Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยที่มีผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสำหรับเยาวชนหญิง

การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยที่มีผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสำหรับเยาวชนหญิง

Description: การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยที่มีผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสำหรับเยาวชนหญิง.

Search

Read the Text Version

102 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยที่มผี ลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อส�ำ หรับเยาวชนหญิง สรปุ ผลการวจิ ยั อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การศกึ ษาวจิ ยั นี้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ สำ� หรบั เยาวชน หญิง เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบรูปแบบการฝึกมวยไทยที่จ�ำแนกการฝึกตามโปรแกรมและฝึกตามปกติ กลุ่มตัวอย่างท่ี ใช้วิจัยในครงั้ นี้ คอื สมาชิกศูนยอ์ นรุ กั ษ์ศิลปะมวยไทย กล่มุ อนุรักษศ์ ิลปะมวยไทย กรมพลศึกษา จ�ำนวน 50 คน เพศหญิง โดยแบง่ เปน็ กลมุ่ ควบคมุ 25 คน และกลมุ่ ทดลอง 25 คน ซงึ่ มอี ายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปี ซง่ึ สมาชกิ ทส่ี มคั รเขา้ รว่ มงานวจิ ยั ทกุ คน สามารถอยูร่ ว่ มงานวิจยั ได้จนครบกำ� หนด ขั้นตอนการวจิ ยั ประกอบดว้ ย 2 ข้นั ตอน คือ การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทย ส�ำหรับเยาวชนหญิง และการเปรียบเทียบการฝึกมวยไทยระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม โดยให้ทั้งสองกลุ่มได้รับ ทราบถึงโปรแกรมการฝึกมวยไทย รวมถึงค�ำแนะน�ำจากผู้วิจัยถึงหลักการฝึกมวยไทย หลังจากชี้แจงเสร็จส้ินจึงแบ่งกลุ่ม การฝึกตามโปรแกรมท่ีผู้วิจัยออกแบบ (DPE Program) เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ หลังจากน้ันท�ำการทดสอบตัวแปร ของสรีรวิทยาท่ัวไป ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือและการทดสอบสุขสมรรถนะก่อน (pre–test) และหลัง (post–test) นำ� ผลท่ไี ด้ไปทดสอบเปรยี บเทยี บค่าความแตกตา่ งระหวา่ งก่อนและหลงั การฝึกการออกก�ำลงั กายดว้ ยการทดสอบทางสถติ ิ สรุปผลการวิจยั ผลการวิจยั พบวา่ 1. รูปแบบการฝึกมวยไทยท่ีผู้วิจัยได้ออกแบบเรียกว่า (DPE Program) สำ�หรบั เยาวชนหญงิ อายรุ ะหวา่ ง 15 – 25 ปี ประกอบไปดว้ ย 3 ขน้ั ตอน คอื ขน้ั ตอนท่ี 1 การอบอนุ่ ร่างกาย (warm up) ใชเ้ วลา 5 – 10 นาที มที งั้ หมด 10 ทา่ (ภาคผนวก ช) ได้แก่ 1) การยดื กลา้ มเนอ้ื ไหล่ ขา หลงั สะโพก 2) การยืดกล้ามเนอื้ หนา้ ขา ลำ� ตัว และคอ 3) การยดื กลา้ มเนอื้ ขา และปลายเทา้ 4) การเดนิ ก้มแตะ 5) การว่งิ ไขวข้ า 6) การยืดกล้ามเน้อื ลำ� ตัว หัวไหล่ แขน 7) เดนิ หนา้ ชกหมัดหนา้ 10 ครง้ั ซ้าย/ขวา 8) เดนิ หน้าเตะตรง 10 ครงั้ ซ้าย/ขวา 9) วงิ่ จ๊อกกงิ้ กบั ท่ี 15 วินาที 10) กระโดดตบมือ 10 คร้ัง 11) กระโดดเชอื ก 10 ครัง้

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 103 ข้ันตอนที่ 2 การฝกึ มวยไทย (Muaythai Training) ประกอบไปดว้ ยการใชอ้ วยั วะรา่ งกาย 4 สว่ น ไดแ้ ก่ หมัด เท้า เขา่ และศอก ซึง่ ในแตล่ ะอวัยวะจะท�ำซ้�ำ 10 คร้งั จ�ำนวน 3 เซต็ และท�ำการพักระหว่างเซ็ต 10 วินาที ก่อนที่จะฝึกในทา่ ถดั ไป โดยมีผูช้ ่วยวิจยั ควบคุมดูแลการฝกึ ใหเ้ ป็นไปตามโปรแกรมและหลักการฝกึ ที่ถูกตอ้ ง (ภาคผนวก ช) ลำ�ดบั ที่ ท่าการฝึก จำ�นวนครง้ั พกั ระหวา่ งเซต็ จำ�นวนเซ็ต พกั ระหวา่ งเซต็ สัปดาห์ รอบการฝึก 1 หมัดตรงหน้า 10 3 10 2 หมดั ตวดั 10 10 วินาที 3 10 วินาที 10 3 หมดั เสย 10 3 10 4 หมดั เหวีย่ ง 10 3 10 5 เตะตรง 10 10 วนิ าที 3 10 วินาที 10 6 เตะตัด 10 3 10 7 ถีบตรง 10 10 วนิ าที 3 10 วนิ าที 10 ทำ�การฝกึ 3วนั /สปั ดาห์ 8 กระโดดถีบ 10 3 10 ฝกึ วนั เวน้ วนั (รวม 10 3 10 สัปดาห)์ 9 ศอกตี 10 10 ศอกตัด 10 10 วินาที 3 10 วนิ าที 10 11 ศอกกลับ 10 3 10 12 เข่าตรง 10 3 10 13 เขา่ เฉียง 10 10 วนิ าที 3 10 วนิ าที 10 14 เขา่ ลอย 10 3 10 15 เขา่ กระทงุ้ 10 3 10 หมายเหตุ : หากได้รับบาดเจ็บจากการฝึกควรหยุดพัก โดยโปรแกรมการฝกึ (DPE Program) ไดผ้ า่ นกระบวนการทดสอบตวั อยา่ ง (Pilot) จำ� นวน 3 คน แลว้ พบวา่ ทา่ ทาง ที่ผา่ นการคดั เลือกจากผูเ้ ชย่ี วชาญด้านมวยไทยนั้น สามารถเพ่มิ ความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื มดั ใหญโ่ ดยรวมของหมดั , เท้า, เขา่ , ศอก เพม่ิ มากขน้ึ และเปน็ การฝกึ สว่ นบนของรา่ งกาย (Upper Body) สลบั กบั สว่ นลา่ งของรา่ งกาย (Lower Body) ตาม หลกั การฝกึ ความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื แบบอดทน (Endurance Strength) คอื ความสามารถของกลา้ มเนอ้ื ท่จี ะทำ� งาน โดยไมเ่ หน่ือยล้าและมีความแข็งแรงไดเ้ ป็นเวลานานๆ โดยกีฬามวยไทย ต้องฝกึ รูปแบบนีจ้ ึงจะเกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด

104 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยทีม่ ีผลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื สำ�หรับเยาวชนหญิง ขัน้ ตอนที่ 3 การคลายอุ่นรา่ งกาย (cool down) ใช้เวลา 5–10 นาที มีทง้ั หมด 10 ท่า (ภาคผนวก ช) ได้แก่ 1. ท่าไหว้ครูเทพพนม โดยการคัดเลือกรูปแบบการคลายอุ่นร่างกายจาก 2. ท่าไหว้ครูกม้ กราบ ท่าท่างการไหว้ครูมวยไทย ซึ่งเป็นการประยุกต์รูปแบบ 3. ท่าไหวค้ รูกอบพระแม่ธรณี การ cool down ใหส้ อดคล้องกับโปรแกรมการฝกึ ตาม 4. ทา่ ไหว้ครูถวายบังคม DPE Program ที่ต้องการให้เป็นการฝึกและอนุรักษ์ 5. ท่าปฐม มวยไทยไปพร้อมกัน สร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวของ 6. ท่าพรหม กรมพลศึกษา ในการฝึกมวยไทยส�ำหรบั เยาวชนหญิง 7. สอดสรอ้ ยมาลา 8. ท่าพรหมยืน 9. หนุมานแหวกเมฆ 10. ยา่ งสุขเกษม 2. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 2.1 รปู แบบการฝกึ มวยไทยกลมุ่ ทดลอง มคี า่ เฉลยี่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของคา่ สขุ สมรรถนะในทกุ คา่ (นำ�้ หนกั , ดชั นมี วลกาย, เปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมนั , อตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพกั , ความดนั โลหติ ขณะหวั ใจบบี ตวั ในขณะพัก และความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัวในขณะพัก) ที่ไม่แตกต่างกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมี นยั ส�ำคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .05 2.2 รูปแบบการฝึกมวยไทยกลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่าสุขสมรรถนะเกือบ ทุกค่า ยกเวน้ น้�ำหนกั ตวั (ดชั นมี วลกาย, เปอร์เซน็ ต์ไขมัน, อัตราการเต้นของหัวใจขณะพกั , ความดันโลหิต ขณะหวั ใจบบี ตัวในขณะพัก และความดันโลหติ ขณะหวั ใจคลายตัวในขณะพัก) ที่ดกี ว่ากลุม่ ควบคุม อย่างมี นัยสำ� คัญทางสถิติทรี่ ะดบั .05 2.3 รูปแบบการฝึกมวยไทยกลุ่มทดลอง มีค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่าความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือในทกุ คา่ (ลุกนั่ง, ดันพนื้ , Deep Squat, Hurdle Step, Incline Lunge, Shoulder Mobility, Active Stranght-leg, Trunk Stability Push Up และ Rotary Stability) ที่ไมแ่ ตกต่างกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมนี ัยส�ำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 2.4 รูปแบบการฝึกมวยไทยกลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่าความแข็งแรงของ กลา้ มเนอ้ื ในทกุ คา่ (ลกุ นง่ั , ดนั พน้ื , ทา่ Deep Squat, ทา่ Hurdle Step, ทา่ Incline Lunge, ทา่ Shoulder Mobility, ทา่ Active Stranght-leg, ทา่ Trunk Stability Push Up และท่า Rotary Stability) ท่ีดกี วา่ กลุ่มควบคุม อยา่ งมีนัยสำ� คัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .05

