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมภาคใต้ที่เก่ียวข้องกับโนราโรงครู ประวัติความเป็นมาของโนราโรงครู ชนิด ของโนราโรงครู องค์ประกอบในการราโนราโรงครู ความเชื่อเกี่ยวกับการราโนราโรงครู ขั้นตอนการจัด พธิ ีกรรมโนราโรงครู ซึง่ สามารถนามากล่าวได้ ดังนี้ ๑. สภาพทางสงั คมและวัฒนธรรมภาคใตท้ เ่ี กี่ยวข้องกบั โนราโรงครู ภาคใตต้ ง้ั อยู่ทางตอนลา่ งของประเทศไทย ปรากฏตามพิกัดทางภูมิศาสตร์ ตั้งแต่ละติจูดท่ี ๑๑ องศา ๔๒ ลิปดาเหนอื ลงมาจนถึงละติจูดท่ี ๕ องศา ๓๗ ลิปดาเหนือ คิดเปน็ ระยะทาง ๕๙๒ กิโลเมตร ส่วนกว้างอยู่ระหว่างลองติจูด ๙๘ องศาตะวันออก กับลองติจูดท่ี ๑๐๒ องศาตะวันออก ช่วงท่ีกว้างท่ีสุด ของภาคใต้ประมาณ ๒๓๒ กโิ ลเมตร และชว่ งทแี่ คบทสี่ ดุ ของภาคใต้อยู่ท่ีบริเวณคอคอดกระ กว้างประมาณ ๕๐ กิโลเมตร พื้นท่ีภาคใต้เป็นผืนแผ่นดินแคบทอดยาวจากเหนือลงมาใต้ มีทะเลขนาบท้ัง ๒ ด้าน คือ มหาสมุทรอินเดียบริเวณทะเลอันดามันอยู่ทางฝั่งตะวันตก และมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันออก ฝั่ง ทะเลทั้ง ๒ ด้านยาวทั้งส้ินประมาณ ๑,๖๗๒ กิโลเมตร ภาคใต้มีพ้ืนท่ีทั้งหมดประมาณ ๗๐,๑๘๙ ตาราง กิโลเมตรหรือประมาณ ๔๓,๘๑๘,๑๒๕ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๖๖ ของพ้ืนท่ีท้ังหมดของประเทศไทย ประกอบดว้ ย ๑๔ จังหวัด คือ ชมุ พร ระนอง พังงา ภูเก็ต สรุ าษฎร์ธานี พัทลงุ กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช สตลู สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธวิ าส ในดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม ภาคใตม้ ีลกั ษณะการอยู่รวมกนั บนพน้ื ทข่ี องความสัมพันธ์สอง แบบ คือ ความสัมพันธ์ทางเครือญาติ และความสัมพันธ์เชิงแลกเปล่ียน อันเกิดจากการพ่ึงพาอาศัยกันท้ัง การผลิตและการใช้ชีวิตร่วมกันในชุมชน ความสัมพันธ์เหล่านี้มีการผสมผสาน และดาเนินไปภายใต้ระบบ คณุ คา่ และความเชอ่ื ท่เี ปน็ พลังทางศีลธรรม ท่ีรักษาจิตวิญญาณของผู้คนและชุมชนให้คงอยู่ จนกลายเป็น ลักษณะเด่นของสังคมคือ การอยู่ร่วมกันแบบแบ่งปัน รักพวกพ้อง เครือญาติ มีความเป็นอยู่เรียบง่าย ผกู พนั กบั ถิ่นกาเนิด เครง่ ครัดในจริยธรรม และคาสอนในศาสนา อันเป็นกลไกที่สาคัญย่ิงต่อการจัดระเบียบ ทางสังคม และระบบความสัมพันธ์ โดยมสี ถาบันทางสังคม สถาบันทางศาสนา สถาบันครอบครัว ทาหน้าท่ี ในการดารงและสบื ทอดระบบคณุ ค่าของชุมชน ผ่านประเพณีและพิธีกรรมของชุมชน เช่น ประเพณีแรกนา
๒๓ ประเพณที าขวัญข้าว ประเพณีวันว่าง (สงกรานต์) ประเพณีทาบุญเดือนสิบ (สารทเดือนสิบ) ประเพณีออก ปากกินวาน ประเพณีลากพระ และพิธีไหว้ครูหมอ เป็นต้น ระบบคุณค่าและความเช่ือดังกล่าวยังส่งผ่าน ศิลปะและวฒั นธรรมการละเลน่ ไม่ว่าจะเป็นเพลงบอก ลิเกปุา ลิเกฮูลู เพลงตันหยง หนังตะลุงและโนรา ท่ี รวมท้ังพิธกี รรมโนราโรงครขู องชาวภาคใต้ กล่าวสาหรับโนราและโนราโรงครู นอกจากจะมีบทบาทหน้าที่ในด้านความบันเทิงแล้ว บทบาทหนา้ ที่ในการประกอบพิธีกรรมมีส่วนอย่างสาคัญต่อการดารงอยู่ และมีวิถีผูกพันอย่างลึกซ้ึงกับชีวิต สังคมชาวภาคใต้ โดยเฉพาะชุมชนบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา ที่ยังคงมี “ประเพณีโนราโรงครู” ซ่ึงเป็น พิธีกรรมในการนับถือผีบรรพบุรุษ ที่ยังคงปฏิบัติอย่างเข้มข้นในเขตภาคใต้ตอนบน และภาคใต้ตอนกลาง ไดแ้ ก่ ชมุ พร สุราษฎรธ์ านี นครศรีธรรมราช กระบ่ี ตรัง พัทลุง สงขลา ชาวบ้านที่มีบรรพบุรุษรุ่นใดรุ่นหนึ่ง เป็นโนรา จะต้องสืบทอดการทาพิธี “โรงครู” หรือ “ลงครู” อันเป็นสามวันของการทาพิธี ที่จะสร้างความ เป็นอัตลักษณ์และการทบทวนประวัติของวงศ์ตระกูลและชุมชน ที่เป็นการสร้างระบบความสัมพันธ์ และ ระบบเครือญาติ โดยผ่านพิธีกรรมและสายครูหมอเดียวกัน ประเพณีการราโนราโรงครู จึงมีบทบาทหน้าท่ี ตอ่ โนรา ผู้มเี ช้อื สายโนรา ลูกหลานตายายโนรา และชาวบ้านโดยท่วั ไป อยา่ งไรกต็ ามในระยะที่ผา่ นมา ภาคใต้ได้เกิดการเปลย่ี นแปลงตามผลพวงของการพัฒนาที่ เกิดความก้าวหน้าทางวัตถุ โดยเฉพาะเทคโนโลยีการส่ือสารและการคมนาคมที่ส่งผลต่อการปรับเปล่ียน บทบาทของสถาบันทางสังคม รวมทั้งได้เกิดการสังสรรค์สถาบันทางสังคมใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ การเปลี่ยนแปลงของสถาบันครอบครัว ศาสนา การศึกษา และชุมชน และมีส่วนอย่างสาคัญให้ชาวบ้าน ภาคใตไ้ ดเ้ รยี นรสู้ ิง่ ใหมๆ่ มาผสมผสานหรอื ปรับใช้กับส่ิงทม่ี อี ยเู่ ดมิ จึงเกิดทางเลือกใหม่ๆ ในการพัฒนาชีวิต ครอบครัว และชุมชน ที่ผ่านการเช่ือมโยงของระบบคุณค่า และเชื่อมคติความเช่ือเก่ากับใหม่ ที่เรียกว่า “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” หรือ “ภูมิปัญญาท้องถ่ิน” ที่สามารถปรับหรือประยุกต์ใช้วัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา คุณภาพชวี ิตและสังคม และการพ่งึ พาตนเองอย่างมศี ักด์ศิ รี และย่ังยนื ต่อไป ๒. องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั โนรา ๒.๑ ประวัตแิ ละความเปน็ มาของโนรา ประวัติความเป็นมาของโนราปรากฏท้ังท่ีเป็นตานานบอกเล่า หลักฐานเอกสาร พบว่ามีตานานโนราท่ีมาจากคาบอกเล่าของชาวบ้าน ตานานที่ปรากฏในบทกาศครูและบทขับร้องกลอน
๒๔ ของโนรา ตานานโนราที่มาจากหลักฐานเอกสาร ตานานท้องถิ่นท่ีเกี่ยวข้องกับโนราและข้อวินิจฉัยของผู้รู้ ทอ้ งถนิ่ ในเร่อื งความเป็นมาของโนรา ซง่ึ สรุปได้ดังนี้ ๒.๑.๑ ตานานโนราและตานานท้องถน่ิ ท่เี ก่ยี วข้องกับโนรา ๑) ตานานโนราทม่ี าจากคาบอกเล่าของชาวบา้ น ตานานโนราที่มาจากคาบอกเล่าของชาวบ้านโดยเฉพาะชาวบ้านตาบลท่าแค อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง นั้นแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มที่ ๑ ท่ีเชื่อว่าการต้ังครรภ์ของนางนวล ทองสาลี มีสาเหตุมาจากการเสวยเกสรดอกบัว และกลุ่มท่ี ๒ ที่เช่ือว่าการต้ังครรภ์ของแม่ศรีมาลา หรือ นางนวลทองสาลีนั้นเกิดจากการลักลอบได้เสียกับพระม่วงทองหรือตาม่วงทอง ซ่ึงเป็นมหาดเล็กคนสาคัญ ในราชวัง จากน้ันจึงไปเสวยเกสรดอกบัวท่ีเทพสิงหรแบ่งภาคจุติลงมาเพื่อถือกาเนิดในเมืองมนุษย์ เป็นขุน ศรีศรทั ธา มขี ้อน่าสังเกตว่าโนราและชาวบ้านบางกลุ่มในตาบลท่าแคเชื่อว่า เทพสิงหรกับขุนศรีศรัทธาเป็น คน ๆ เดียวกันแต่คนละภาค (กัป) กล่าวคือ เทพสิงหรเป็นภาคสวรรค์และได้แบ่งภาคจุติลงมาเพ่ือราให้ มนุษย์โลกดูในภาคของขุนศรีศรัทธาซึ่งเป็นภาคมนุษย์ ผู้เขียนมีข้อสังเกตว่าเทพสิงหรภาคสวรรค์ท่ีโนรา และชาวบ้านตาบลท่าแคบางกลุ่มกล่าวถึงนั้น คือ พระศิวะมหาเทพหรือพระอิศวรผู้เป็นต้นกาเนิดแห่ง ศิลปะการร่ายราและการบันเทิงท้ังปวงและการกล่าวถึงนางนวลทองสาลีว่า กัปแรกคือแม่อุมาวาจ าสิทธ์ิ ก็คือ พระแมอ่ ุมาชายาแหง่ พระศวิ ะมหาเทพ อันเป็นการยืนยนั คติความเชื่อเร่ืองกาเนิดโนราท่ีเกี่ยวเนื่องกับ ศาสนาพราหมณแ์ ละวัฒนธรรมของอินเดยี ๒) ตานานโนราที่ปรากฏในบทกาศครูและบทร้องกลอนของโนรา ตานานโนราทปี่ รากฏในบทกาศครูและบทร้องกลอนของโนรา โดยเฉพาะบทกาศ ครูและบทร้องกลอนของคณะโนราแปลก ชนะบาล ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรมโนราโรงครูตาบลท่าแค อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ผู้เขียนเห็นว่าบทกาศครูและบทร้องกลอนของโนราโดยท่ัวไป เนื้อความ ส่วนใหญ่จะเหมือนกัน จะแตกต่างกันบ้างก็ในเร่ืองถ้อยคาและการตัดต่อข้อความที่จาเป็นต้องปรับไปตาม สภาพพืน้ ทีแ่ ละโอกาสทใี่ ช้ เช่นเพ่ือการประกอบพธิ ีกรรม หรอื แสดงเพ่อื ความบันเทิง เป็นต้น ประกอบด้วย บทขานเอ บทหนา้ แตระ บทรายแตระ บทเพลงโทนหรือบทเพลงทับเพลงโทนต่างกล่าวถึงประวัติของโนรา ครูต้นของโนรา เหตุการณ์ที่สาคัญท่ีเกิดขึ้นกับครูโนรา ชื่อบุคคลและสถานท่ีท่ีเกี่ยวข้องกับโนรา เช่น การ ลอยแพนางนวลทองสาลี ขุนศรีศรัทธาท่าแค การถูกลงโทษของครูโนรา พระคุณของครูโนราและบิดา มารดา การออกชื่อสิ่งศักด์ิสิทธ์ิในชุมชนบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลาเพื่อขอความคุ้มครอง ซึ่งจะสะท้อนให้ เห็นระบบความสัมพันธ์ของโนรากับชุมชนค่อนข้างเด่นชัด ส่วนบทร้องกลอนของโนรา ที่จะนามากล่าวไว้
