DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 51 3.3 นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารวิจัยของชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2560 - 2564) (เอกสารประกอบการประชุมระดมความคดิ เกี่ยวกับ (ร่าง) นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารวิจัยของชาติ ฉบบั ท่ี 9, 2559) นโยบายและยทุ ธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ. 2560-2564) มเี ปา้ หมายท่สี อดคล้อง และม่งุ สนองตอบ ต่อแนวทางการพัฒนาประเทศตาม (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2555-2564) การปฏริ ปู ระบบวจิ ยั ของประเทศ และหลกั การของเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals - SDGs) อีกทงั้ มคี วามตอ่ เนือ่ งจากนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารวจิ ยั ของชาติ ฉบบั ที่ 8 (พ.ศ. 2555 -2559) และฉบับทบทวน วสิ ัยทศั นข์ องนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจยั ของชาต ิ “ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีพัฒนาบนพื้นฐานการวิจัยและนวัตกรรม มีผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ มีการพัฒนาองค์ ความร้แู ละนวตั กรรมจากงานวจิ ยั ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ ในดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม และมคี วามพร้อมด้านโครงสรา้ ง พนื้ ฐานและบคุ ลากรดา้ นการวจิ ยั และพฒั นาทงั้ เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ เพอื่ สนบั สนนุ การพฒั นาประเทศใหม้ นั่ คง มง่ั คง่ั อยา่ งยง่ั ยืน” นโยบายการวจิ ัยของชาติ เพื่อให้การด�ำเนินงานของนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2560-2564) มุ่งสู่ประเทศท่ี พฒั นาบนพน้ื ฐานการวจิ ยั และนวตั กรรม มผี ลงานวจิ ยั ทม่ี คี ณุ ภาพ มกี ารนำ� องคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมจากงานวจิ ยั ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ไดจ้ ริงในดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม และมีความพร้อมดา้ นโครงสรา้ ง พื้นฐาน และบุคลากรด้านการวจิ ยั และพัฒนา ทงั้ เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ เพอ่ื สนบั สนนุ การพฒั นาประเทศ ใหม้ น่ั คง มงั่ คงั่ อยา่ งยงั่ ยนื จงึ เหน็ ควรกำ� หนดนโยบายการ วิจัยของชาติดงั น้ี 1. สง่ เสริมการวจิ ัยและพฒั นาองคค์ วามรู้ นวัตกรรม 5. พัฒนาและเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านการ และเทคโนโลยจี ากงานวิจัยทมี่ ่งุ เปา้ สนองตอบต่อเป้าหมาย วิจยั และพฒั นาใหม้ ีความพรอ้ ม มคี ณุ ภาพ และได้มาตรฐาน การพฒั นาประเทศ เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทยเปน็ สงั คมฐานความรู้ รวมท้ังเชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยในระบบสารสนเทศการวิจัย ดา้ นการวิจยั และเป็นประเทศเศรษฐกิจฐานนวตั กรรม เพื่อใหค้ รอบคลมุ และใช้ประโยชน์ได้ท่วั ประเทศ 2. ส่งเสริมการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาของ 6. ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา ภาครฐั ใหเ้ พมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ งและสรา้ งโอกาสใหภ้ าคเอกชน ของประเทศใหม้ จี ำ� นวนและคุณภาพมากขน้ึ และสนบั สนนุ ทั้งในระดบั ชาติ ภูมภิ าค และท้องถ่นิ มสี ่วนร่วมในการวิจยั ให้เกิดอาชีพนักวิจัยและเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ และรว่ มลงทนุ (Career Path) ท่ีชัดเจน รวมทั้งพัฒนาศักยภาพด้านการ 3. ผลักดันให้ทุกภาคส่วนน�ำผลงานวิจัย องค์ความรู้ วจิ ยั ของเยาวชนและบุคลากรในทอ้ งถ่นิ นวัตกรรม และเทคโนโลยจี ากงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ในเชิง 7. สรา้ งเสริมความรว่ มมือดา้ นการวิจัยและพฒั นาใน อุตสาหกรรม/พาณิชย์สังคม/ชมุ ชนวิชาการ และนโยบาย รปู แบบหนุ้ สว่ นความรว่ มมอื (Collaborative Partnership) 4. พัฒนาและขบั เคล่ือนการบรหิ ารจดั การระบบวิจัย ระหว่างเครือข่ายทุกภาคส่วน และทุกระดับทั้งในประเทศ ของประเทศใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และเป็นเอกภาพ โดยการมี และระหวา่ งประเทศ สว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน และทุกระดบั