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 105 อภิปรายผล มวยไทย ก�ำลังเป็นท่ีนิยมอย่างสงู ในปจั จุบนั การเรยี นรู้วธิ ีการออกก�ำลงั กายด้วยทกั ษะมวยไทยทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวยั จะชว่ ยทำ� ใหก้ ลา้ มเนอ้ื กระชบั และแขง็ แรงไดด้ ขี น้ึ เรว็ ขน้ึ มคี วามยดื หยนุ่ มากขนึ้ สามารถทรงตวั ไดด้ ขี นึ้ เคลอ่ื นไหวอยา่ งอสิ ระนมุ่ นวล ผอ่ นคลายความเครยี ดไดด้ ี โปรแกรมทผ่ี วู้ จิ ยั พฒั นาขนึ้ นเ้ี หมาะสำ� หรบั เยาวชนหญงิ ทกี่ ำ� ลงั มพี ฒั นาการความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื โดยการคดั เลอื กทา่ ทางการฝกึ ในทา่ ทางทไี่ มซ่ บั ซอ้ นเกนิ ไปเหมาะสม กับช่วงอายุและมีการออกก�ำลังที่มัดกล้ามเน้ือหลักเป็นส่วนใหญ่ การฝึกสามารถเพ่ิมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ บรเิ วณแขน กลา้ มเน้ือบรเิ วณขา ได้เป็นอยา่ งดี จากการเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ สขุ สมรรถนะระหวา่ งกลมุ่ ทดลองกบั กลมุ่ ควบคุมกอ่ นการทดลอง ได้แก่ (นำ�้ หนัก, ดชั นมี วลกาย, เปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมัน, อตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพกั , ความ ดนั โลหติ ขณะหวั ใจบบี ตวั ในขณะพกั และความดนั โลหติ ขณะหวั ใจคลายตวั ในขณะพกั ) พบวา่ ไมแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ ง มนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ซง่ึ บง่ บอกไดเ้ ปน็ อยา่ งดวี า่ การคดั เลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งทงั้ สองกลมุ่ มคี วามใกลเ้ คยี งกนั ทางด้านสรรี วทิ ยาและช่วงอายุ ซ่ึงจะไม่สง่ ผลกระทบต่อผลการทดลองและใกล้เคียงกับความเปน็ จริงมากทส่ี ดุ จากการเปรยี บเทยี บรปู แบบการฝกึ มวยไทยกลมุ่ ทดลอง พบวา่ มคี า่ เฉลยี่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ สขุ สมรรถนะเกอื บทกุ คา่ ยกเวน้ นำ�้ หนกั ตวั (weight) เพยี งคา่ เดยี วและคา่ ดชั นมี วลกาย (BMI), เปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมนั (%FAT), อตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพกั (HRR), ความดนั โลหติ ขณะหวั ใจบบี ตวั ในขณะพกั และความดนั โลหติ ขณะหวั ใจคลายตวั ในขณะพัก (BP) ทีด่ กี วา่ กลมุ่ ควบคุม อยา่ งมนี ัยสำ� คญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 ชใี้ ห้เห็นวา่ โปรแกรมการฝึกมวยไทย ที่ออกแบบโดยผู้วิจัยส่งผลให้ค่าสุขสมรรถนะด้านต่างๆ ของร่างกายดีข้ึนและดีกว่ากลุ่มท่ีไม่ได้รับการฝึก ตามรูปแบบมวยไทย (DPE Program) โดยค่าน�้ำหนักตัว (weight) ของกลุ่มทดลองลดลงและกลุ่มควบคุม ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และในส่วนของ ค่าดัชนีมวยกาย (BMI) ของ กล่มุ ทดลองลดลง คิดเป็น 90.23% และกลุ่มควบคมุ 98.27% เปอร์เซ็นต์ไขมนั (%FAT) กลมุ่ ทดลองลดลง คิดเป็น 84.23% และกลุ่มควบคุม 99.02% อัตราการเต้นหัวใจขณะพัก (HRR) ของกลุ่มทดลองลดลง 87.73% และ กลุ่มควบคุม 97.76% ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว (Systolic blood pressure) ของกลุ่มทดลองลดลง คิดเปน็ 94.38% และกลุ่มควบคมุ 98.83% ความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัว (Diastolic blood pressure) ของ กลุ่มทดลองลดลง คิดเป็น 93.78% และกลุ่มควบคุม 99.42% โดยลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวา่ ผลจากการฝกึ มวยไทยตามโปรแกรม (DPE Program) ทำ� ใหค้ า่ สขุ สมรรถนะของเยาวชนหญงิ อายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปโี ดยรวมดีขนึ้