๒๕ คอื บทรอ้ งกลอนทเี่ รยี กวา่ “บทบาลีหน้าศาล” บทบาลีหน้าศาลเป็นบทร้องกลอนเพ่ือบอกเล่าประวัติโนรา ขั้นตอนของการประกอบพธิ กี รรมโนราโรงครู โดยทว่ั ไปนยิ มวา่ ในโนราโรงครูก่อนประกอบพิธีกรรมเซ่นไหว้ ครูโนรา จึงเรียกวา่ บทบาลีหน้าศาล โดยกล่าวถึง “ชาตรี”๑ ว่ามีมาแต่คร้ังปถมกัปโดยพระผู้เป็นเจ้า (พระ อิศวร) เป็นผู้สร้างเพื่อให้เป็นเครื่องประโลมโลก กล่าวถึง ประวัติของแม่ศรีมาลา (หรือนางนวลทองสาลี) จนกระทั่งถูกลอยแพไปติดอยู่ที่ “เกาะกะชัง” มีเทพเจ้าคอยพิทักษ์รักษา มีพวกกินนรลงมาราฟูอนถวาย และเกิดเครื่องดนตรีประกอบการร่ายรา คือ โหม่ง ฉ่ิง ทับ โทน ป่ี แล้วกล่าวถึงองค์ประกอบและขั้นตอน ของพิธกี รรมโนราโรงครู ดงั ความตอนหนงึ่ วา่ “บอกบาลีขานเอ วา่ โนเนโนไน ลกั เลงผใู้ ด ถ้าพบในตารา ถา้ แต่งชูเดมิ ได้ เหมอื นพลายชา้ งงา ชาติเช้ือโนรา เป็นเถรเมอื งคนหนงึ่ ต้ังพระไตรโลกแล้ว พระแก้วราพึง ยังขัดขอ้ งขงึ ส่ิงหนง่ึ ไม่โถก ไมไ่ ด้ตั้งชาตรี ไว้เป็นทป่ี ระโลมโลก ระงับดบั โศก สนกุ สบาย” บทกาศครโู นราท่ีว่าประกอบด้วย บทขานเอ บทหน้าแตระ บทรายแตระ บทเพลงโทน เร่ืองราวท่ี กลา่ วถึงในบทกาศครูเหลา่ นัน้ ส่วนหน่ึงเป็นการยืนยันถึงความเช่ือของโนรา และชาวบ้านโดยทั่วไปในเรื่อง การกาเนิดของโนรา และความสัมพันธ์ของตานานโนรากับชุมชนบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา ซึ่งผู้เขียนจะ ยกตัวอย่างมากลา่ วไวเ้ พยี งบางตอนในส่วนที่สะทอ้ นภาพดงั กลา่ ว ตวั อยา่ งเช่น บทขานเอ “ร่ืนเอยรื่นรื่น จะไหว้นางธรณีผ่งึ แผน เอาหลังมาพิงเปน็ แทน่ รองตีนมนษุ ยท์ ัง้ หลาย ๑ คาวา่ ชาตรี หมายถงึ โนรา คานปี้ รากฏอยใู่ นตานาน วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ วรรณคดีของภาคกลางทีก่ ลา่ วถงึ การละเล่นพืน้ เมือง เช่น บทพระราชนพิ นธเ์ ร่อื งอเิ หนาในรัชกาลท่ี ๒ แม้เมื่อชาตรีแพรห่ ลายเขา้ สภู่ าคกลาง ชาวภาคกลาง เหน็ ว่ามลี กั ษณะคล้ายละคร จึงเรยี กกันวา่ ละครชาตรี (สธุ ิวงศ์ พงศ์ไพบลู ย์. ๒๕๔๒ : ๓๘๗)
๒๖ ตนี ซา้ ยรองหญงิ ยงั เล่าตนี ขวารองชาย นาคเจ้าฤาสาย ขานใหโ้ นเนโนไน ขานมาชาตอ้ ง ทานองเหมอื นวัวชกั ไถ เพลงครวญคิดมา ทรหวนหัวใจ เพลงสาลีไม่ลมื ใน พ่ไี ปไมล่ มื นอ้ งหนา ลมเอยรวยรวย ยังหอมแตร่ สแปงู ทา หอมรสครูขา้ ส่งกล่ินพอ่ มาไรไร หอมมาสาแค่ ลูกเหลยี วไปแลหอมไกล หอมฟงูุ สรุ าลยั ไคลเข้าในโรงน้องหนา ลมวา่ วดาหรา พดั โตด้ ว้ ยลมหลาตัน ลกู ก็ชกั ใบแลน่ กลางคืนมาเปน็ กลางวัน ไกลหลิงไหลฝ่งั เอาเกาะกะชังเปน็ เรอื น เพ่ือนบา้ นนับปี นวลทองสาลีนบั เดอื น เอาเกาะกะชังเปน็ เรือน เปน็ แทนท่นี อนน้องหนา” (ชาต้อง = ได้ยินเสียงขับกล่อม ชา หมายถึง ขับกล่อม, วัวชักไถ = เป็นไปด้วยความยากลาบาก ทุกขเวทนา, ทรหวน = ป่ันปวน, สาแค่ = อยใู่ กล้ ๆ , ไปแล = ไปดู, ไคล = ครรไล ไป, ดาหรา = ลมเหนือ หรือลมอตุ ตรา, หลาตัน = ลมสลาตนั , หลงิ = ตล่ิง) บทเพลงโทน “ไมด้ อกสองทองเถา้ ลกู ยกเหนือเศียรเกล้าดังดอกปทมุ มา หัตถ์ทัง้ สองประคองเศียร นั่งไหว้เวียนมาแต่ซ้ายยา้ ยหาขวา ไหวม้ นุ ีนาถพระศาสดา พทุ ธงั ธมั มังสงั ฆาไหว้อาจารย์ ครุฑยักษป์ กั ษามาพยาบาล พรอ้ มศตั รูหมมู่ ารขอให้หลบหลีกหนี ในจกั รวาลทั่วแผ่นฟาู ครอบ ไปท่ัวทุกช้ันขน้ั ขอบในรอบพระโลกี ทา้ วเวสสวุ รรณเจ้าบญั ชี ไหวค้ รฑุ นาคไี หว้ฤาษสี ม พระบวชพระเรียนจาเนยี รนาถ ไหว้ลายลักษณ์พระบาทองค์พระยายม ครฑุ านาคีไหว้ฤาษสี ม ลกู นัง่ ไหว้บงั คมทุกเวลา
๒๗ ไหวพ้ ระอิศวรพ่อทองเน้อื นลิ ท่านเปน็ ผตู้ ง้ั แผน่ ดินตัง้ แผ่นฟูา ต้งั แผน่ ดินเท่าลกู หมากบ้า ตั้งแผ่นฟาู มนั ใหญเ่ ทา่ ใบบอน พ่อต้งั ยานาคเอาไวก้ อ่ น แต่หญา้ เข็ดมอนตัง้ ไว้เมอ่ื ภายหลัง ตั้งดินตั้งฟูาปุาชะมวั พ่อใหป้ ลูกบัวนาปลูกบวั คร่งั เขด็ มอนตงั้ ไวเ้ มอื่ ภายหลงั ไดต้ ้ังดวงอาทติ ยด์ วงพระจันทร์ พระจนั ทร์รกั ษาในตอนคา่ คืน พระอาทติ ยง์ ามชน่ื เดินกลางวัน ต้งั ดวงอาทติ ย์และดวงพระจนั ทร์ สว่างฉันทวั่ โลกโลกา พ่อมาต้งั สน้ิ มาต้ังสดุ ตั้งพวกมนุษยไ์ ว้ใต้หล้า พ่อตั้งหญิงคนชายคน แตม่ ันเป็นพชื เปน็ ผลสืบตอ่ มา บทนเี้ ปลอ้ื งปลดงดไว้ จะน่ังกราบไหวส้ มภารอาจารยข์ ้า ไหว้หลวงพอ่ คงหลวงพ่อดา ลกู กาศทุกทีรามโนราห์ ลูกเลน่ เต้นราแตค่ ืนค่าไหน ให้โฉมงามตามไปช่วยรักษา บรรดาสมภารท่ีในใต้หลา้ ลูกไม่จาเพาะไม่เจาะจงว่าองค์ใด เหน็ ลกู เล็กเลก็ เดก็ ออ่ นอ่อน ผมหนอขอพรนัง่ ขอชยั ไมเ่ จาะไม่จงเอาท่านองค์ใด คนื นโ้ี อยพรชัยสง่ ให้มา แลต้าสมภารจะของดไว้ นั่งกราบไหว้ศกั ดสิ์ ิทธ์ใิ นใต้หลา้ ศักดิ์สทิ ธ์ิศกั ด์ชิ นในตาบลน้ีในจงั หวัดนี้ ได้เบกิ ร้างสรา้ งที่แต่ก่อนมา ศกั ดส์ิ ทิ ธิส์ าคัญและอนั ย่ิงยวด ลกู กราบไหว้ตาทวดไปทกุ ศาลา ลูกกาศไม่เหลือไม่หลอ้ ง ศกั ด์สิ ทิ ธ์กิ ลางท่องกลางนา ศกั ด์ิสทิ ธติ์ รอกบางตามหวา่ งเขา เถื่อนถา้ ลาเนาหว้ ยเหวผา ศกั ดิส์ ิทธ์ิเรีย่ วแรงแขง็ กลา้ ลกู จะไหวบ้ ชู าตาหมอชอ่ ง งามปลอดพ่อยอดเสนห่ ์ ช่วยลดชว่ ยเทอยา่ ให้ขดั ขอ้ ง ลูกไหวน้ าราพอ่ ตาหมอช่อง ลอยแลว้ ใหล้ ่องกนั เข้ามา ลกู ร้องประกาศอยู่เกณฑเ์ กณฑ์ จะไหว้ทวดครเู ชนเขาเทยี มปาุ ลูกไหว้ม่วงทองท่ปี ากน้าตรงั ที่รมิ รอบขอบฝั่งแมน่ ้ากระทง่ั ฉา พ่อเรย่ี วแร็งแข็งกล้า สาปนาวาให้กลายเป็นธาตุหีน นาวาลาเดียวของพอ่ ไม่นอ้ ยไมเ่ ลก็ พวกเจ๊กไทยแขกจีน นาวามากลายเป็นธาตหุ ีน ทรพั ย์สนิ จมลงในเลตะวันตก
๒๘ ยงั องคห์ นงึ่ เล่าพอทองแขนสวย จะไหว้ทวดละลวยเขา้ มาฉวยฉก ลกู ไหว้นาราอย่ปู ละน้าตก ทวดสมกไมฟ้ าดและทา้ วเทวา ไหวท้ วดสมกไมฟ้ าด ถัดมาหินแบกทวดสะบ้าย้อย อยกู่ ลางหว่างคงคา พระพายพดั มาฉอยฉอย ไหว้หินแบกทวดสะบา้ ย้อย ลูกไหวส้ รอ้ ยทองทอ่ี ยสู่ องแพรก แพรกหนง่ึ รกั ษาไทย ยังแพรกหนึ่งไซรไ้ ปรกั ษาแขก สรอ้ ยทองท้งั สองแพรก ถัดมานา้ ร้อนทวดแมน่ ้าเย็น ราจบผมเทย่ี วมาจบ ไมเ่ คยพบไม่เคยเหน็ ไหว้นา้ ร้อนทวดน้าเยน็ จะไหว้หลุมพอทองทอี่ ยู่ขวางท่า เวรกรรมกไุ หรเหลย นอนขวางแมน่ า้ พระคงคา หลมุ พอทองและขวางทา่ ถดั มาขามเฒา่ ทวดตาวาง ผมยาวและขาวหมด รักษาอยู่ท่ีคดไม้ม่วงขวาง ขามเฒา่ ทวดตาวาง ถดั มาทวดชัยสุริยวงศ์ ถิน่ ฐานบา้ นไม่แค่ เหนือไพทา่ แคเรียกโลหะพนั หงส์ ทวดชัยสุรยิ วงศ์ แบง่ องค์สง่ ญาณใหท้ า่ นแลมา ทวดบ้านแร่ทวดบา้ นสวน ทวดหัวคอนทวดบ้านยา ยางทองบ้านนางลาด ขอร้องประกาศอาราธนา เข้ากราบบาทาทา้ วฝุาละออง ลูกไหว้ทวดโดทองทีว่ ดั คหู า ทวดเขากังทวดวังเนียง ฟงั เสยี งลกู รอ้ งกาศหา ศักดิส์ ทิ ธทิ์ ัง้ ฝาุ ยเล เทวาเกาะเสเกาะห้า ใหถ้ ัดให้เคลือ่ นใหเ้ ล่ือนกนั มา จะไหว้เกาะหนเู กาะแมว อยา่ ให้ลาลาบสาบสูญ หารอื พ่อทูลกระหมอ่ มแกว้ เกาะหนูเกาะแมว ลกู ไหว้เกาะแก้วเกาะยอ อยขู่ ้างหวา่ งคงคา พระพายพัดมาสอสอ ท้ังเกาะแกว้ และเกาะยอ ผมหมอชพู รางที่หวา่ งคงคา จะไหว้เกาะราบไหว้เกาะกูน เกาะหมากปากยนู มันอยูฝ่ ุายท่า เกาะแกว้ กินรา ถัดมาปากบางทวดแม่นางเรียม ทรามปลอดยอดเสน่ห์ คุณของแมน่ ีใ้ ครจะเทียบเทียม