106 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยท่ีมผี ลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ ส�ำ หรบั เยาวชนหญิง จากการเปรียบเทียบรูปแบบการฝึกมวยไทยกลุ่มทดลอง พบว่า มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของ คา่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ ในทุกค่า (ลกุ นั่ง, ดนั พ้ืน, Deep Squat, Hurdle Step, Incline Lunge, Shoulder Mobility, Active Stranght-leg, Trunk Stability Push Up และ Rotary Stability) ทีไ่ ม่แตกตา่ งกวา่ กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ชี้ให้เห็นว่าพื้นฐานด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อไม่มีความแตกต่างกัน และ มสี รีรวทิ ยาของร่างกายทใี่ กล้เคียงกันในช่วงอายุระหว่าง 15–25 ปี ส่งผลดตี ่อการฝกึ มวยไทยท่ีจะสง่ ผลใหท้ ราบความ แตกต่างหลังการฝกึ ได้อย่างชดั เจน จากการเปรียบเทียบรูปแบบการฝึกมวยไทยกลุ่มทดลอง พบว่า มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของ ค่าความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อในคา่ ลกุ น่ัง (sit up), ดนั พ้นื (push up) ทีด่ กี วา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั ส�ำคญั ทางสถิติ ทร่ี ะดบั .05 ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ รปู แบบโปรแกรมการฝกึ มวยไทยสามารถพฒั นาความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ในเยาวชนหญงิ ไดด้ ี และความแขง็ แรงของมวลกลา้ มเนอ้ื โดยรวมเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งชดั เจนเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั กลมุ่ ควบคมุ โดยเฉพาะความแขง็ แรง ของกล้ามเน้ือบริเวณแขนและขา เน่ืองจากการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อในลักษณะท่ีบิดแขนและเท้าในการออกแรง ในแตล่ ะทา่ ทางสง่ ผลใหก้ ารทำ� งานของมดั กลา้ มเนอ้ื ออกแรงไดเ้ ตม็ ทแ่ี ละในทศิ ทางทถี่ กู ตอ้ งอยา่ งเตม็ ที่ จงึ สามารถเพมิ่ ความแขง็ แรงได้ ทง้ั นยี้ งั สง่ ผลตอ่ การทรงตวั ขณะทฝ่ี กึ สามารถทรงตวั ไดด้ ขี น้ึ มคี วามมนั่ คง ทงั้ หมดนเี้ ปน็ ผลจากการฝกึ ตาม โปรแกรม (DPE Program) แสดงว่าการฝึกความแข็งแรงสามารถเพ่ิมขนาดของกล้ามเนอ้ื ในเยาวชนหญงิ จากการวดั กล้ามเน้ือหนา้ ท้อง (sit up) และกล้ามเน้ือหน้าอกและแขน (push up) น้นั พบว่า กลุ่มทดลองมีความแขง็ แรงเพ่ิมขนึ้ เพราะมกี ารออกแรงกลา้ มเนอ้ื บรเิ วณหนา้ ทอ้ งและการบดิ ลำ� ตวั ในการฝกึ มวยไทยทถ่ี กู ตอ้ ง จากการวเิ คราะหค์ า่ เฉลยี่ และ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของการประเมนิ FMS (functional movement screening) เปน็ การทดสอบทอี่ อกแบบโดย Gray Crook และ Lee Burton เพือ่ ประเมินรูปแบบการเคล่อื นไหวพื้นฐานทใี่ ชใ้ นชีวิตประจ�ำวัน FMS ประกอบไปด้วย แบบทดสอบ 7 แบบ ไดแ้ ก่ Deep Squat, Hurdle Step, Inline Lunge, Shoulder Mobility, Active Stranght-leg, Trunk Stability Push Up และ Rotary Stability พบว่า กล่มุ ทดลองมีการเคลอ่ื นไหวทด่ี ขี ้นึ อยา่ งชดั เจนและสง่ ผลต่อ ความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื ท่ีเพม่ิ ตาม โดยเฉพาะในท่า Trunk Stability Push Up และ Inline Lunge ท่เี พ่ิมขนึ้ อยา่ ง เหน็ ไดช้ ดั อยา่ งมีนัยส�ำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 แสดงว่าการฝึกโดยใชร้ ปู แบบ (DPE Program) สง่ ผลโดยตรงตอ่ การ เพม่ิ การเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย ขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ และกลา้ มเนอ้ื มดั ใหญท่ แี่ ขง็ แรงขน้ึ จงึ เปน็ ผลดใี นการสรา้ งเสรมิ ใหเ้ ยาวชน หญิงได้ฝึกมวยไทยท่ีเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเน้ือโดยตรง โดยไม่ก่อให้เกิดอาการบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อ กระดูกใน การเรยี นมวยไทย สรุปได้ว่า การฝึกมวยไทยโดยใช้รปู แบบการฝึก (DPE Program) สามารถเพิ่มความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื ในเยาวชนหญิง อายรุ ะหว่าง 15–25 ปไี ด้ และประยกุ ตใ์ ชแ้ ม่ไมม้ วยไทย และการไหว้ครมู วยไทยในการอบอนุ่ รา่ งกาย (warm up) และการคลายอุ่นร่างกาย (cool down) ได้อย่างลงตัวและเหมาะสมสอดคล้องกับการฝึก สร้างความรู้ ความเขา้ ใจอีกมุมหนง่ึ ใหแ้ ก่กลมุ่ ตวั อยา่ งที่จะได้ชว่ ยสบื สาน และอนุรักษ์มวยไทยไปในตัว ผลการวจิ ยั ในคร้งั น้ีชใี้ ห้เหน็ ว่าการเลือกรูปแบบการฝึกมวยไทยส�ำหรับเยาวชนหญิง (DPE Program) สามารถเพ่ิมความแข็งแรงของกล้ามเน้ือได้ ดขี น้ึ สามารถอธบิ ายสมมติฐานของการวจิ ยั ได้วา่ เยาวชนหญงิ ทีไ่ ด้รับการฝกึ มวยไทยท่ีจ�ำเพาะเจาะจงมีความแข็งแรง ของกลา้ มเนอื้ มากกว่าเยาวชนหญิงทไ่ี ด้รบั การฝึกมวยไทยแบบทว่ั ไป เปน็ อีกทางเลอื กหน่ึงส�ำหรบั การฝึกมวยไทยและ การออกก�ำลงั กายเพอื่ ใชส้ ง่ เสรมิ สขุ ภาพทีด่ ีตอ่ ไป

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 107 ข้อเสนอแนะจากการวจิ ยั ขอ้ เสนอแนะจากการท�ำวิจัยครงั้ ตอ่ ไป 1. ผเู้ ขา้ รว่ มการทดลองควรมกี ารอบอนุ่ รา่ งกายทเี่ พยี งพอกอ่ น 1. ควรท�ำการเปรียบเทียบผลภายในกลุ่ม เข้ารบั การฝกึ มวยไทย (DPE Program) เพื่อลดการบาดเจ็บ ตัวอย่างเพ่ือให้ทราบความเปลี่ยนแปลงด้านค่า จากฝกึ ได้ สขุ สมรรถนะและความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ 2. ผู้เข้าร่วมการทดลองควรได้รับการฝึกอย่างต่อเนื่อง 2. ควรศกึ ษาการเพม่ิ นำ้� หนกั ในโปรแกรมการฝกึ อย่างนอ้ ย 3 ครง้ั ต่อสปั ดาห์ ครง้ั ละไมน่ ้อยกวา่ 45 นาที ว่าสามารถเพ่ิมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อได้ 3. สถานท่ีในการฝึกควรฝึกในท่ีร่มหรือภายในอาคารเพื่อลด มากข้นึ หรอื ไม่ อาการโรคลมแดด (heatstroke) 3. ควรนำ� โปรแกรมการฝกึ มวยไทย(DPEProgram) 4. การนดั หมายผเู้ ขา้ รว่ มการทดลองตา่ งๆ ควรมกี ารนดั หมาย ไปทดลองฝึกในกลุ่มอายุต่างๆ ทั้งเพศหญิงและ ล่วงหน้าก่อนการทดลองเป็นการล่วงหน้า จ�ำเป็นต้องมีการ เพศชาย ย้ำ� เตือนเสมอ และมคี วามชดั เจน 4. ควรปรับระยะเวลาท่ีใช้ในการทดลองของ 5. ขณะท�ำการทดลองควรมีการสอบถามเสมอว่าสามารถฝึก โปรแกรมให้เหมาะสมกบั อายุ เพศ วัย เมอื่ นำ� ไป ตอ่ เนอื่ งไดห้ รอื ไมห่ รอื มอี าการตา่ งๆ อนั สง่ ผลตอ่ รา่ งกายหรอื ไม่ ประยุกตใ์ ช้ 6. ก่อนท�ำการทดลองควรมีการทดสอบโปรแกรมก่อนว่า เหมาะสมกับการฝึกจริงมากน้อยเพียงไร โดยได้รับการตรวจ สอบจากผู้เช่ยี วชาญดา้ นตา่ งๆ ที่เก่ยี วข้อง (IOC)

108 การสรา้ งรปู แบบการฝึกมวยไทยท่มี ีผลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื สำ�หรบั เยาวชนหญงิ รายการอ้างองิ กรมพลศกึ ษา. (2543). กิจกรรมการทดสอบและสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย. กรงุ เทพฯ : ไทยมิตรการพมิ พ.์ กฤษดา สรุ �ำไพ. (2551). ผลการฝกึ พลิ าทิสทีม่ ีต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ . ปริญญานพิ นธ์ วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์ การกีฬา). กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. การกฬี าแห่งประเทศไทย. (2548). คมู่ อื การฝึกกฬี ามวยไทย. กรุงเทพฯ : ไอเดยี สแควร.์ ชศู กั ดิ์เวชแพศย์และกนั ยาปาละววิ ธั น.์ (2528).สรรี วทิ ยาการออกกาํ ลงั กาย.พมิ พค รงั้ ท่ี3.กรงุ เทพฯ:เทพรตั นก ารพมิ พ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถา ยเอกสาร. จรวย แกน่ วงษ์คา. (2530). มวยไทย-มวยสากล. กรงุ เทพฯ : พรนิ้ ต้งิ เฮา้ ส.์ จรัสเดช อุลิต. (2542). มวยไทย. ในเอกสารประกอบการสอนต�ำรา วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัด มหาสารคาม. มหาสารคาม : โรงพมิ พป์ ระสานการพิมพ.์ ฐิติกร ศิริสขุ เจริญพร. (2540). วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า. กรุงเทพฯ : ฝา่ ยเอกสารและต�ำราสถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ิต พชิ ิต ภตู จิ ันทร.์ (2547). วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า. กรุงเทพฯ : โฮเดียนสโตร์. เพญ็ พกั ตร์ หนยุ คุ . (2542). ศกึ ษาผลของการบรหิ ารกลา้ มเนอื้ ล�ำตวั ชนดิ ไบโอเมตรกิ ตอ่ ความแขง็ แรงกลา้ มเนอ้ื ล�ำตวั และรปู รา่ ง. วทิ ยานพิ นธแ์ พทยศาตรม์ หาบณั ทติ (เวชศาสตรก์ ารกฬี า). กรงุ เทพฯ : บณั ฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ประทุม มว่ งมี. (2527). รากฐานทางสรรี วทิ ยาของการออกก�ำลังกายและการพลศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : บรู พาสาส์น. วฑิ รู ย์ ยมะสมติ . (2552). ผลของการฝกึ กลา้ มเนอื้ ตน้ ขาดว้ ยนำ้� หนกั ทม่ี ตี อ่ ความแขง็ แรงและความเรว็ ในการวง่ิ 50 เมตร ของนักเรยี นเตรียมทหาร ปกี ารศึกษา 2551. ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. (พลศกึ ษา). กรงุ เทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. ศาศวตั ทพิ นาค. (2549). ผลของการฝกึ ดว้ ยนำ้� หนกั โดยเทคนคิ ปริ ะมดิ สองรปู แบบทมี่ ตี อ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื . วทิ ยานพิ นธ์ วท.ม. (วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา). กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. สนธยา สีละมาด. (2547). หลกั การฝึกกีฬาส�ำหรับผฝู้ ึกสอนกฬี า. กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . สำ� นักงานคณะกรรมการกฬี ามวย. (2542). พระราชบัญญัตกิ ีฬามวย พ.ศ. 2542 ฉบับปรบั ปรงุ เพิ่มเตมิ ครัง้ ที่ 4. กรงุ เทพฯ : นิวไทยมติ รการพิมพ.์

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 109 สำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ สำ� นกั นายกรฐั มนตร.ี (2560). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับทส่ี ิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรงุ เทพฯ : ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. สำ� นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาต.ิ (2540). ศิลปะมวยไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว. สำ� นักงานปลดั กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า. (2560). แผนพฒั นากฬี าแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560–2564). กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก สำ� นกั งานเลขานกุ ารคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าต.ิ (2561). รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าต.ิ กรงุ เทพฯ : สำ� นกั งานคณะกรรมการ พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ อำ� นาจ อะโน. (2539). วิธีวดั ความแขง็ แรงของกลา้ มเนือ้ หน้าทอ้ ง. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (พลศึกษา). กรงุ เทพฯ : บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ANIOC. (1992). Strength and power in sport: The encyclopedia of sports medicine. Oxford: Blackwell Scientific. Davis, R.J. ; et al. (1991). Physical Education and the Study of Sport. England: Wolfe Publishing. Faigenbum, A.D. (1993, February). The effects of Strength training on Children An Evaluation of a Twice Per Week Program. Dissertation Abstracts International.53 : 2735-4 A. Robcrg, R. A., & Robert, S. O. (1997). Exercise physiology (3 rd ed.). St Louis : The C. V. Mosby Sleamaker, R., & Browning, R. (1996). Serious Training for Endurance Athletes. Champaign, IL: Human Kinetics. เอกสารประกอบการประชมุ ระดมความคดิ เกย่ี วกบั (รา่ ง) นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารวจิ ยั ของชาติ ฉบบั ที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๖๐- ๒๕๖๔) : ภาคเอกชน วันพฤหสั บดีท่ี ๒ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุมจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ชน้ั ๒ อาคาร วช. ๑ สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) http://kris.kmitl.ac.th/images/anouce/(draft)Nrct%20vol%209.pdf

ภาคผนวก



112 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยทมี่ ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื สำ�หรบั เยาวชนหญงิ ภาคผนวก ก ข้อมูลส�ำหรบั กลุ่มประชากรหรือผู้มีส่วนรว่ มในการวิจยั (สำ� หรับกลุม่ ทดลอง) (Patient/Participant Information Sheet) ช่อื โครงการวจิ ัย การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยท่มี ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสำ� หรับเยาวชนหญิง (DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE) ชื่อผูว้ จิ ยั นายกิตติศักดิ์ ร่มเกษ ตำ� แหนง่ นักพฒั นาการกีฬาชำ� นาญการ กลมุ่ อนุรักษ์ศลิ ปะมวยไทย ส�ำนักการกีฬา กรมพลศึกษา สถานทต่ี ดิ ต่อผวู้ ิจยั 154 สนามกฬี าแห่งชาติ ประตู 16 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์มือถอื 084-5953949 E-mail : [email protected] ขอเรยี นเชญิ ทา่ นเขา้ รว่ มในการวจิ ยั กอ่ นทที่ า่ นจะตดั สนิ ใจเขา้ รว่ มในการวจิ ยั มคี วามจำ� เปน็ ทท่ี า่ นควรทำ� ความเขา้ ใจ ว่างานวิจัยนี้ท�ำเพราะเหตุใด และเก่ียวข้องกับอะไร กรุณาใช้เวลาในการอ่านข้อมูลต่อไปน้ีอย่างละเอียดรอบคอบ และ สอบถามขอ้ มลู เพิ่มเตมิ หรือข้อมลู ที่ไม่ชัดเจนไดต้ ลอดเวลา 1. โครงการน้ีเกย่ี วข้องกับการวจิ ยั เกยี่ วกบั การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทเี่ หมาะสมสำ� หรบั เยาวชนหญงิ ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ และ สามารถน�ำไปใช้ในการฝึกซ้อมมวยเพื่อแข่งขันหรือเพ่ือการออกก�ำลังกาย ซ่ึงในงานวิจัยคร้ังน้ีจะศึกษาความแข็งแรงของ กลา้ มเนอ้ื หลกั ส่วนบนและส่วนล่างของรา่ งกายทท่ี ำ� หนา้ ทใ่ี นการฝึกมวยไทย 2. วัตถุประสงค์ของการวิจยั 2.1 เพอื่ ศกึ ษารูปแบบการฝึกมวยไทยที่มผี ลต่อความแข็งแรงของกลา้ มเนอื้ ส�ำหรบั เยาวชนหญิง 2.2 เพอ่ื ศกึ ษาและเปรยี บเทยี บรปู แบบการฝกึ มวยไทยทจ่ี ำ� แนกการฝกึ ตามรปู แบบโปรแกรมทสี่ รา้ งและฝกึ มวยไทย ตามปกติ 3. รายละเอยี ดของกล่มุ ประชากรหรือผู้มสี ่วนรว่ มในการวิจยั ลักษณะของกลุม่ ประชากรหรือผู้มีส่วนร่วมในการวจิ ัย แบ่งกล่มุ ผเู้ ขา้ รว่ มวิจัยเป็น 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ควบคมุ 25 คน และกลมุ่ ทดลอง 25 คน ซ่ึงมีอายรุ ะหวา่ ง 15–25 ปี ได้มาจากการสมุ่ อยา่ งงา่ ย รวมท้งั หมด 50 คน คดั เลือกจากผู้เรียน มวยไทยของสถาบันศลิ ปะมวยไทย กรมพลศึกษา จำ� นวน 200 คน มเี กณฑ์การคดั เข้าและเกณฑ์การคดั ออก ดังนี้

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 113 เกณฑ์การคดั เข้า (Inclusion criteria) 1) เปน็ สมาชกิ ศนู ยอ์ นรุ กั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย กลมุ่ อนรุ กั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย กรมพลศกึ ษา อายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปี เพศหญงิ 2) เปน็ ผมู้ สี ุขภาพแข็งแรง ไมม่ ีโรคประจำ� ตวั ทีร่ ุนแรง 3) มคี วามสนใจเข้ารว่ มในการวจิ ัยและเซ็นใบยนิ ยอมเข้ารว่ มการวิจัย เกณฑ์การคดั ออก (Exclusion criteria) 1) ไม่มีคณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ทก่ี ำ� หนดของการวจิ ยั 2) ไม่สมคั รใจหรือเข้ารว่ มการวิจยั อีกต่อไป 3) ขาดการฝกึ มากกว่ารอ้ ยละ 20 ของโปรแกรมการฝกึ คือ ขาดการฝึกมากกวา่ 6 ครัง้ จากทัง้ หมด 30 ครงั้ 4) เกิดเหตุสุดวิสัยไม่สามารถเข้าร่วมท�ำการวิจัยได้ เช่น เกิดการเจ็บป่วย หรืออุบัติเหตุในช่วงท�ำการทดลอง จนไม่สามารถเข้าร่วมการทดลองตอ่ ได้ 4. กระบวนการการวจิ ัยท่กี ระทำ� ต่อกลุม่ ประชากรหรอื ผ้มู ีส่วนรว่ มในการวิจัย ตดิ ต่อและคดั เลือกกลมุ่ ตัวอยา่ ง โดยผูส้ มัครใจเข้าร่วม และมีคณุ สมบตั ิตามเกณฑค์ ัดเข้า จ�ำนวน 50 คน แบ่งเป็น กลมุ่ ๆ ละ 25 คน จะได้รบั คำ� ชีแ้ จง และคำ� อธิบายจากผวู้ จิ ยั เก่ยี วกบั วัตถุประสงค์ รายละเอียดของวธิ ปี ฏิบตั ติ ัวในการ ทดสอบ วิธีการเก็บข้อมลู ประโยชนท์ ี่จะได้รับจากการเข้าร่วมในโครงการวิจยั ทงั้ น้ี ผู้วจิ ยั จะตอบข้อสงสัยจนผ้ทู ี่ไดร้ บั เชิญให้เข้าร่วมการวิจยั เข้าใจ และให้เวลาตัดสนิ ใจโดยอสิ ระ กอ่ นลงนามให้ความยนิ ยอมเขา้ ร่วมในการวจิ ยั 4.1 นัดกลุม่ ผ้เู ขา้ ร่วมการท�ำวจิ ยั ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดทำ� งานวจิ ยั และรายละเอียดตา่ งๆ ของงานวิจัยให้ รับทราบร่วมกัน 4.2 ผมู้ ีส่วนร่วมในการวิจัยทัง้ 2 กลมุ่ ได้รับการตรวจร่างกายดา้ นต่างๆ ดังน้ี 4.2.1 ด้านสรีรวิทยา ให้กลุ่มตัวอย่างน่ังพัก 15 นาที หลังจากน้ันชั่งน้�ำหนักตัว วัดส่วนสูง เปอร์เซ็นต์ไขมัน คา่ ดัชนมี วลกาย อตั ราการเต้นหัวใจขณะพกั ความดนั โลหติ ขณะนั่ง ใช้เวลาด�ำเนนิ การทดสอบประมาณคนละ 10 นาที 4.2.2 ด้านสมรรถนะ ท�ำการทดสอบวัดองค์ประกอบของร่างกาย (Body composition) การประเมินความ แขง็ แรงของกล้ามเนอื้ ในรปู แบบ Functional training คือ การฝึกการทำ� งานของกลา้ มเน้ือและขอ้ ต่อหลายส่วนร่วมกนั มกี ารเคลอ่ื นไหวหลายทศิ ทางเพ่ือให้เกิดการเคล่ือนไหวร่างกาย โดยท�ำทง้ั หมด 7 ฐาน 4.2.3 การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ประกอบด้วย (1) ทดสอบจ�ำนวนคร้ังมากท่ีสุดของท่าลุกน่ัง (sit up) (2) ทดสอบจำ� นวนครงั้ มากที่สุดในการท�ำท่าดันพื้น (push up)