๒๙ ทวดปากบางทวดนางเรียม ทรามเสงี่ยมรักงามใหต้ ามลกู มา น่ังบนสาดแลว้ กาศบนดิน ลกู ขอให้ได้ยนิ ยนิ ไปถงึ ช้นั ฟูา ช้ันบนกาศจนหมด ให้จดเอาพรหมทว่ั โลกพระโลกา ขา้ งใตก้ ็กาศลงมา ให้จดเอานาคนาคาใตบ้ าดาล มีปลาและอานนท์ ได้เอาหางเกยี่ วรอบขอบหมิ พานต์ จดนาคนาคาใตบ้ าดาล พ่อแบ่งองค์ส่งญาณเลง็ แลมา บทน้ีเปลอ้ื งปลดงดเอาไว้ มนั ใกลส้ มควรเขา้ แลว้ หนา ลกู กาศไปนานเหน็ ชกั ช้า ขอเทวามาประชมุ อยทู่ ้ังสมี่ มุ โรง” (ยานาค = พญานาค, ปุาชะมัว = ปุาละเมาะ, หล้อง = หลงลืม, เกณฑ์ = กะเกณฑ์ บังคับหรือ ด้วยภาวะจายอม, ฉวยฉก = เข้ามาตอ้ ง หรอื ถกู กระทา, ปละ = ขา้ งฝุาย) จากบทกาศครูโนรา มีข้อสังเกตว่าในบทกาศครูของโนรา บทเพลงโทน มีการกล่าวถึง ตานานการสร้างโลกอันเก่ียวเน่ืองกับความเชื่อในศาสนาพราหมณ์กับความเช่ือของชาวภาคใต้ และชุมชน บริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลาท่ีเป็นดินแดนที่อารยธรรมอินเดียเคยเจริญรุ่งเรื่องมาก่อน “ไหว้พระอิศวรพ่อ ทองเนื้อนิล ท่านเป็นผู้ต้ังแผ่นดินแผ่นฟูา” บทกาศครูดังกล่าวยังได้แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ใน ระบบความเช่ือในส่ิงศักด์ิสิทธิ์ระหว่างโนรากับชุมชนบริเวณนี้ โดยเฉพาะโนรา และ/หรือหนังตะลุงจะต้อง เดินทางไปแสดงในที่ต่าง ๆ ได้เห็นได้รับรู้เร่ืองความเช่ือความศักดิ์สิทธ์ิของเจ้าของสถานท่ีน้ัน ๆ จากคา บอกเลา่ ของชาวบา้ น จากพธิ กี รรมทช่ี าวบา้ นปฏบิ ัติ ยกย่อง นับถือ ก็เลยยกย่องนับถือตามไปด้วย นานเข้า กก็ ลายเปน็ ธรรมเนยี มปฏิบัติ เมื่อรอ้ งบทกาศครกู จ็ ะออกชื่อบวงสรวง ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ตามไปด้วย เช่น ทวดหิน แบก ทวดสะบ้าย้อย ทวดสร้อยทอง ทวดน้าร้อน ทวดแม่น้าเย็น ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นทวดศักดิ์สิทธ์ิและ เก่ียวข้องกับเชื้อสายของโนรา อยู่เขตตาบลลาสินธุ์ อาเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง ทวดเกาะยอ (น่าจะ หมายถึงสมเด็จเจ้าเกาะยอ) อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ทวดนางเรียม คลองนางเรียม อาเภอควน ขนุน จังหวัดพัทลุง เทวาเกาะสี่เกาะห้า อาเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นต้น ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ดังกล่าว ชาวบา้ นและโนราบางคนหรือบางคณะเชื่อว่าล้วนเป็นเช้ือสายของโนรา เมื่อราโนราหรือประกอบพิธีกรรม โนราโรงครจู ะตอ้ งบวงสรวง และเชญิ สง่ิ ศักดิ์สิทธิ์เหล่านนั้ ใหม้ ารับร้หู รือรว่ มพิธกี รรมด้วย ๓) ตานานโนราทีม่ าจากหลักฐานเอกสาร สาหรับตานานโนราท่ีมาจากหลักฐานเอกสารน้ัน เดิมมีท่ีมาจากคาบอกเล่าของ ผรู้ ู้ ศิลปนิ ต่อมาภายหลงั ไดม้ ีการบันทึกไว้เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร และจัดพิมพ์ออกเผยแพร่ในหนังสือต่าง ๆ
๓๐ ตัวอย่างเช่น ตานานโนราท่ีเล่าโดยขุนอุปถัมภ์นรากร (พุ่ม เทวา) และคณะศิษย์ ภิญโญ จิตต์ธรรมได้เรียบ เรียงเป็นหนังสือเรื่องโนราออกจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๘ และจัดพิมพ์เผยแพร่อีก หลายคร้ังในโอกาสต่อมา หรือตานานโนราท่ีเล่าโดยโนราวัด จันทร์เรือง บ้านกล้วย ตาบลพังงา อาเภอระ โนด จังหวัดสงขลา ก็จัดพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือ มโนราห์นิบาตของวิทยาลัยวิชาการศึกษาสงขลามาแล้ว เป็นต้น ตานานโนราท่ีมาจากหลักฐานเอกสาร นอกจากจะเกิดขึ้นโดยคนท้องถิ่นแล้ว ยังปรากฏในตานาน ละครอิเหนาของสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ (๒๕๐๘ : ๔ – ๑๐) ตานานละคร ชาตรีของกรมศิลปากร และตานานโนราที่เล่าโดยนายพูน เรืองนนท์ ดังปรากฏในหนังสือ การละเล่นของ ไทย ของมนตรี ตราโมท กรณนี ายพนู เรอื งนนท์ นั้น อเนก นาวิกมูล (๒๕๓๐ : ๗๗ – ๗๙) ได้นาประวัติมา กลา่ วไว้ตอนหนึง่ วา่ ครูพูน เป็นศิลปินท่ีมีชื่อเสียงมากของกรุงเทพฯ เช่ือว่าหลายคนต้องได้ ยินชื่อครูพูน อายุ ๘๔ ปี ถึงแก่กรรมเม่ือ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ มีเช้ือสายเป็นชาว นครศรีธรรมราชมาแต่บรรพบุรุษถนัดการเล่นแทบทุกประเภทโดยเฉพาะอย่างย่ิง ละคร ชาตรีกับหนังตะลุง...ครูพูนเคยบอกกับผมว่า ตนหัดหนังตะลุงจากครูขา ครูจัน คน นครศรธี รรมราช ซ่งึ ขึ้นมากรุงเทพฯ หนังตะลุงของครูพูนมีมากมายนับพัน ๆ ตัว ต่อมาครู พูนได้หัดหนังให้ครูทองใบ ลูกชายอีกต่อหน่ึง แต่ในระยะหลังนี้ หนังตะลุงไม่ค่อยเป็นท่ี นยิ มนกั จงึ ไมค่ อ่ ยได้นาออกเล่นกนั สักเท่าใด ผู้เขียนเห็นว่าตานานท่ีเล่าโดยขุนอุปถัมภ์นรากร (พุ่ม เทวา) ท้ังท่ีปรากฏเป็นความเรียง ร้อยแก้วและทปี่ รากฏเปน็ คากาพย์ ซึง่ ภญิ โญ จิตต์ธรรม (๒๕๒๗ : ๑ – ๖) นามารวบรวมไว้ รวมท้ังตานาน โนราทป่ี รากฏในรปู กลอนส่ี ควรทจ่ี ะนามากล่าวไว้ ดงั น้ี ตานานโนราที่เล่าโดยขุนอุปถัมภ์นรากร (พุ่มเทวา) อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ท่ีเป็น ร้อยแกว้ ความว่า พระยาสายฟูาฟาดเป็นกษัตริย์ครองเมือง ๆ หนึ่ง มีชายาชื่อนางศรีมาลา มีธิดาชื่อนวล ทองสาลี วันหนึ่งนางนวลทองสาลีสุบินว่ามีเทพธิดามาร่ายราให้ดู ท่ารามี ๑๒ ท่า มีดนตรีประโคม ได้แก่ กลอง ทับ โหม่ง ฉิ่ง ป่ีและแตระ นางให้ทาเคร่ืองดนตรีและหัดราตามที่สุบินเป็นท่ีครึกครื้นในปราสาท วัน หน่งึ นางอยากเสวยเกสรบวั ในสระหน้าวัง ครน้ั นางกานัลเก็บถวายให้เสวยนางก็ทรงตั้งครรภ์แต่ก็ยังคงเล่น ราตามปกติ วันหนึ่งพระยาสายฟูาฟาดเสด็จมาทอดพระเนตรการราของธิดาเห็นนางทรงครรภ์ก็ซักไซ้เอา
๓๑ ความจริงได้ความว่า เหตุเพราะเสวยเกสรบัว พระยาสายฟูาฟาดไม่ทรงเช่ือและทรงเห็นว่านางทาเร่ือง อัปยศจึงรับส่ังให้เอานางลอยแพพร้อมด้วยสนมกานัล ๓๐ คน แพไปติดเกาะกะชัง นางจึงเอาเกาะกะชัง เป็นทีอ่ าศัยต่อมาได้ประสตู ิโอรส ทรงสอนให้โอรสราโนราได้ชานาญแล้วเล่าเร่ืองแต่หนหลังให้ทราบ ต่อมา กุมารน้อยซ่ึงเป็นโอรสนางนวลทองสาลี ได้โดยสารเรือพ่อค้าไปเท่ียวราโนรายังเมืองพระอัยกา เรื่องเล่าลือ ไปถึงพระยาสายฟูาฟาด ๆ ทรงปลอมพระองค์ไปดูโนราเห็นกุมารน้อยมีหน้าตาคล้ายพระธิดา จึงทรง สอบถามจนได้ความจริงว่าเป็นพระราชนัดดา จึงรับส่ังให้เข้าวังและให้อามาตย์ไปรับนางนวลทองสาลีจาก เกาะกะชังแต่นางไม่ยอมกลับ พระยาสายฟูาฟาด จึงกาชับให้จับมัดขึ้นเรือพามา คร้ันเรือมาถึงปากน้าจะ เข้าเมืองก็มีจระเข้ลอยขวางทางไว้ลูกเรือ จึงต้องปราบจระเข้ ครั้นนางเข้าเมืองแล้วพระยาสายฟูาฟาดได้ ทรงจัดพิธีรับขวัญขึ้น และให้มีการราโนราในงานน้ี โดยประทานเคร่ืองต้นอันมี เทริด กาไลแขน ป้ันเหน่ง สังวาล พาดเฉียง ๒ ข้าง ปีกนกแอ่น หางหงส์ สนับเพลา ฯลฯ ซ่ึงเป็นเคร่ืองทรงของกษัตริย์ให้เป็นเครื่อง แตง่ ตัวโนราและพระราชทานบรรดาศกั ดิใ์ หแ้ กก่ มุ ารน้อยราชนดั ดาเปน็ ขุนศรศี รทั ธา ตานานท่ีเล่าโดยขุนอุปถัมภ์นรากร (โนราพุ่มเทวา) ยังปรากฏเป็นคากาพย์ด้วยใช้ร้อง ในพธิ โี รงครู เพ่ือเล่าความเป็นมาของโนราโดยรอ้ งตอนเชญิ ครู ซ่งึ มีขอ้ ความวา่ ดงั น้ี “นางนวลทองสาลี เปน็ บุตรเี จา้ พระยา นรลกั ษณง์ ามหนกั หนา จะแจ่มดงั อปั สร เทวาเข้าไปดลจติ ให้เนรมติ เทพสงิ หร รูปรา่ งอย่างขีห้ นอน (กินนร) รอ่ นรางา่ ทา่ ตา่ งกัน แม่ลายฟั่นเฟอื น กระหนกลว้ นแต่เครอื วัลย์ บทบาทกล่าวพาดพัน ยอมจาแท้แนห่ นักหนา จาไดส้ ิบสองบท ตามกาหนดในวิญญาณ์ เมือ่ ฟืน้ ต่นื ขน้ึ มา แจง้ ความเลา่ เหล่ากานัล แจ้งตามเนื้อความฝัน หนา้ ท่ีนัง่ ของทา้ วไท วนั เม่ือจะเกิดเหตุ ให้อาเพศกาม์จักไกล ให้อยากดอกมาลัย อุบลชาติผลพฤกษา เทพบตุ รจตุ ิจากสวรรค์ เข้าทรงครรภน์ างฉายา รู้ถงึ พระบิดา โกรธโกรธาเป็นฟนุ ไฟ ลูกชัว่ รา้ ยทาขายหน้า ใส่แพมาแม่นา้ ไหล พร้อมสนิ้ กานัลใน ลอยแพไปในธารัล