114 การสรา้ งรปู แบบการฝึกมวยไทยท่มี ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือส�ำ หรบั เยาวชนหญิง ข้ันตอนที่ 2 1) ประกาศเชิญชวนรับอาสาสมัครจากศูนย์อนุรักษ์ศิลปะมวยไทย กลุ่มอนุรักษ์ศิลปะมวยไทย กรมพลศึกษา อายุระหว่าง 15–25 ปี เพศหญิง 2) กอ่ นไดร้ บั การฝกึ มวยไทย ผูเ้ ขา้ ร่วมการทดลองไดท้ ราบรายละเอยี ดของวิธีปฏิบตั ิในการเก็บขอ้ มูล 3) ผเู้ ขา้ รว่ มการทดลองลงชอื่ ในใบยินยอม 4) ผูร้ ่วมทดลองกรอกแบบสอบถามดา้ นสขุ ภาพ ประเมนิ ความพร้อมก่อนออกก�ำลังกาย 5) ผ้เู ข้ารว่ มทดลองได้รับการทดสอบก่อนและหลงั การฝกึ ดังน้ี - ด้านสรีรวิทยา ไดแ้ ก่ นำ้� หนกั ส่วนสูง อตั ราการเต้นชีพจร ความดนั โลหติ (ใช้เวลา 2 นาที) - ด้านสขุ สมรรถนะ ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบของรา่ งกาย (ใช้เวลา 5 นาที) - การประเมนิ ความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ (ใชเ้ วลา 10 นาท)ี - การทดสอบความแข็งแรงของกลา้ มเนอื้ (ใช้เวลา 5 นาที) 6) กลุ่มทดลองไดร้ บั โปรแกรมฝึกดงั นี้ (ตามตารางการฝกึ ซ้อม DPE Programe) - ทำ� การฝึกในแต่ละทา่ เริ่มจากส่วนบนสลบั กับสว่ นลา่ ง - ทำ� การฝกึ สว่ นบนก่อน ตามล�ำดบั เชน่ การฝึกการใช้หมัดตรงหน้าจ�ำนวน 5 ครง้ั พัก 5 วนิ าที ทำ� ซ�้ำ 3 รอบ - เวลาพักระหว่างเปล่ียนทา่ 10 วนิ าที ทำ� จนครบท้ังหมดของโปรแกรมการใช้หมดั เชน่ จากหมดั ตรงหนา้ ลำ� ดับท่ี 1 จะเปล่ยี นไปฝึกหมดั ตวดั ในล�ำดับท่ี 2 ให้พัก 10 วินาที - สลับการฝกึ มวยไทยเป็นส่วนล่างโดยเริม่ จากการใช้เขา่ จ�ำนวน 5 ครง้ั พัก 5 วินาที ทำ� ซ�้ำ 3 รอบ และท�ำการ พกั ระหวา่ งเปลยี่ นทา่ 10 วินาที ท�ำไปจนครบท้งั หมดของโปรแกรมการใชห้ มดั - ในการฝกึ 1 คร้ัง/วัน จะใชเ้ วลาประมาณ 45–60 นาที - ทำ� การฝึก 3 ครัง้ ตอ่ สปั ดาห์ จนครบ 10 สัปดาห์ - ทำ� การทดสอบความแขง็ แรงกลา้ มเนือ้ หลังการฝกึ มวยไทยและบนั ทกึ ผล 5. กระบวนการใหข้ อ้ มลู แกก่ ลมุ่ ประชากรหรือผมู้ ีสว่ นร่วมในการวจิ ยั ผู้วิจัยจะเป็นผู้อธิบายให้ผู้มีส่วนร่วมการวิจัยถึงวัตถุประสงค์ ขั้นตอนท่ีเกี่ยวข้องกับการเข้าร่วมวิจัย รวมท้ังเหตุผล ที่ไดเ้ ชญิ เข้าร่วมวิจยั คร้งั นี้ และเปดิ โอกาสให้ซักถามขอ้ สงสัยได้ภายหลงั การอธิบายรายละเอยี ด 6. การคดั กรอง ผ้มู สี ว่ นรว่ มในการวจิ ยั กลุ่มใดๆ ก็ตาม หากพบวา่ ผ้นู นั้ ไม่อยใู่ นเกณฑ์คัด ผูว้ จิ ยั จะใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั เบื้องต้นในการ ฝึกมวยไทยต่อไป 7. อนั ตรายหรือความเสี่ยงท่ีอาจเกิดขนึ้ แกก่ ลมุ่ ประชากรหรือผมู้ ีส่วนร่วมในการวจิ ัย ในการวิจัยคร้ังนี้อาจมีอาการปวดกล้ามเน้ือเล็กน้อยจากโปรแกรมการฝึกความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ แต่อาการจะ ทุเลาลงในสัปดาห์ถดั ไปเน่อื งจากกลา้ มเน้ือมกี ารปรับสภาพตามกลไกของรา่ งกาย แตห่ ากผเู้ ขา้ รว่ มวจิ ัยบาดเจ็บมาก ผูว้ ิจยั จะน�ำสง่ โรงพยาบาลและเปน็ ผู้รับผิดชอบคา่ ใช้จา่ ยทงั้ หมด

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 115 8. ผู้มีสว่ นรว่ มในการวิจยั จะได้รบั ประโยชน์จากการเข้ารว่ มวิจัย ดังนี้ 9.1 ไดร้ บั การคัดกรองภาวะสุขภาพเบ้ืองต้นและความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื 9.2 ไดร้ บั การประเมนิ หลงั การฝกึ มวยไทย เพอื่ ทราบถงึ การเปลย่ี นแปลงขององคป์ ระกอบรา่ งกาย ความแขง็ แรงกลา้ มเนอื้ 9.3 ไดร้ ับการฝึกมวยไทยรปู แบบใหมท่ ่เี น้นการสรา้ งความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อทีเ่ หมาะสมกบั เพศหญงิ 9. การเขา้ ร่วมในการวิจยั ของผูม้ ีสว่ นร่วมในวิจยั เปน็ โดยสมคั รใจ และสามารถปฏเิ สธท่ีจะเข้ารว่ มหรือถอนตวั จากการวจิ ัยได้ ทกุ ขณะ โดยไมต่ อ้ งใหเ้ หตุผลและไมส่ ูญเสียประโยชน์ทพ่ี งึ ไดร้ ับ 10. หากท่านมีข้อสงสัยให้สอบถามเพ่ิมเติมได้โดยสามารถติดต่อผู้วิจัยได้ตลอดเวลา และหากผู้วิจัยมีข้อมูลเพ่ิมเติมท่ีเป็น ประโยชนห์ รือโทษเกยี่ วกับการวจิ ัย ผวู้ จิ ยั จะแจง้ ใหท้ า่ นทราบอยา่ งรวดเร็ว 11. ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ผเู้ ขา้ รว่ มวจิ ยั จะเกบ็ เปน็ ความลบั หากมกี ารเสนอผลการวจิ ยั จะเสนอเปน็ ภาพรวม ขอ้ มลู ใดทสี่ ามารถ ระบถุ งึ ตวั ผเู้ ขา้ รว่ มวจิ ยั ไดจ้ ะไมป่ รากฏในรายงาน เมอื่ เสรจ็ สนิ้ การวจิ ยั แลว้ ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ผมู้ สี ว่ นรว่ มในการวจิ ยั ทงั้ หมด จะถูกทำ� ลาย 12. การเดินทางมาตรวจรา่ งกายของผูม้ สี ว่ นร่วมในการวจิ ยั ในแตล่ ะคร้งั จะมคี ่าเดนิ ทาง จ�ำนวนคร้งั ละ 500 บาท รวม 2 คร้ัง เปน็ เงิน 1,000 บาท 13. มีอาหารว่างและนำ้� ดม่ื จดั เตรยี มไว้ใหใ้ นทุกครงั้ ทม่ี กี ารฝึกและทดสอบรา่ งกาย 14. “หากท่านไม่ได้รับการปฏิบัติตามข้อมูลดังกล่าวสามารถร้องเรียนได้ที่ คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน กลุ่มสหสถาบัน ชดุ ที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 254 อาคารจามจรุ ี 1 ชัน้ 2 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท/์ โทรสาร 0-2218-3202 E-mail: [email protected]” ............................................................ (...........................................) ผูว้ ิจัยหลกั วนั ท่ี / /

116 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือส�ำ หรบั เยาวชนหญงิ ภาคผนวก ข หนงั สือแสดงความยนิ ยอมเข้าร่วมการวจิ ัย (กลมุ่ ควบคุม) ท�ำท่ี....................................................................... วันท.ี่ ............เดอื น.....................พ.ศ. .................. เลขที่ ประชากรตัวอยา่ งหรอื ผู้มสี ว่ นรว่ มในการวจิ ัย…................…… ขา้ พเจา้ ซ่งึ ได้ลงนามทา้ ยหนังสือน้ี ขอแสดงความยินยอมเขา้ ร่วมโครงการวจิ ัย ชอ่ื โครงการวิจัย การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยที่มีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื ส�ำหรบั เยาวชนหญงิ ชื่อผู้วจิ ยั นายกติ ติศักด์ิ รม่ เกษ ตำ� แหนง่ นกั พฒั นาการกีฬาช�ำนาญการ กลุ่มอนุรกั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย ส�ำนักการกฬี า กรมพลศกึ ษา สถานที่ติดตอ่ ผวู้ จิ ยั 154 สนามกฬี าแห่งชาติ ประตู 16 ถ.พระราม 1 แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วัน กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ทม์ อื ถอื 084-5953949 E-mail : [email protected] ข้าพเจ้าได้รับทราบรายละเอียดเก่ียวกับที่มาและวัตถุประสงค์ในการท�ำวิจัย รายละเอียดข้ันตอนต่างๆ ที่จะต้อง ปฏิบัติหรือได้รับการปฏบิ ัติ ความเส่ียง/อันตราย และประโยชนซ์ ึ่งจะเกดิ ขนึ้ จากการวจิ ยั เรอ่ื งน้ี โดยได้อา่ นรายละเอยี ดใน เอกสารชแี้ จงผเู้ ขา้ ร่วมการวจิ ยั โดยตลอด และไดร้ ับค�ำอธิบายจากผูว้ จิ ยั จนเข้าใจเป็นอยา่ งดีแล้ว ขา้ พเจา้ จึงสมัครใจเข้าร่วมในโครงการวจิ ัยน้ี ตามทีร่ ะบุไว้ในเอกสารช้แี จงผเู้ ข้าร่วมการวจิ ัย โดยขา้ พเจา้ ยนิ ยอมให้ สัมภาษณแ์ ก่ผู้วิจัย จ�ำนวน 2 ครัง้ ผู้มีสว่ นรว่ มในการวิจยั ทัง้ 2 กลุม่ ไดร้ ับการตรวจร่างกายดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ชง่ั น้�ำหนกั ตัว วัดส่วนสงู วัดองค์ประกอบรา่ งกาย วดั อตั ราการเต้นหัวใจขณะพัก ความดนั โลหติ ขณะนงั่ ใชเ้ วลา ดำ� เนนิ การทดสอบประมาณคนละ 10 นาที 2. วดั องคป์ ระกอบของรา่ งกาย (Body composition) การประเมนิ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ในรปู แบบ Functional training คือ การฝึกการท�ำงานของกล้ามเน้ือและข้อต่อหลายส่วนร่วมกัน มีการเคล่ือนไหวหลายทิศทางเพื่อให้เกิดการ เคลอ่ื นไหวร่างกาย โดยท�ำทง้ั หมด 7 ฐาน ใช้เวลาดำ� เนนิ การทดสอบประมาณคนละ 15 นาที 3. การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ประกอบด้วย (1) ทดสอบจ�ำนวนคร้ังมากที่สุดของท่าลุกน่ัง (sit up) (2) ทดสอบจ�ำนวนครัง้ มากที่สุดในการทำ� ท่าดนั พื้น (push up) ใชเ้ วลาดำ� เนนิ การทดสอบประมาณคนละ 5 นาที

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 117 ในการเข้ารับการฝึกตามโปรแกรม คือ จะได้รับการฝึกตามโปรแกรมมวยไทยตามโปรแกรมปกติ โดยเมื่อเสร็จสิ้น การวิจัยแล้ว ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยจะถูกเก็บไว้เพ่ือเป็นหลักฐานการวิจัยจนกระทั่งได้มีการเผยแพร่ งานวิจัย หลงั จากนั้นหลักฐานงานวิจยั ทงั้ หมดท่ไี มไ่ ดป้ รากฏอยู่ในรายงานทถี่ ูกเผยแพร่ตีพมิ พ์จะถูกท�ำลาย ขา้ พเจ้ามีสทิ ธิถอนตวั ออกจากการวิจัยเมือ่ ใดก็ไดต้ ามความประสงค์ โดยไมต่ อ้ งแจง้ เหตผุ ล ซ่ึงการถอนตัวออกจาก การวจิ ัยนน้ั จะไมม่ ผี ลกระทบในทางใดๆ ต่อข้าพเจ้าทั้งสิน้ ขา้ พเจา้ ไดร้ บั คำ� รบั รองวา่ ผวู้ จิ ยั จะปฏบิ ตั ติ อ่ ขา้ พเจา้ ตามขอ้ มลู ทรี่ ะบไุ วใ้ นเอกสารชแี้ จงผเู้ ขา้ รว่ มการวจิ ยั และขอ้ มลู ใดๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ขา้ พเจ้า ผวู้ ิจยั จะเก็บรักษาเปน็ ความลับ โดยจะนำ� เสนอข้อมลู การวจิ ยั เปน็ ภาพรวมเท่าน้นั ไมม่ ขี ้อมลู ใด ในการรายงานท่ีจะนำ� ไปสู่การระบุตวั ข้าพเจ้า หากข้าพเจ้าไม่ได้รับการปฏิบัติตรงตามท่ีได้ระบุไว้ในเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย ข้าพเจ้าสามารถร้องเรียนได้ที่ คณะกรรมการพิจารณาจรยิ ธรรมการวิจัยในคน กลมุ่ สหสถาบนั ชุดท่ี 1 จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 254 อาคารจามจรุ ี 1 ชั้น 2 ถนนพญาไท เขตปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์/โทรสาร 0-2218-3202 E-mail: [email protected] ขา้ พเจา้ ไดล้ งลายมอื ชอื่ ไวเ้ ปน็ สำ� คญั ตอ่ หนา้ พยาน ทง้ั นข้ี า้ พเจา้ ไดร้ บั สำ� เนาเอกสารชแี้ จงผเู้ ขา้ รว่ มการวจิ ยั และสำ� เนา หนงั สือแสดงความยนิ ยอมไว้แลว้ ลงช่ือ............................................................. ลงชื่อ............................................................. (………………………………………………………..) (............................................................) ผมู้ ีสว่ นร่วมในการวจิ ยั ผ้วู จิ ัยหลัก ลงช่อื ............................................................. (............................................................) พยาน

118 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยท่มี ีผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ สำ�หรับเยาวชนหญงิ ภาคผนวก ค แบบสอบถามประวตั ิสุขภาพเพ่ือการออกก�ำลังกาย (PAR-Q) ชื่อ.....................................................นามสกลุ ............................................อาย.ุ ...................ปี แบบสอบถามนีใ้ ช้สำ�หรับบคุ คลท่มี ีอายรุ ะหว่าง 15-69 ปี มจี ำ�นวนทง้ั สิ้น 7 ขอ้ ใช่ ไม่ กรณุ าทำ�เครือ่ งหมายถกู หนา้ ข้อที่เกดิ ข้นึ 1. แพทย์เคยพูดถึงปัญหาสุขภาพที่เก่ียวกับหัวใจ หรือเคยได้รับคำ� แนะนำ�จากแพทยใ์ นเรอ่ื งดังกล่าวหรือไม?่ 2. คณุ เคยเจบ็ หนา้ อกขณะมีการออกกำ�ลงั กายหรือไม่? 3. ใน 1 เดอื นทผ่ี า่ นมา คณุ เคยเจบ็ หนา้ อก แมไ้ มไ่ ดม้ กี ารออกกำ�ลงั กาย หรือไม?่ 4. คณุ เคยเสยี การทรงตวั เพราะสาเหตมุ าจากการเวยี นศรี ษะหรอื เคย หมดสตหิ รือไม?่ 5. คณุ เคยมีปญั หาเรอื่ งขอ้ กระดูก (เชน่ ปวดหลงั , ปวดเข่า, ปวดสะโพก) หรอื ไม?่ ถา้ เคยมปี ญั หาดงั กลา่ ว สาเหตมุ าจากการออกกำ�ลงั กายหรอื ไม?่ 6. แพทย์เคยให้ยาท่ีใช้สำ�หรับลดความดัน หรือยาท่ีเกี่ยวข้องกับการ รกั ษาอาการโรคหัวใจหรอื ไม?่ 7. คณุ ทราบเหตุผลอืน่ ๆ ทจี่ ะทำ�ให้คณุ ไมค่ วรออกกำ�ลังกายหรือไม่? หมายเหตุ : PAR-Q หรือ Physical Activity Readiness Questionnaire (ฉบบั แก้ไขเพม่ิ เติม ปี ค.ศ. 2002) โดยสถาบันสรีรวิทยาการออกก�ำลังกายแห่งประเทศแคนาดา (Canadian Society for Exercise Physiology)