๓๒ พระพายกพ็ ดั กลา้ (ทะ) เลบ้าพ้นกาลงั พัดเข้าเกาะกะชงั นั่งเงือ่ งงอยู่ในปาุ รอ้ นเรา่ ไปถึงท้าว โกสยี เ์ จ้าทา่ นลงมา ชบเปน็ บรรณศาลา นางพระยาอยอู่ าศยั พรอ้ มสิ้นทั้งโฟกหมอน แทน่ ท่นี อนนางทรามวัย ดว้ ยบุญพระหนอ่ ไท อย่เู ปน็ สุขเปรมปรีด์ิ เมอ่ื ครรภ์ถ้วนทศมาศ ประสูตริ าชจากนาภี อกี องค์เอี่ยมเทียมผชู้ าย เล่นราไดด้ ว้ ยมารดา เล่นราตามภาษา ตามวชิ าแม่สอนให้ เลน่ ราพอจาได้ เจา้ เข้าไปเมืองอัยกา เลน่ ราตามภาษา ท้าวพระยามาหลงใหล จนี จามพราหมณข์ า้ หลวง ไททัง้ ปวงอ่อนน้าใจ จีนจามพราหมณเ์ ทศไท ย่อมหลงใหลในวญิ ญาณ์ ทา้ วพระยาสายฟาู ฟาด เห็นประหลาดใจหนกั หนา ดนู รลกั ษณแ์ ละพักตรา เหมอื นลกู ยานวลทองสาลี แลว้ หามาถามไถ่ เจา้ เลา่ ความไปถ้วนถี่ รวู้ ่าบุตรแมท่ องสาลี พาตวั ไปในพระราชวงั แลว้ ใหร้ าสนองบาท ไทธริ าชสมจิตหวงั สมพระทัยหตั ถยัง ท้าวยลเนตรเหน็ ความดี แล้วประทานซึ่งเครือ่ งทรง สาหรับองคพ์ ระภมู ี กาไลใสก่ รศรี สรอ้ ยทับทรวงแพรภษู า แล้วประทานซง่ึ เครื่องทรง คล้ายขององคพ์ ระราชา แล้วจดคาจานรรจา ใหช้ ือ่ ว่าขนุ ศรีศรัทธา” (ข้ีหนอน = กินนร, ง่า = ถ่าง, อ้า, เล = ทะเล, เกาะกะชัง = เข้าใจว่าเป็นเกาะกะชังในทะเลสาบ สงขลา, ชบ = เนรมติ , โฟก = ฟกู
๓๓ ตานานโนราทปี่ รากฏในรปู กลอน ๔๑ ดงั คากลอนวา่ “ก่อเกอ้ื กาเนดิ คราเกดิ ชาตรี ปางหลังยังมี เมอื่ ครัง้ ต้งั ดนิ บิดาของเจ้า ชือ่ ทา่ นทา้ วโกสินทร์ มารดายุพิน ชือ่ นางอนิ ทรกรณีย์ ครองเมอื งพัทลุง เปน็ กรุงธานี บุตรชายท่านมี ชอ่ื ศรีสิงหรณ์ ทุกเชา้ ทุกคา่ เทยี่ วราเที่ยวรอ่ น บิดามารดร อาวรณอ์ บั อาย คดิ อ่านไมถ่ ูก เพราะลูกเป็นชาย ห้ามบุตรสุดสาย ไม่ฟังพ่อแม่ คดิ อา่ นไมถ่ กู จึงเอาลกู ลอยแพ สาวชาวชะแม่ พร้อมสบิ สองคน มาด้วยหน้าใย ทีใ่ นกลางหน บงั เกิดลมฝน มดื มนเมฆัง คลื่นซัดมง่ิ มิตร ไปตดิ เกาะสีชงั จบั ระบารารอ่ น ทด่ี อนเกาะใหญ่ ข้าวโพดสาลี มากมีถมไป เทวาเทพไท ตามไปรักษา รู้ถึงพอ่ คา้ รับพาเขา้ เมือง ฝุายปติ ุรงค์ ประทานใหเ้ ครื่อง สาหรับเจ้าเมอื ง เปลอื้ งให้ทันที นบั แตน่ ้ันมา เรียกว่าชาตรี ประวตั วิ า่ มี เท่านแ้ี หละหนา” ๑ ขอ้ มูลน้ี ภญิ โญ จติ ต์ธรรม(๒๕๒๗ : ๑๕ – ๑๖) กล่าวว่า ไดม้ าจากนายซ้อน ศวิ ายพราหมณ์ ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี แต่ผู้เขียนพบว่าโนราบางคนก็จาได้ เม่ือเทวสาโร (๒๕๐๘ : ๕ – ๒๙) ได้เขียนตานานโนราไว้ในหนังสือเทพ สารบรรพ ๒ ก็ยกขอ้ มูลนมี้ าสนับสนนุ ขอ้ วนิ จิ ฉัยเร่ืองตานานโนราโดยเรยี กวา่ “บทเล่าประวตั ิโนรา” จึงนา่ จะเป็นตานานที่ แพร่หลายโดยทัว่ ไป
๓๔ ๔) ตานานทอ้ งถน่ิ ท่ีเก่ยี วข้องกับโนราและขอ้ วนิ ิจฉัยของผ้รู ู้ท้องถิน่ ตานานท้องถิ่นท่ีเกี่ยวข้องกับโนราและข้อวินิจฉัยของผู้รู้ท้องถิ่น ในเรื่องความ เป็นมาของโนรา พฒั นาการของโนรา ตานานท้องถ่ินท่ีจะกล่าวถึงน้ีเป็นตานานที่เก่ียวกับวีรบุรุษหรือบุคคล ตานานเกย่ี วกับประวัติความเป็นมาของสถานท่ี และปูชนียสถานสาคัญในบริเวณชุมชนลุ่มทะเลสาบสงขลา บางตานานก็เป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับโนราโดยตรง เช่น ตานานนางนวลทองสาลี ตานานขุนศรัทธาท่าแค เพียงแตอ่ ธบิ ายรายละเอยี ดปลีกย่อยของประวตั ิครตู ้นโนราและเช่ือมโยงใหส้ มั พันธ์กบั สถานท่โี ครงเร่ือง หลกั ก็คือ ตานานโนราน่ันเอง สว่ นตานานสถานท่ีบางแห่งท่ีเกี่ยวข้องกับโนรา มีลักษณะเช่นเดียวกับนิทาน หรือตานานสถานท่ีอื่นๆ ที่ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นเรื่องจริง เป็นเหตุการณ์ทีเกิดขึ้นจริงและบุคคลในเร่ืองนั้นมี ตัวจริง เช่น เรื่อง “โคกขุนทา” ซ่ึงเป็นเนินดินหรือโคกสูงกว้างประมาณ ๑ ไร่เศษ อยู่ในหมู่ที่ ๕ ตาบลท่า แค อาเภอเมืองพทั ลุง จงั หวดั พทั ลงุ ชาวบ้านเชอ่ื กันว่าบริเวณโคกแห่งน้นั เป็นสถานท่ีที่ขุนศรัทธาครูต้นของ โนราใช้เป็นท่ีฝึกหัดศิษย์ให้ราหรือเป็นโรงราโนราของขุนศรีศรัทธา “เขื่อนขุนทา” ตั้งอยู่ในวัดท่าแค หมู่ที่ ๕ ตาบลทา่ แค อาเภอเมืองพทั ลงุ จังหวดั พัทลงุ คาว่า “เขอ่ื น” หมายถงึ สถานทเ่ี กบ็ รักษาสิ่งศักด์ิสิทธิ์ หรือ ที่อยู่ของสิ่งศักด์ิสิทธิ์เป็นท่ีบรรจุอัฐิหรือเถ้าถ่านของบุคคลสาคัญ ซ่ึงในท่ีน้ีหมายถึงอัฐิของขุนศรีศรัทธา ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรทรงสร้างรูปป้ันขุนศรีศรัทธา และ พรานบญุ แลว้ สร้างศาลาบริเวณเข่ือนขุนทานารูปปั้นไปประดิษฐานไว้เป็นอนุสรณ์หรืออนุสาวรีย์ของขุนศรี ศรัทธา และเป็นส่วนหน่ึงของการเกิดประเพณีการราโนราโรงครูครูใหญ่ในวัดท่าแคของชาวบ้าน ตาบลท่า แคและบริเวณใกล้เคยี งเปน็ ประจาทุกปี เป็นตน้ ส่วนตานานท้องถิ่นทีเ่ ก่ียวข้องกับโนราท่ีจะนามากล่าวถึงมี ตานานนางเลอื ดขาว ตานานตายายพราหมณ์จันทร์ ตานานทวดสาลี ตานานแมเ่ จ้าอยูห่ ัว (วดั ท่าครุ ะ ตาบล คลองรี อาเภอสทงิ พระ จังหวัดสงขลา) ซึ่งผเู้ ขยี นจะนามากล่าวเพยี งสังเขป ดังน้ี ตานานนางเลือดขาว ตานานนางเลือดขาวเป็นตานานท้องถิ่นท่ีแพร่หลายใน จังหวัดพัทลุงและจังหวัดอื่นๆ ในภาคใต้ปรากฏท้ังในรูปลายลักษณ์และมุขปาฐะ อาจถือได้ว่าเป็นนิทาน หรอื ตานานท่ีมคี วามสาคัญและน่าสนใจที่สุดในภาคใต้ของประเทศไทย หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นนิทานเรื่อง เอกประจาแหลมมาลายูตอนเหนือ มีท้องที่อาณาเขตอันเกี่ยวกับเร่ืองราวในนิทานอย่างกว้างขวาง ตานาน นางเลอื ดขาวกับตานานโนรา มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอยู่ คณะโนรา คนทรงครูหมอโนรา และชาวบ้าน สว่ นหนึง่ เชื่อว่า นางเลอื ดขาวเปน็ คนเดยี วกับนางศรีมาลาหรือนางนวลทองสาลีแต่เป็นคนละภาค (กัป) กัน และเช่ือว่าเป็นครูโนราองค์หนึ่งด้วย ในการราโนราโรงครูใหญ่วัดท่าแค ตาบลท่าแค อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จะมีร่างทรงของนางเลือดขาวเช่นเดียวกับครูโนราองค์อื่นๆ เพียงแต่ว่านางไม่เข้าทรงให้ ปรากฏบอ่ ยนกั นอกจากน้ชี ่ือนางเลือดขาวยงั ปรากฏชือ่ ตามความเช่ือของชาวบา้ นอีกชอ่ื หนงึ่ ว่า “เจ้าแม่อยู่
๓๕ หัว” ด้วยมีวัดที่เช่ือว่านางเลือดขาว (เจ้าแม่อยู่หัว) เป็นผู้สร้าง และเรียกช่ือตามช่ือของนาง คือ วัดเจ้าแม่ อยู่หัว (ชะแม) ตาบลดีหลวง วัดท่าคุระ หรือวัดเจ้าแม่อยู่หัว ตาบลคลองรี อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา วัดเจ้าแม่อยู่หัว อาเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะวัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทิง พระ มีพระพุทธรูป “เจ้าแม่อยู่หัว” ซึ่งเป็นพระพุทธรูปทองคา ปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้างประมาณ ๒ เซนติเมตร สูงประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร เก็บไว้ในผอบ ประดิษฐานอยู่ในมณฑปวัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เจ้าแม่อยู่หัวหรือตานานเจ้าแม่หัวจึงเป็นตานานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับ ตานานโนราอีกตานานหน่ึง ชาวบ้านท่าคุระและตาบลใกล้เคียง เรียกว่า “เจ้าแม่อยู่หัว” และ “เช่ือว่าเป็น พระพุทธรปู ศกั ดิ์สทิ ธค์ิ บู่ า้ นคู่เมือง มคี วามเกี่ยวขอ้ งกบั ตานานโนราจงึ เปน็ ที่มาของการราโนราโรงครูวัดท่าคุ ระ หรือ “งานพิธีสมโภชและสรงน้าเจ้าแม่อยู่หัว” หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “งานตายายย่าน” ซึ่งจัดข้ึนเป็น ประจาทุกปีในวันแรม ๑ ค่า เดือน ๖ นอกจากน้ียังมีตานานท้องถ่ินท่ีเก่ียวข้องกับตานานโนราอีกหลาย ตานาน ตานานหนึ่ง คือ “ตานานตายายพราหมณ์จันทร์” ความในตานานตายายพราหมณ์จันทร์ ได้ กล่าวถงึ บคุ คลทัง้ สองว่าเป็นผู้อปุ การะนางนวลทองสาลี หรือเจ้าแม่อยู่หัวในขณะที่พลัดพราก หรือถูกขับไล่ ออกจากบ้านเมือง และเป็นตานานเดียวกับแม่เจ้าอยู่หัววัดท่าคุระ ตาบลคลองรี อาเภอสทิงพระ จังหวัด สงขลา และตานานท้องถ่ินท่ีเก่ียวข้องกับตานานโนราท่ีจะนามากล่าวถึงอีกตานาน คือ “ตานานทวดสาลี” ทวดสาลีหรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “เจ้าแม่อยู่หัว” หรือ “ทวดหมลี” หมายถึง พระพุทธรูปสาริดทรงเครื่อง ปางอุ้มบาตรศิลปะสมัยอยุธยา มีความสูงประมาณ ๑.๕ เมตร ในวัดพะโคะ ตาบลชุมพล อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา (พระพุทธรูปท่เี รยี กวา่ “ทวดสาลี” หรือ “แม่ทวด” ยังมีท่ีวัดเขียนบางแก้ว อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ อกี ๑ องค์ เปน็ พระพทุ ธรปู สารดิ ปางอ้มุ บาตร ศิลปะสมัยอยธุ ยาประดษิ ฐานบนกุฏิเจ้าอาวาส มีตานานเล่าว่า สร้างข้ึนเพ่ือฉลองแทนองค์ “สมเด็จเจ้าแม่อยู่หัวเมือง” บางตานานว่า หมายถึง นางเลือด ขาวหรือแมศ่ รมี าลาหรือนางนวลทองสาลี) ด้วยเหตดุ งั กล่าว คณะโนรา คนทรงครูหมอโนรา ชาวบ้านตาบล ท่าแค อาเภอเมอื งพทั ลงุ จงั หวัดพัทลุง ที่เช่ือว่านางเลือดขาว (เจ้าแม่อยหู่ ัว) เป็นคน ๆ เดียวกับแม่ศรีมาลา หรอื นางนวลทองสาลี และเช่ือวา่ นางเป็นผสู้ ร้างพระมหาธาตุและวัดเขยี นบางแกว้ อาเภอเขาชัยสน จังหวัด พัทลุง ก็จะร่วมกันจัดประเพณีแห่ผ้าห่มพระมหาธาตุวัดเขียนบางแก้วในวันเพ็ญเดือน ๓ เป็นประจาทุกปี สาหรับข้อวินิจฉัยของผู้รู้ท้องถิ่นในเรื่องความเป็นมาของโนรา พัฒนาการของโนรานั้น อาจจะนามากล่าว โดยสรุปได้ดงั นี้ เทวสาโร (๒๕๒๘ : ๕ – ๒๙ ได้กล่าวถึงความเป็นมาของโนราไว้ในหนังสือ เทพสาร บรรพ ๒ เห็นว่า โนราเป็นการรา่ ยราสาหรบั บูชาเทพเจ้า พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ ในศาสนาพราหมณ์ เม่อื พราหมณ์เข้าสู่ปักษ์ใต้จึงได้นาการละเล่นชนิดนี้เข้ามาด้วย โนราคงจะเจริญและพัฒนาขึ้นท่ีเมืองพัทลุง บางแก้ว (อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง) และเชื่อมโยงพัฒนาการอยู่ทั้งสองฝ่ังของชุมชนบริเวณลุ่มทะเลสาบ
๓๖ สงขลา เช่นเดียวกับ เยี่ยมยง สุรกิจบรรหาร และภิญโญ จิตต์ธรรม (๒๕๐๘ : ๑๙ – ๓) ก็กล่าวถึงตานานโนรา ว่า เกดิ ขนึ้ ทเ่ี มืองพทั ลงุ บางแก้ว จนกระทัง่ นางนวลทองสาลี ถูกลงโทษด้วยการลอยแพ จนเมื่อเจ้าชายน้อย ไดก้ ลบั ส่บู า้ นเมือง (พัทลุง) และได้รับการแตง่ ต้ังจากพระอัยกา คือ พระยาสายฟูาฟาด หรือท้าวโกสินทร์ให้ เปน็ “ขุนศรีศรัทธา” ถือเป็นครูต้นของโนรามาจนบัดนี้ ส่วน สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ (๒๕๔๒ : ๓๘๗๓) ก็เห็น ว่า “ชาตรี” ของภาคใต้ได้มีการพัฒนาเป็นศิลปะชั้นสูงจนกลายเป็นนาฏกรรมของราชสานัก และของท้าว พระยามหากษัตรยิ ์ ในภาคใต้มาแลว้ ตั้งแต่สมัยกรงุ ศรีอยุธยาเป็นอย่างน้อยและโดยเฉพาะช่ือสถานท่ีต่าง ๆ ท่ีเอ่ยไว้น้ันบ่งบอกว่า จุดที่ก่อให้เกิดการพัฒนาเป็นศิลปะชั้นสูงอยู่ท่ีบริเวณเมืองพัทลุงโบราณ ได้แก่ บริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลาท้ังฝ่ังตะวันตก (อยู่ในเขตจังหวัดพัทลุงในปัจจุบัน) และฝั่งตะวันออก (เมือง พัทลุงโบราณ คือ เขตอาเภอสทิงพระ อาเภอระโนด และอาเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา) ในทานอง เดยี วกัน อุดม หนทู อง (๒๕๓๖ : ๒๔ – ๒๕) ได้เสนอข้อวินิจฉัยเก่ียวกับท่ีมาของโนราว่ามีการแบ่งออกเป็น ๒ กลมุ่ คือ กลมุ่ แรกเห็นวา่ โนราเกิดขึน้ ทางภาคใต้แลว้ แพรข่ น้ึ สู่ภาคกลางเป็นต้นแบบของละครไทย กลุ่มท่ี สองเห็นว่าโนราสืบทอดมาจากทางภาคกลาง (ประเด็นดังกล่าวผู้เขียนพบว่า ในตานานละครอิเหนาของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ (๒๕๐๘ : ๔ – ๑๐) ทรงอธิบาย “ว่าด้วยละคร นอก” ว่า “เดิมนั้นพระเทพสิงหรบุตรของนางศรีคงคา หัดละครท่ีในกรุงศรีอยุธยา ขุนศรัทธาเป็นตัวละคร ของพระเทพสงิ หร ได้พาแบบแผนละครลงไปหัดขึ้นในเมืองนครศรีธรรมราชเป็นปฐม จึงได้เล่นละครสืบมา พวกละครโนราชาตรยี งั ออกชอื่ บชู านางศรีคงคา พระเทพสิงหร และขุนศรัทธาในคาไหว้ครูมาจนทุกวันน้ี”) แนวคดิ ดังกล่าวนี้ สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ (๒๕๓๒ : ๑๕๖ – ๑๗๔) กเ็ ห็นวา่ เดิมโนราเรยี กวา่ “ชาตรี” มาก่อน และ ไม่เช่ือว่ารับมาจากอินเดีย หากแต่น่าจะมีการพัฒนาประสมประสาน การเล่นจากหลายแหล่ง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งจากกลุ่มเพชรบุรี – ศรีอยุธยา และให้น้าหนักกับตานานโนราชาตรีที่ว่าขุนศรัทธาซ่ึงเป็นตัวละคร ของพระเทพสิงหรได้พาละคร จากอยุธยาไปหัดขึ้นในเมืองนครศรีธรรมราชเป็นคร้ังแรก จนเป็นแบบแผน ของโนราชาตรสี ืบมา นอกจากน้ี โสมรศั มี จนั ทรประภา (๒๕๑๒ : ๑๓๓) ก็มีความเห็นในทานองเดียวกันว่า “ความจรงิ โนราเปน็ แบบแผนของกรุงศรีอยุธยาแท้ ๆ เป็นแต่เสียงร้องเพ้ียนไปอย่างเสียงคนปักษ์ใต้เท่านั้น ในสมัยต่อมาการละครแบบกรุงศรีอยุธยาได้ก้าวหน้าเปล่ียนแปลงไปมาก แต่ทางปักษ์ใต้คงแสดงตาม แบบเดิมอยู่จนกระท่ังทุกวันนี้ ดังน้ันถ้าเราใคร่จะดูละครอันเป็นแบบกรุงศรีอยุธยาในสมัยต้น ๆ อย่าง แท้จริงก็ต้องดูโนห์รา” อย่างไรก็ตาม อุดม หนูทอง ให้ความเห็นต่อไปว่า แต่จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม พบว่าเรื่องราวท่ีเก่ียวกับโนรา ไม่ว่าจะเป็นตานานโนรา ตานานสถานท่ี ๆ เก่ียวข้องกับโนรา บทกลอนเก่า ๆ ของโนราโดยเฉพาะบทกาศครู ตลอดจนการยอมรับนับถือครูหมอตายายโนรา ล้วนแต่รู้เรื่องและปฏิบัติ