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 119 ภาคผนวก ง ลำ�ดบั ที่.................. อเี มล ................................................. โทรศัพท์ ..................................กลุ่ม.............................. ชื่อ - สกลุ .................................................................................. อายุ.............................. Weight (kg.) วัน/เดือน/ปี เกดิ ..................................................................... สว่ นสงู ...................cm. ………..…/…………../………..… BMI Pre-test……………….…… FAT % Pre-test……………….…… Heart rate Pre-test……………….…… Mid-test……………….…… rest Mid-test……………….…… Mid-test……………….…… Post-test……………….…… (b/min) Post-test……………….…… Post-test……………….…… BP Pre-test……………….…… Sit - up Pre-test……………….…… Push – up Pre-test……………….…… Mid-test……………….…… 30 sec. Mid-test……………….…… 30 sec. Mid-test……………….…… Post-test……………….…… Post-test……………….…… Post-test……………….…… การประเมนิ FMS เปน็ การทดสอบทอ่ี อกแบบโดย Gray Crook และ Lee Burton เพอ่ื ประเมนิ รปู แบบการเคลอ่ื นไหว พ้นื ฐานท่ใี ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วัน FMS ประกอบไปด้วย แบบทดสอบ 7 แบบ เป็นการทดสอบทง้ั ข้างซ้ายและข้างขวา การให้ คะแนนมี 4 ระดับ คือ 0 ถึง 3 ในการทดสอบแตล่ ะครงั้ ให้ผ้รู บั การทดสอบทำ� การทดสอบได้ 3 ครั้ง หากเปน็ การทดสอบ ข้างซ้ายและข้างขวาให้บันทึกคะแนนของแต่ละข้าง ในการคิดคะแนนรวม ให้เลือกค่าคะแนนของข้างที่ได้คะแนนต�่ำกว่า เป็นคา่ ของการทดสอบนัน้ คะแนน ความหมาย 0 ผู้รับการทดสอบไมส่ ามารถทำ�ทา่ ทางทที ดสอบไดเ้ นือ่ งจากมีอาการเจ็บ 1 ผู้รบั การทดสอบไม่สามารถทำ�ท่าทางทีทดสอบได้ 2 ผรู้ บั การทดสอบสามารถทำ�ทา่ ทางทที ดสอบได้ แต่มลี ักษณะการเคลือ่ นไหวทไี่ ม่ถกู ต้อง 3 ผู้รับการทดสอบสามารถทำ�ท่าทางทที ดสอบได้อย่างสมบูรณ์ ถกู ต้อง

120 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยทม่ี ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสำ�หรบั เยาวชนหญิง ทงั้ นผ้ี ทู้ ำ� การทดสอบตอ้ งบนั ทกึ ลกั ษณะการเคลอื่ นไหวขณะทำ� การทดสอบ รวมถงึ ระดบั ความสามารถในการทรงตวั ความสมดุลของการเคลอ่ื นไหวของขา้ งซา้ ยและข้างขวา ในการแปลผลผู้ทไี่ ด้คะแนนต่�ำกว่า 14 คะแนน ถือว่าไดค้ ะแนนตำ�่ กวา่ คา่ เฉลี่ย และมคี วามเสีย่ งต่อการเกิดอาการบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนอ้ื สงู อย่างไรกต็ าม ผูท้ ่ีไดค้ ะแนนสูงกวา่ 14 ไมไ่ ดห้ มายความวา่ จะไมม่ คี วามเสย่ี งตอ่ การบาดเจบ็ จงึ ควรมกี ารประเมนิ รว่ มดว้ ยวา่ ทา่ ทางการเลน่ กฬี าของนกั กฬี าประเภท ใด ควรใชก้ ารทดสอบทา่ ใดที่จ�ำเพาะเจาะจงเพิม่ ข้ึนหรอื ไม่ ท่ี การทดสอบ วันที่ วันที่ หมายเหตุ ครั้งท่ี 1 ครัง้ ท่ี 2 1 Deep Squat Pre - test Post - test 2 Hurdle Step 3 Inline luage 4 Shoulder mobility 5 Active stranght-leg 6 Trunk Stability push up 7 Rotary stability

ภาคผนวก จ โปรแกรมการฝกึ มวยไทยสำ� หรบั เยาวชนหญิง (DPE Program) DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE ลำ�ดับท่ี ท่าการฝกึ จำ�นวนครั้ง พักระหวา่ งเซต็ จำ�นวนเซต็ พักระหว่างเซต็ สปั ดาห์ รอบการฝึก 10 วินาที 3 10 วินาที 10 ฝกึ 3 วัน/สปั ดาห์ อบอุน่ ร่างกาย หมดั ฝกึ การใชห้ มดั 1 หมดั ตรงหนา้ 10 10 วินาที 3 10 คลายอ่นุ รา่ งกาย (warm up 5-10 นาท)ี 10 วนิ าที 3 10 วนิ าที 10 ฝึกวนั เว้นวัน (cool down 5-10 นาท)ี 2 หมดั ตวดั 10 10 วินาที 3 10 วินาที 10 (รวม 10 สปั ดาห)์ 1. การยืดกล้ามเนอื้ ไหล่ ขา หลงั สะโพก 3 10 วินาที 10 1. ท่าไหว้ครูเทพพนม 2. การยดื กลา้ มเน้อื หน้าขา ลำ�ตัวและคอ 3 หมัดเสย 10 10 วินาที 3 10 2. ท่าไหวค้ รูก้มกราบ 3. การยืดกลา้ มเนื้อขาและปลายเท้า 3 10 วินาที 10 3. ทา่ ไหวค้ รูกอบพระแม่ธรณี 4. การเดนิ ก้มเตะ 4 หมดั เหวี่ยง 10 3 10 4. ท่าไหว้ครถู วายบังคม 5. การว่งิ ไขว้ขา 3 10 5. ท่าปฐม 6. การยืดกลา้ มเน้อื ลำ�ตวั หัวไหล่ แขน เท้า ฝึกการเตะ 5 เตะตรง 10 3 10 6. ท่าพรหม 7. เดนิ หนา้ ชกหมัดหน้า 10 คร้งั ซา้ ย-ขวา 3 10 7. สอดสรอ้ ยมาลา 8. เดินหน้าเตะตรง 10 ครงั้ ซ้าย-ขวา 6 เตะตดั 10 3 10 8. ท่าพรหมยืน 9. วิ่งจอ็ กกงิ้ กบั ที่ 10 คร้งั 3 10 9. หนมุ านแหวนเมฆ 10. กระโดดตบ 10 ครั้ง ฝึกการถบี 7 ถบี ตรง 10 3 10 10. ย่างสุขเกษม 11. กระโดดเชือก 10 ครั้ง 3 10 8 กระโดดถีบ 10 ศอก ฝกึ การใชศ้ อก 9 ศอกตี 10 10 ศอกตัด 10 11 ศอกกลับ 10 เข่า ฝกึ การใช้เข่า 12 เข่าตรง 10 13 เข่าเฉยี ง 10 14 เขา่ ลอย 10 15 เข่ากระทุง้ 10 121