๓๗ อย่างแพร่หลายมากในบริเวณจังหวัดพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช ซ่ึงมีพ้ืนท่ีติดต่อกับทะเลสาบสงขลา ส่วนจังหวดั ท่อี ย่หู า่ งทะเลสาบออกไปผคู้ นจะรูเ้ ร่ืองและปฏบิ ัติเจอื จางกนั ลงไป ส่วนศิลปะการแสดงโนราจะเกิดขึ้นเอง ภายในท้องถ่ินหรือในชุมชนบริเวณลุ่ม ทะเลสาบสงขลา หรอื ได้รบั อิทธิพลมาจากภายนอกแล้วค่อยพัฒนาการเจริญข้ึนเป็นศิลปะชั้นสูง ของชุมชน ต่าง ๆ ในบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลาหรือไม่นั้น ความในบทร้องกลอนที่เรียกว่าบทบาลีหน้าศาล กล่าวถึง ท่ีมาของโนราตอนหนึง่ วา่ “ชาตเิ ชื้อโนรา เป็นเถรเมืองคนหนึง่ ต้ังพระไตรโลกแล้ว พระแกว้ ราพึง ยงั ขดั ขอ้ งขงึ ส่งิ หน่งึ ไมโ่ ถก ไม่ไดต้ ง้ั ชาตรี ไว้เป็นทีป่ ระโลมโลก ระงับดับโศก สนุกสบาย มาชุมนมุ พร้อมกัน อรหนั ต์ทง้ั หลาย เทพเจา้ จัดไว้ อรหันต์ทง้ั สององค์ ให้ข้ึนไปทูลจิต ตามคดิ ตกลง อรหนั ตท์ ัง้ สององค์ เสดจ็ ตรงขน้ึ ไปเฝาู ขนึ้ กราบบาทบาทา พระผูเ้ ป็นเจา้ รบั อาสาทา้ ว เหมือนท่ีกล่าวชนั้ ตา่ วา่ ในไตรโลกน้ี หาไม่มคี นจะรา เชิญองค์พระธรรม ให้เสดจ็ ลงมา มาชว่ ยสอนคากล่าว ใหข้ า้ พเจ้าทัง้ ห้า รอ้ งเพลงโอชา สวสั ด์ิสัตโต” ความข้อนส้ี อดคล้องกับตานานโนราจากคาบอกเลา่ ของชาวบ้าน ท่ีกล่าวถึงพระผู้ เป็นเจ้า คือ เทพสิงหรท่ีแบ่งภาคจุติลงมาอยู่ในเกสรดอกบัวที่นางนวลทองสาลีเสวย เพ่ือถือกาเนิดในโลก มนุษย์เป็นขุนศรีศรัทธา พระผู้เป็นเจ้าในบทบาลีหน้าศาลและเทพสิงหรในตานานโนราก็คือ พระศิวะ มหาเทพหรือพระอิศวรผู้เป็นต้นกาเนิดแห่งศิลปะการร่ายราและการบันเทิงทั้งปวง อันเป็นคติความเช่ือใน ศาสนาพราหมณ์สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยในเร่ือง ความเป็นมาของโนราของเทวสาโร (๒๕๐๘ : ๕ – ๒๙) ท่ีได้กล่าวถึงความเป็นมาของโนราว่า โนราเป็นการร่ายราสาหรับบูชาเทพเจ้า พระอิศวร พระพรหม พระ
๓๘ นารายณ์ ในศาสนาพราหมณ์ เมื่อพราหมณ์เข้าสู่ภาคใต้ จึงนาการละเล่นชนิดน้ีมาด้วย ส่วนศาสนา พราหมณ์จะเผยแพร่เข้ามายังเมืองพัทลุงและดินแดนบริเวณรอบลุ่มทะเลสาบสงขลาเมื่อใดน้ันเราสามารถ พิจารณาได้จากหลักฐานโบราณคดีในดินแดนแถบน้ีที่ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ดังที่ ประทุม ซุ่มเพ็งพันธ์ (๒๕๓๑ : ๔๗ – ๔๘) กล่าวถึงดินแดนปริมณฑลโดยรอบลุ่มทะเลสาบสงขลาท่ีมีอายุระหว่างพุทธศตวรรษ ท่ี ๑๒ – ๑๘ สรุปได้ว่าเป็นเมืองที่เจริญควบคู่กับเมืองตามพรลิงค์หรือเมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งได้พบ โบราณศิลปวัตถุและศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์จานวนมากแถบคาบสมุทรสทิงพระ อาทิ พระ นารายณ์ พระพิคเณศ ศวิ ลึงค์ ฐานศิวลงึ ค์ และเทวรูปอน่ื ๆ ในศาสนาพราหมณ์ซ่ึงโดยมากสลักขึ้นจากศิลา มีอายุระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๔ ศาสนาพราหมณ์ที่เข้ามาเจริญแพร่หลายบนคาบสมุทรสทิงพระมี ๒ นิกาย คือ ไวษณพนิกาย อันนับถือพระนารายณ์เป็นใหญ่ และไศวนิกายอันนับถือองค์พระศิวะเป็นใหญ่ ศาสนาพราหมณ์นี้คงมีอยู่สืบมาจนถึงสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์และเป็นกลุ่มพราห มณ์ที่มีบทบาท สาคญั สืบเชื้อสายมาถงึ ปจั จบุ ัน ในหนงั สือตานานพราหมณ์เมืองนครศรีธรรมราชได้กล่าวว่า พราหมณ์เมือง พัทลุงเป็นพราหมณ์ พวกโหรดาจารย์ซ่ึงมีต้นสกุลสืบมาแต่เมืองพาราณสีอันเป็นจังหวัดเดียวกับเมืองราม นครนั่นเอง นอกจากนี้ วเิ ชียร ณ นคร (๒๕๒๓ : ๙๔ – ๙๕) ได้กล่าวถึงความเป็นมาของมโนห์ราหรือโนรา สรุปได้ว่า คงมีการร่ายรากันในราชสานักของกษัตริย์ทางภาคใต้มาต้ังแต่คร้ังโบราณกาล และคงเป็นอารย ธรรมของอินเดียภาคใต้ท่ีเข้ามาทางแหลมมลายู และภาคใต้ของไทยก่อนภาคอื่น ๆ จะเห็นว่า “มะโย่ง” ของมลายูนั้นมีลักษณะการแสดงคล้ายโนรา ต่างกันเพียงภาษาและทานองเพลงเท่าน้ันและได้นาเอา ข้อคิดเห็นของธนิต อยู่โพธิ์ มากล่าวไว้ว่า ท่าราแม่บทของโนราชาตรี คล้ายกับ “ท่ากรณะ” ในคัมภีร์ภรต นาฏยศาสตร์ และคล้ายกันมากกับท่าราในแผ่นศิลาจาหลักท่ีบุโรพุทโธ และละครชาตรียังคล้ายคลึงกับ ละครประเภทหนึ่งของอินเดีย ซ่ึงเล่นอยู่ตามแคว้น เบงกอลสมัยโบราณ ที่เรียกว่า “ยาตรา” หมายถึง ละครเรเ่ ลน่ เรือ่ งคีตโควินท์ ประกอบท้ังละครชาตรีท่ีเล่นกันทางปักษ์ใต้แต่โบราณก็เป็นแบบละครเร่เช่นกัน ท้ังคาว่า “ชาตรี” ยังไม่ทราบแน่ว่าแปลว่ากระไร แต่ตัวละครเร่ใน “ยาตรา” ท่ีเล่นเรื่องคีตโควินท์ และ ละครชาตรีเล่นเรื่องพระสุธนนางมโนห์รานั้น ต่างมีตัวละครสาคัญอยู่ ๓ ตัวเช่นกัน จึงมีผู้สันนิษฐานว่าคา ว่า “ชาตรี” อาจกลายมาจาก “ยาตรา” ก็ไดค้ วามขอ้ นี้สอดคล้องกับขอ้ เสนอของ ผาสุข อินทราวุธ (๒๕๒๙ : ๘๙ – ๑๐๕ ที่สรุปว่า ละครโนห์ราชาตรีได้ต้นแบบมาจากละครรากถากลีของอินเดียใต้ โดยเข้ามาทาง คาบสมุทร (ภาคใต้) ของประเทศไทยราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ -๑๖ ซ่ึงเป็นช่วงที่อาณาจักรศรีวิจัย เจริญรุ่งเรือง แต่นิยมเล่นเรื่องราวทางพุทธศาสนานิกายมหายาน คือ เรื่องพระสุธน – นางมโนห์รา แทน เรื่องมหากาพย์รามายณะและมหาภารตะของอินเดีย โดยรับอิทธิพลมาจากนาลันทา (อินเดียภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ) สว่ นชอื่ ชาตรีนนั้ นา่ จะมาจากลกั ษณะ ละครท่ีร่อนเร่ไปแสดงตามที่ต่าง ๆ ชาวอินเดียจาก
๓๙ แคว้นเบงกอล ก็คงเรียกรูปแบบละครเร่ร่อนนี้ว่า ยาตรา ยาตรี (ภาษาสันสกฤต) ซ่ึงสาเนียงเบงกอลี ก็เรยี กวา่ ชาตรา ชาตรีดงั กล่าวแล้ว หากพิจารณาตามตานานโนราและตานานท้องถ่ิน ที่เกี่ยวข้องกับโนรา ที่กล่าวว่า การฝึกหัดร่ายราโนราเกิดขึ้นในราชสานักของพระยาสายฟูาฟาดหรือท้าวโกสินทร์กับนางอินทร กรณีย์ หรือนางอินทิราณี หรือนางศรมี าลา ที่ความในตานานโนรากล่าวว่าเป็นผู้ครองเมืองพัทลุง (บางแก้ว อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง) ดังได้กล่าวแล้วว่าพัฒนาการของโนราท่ีเมืองพัทลุงบางแก้วคงอยู่ในช่วง พุทธศตวรรษท่ี ๑๗ – ๑๙ ซึ่งจากหลักฐานทางโบราณคดี และหลักฐานอ่ืน ๆ ยืนยันได้ว่า ชุมชนโคกเมือง บางแก้วไม่ได้เป็นชุมชนแรกของเมืองพัทลุง เพราะยังมีชุมชนอื่น ๆ ท่ีก่อตัวขึ้นมาต้ังแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์เร่ือยมาจนถึงสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์ไม่ว่าจะเป็นชุมชนบริเวณเขาชัยสน (อาเภอ เขาชัยสน จังหวัดพัทลุง) ชุมชนบริเวณเขาชัยบุรี (อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง) ชุมชนบริเวณเขาคูหา สวรรค์ (อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง) ชุมชนบริเวณบ้านพระเกิด (อาเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง) (ปรีชา กาญจนาคม และมนูญ ทรงกัลยาณวัตร: ๒๕๓๑ : ๕๖ – ๖๔) ตามเพลานางเลือดขาวระบุว่าบ้าน พระเกิดเปน็ ทอี่ ยู่ของตาสามโมยายเพชรสองผัวเมียเปน็ หมอสดา ทาหน้าท่ีจับช้างปุามาฝึกหัดใช้งานและส่ง ส่วยให้เจ้าพระยากรุงสทิงพาราณสีทุกปี (ชัยวุฒิ พิยะกูล. ๒๕๓๘ : ๘๕) เพราะฉะน้ันพัฒนาการของโนรา อาจจะเริม่ ตน้ หรือก่อตวั ข้ึนมากอ่ นหน้าทจี่ ะเกดิ เมืองพทั ลงุ ท่ีบางแกว้ แล้วกไ็ ด้ ณ ท่ีใดที่หน่ึงในชุมชนบริเวณ ลุ่มทะเลสาบสงขลา แต่อาจจะเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือจุดประสงค์เพียงเพ่ือการประกอบพิธีกรรมตามบทบาท หน้าท่ขี องนาฎยกรรมด้านนใ้ี นตอนแรก ๆ ดังจะไดก้ ลา่ วต่อไป ตานานโนราอีกสานวนส่วนหน่ึงท่ีต้องนามาพิจารณา คือ ตานานโนราท่ีปรากฏในรูป กลอน ๔ แมจ้ ะมขี ้อความไมค่ รบสมบรู ณ์ แต่ก็มีประเด็นทีน่ า่ สนใจท่วี า่ “คล่ืนซัดม่ิงมติ ร ไปตดิ เกาะสีชัง สาวนอ้ ยรอ้ ยช่ัง เคืองคัง่ บิดร จับระบาราร่อน ทดี่ อนเกาะใหญ่ ข้าวโพดสาลี มากมถี มไป” คาว่าจับระบาราร่อน หมายถึง ท่าราและเป็นเรื่องราวของการฝึกฝนร่ายราหรือการ ออกไปร่ายราโนราในที่ต่าง ๆ ส่วนคาว่า “ดอนเกาะใหญ่” นั้น หมายถึง แผ่นดินบกหรืออาณาเขตอาเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลาในปัจจุบัน ดังที่ ศรีศักร วัลลิโภดม (๒๕๓๔ : ๑๗ – ๑๙) กล่าวไว้โดยสรุปได้ว่า ย้อนหลงั ขน้ึ ไปถึงกรุงศรอี ยุธยาและกอ่ นหน้านัน้ บรเิ วณน้ียงั ไม่เป็นทะเลสาบ แต่มีเกาะใหญ่ (เกาะสทิงพระ
๔๐ หรือแผ่นดินบก) ท่ีเกิดจากเขาใต้น้าและการทับถมของซากปะการังขวางอยู่ข้างหน้าขนานกับแนวฝ่ังทะเล ปจั จบุ นั เป็นบริเวณจังหวัดพทั ลุง เกาะใหญ่นี้เริ่มแต่หัวเขาแดงไปจนสุดเขตอาเภอระโนด จังหวัดสงขลา ซ่ึง สอดคล้องกบั ท่ี ยงยุทธ ชูแวน่ (๒๕๓๑ : ๑๒๒) กล่าวถงึ เสน้ ทางการค้าในทะเลสาบสงขลาตอนหนึ่งว่า เส้นทางการค้าในทะเลสาบสงขลานั้นนับว่ามีความสะดวกมาก เพราะนอกจากมี ทางออกสู่อ่าวไทยไปปากน้าเมืองสงขลาแล้ว ก็ยังสามารถใช้ทางน้าตอนเหนือของ ทะเลสาบได้อีกด้วย ในสมัยอยุธยาเส้นทางตอนเหนือน้ียังคงกว้างและลึกมากจึงทาให้ แผ่นดินทางฝ่ังตะวันออกท่ีเรียกว่า คาบสมุทรสทิงพระในปัจจุบันมีลักษณะเป็นเกาะ ดังที่ ปรากฏอยู่ในแผนท่ีของชาวตะวันตก พวกเขาได้บันทึกเรียกช่ือเกาะน้ีแตกต่างกันออกไป ตามระยะเวลา คือ ในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๗ เรยี กว่า Coeteleficos ตอนต้นคริสต์ศตวรรษ ท่ี ๑๘ เรียกว่า I le de papir หรือ I le de ligor ในตอนกลางศตวรรษเรียกว่า Tantalem และในปลายคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ เรยี กว่า Koyai... ดังน้ันคาว่า “ดอนเกาะใหญ่” ท่ีกล่าวไว้ในตานานโนราไม่ได้เป็นคาที่กล่าวขึ้นมาลอย ๆ เป็นไปได้หรือไม่ว่าในช่วงพัฒนาการของโนราในระยะแรก ๆ จะเกิดข้ึนในเกาะใหญ่ หรือบริเวณที่เรียกว่า คาบสมุทรสทิงพระ เพราะ “การละเล่นโนรามีมาก่อนน้ันแล้วช้านาน และสืบต่อรับช่วงกันมาจนถึงพวก ราชครทู ่เี ปน็ ผ้ฝู ึกสอนเจ้าเทพสงิ หรกับนางนวลทองสาลี หรอื ศรีคงคา” (เยี่ยมยง สุรกิจบรรหาร และภิญโญ จิตต์ธรรม. ๒๕๐๘ : ๓๑) หลังจากน้ันประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ เมืองสทิงพระเร่ิมเส่ือมอานาจลง เนื่องจากเป็นเมืองขนาดเล็กตั้งอยู่ใกล้ทะเลอ่าวไทยมากเกินไป ประกอบกับโจรสลัดมาเลย์จาก ชวา สุมาตรา ยกกาลังเข้าปล้นสดมทาลายเมืองหลายคร้ัง จึงทาให้เมืองสทิงพระเส่ือมลงอย่างรวดเร็ว (ชัยวุฒิ พิยะกูล. ๒๕๓๘ : ๑๓๓) ในขณะเดียวกันทางฝั่งตะวันตกของทะเลสาบสงขลาก็เกิดเมืองพัทลุงท่ีโคกเมือง บางแก้ว เป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครอง ศูนย์กลางทางศาสนา และศิลปวัฒนธรรมแทนเมือง สทงิ พระ อนั เปน็ ช่วงสมยั ท่ี “โนรามพี ัฒนาการมาจากศลิ ปะชัน้ สงู จนกลายเปน็ นาฎกรรมของราชสานักและ ของท้าวพระยามหากษัตริย์ในภาคใต้” (สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. ๒๕๒๙ : ๑๘๐๔ - ๑๘๑๙) น่ันคือศิลปะ การละเล่นโนราได้เป็นท่ียอมรับของประชาชน และราชสานักในหัวเมืองพัทลุงจนพัฒนาเป็นศิลปะชั้นสูง แล้วแพร่กระจายไปยังชุมชนตา่ ง ๆ ในบรเิ วณรอบลุ่มทะเลสาบสงขลา กรณีการเรียกชื่อการราโนราว่า “ชาตรี” และคาว่า “ละครชาตรี” นั้นมีท่ีมาอย่างไร อาศัยความในตานานโนรา บทกาศครูโนรา บทร้องกลอนโนรา (บทบาลีหน้าศาล) ต่างเรียกโนราว่า
๔๑ “ชาตรี” ตัวอย่างเช่น “ก่อเก้ือกาเนิด คราเกิดชาตรี ปางหลังยังมีเม่ือครั้งต้ังดิน” หรือ “นับตั้งแต่นั้นมา เรียกว่าชาตรี ประวัตวิ า่ มีเท่าน้ีแหละหนา” หรือ “จะขึ้นข้อต่อตั้ง คร้ังเม่ือเกิดชาตรีในทวีปชมพู ตรัสรู้ถ้วน ถ่ี” ความข้อน้ีสอดรับกับที่ สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ (๒๕๔๒ : ๓๘๗๑) ได้อธิบายเอาไว้ว่า อาศัยหลักฐานจาก ตานานจากวรรณกรรมท้องถ่ิน แม้แตใ่ นวรรณคดีของภาคกลางเช่นบทพระราชนพิ นธ์เร่ืองอิเหนา ในรัชกาล ท่ี ๒ (ตอนอภิเษกอิเหนาและราชบุตรราชธิดาสี่พระนครว่า “ชาตรีมีแต่ล้วนชาวตลุงซักกันนุงตามถนน แหง่ กรวดลาว” เมอื่ ชาตรแี พรห่ ลายสภู่ าคกลาง ชาวภาคกลางเห็นว่ามีลักษณะใกล้ละครจึงเรียกว่า “ละคร ชาตรี” และพบหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรว่ามีการเรียกชาตรีเป็น “มโนห์ราชาตรี” ในวรรณกรรม ทอ้ งถ่นิ เร่อื ง “มโนห์รานิบาตคากาพย์” ฉบับวัดมัชฌิมาวาสฯ สงขลา ซึ่งบ่งว่าเขียนเสร็จปี พ.ศ. ๒๔๑๑ใน ตอนท่ีกล่าวถึงการมหรสพในพิธีสมโภชพระสุธนนางมโนห์ราว่า “มโนราชาตรี” ร้องบทเมรี ชมสวนชวน สมร ราเม่ือกินเหล้า เคล้าคลอ ชวนนอน ลักยาพาจร เมรีมัวเมา” ซึ่งบ่งชัดว่าแม้จะเล่นเร่ืองอื่น ท่ีไม่ เก่ียวกับเร่ืองนางมโนห์รา ก็เรียกการละเล่นชนิดนี้ว่า “มโนราชาตรี” ในเรื่องการแพร่กระจายของละคร ชาตรหี รือละครโนราชาตรเี ขา้ ส่ภู าคกลางและ/หรือกรุงเทพฯนั้น มนตรี ตราโมท (๒๕๔๐ : ๕ – ๖) ก็กล่าว ว่า การท่ีละครชาตรีเข้ามาแพร่หลายอยู่ในกรุงรัตนโกสินทร์นี้มีเค้าว่าเข้ามาจากจังหวัดภาคใต้ได้ ๓ คราว คราวแรกใน พ.ศ. ๒๓๑๒ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเสด็จยกกองทัพลงไปปราบปรามจับตัวเจ้านคร และพา ข้นึ มากรุงธนบรุ พี รอ้ มดว้ ยพวกละคร คราวที่ ๒ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๒๓ ในการฉลองพระแกว้ มรกต โปรดให้ละคร ของเจา้ นครขน้ึ มาแสดง ปรากฏว่าได้แสดงประชันกับละครผู้หญิงของหลวงด้วย คราวท่ี ๓ เมื่อรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ และแพร่หลายมาจนทุกวันน้ี มีข้อความในข้อเขียนของมนตรี ตรา โมท (๒๕๔๐ : ๕ – ๖) ซ่ึงผู้เขียนเหน็ ว่าจะสะท้อนสภาพการเมอื งการปกครอง เศรษฐกจิ และผลกระทบต่อ สถานภาพ บทบาท และการปรับตัวของละคร (โนรา) ชาตรี ในชุมชนบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา พ.ศ. ๒๓๕๗ (รัชกาลท่ี ๓) – พ.ศ. ๒๔๖๔ (รัชกาลที่ ๖ เป็นช่วงเวลาท่ีสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารง ราชานุภาพทรงพระนพิ นธต์ านานละครอิเหนา) ความวา่
๔๒ เม่ือเจ้าพระยาคลัง๑ (สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ “ดิศ บุญนาค”) ได้ กรธี าทัพลงไปปราบปรามระงบั เหตกุ ารณท์ างหวั เมืองภาคใต้บงั เอิญในปีน้ันฝนแล้ง น้าน้อย ข้าวแพง ราษฎรอดอยาก ขณะที่เจ้าพระยาพระคลังยกทัพกลับกรุง ชาวเมือง นครศรีธรรมราชเมืองพัทลุง และเมืองสงขลา จึงขออพยพติดตามกองทัพมาด้วย เมื่อเข้า มาถึงกรุง ข้าวก็แพงอยู่ ข้าวเปลือกราคาถึงเกวียนละ ๔๐ ถึง ๕๐ บาท ข้าวสารถังละ ๑ บาท ถึง ๑ บาท ๑ เฟอ้ื ง (ถ้าเทยี บกับสมัยนี้ก็ยังถูกกว่าราว ๒๕ เท่า) พระบาทสมเด็จพระ นัง่ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัวจึงโปรดใหช้ ว่ ยชาวนครศรีธรรมราช ชาวพัทลุง และชาวสงขลา ที่กองทัพ พามาโดยคิดราคาข้าวและคา่ ตัวใหแ้ กบ่ รรดามูลนายและให้ต้ังบ้านเรือนอยู่ ณ ตาบลสนาม กระบือ (คือบริเวณถนนหลานหลวงและถนนดารงรักษ์ในบัดน้ี) หัดเป็นช่างปูนช่างศิลาไว้ ช่วยราชการเรียกว่า “ไพล่หลวงเกณฑ์บุญ” แต่บรรดาชาวนครศรีธรรมราช ชาวพัทลุง และชาวสงขลาเหล่านี้ มีผู้ท่ีสามารถในการแสดงละครชาตรีอยู่เป็นอันมาก จึงได้รวบรวม กนั ต้ังเปน็ คณะละครรับเหมาแสดงในงานต่าง