122 การสรา้ งรปู แบบการฝึกมวยไทยทมี่ ผี ลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเน้อื ส�ำ หรับเยาวชนหญงิ ภาคผนวก ฉ แบบประเมินเก่ียวกบั องคป์ ระกอบของโปรแกรมการฝกึ มวยไทยสำ� หรับเยาวชนหญงิ แบบประเมนิ นสี้ ำ� หรบั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เพอื่ วดั ระดบั ความเหมาะสมดา้ นองคป์ ระกอบของโปรแกรมการฝกึ ออกก�ำลงั กาย เพอ่ื สรา้ งความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ทผี่ วู้ จิ ยั ไดส้ รา้ งขน้ึ เพอื่ นำ� ไปใชเ้ ปน็ โปรแกรมการฝกึ ออกกำ� ลงั กายสำ� หรบั เยาวชนหญงิ เรือ่ ง “การสร้างรูปแบบการฝกึ มวยไทยท่มี ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ ส�ำหรบั เยาวชนหญิง” คำ� ชแี้ จง เมอ่ื ทา่ นไดอ้ า่ นโปรแกรมการฝกึ ออกกำ� ลงั กายแบบวงจรแลว้ โปรดทำ� เครอื่ งหมาย √ ลงในชอ่ ง ทตี่ รงกับความคิดเห็นของท่านมากท่สี ุด (ในรายขอ้ ทไี่ ม่เหน็ ดว้ ย โปรดเสนอแนะรูปแบบที่เหมาะสม) เน้อื หา ความคดิ เหน็ เห็นดว้ ย ไมแ่ น่ใจ ไมเ่ ห็นด้วย 1. โปรแกรมการฝกึ มวยไทย 1.1 โปรแกรมการฝึกช่วยเสริมสรา้ งการใช้ทกั ษะมวยไทย 1.2 โปรแกรมการฝกึ มีการเรียงลำ�ดบั เหมาะสม 1.3 ระยะเวลาการฝึก 45-60 นาทตี ่อวนั มคี วามเหมาะสม 1.4 จำ�นวนการฝึก 3 คร้ังตอ่ สัปดาห์ มีความเหมาะสม 1.5 ระยะเวลาการฝึกจำ�นวน 10 สัปดาห์ มคี วามเหมาะสม 1.6 โปรแกรมการฝกึ มีผลช่วยเพิม่ ความแข็งแรงของกลา้ มเน้อื 2. ขั้นตอนการอบอุ่นร่างกาย (warm up) ก่อนการฝึก 5-10 นาที 2.1 การอบอนุ่ ร่างกายมีการเรยี งลำ�ดับเหมาะสม 2.2 ระยะเวลาของการอบอุ่นรา่ งกายมีความเหมาะสม 3. ข้ันตอนการฝึกตามโปรแกรมด้วยการใชห้ มัด 3.1 โปรแกรมการฝกึ มคี วามเหมาะสม 3.2 โปรแกรมการฝกึ มสี ่วนเสรมิ สรา้ งความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ขน้ั ตอนการฝึกตามโปรแกรมด้วยการใชเ้ ทา้ 3.3 โปรแกรมการฝกึ มีความเหมาะสม 3.4 โปรแกรมการฝกึ มีสว่ นเสรมิ สรา้ งความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อ ข้ันตอนการฝึกตามโปรแกรมดว้ ยการใช้ศอก 3.5 โปรแกรมการฝกึ มีความเหมาะสม 3.6 โปรแกรมการฝกึ มีสว่ นเสริมสร้างความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 123 เนื้อหา ความคิดเหน็ เหน็ ดว้ ย ไมแ่ นใ่ จ ไมเ่ หน็ ด้วย ข้ันตอนการฝกึ ตามโปรแกรมด้วยการใช้เข่า 3.7 โปรแกรมการฝกึ มคี วามเหมาะสม 3.8 โปรแกรมการฝกึ มีส่วนเสรมิ สรา้ งความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ 4. ขั้นตอนการคลายอนุ่ รา่ งกาย (cool down) หลังการฝึก 5-10 นาที 4.1 การคลายอุ่นรา่ งกายมีการเรยี งลำ�ดบั เหมาะสม 4.2 ระยะเวลาของการคลายอ่นุ รา่ งกายมคี วามเหมาะสม 4.3 การคลายอนุ่ ร่างกายมกี ารใชก้ ล้ามเนอื้ และขอ้ ต่อครบทุกส่วน ข้อเสนอแนะของผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ……………………………………………………………..………………………………………………………………………………..…………………………… ……………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………..………………………………………………………………………………..…………………………… ลงชอื่ .......................................……………. (...............................................................) ผทู้ รงคุณวุฒิ วนั ที่..........................................

124 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยทมี่ ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือส�ำ หรบั เยาวชนหญิง ภาคผนวก ช การยดื เหยียดรา่ งกาย (warm up) 1. การยดื กลา้ มเนอ้ื ไหล่ ขา หลงั สะโพก 2. การยดื กลา้ มเนอื้ หน้าขา ลำ�ตวั และคอ 3. การยดื กลา้ มเน้ือขา และปลายเท้า

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 125 4. การเดนิ ก้มแตะ 5. การวง่ิ ไขวข้ า

126 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือส�ำ หรบั เยาวชนหญงิ 6. การยดื เหยียดกลา้ มเน้ือลำ�ตวั หัวไหล่ และแขน

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 127 7. เดินไปด้านหนา้ พรอ้ มชกหมดั ตรงหน้า

128 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือสำ�หรับเยาวชนหญิง 8. เดนิ ไปดา้ นหน้าเตะตรง

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 129 9. วง่ิ จ๊อกกิง้ กับที่

130 การสร้างรปู แบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเนือ้ สำ�หรบั เยาวชนหญงิ 10. กระโดดตบ

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 131 11. กระโดดเชือก

132 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยท่ีมผี ลต่อความแข็งแรงของกล้ามเน้ือส�ำ หรับเยาวชนหญงิ ทา่ การฝึกมวยไทย ฝกึ การใชห้ มดั 1. หมัดตรงหน้า 2. หมัดตวดั

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 133 3. หมดั เสย 4. หมดั เหว่ยี ง

134 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทีม่ ผี ลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ สำ�หรับเยาวชนหญงิ ทา่ การฝึกมวยไทย ฝึกการเตะ 5. เตะตรง 6. เตะตัด ทา่ การฝกึ มวยไทย ฝึกการถีบ 7. ถบี ตรง

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 135 8. กระโดดถบี ท่าการฝกึ มวยไทย ฝึกการใช้ศอก 9. ศอกตี 10. ศอกตัด

136 การสรา้ งรปู แบบการฝึกมวยไทยทมี่ ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื สำ�หรบั เยาวชนหญิง 11. ศอกกลับ ทา่ การฝกึ มวยไทย ฝกึ การตเี ขา่ 12. เข่าตรง

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 137 13. เขา่ เฉียง 14. เขา่ ลอย

138 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทีม่ ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อสำ�หรบั เยาวชนหญงิ การยดื เหยียดรา่ งกาย (cool down) 1. ท่าไหว้ครูเทพพนม 2. ทา่ ไหวค้ รูกม้ กราบ

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 139 3. ท่าไหวค้ รกู อบพระแม่ธรณี

140 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยทม่ี ผี ลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ ส�ำ หรบั เยาวชนหญงิ 4. ทา่ ไหว้ครถู วายบงั คม

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 141 5. ท่าปฐม 6. ทา่ พรหม

142 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ส�ำ หรับเยาวชนหญิง 7. สอดสรอ้ ยมาลา

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 143 8. ท่าพรหมยืน

144 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยท่ีมผี ลต่อความแข็งแรงของกลา้ มเน้อื ส�ำ หรบั เยาวชนหญิง 9. หนุมานแหวกเมฆ

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 145

146 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อส�ำ หรับเยาวชนหญิง 10. ยา่ งสุขเกษม

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 147

148 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยทีม่ ผี ลต่อความแข็งแรงของกล้ามเน้อื สำ�หรบั เยาวชนหญงิ ภาคผนวก ฌ การประเมิน FUNCTIONAL MOVEMENT ท่าที่ 1 DEEP SQUAT ทา่ ที่ 2 HURDLE STEP ลำ� ตวั ตรง ขนานกบั กระดกู หนา้ แขง้ ตน้ ขา สะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า อยู่แนว อยู่ต่�ำกว่าข้อเข่า ตลอดจนขอ้ เขา่ อยู่แนว เดียวกัน ไม่มีการเคลื่อนไหวที่ เดียวกับปลายเท้า ไม้พลองขนาดกับพื้น กระดูกสันหลังส่วนล่าง ไม้พลอง และอยู่เหนอื เท้า ขนานกับพื้นและเคร่ืองกีดขวาง สามารถกา้ วข้ามโดยตวั ตรง

DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 149 ทา่ ที่ 3 INCLINE LUNGE ทา่ ท่ี 4 SHOULDER MOBILITY ไม้พลองอยู่แนบล�ำตัวและตั้งฉากกับพื้น ล�ำตัว กำ� ปน้ั ทงั้ สองหา่ งกนั นอ้ ยกวา่ ความยาว 1 ฝา่ มอื อย่แู นวตรง ไมพ้ ลองอย่แู นวเดยี วกับเทา้ ทง้ั สอง ขา้ ง ขอ้ เขา่ ของขาทอี่ ยชู่ ดิ พนื้ อยตู่ ดิ กบั ปลายเทา้ ของข้อเข่าที่ตั้งฉากขึ้น มือท่ีอยู่ข้างบนเป็นข้าง เดียวกับขา้ งที่งอเขา่ ตดิ พ้นื

150 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยท่ีมีผลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือส�ำ หรบั เยาวชนหญงิ ทา่ ท่ี 5 ACTIVE STRAIGHT – LEG RAISE ทา่ ที่ 6 TRUNK STABILITY PUSH UP ตาตมุ่ ระหวา่ งขอ้ สะโพกและครงึ่ หนงึ่ ของขาทอ่ น ยกลำ� ตวั ข้นึ ได้ในแนวตรงหลงั ไม่แอ่น บนของขาท่ีอยู่บนพ้ืน ขาอีกข้างวางราบบนพื้น และเหยียดตรง