ๆ ต่อมา ก็เป็นท่ีพอใจของชาวกรุง จนเป็นที่ ขึ้นชื่อลือนามละครชาตรี ตาบลสนามกระบือ (เรียกกันเป็นสามัญว่า สนามควาย) และ ฝึกหดั สืบตอ่ กันมาจนถึงทุกวันนี้ แต่ในเวลาน้ีละครชาตรีถูกความกดดันจากละครประเภท อ่ืนและลิเก จนทาให้ใกล้จะเสื่อมสูญไปส้ินแล้วแม้ที่แสดงกันอยู่ทั่ว ๆ ไป ก็เพียงไหว้ครู และราซดั ตอนต้นตามแบบละครชาตรนี ิดหนอ่ ยพอเข้าเร่ืองกก็ ลายเป็นละครนอกปนลิเกไป หมด ส่วนคาว่า มโนห์รา หรือโนรา น่าจะเป็นช่ือที่เรียกกันภายหลังด้วย “ละครชาตรีน้ีได้ แพรห่ ลายเป็นที่นิยมอยูใ่ นจงั หวดั ภาคใต้ของไทย แต่สมัยโบราณเห็นจะนิยมแสดงแต่เรื่อง มโนห์รา (พระสุ ธน – นางมโนราห์) กันเป็นพ้ืน ชาวปักษ์ใต้ซ่ึงชอบพูดตัดพยางค์หน้าจึงเรียกละครแบบน้ีว่า โนห์รา” (มนตรี ตราโมท. ๒๕๔๐ : ๕) หรือ “ความนิยมเล่นเร่ืองน้ี (บางตอนของนิทานเร่ืองพระสุธน) บ่อย ๆ (โดยเฉพาะแสดงในพิธีโกนจุก) สาเหตุเหล่าน้ีทาให้ชาวบ้านพากันขานชื่อ “มโนห์รา” จนติดปากแทนคา ๑ เจ้าพระยาพระคลัง หรือสมเด็จพระยามหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุญนาค)ได้เป็นแม่ทัพใหญ่ท่ีรัชกาลท่ี ๓ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ยกกองทัพเรือลงไปอีก ๑ ทัพ เม่ือวันอาทิตย์เดือน ๔ แรม ๒ค่า ปีมะโรง จัตวาศก พ.ศ ๒๓๗๔ เพ่ือลงไปช่วยทัพหลวงท่ียกไปจากกรุงเทพเพ่ือปราบเมืองไทรบุรี และหัวเมือง แขก ท้ัง ๗ ที่เป็นกบฏ แต่เม่ือไปถึงสงขลา ก็ทราบว่าเจ้าพระนคร (น้อย) เมืองนครศรีธรรมราช และกองทัพเมืองพัทลุง (พระปลัดจยุ้ จันทโรจวงศ์) ไดป้ ราบกบฏไทรบุรีและหัวเมืองราบคาบแลว้ (ชัยวฒุ ิ พิยะกูล ๒๕๒๗ : ๕๔)
๔๓ ชาตรี แล้วต่อมา “มโนหร์ า” กก็ ลายเป็น “โนรา” ตามความนิยมตัดทอนพยางค์ของภาษาถ่ินใต้ ในท่ีสุดคา “ชาตรี” มผี เู้ รียกน้อยลงและสูญหายไป” (สุธวิ งศ์ พงศ์ไพบูลย.์ ๒๕๔๒ : ๒๘๗๑) ๓. ความเปน็ มาของประเพณีการราโนราโรงครู กรณีความเป็นมาของประเพณีการราโนราโรงครู โนราโรงครูจะมีมาแต่เมื่อใดน้ันไม่ ปรากฏหลกั ฐานแน่ชดั สนั นิษฐานกันว่าคงจะมีมาพร้อมกับการเกิดโนราของภาคใต้เช่นเดียวกับการไหว้ครู ของศิลปะการละเล่น และการแสดงอื่น ๆ ดังที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ (๒๕๐๗ : ๖๐ – ๖๑) ทรงนพิ นธเ์ รอื่ งประเพณีละครโนราชาตรไี วใ้ นตานานละครอิเหนา ตอนหน่ึงวา่ การฝึกหัดละครโนราชาตรีเม่ือหัดราเพลงครูได้แล้วจึงสอนให้ท่องบท เพราะ ละครโนราชาตรยี งั ใชร้ ้องกลอนสด (เหมอื นอยา่ งเลน่ เพลงหรือลิเก) ไม่มีหนังสือบทอย่าง ละครในกรุงเทพฯ แล้วสอนให้ร้องและราท่าบทไปจนพอทาได้ ผู้เป็นครูหัดจึงพาไปให้ ครูใหญ่ครอบ เรียกว่า “เข้าครู” อันลักษณะครอบละครโนราชาตรีนั้น จะนิมนต์พระ สวดมนต์ฉันเช้าด้วยหรือไม่ก็แล้วแต่ใจ ไม่จาเป็น การท่ีทาพิธีครูใหญ่เอาเทริดแขวนไว้ กลางโรงพิธีตรงใต้เทริดนั้น ตั้งขันสาครลายสิบสองนักษัตรคว่า แล้วปูหนังเสือไว้บนก้น ขันลักษณะท่ีจะครอบครูใหญ่ให้เด็กขึ้นไปนั่งบนก้นขันแล้วปลดเอาเทริดลงมาครอบ ศีรษะให้แล้วให้เด็กลุกข้ึนราเพลงครูเข้ากับป่ีพาทย์จนจบลง แล้วเอาเทริดกลับไปแขวน ไว้อย่างเดิม ทาอย่างนั้นทีละคน ไปจนหมดตัวผู้ที่จะเป็นละคร ก็เป็นเสร็จพิธีครอบ ส่วนตัวจาอวดมักเกิดแต่พวกปี่พาทย์ หรือลูกคู่ท่ีชอบเล่นเป็นจาอวด เคยเห็นละครชิน เข้ากเ็ ลยเป็นตวั ละครไป ไม่หดั รามาแตเ่ ดิม ในตานานโนราท่ีเล่าโดยโนราวัดจันทร์เรือง ตาบลพังยาง อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา ได้เล่าถึงการราโนราโรงครูครั้งแรกว่า เป็นการราของอจิตกุมาร ซึ่งเป็นบุตรของนางนวลทองสาลี และได้ เดินทางกลับถึงเมืองบิญจาในวันพุธตอนบ่ายโมง เพ่ือเฝูาพระเจ้าตาคือพระยาสายฟูาฟาด อจิตกุมารได้ทา พิธีอัญเชิญพระพ่ีเลี้ยงเชิญพระยาหงส์ทอง พระยาหงส์เหมราช ที่เคยหลบหนีไปกลับบ้านเมือง โดยทาพิธี โรงครู ตั้งเคร่ืองสิบสอง เชิญครูเก่าแก่ให้มาดูการราถวาย มากินเคร่ืองบูชาและเชิญพระพ่ีเลี้ยงคนอ่ืน ๆ กลับมาด้วย อจิตกุมารราถวายครูเป็นเวลา ๓ วัน ๓ คืน ถึงวันศุกร์จึงเชิญครูทั้งหมดให้กลับไป พระยา สายฟูาฟาดได้ประทานเคร่ืองทรงของกษัตริย์ให้ และเปลี่ยนช่ือนางนวลทองสาลีเป็น ศรีมาลา เปล่ียนชื่อ อจิตกุมาร เป็นเทพสิงสอน การราโรงครูของอจิตกุมารหรือเทพสิงสอนในคร้ังน้ัน จึงเป็นที่มาของการรา
๔๔ โนราโรงครูในปัจจุบัน ส่วนตานานท้องถ่ินในเขตจังหวัดพัทลุง กล่าวถึงที่มาของการราโนราโรงครูว่า เมื่อ นางนวลทองสาลี ถกู เนรเทศโดยการลอยแพ และแพไปตดิ อยู่ที่เกาะกะชัง (เช่ือกันว่าเป็นส่วนหน่ึงของเกาะ ใหญ่ในทะเลสาบสงขลา อาเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา) นางนวลทองสาลีได้ไปอาศัยอยู่กับตายายที่ เทพยดาเนรมิตให้มาช่วยเหลือนาง คือ ตาพราหมณ์ ยายจันทร์ (บางตานานเรียกว่า ตายายพราหมณ์ จันทร์) ส่วนนางนวลทองสาลีก็ได้ช่วยตายายด้วยการป่ันฝูายทอผ้าเป็นการตอบแทนบุญคุณ คร้ังพระยา สายฟาู ฟาดทรงนาทหารไปรบั นางนวลทองสาลกี ลับบ้านเมอื ง นางจึงได้ราโนราเพื่อถวายเทวดาและบูชาตา ยายทั้งสอง อันเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อตายายที่ให้การช่วยเหลือนาง การราโนราถวายเทวดา และบชู าตายายของนางนวลทองสาลีในครั้งนี้ ถือว่าเป็นการราโนราโรงครูคร้ังแรกของโนรา และปฏิบัติสืบ ตอ่ กันมาจนถงึ ปัจจุบัน (พทิ ยา บุษรารัตน.์ ๒๕๒๕ : ๑๔๒) กล่าวได้ว่าความเป็นมาของโนราโรงครู นอกจากจะปรากฏในตานานแล้ว โนราโรงครูคง เป็นพิธีกรรมเพื่อการไหว้ครู ครอบครู ที่มีมาพร้อมกับการเกิดโนราในภาคใต้เช่นเดียวกับศิลปะการละเล่น และการแสดงอ่ืน ๆ นน่ั เอง ๔. รปู แบบและเนอ้ื หาของโนราโรงครู ชนดิ ของโนราโรงครู โนราโรงครูแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ โนราโรงครูใหญ่ และโนราโรงครูเล็ก โนราโรงครูใหญ่ หมายถึง โนราโรงครูเตม็ รูป ปกตกิ ารราโนราโรงครูใหญท่ ากัน ๓ วันจึงจบพธิ ี เริ่มตัง้ แต่วันพธุ ไปส้นิ สุดในวัน ศกุ ร์ และจะต้องทากันเป็นประจา เช่น ทุกปี ทุกสามปี ทุกห้าปี แล้วแต่จะกาหนด การราเช่นน้ีจาเป็นต้อง ใช้เวลาเตรียมการนาน ใชท้ นุ คอ่ นข้างสูง ตั้งแต่การปลูกสร้างโรงการติดต่อคณะโนรา การเตรียมเคร่ืองเซ่น ไหว้ และการเตรียมอาหารเพอ่ื จัดเลี้ยงแขกทม่ี าร่วมงาน เป็นต้น ส่วนโนราโรงครูเล็ก หมายถึงการราโรงครู อย่างย่นย่อใช้เวลาราเพียง ๑ คืนกับ ๑ วันเท่าน้ัน ปกติจะเข้าโรงครูในตอนเย็นของวันพุธไปสิ้นสุดในวัน พฤหัสบดี การราโนราโรงครเู ลก็ มีจดุ มุ่งหมายเช่นเดียวกับการราโนราโรงครูใหญ่ แต่ไม่อาจทาพิธีให้ใหญ่โต เท่ากับการราโนราโรงครูใหญ่ได้ เพราะมีปัญหาเรื่องเวลา ความไม่พร้อมในด้านอื่น ๆ ดังน้ันเม่ือถึงวาระที่ ตอ้ งทาการบูชาครูหมอโนราหรือตายายโนราตามที่ได้ตกลงไว้ เช่นถึงวาระสามปี ห้าปี จึงได้ทาพิธีอย่างย่น ย่อเสียก่อนสักคร้ังหนึ่งเพื่อมิให้ผิดสัญญาต่อครูหมอโนราหรือตายายโนรา การทาพิธีอย่างย่นย่อเช่นนี้ เรยี กว่า “การราโรงครเู ลก็ ” หรือ “การค้าครู” หรือ “โรงแก้บนค้าครู” ซึ่งหมายถึงค้าประกัน การค้าครูจึง มีจุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อยืนยันว่าตนเองเป็นเช้ือสายโนราและยังไม่ลืมเคารพนับถือครูหมอโนรา โดยทั่วไป การค้าครูเพื่อไม่ให้ตัวเองถูกลงโทษจากครูหมอโนราหรอื ตายายโนรา แม้วา่ ผูท้ าพิธีน้ีจะไม่ราโนราแล้วก็ตาม
Search