52 การสร้างรปู แบบการฝึกมวยไทยทีม่ ีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื สำ�หรับเยาวชนหญงิ โดยมยี ทุ ธศาสตรท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การวจิ ยั ครง้ั นค้ี อื ยทุ ธศาสตรก์ ารวจิ ยั ที่ 3 สง่ เสรมิ กลไกและกจิ กรรม การน�ำกระบวนการวจิ ัย ผลงานวจิ ยั องค์ความรู้ นวตั กรรม และเทคโนโลยจี ากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อยา่ ง เป็นรูปธรรม โดยความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ เปา้ ประสงค์ เพอื่ ใหอ้ ตุ สาหกรรม/พาณชิ ยส์ งั คม/ชมุ ชนวชิ าการและนโยบาย ใชป้ ระโยชนจ์ ากกระบวนการวจิ ยั ผลงานวจิ ยั องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม และตรงตามความต้องการที่สอดคล้องกับแนวทาง การพัฒนาประเทศ กลยทุ ธท์ ี่ 1 สง่ เสริมการจัดการความรแู้ ละสรา้ งองคค์ วามรู้ กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ นวตั กรรม และเทคโนโลยจี ากงานวจิ ยั เพอ่ื นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ขอ้ บงั คับ มาตรการ กลไก วิธกี ารและการบังคบั ใชใ้ หเ้ อือ้ ต่อ อย่างเป็นรูปธรรม ด้านอุตสาหกรรม/พาณิชย์สังคม/ชุมชน การน�ำผลงานวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยี วิชาการ และนโยบาย จากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยภาครัฐ ภาคเอกชน กลยุทธ์ท่ี 2 สนบั สนนุ การวจิ ยั ตอ่ ยอด เพอื่ พฒั นาผลงานวจิ ยั ภาคการศกึ ษา ภาคสังคม/ชมุ ชน ทม่ี ีศักยภาพไปสกู่ ารใช้ประโยชน์หรอื สร้างมูลค่าเพ่มิ กลยุทธท์ ี ่ 5 ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและการใช้ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการถ่ายทอดและขยายผลการใช้ นวัตกรรมการสื่อสาร เพ่ือน�ำกระบวนการวิจัย ผลงานวิจัย ประโยชน์จากองค์ความรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยจี ากงาน องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยไปใช้ วิจัยอย่างทั่วถึงด้านอุตสาหกรรม/พาณิชย์สังคม/ชุมชน ประโยชนอ์ ย่างเป็นรูปธรรม วชิ าการ และนโยบาย 3.4 แผนพฒั นากฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2560 - 2564) (สำ� นักงานปลัดกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า, 2560) แผนพฒั นากฬี าแหง่ ชาติ ฉบับที่ 6 ไดก้ �ำหนดวิสยั ทัศน์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนา ดงั น้ี “การกีฬาเป็นส่วนส�ำคัญของวิถีชีวิตประชาชนทุกภาคส่วนและเป็นกลไกส�ำคัญในการสร้างคุณค่าทางสังคมและ ส่งเสรมิ เศรษฐกิจของประเทศ” โดยมีหลักแนวคดิ เพอ่ื การก�ำหนดแนวทางการพัฒนา ดังนี้ 1. การกฬี าเปน็ สว่ นสำ� คญั ของวถิ ชี วี ติ ประชาชนทกุ 3. การกีฬาเปน็ สว่ นส�ำคญั ในการสง่ เสรมิ เศรษฐกิจ ภาคสว่ น โดยสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนทกุ คนมคี วามตระหนกั ถงึ ของประเทศ โดยจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการกีฬาที่มี ประโยชน์ของกีฬา โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน เพ่ิมโอกาส มาตรฐานและอยู่ในระดับช้ันน�ำของภูมิภาคเอเชีย รวมท้ัง ให้ประชาชนทุกคนได้เล่นกีฬาหรือชมกีฬาท่ีตนเองต้องการ การสร้างกิจกรรมด้านการกีฬาในทุกระดับเพ่ือเป็น อยา่ งเทา่ เทียม ส่วนส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจไทย ผลักดันให้ภาครัฐ 2. การกีฬาเป็นกลไกส�ำคัญในการสร้างคุณค่าทาง และเอกชนมีส่วนร่วมในการสร้าง ส่งเสริม และสนับสนุน สังคม โดยสร้างปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนากีฬา อุตสาหกรรมและธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับการกีฬา และส่งเสริม เพือ่ ความเป็นเลิศ อาทิ บุคลากรการกีฬาโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการกีฬาใหม้ มี าตรฐานท่ดี ี ท�ำใหก้ ารกีฬาไทย ดา้ นการกฬี า กจิ กรรมดา้ นการกฬี า องค์กรกีฬา องค์ความรู้ เป็นท่ีน่าสนใจส�ำหรับคนไทยและต่างชาติ ทั้งนักกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา และนโยบายในการผลักดันกีฬาเพ่ือ ภาคธรุ กจิ และภาคประชาชน ความเป็นเลิศ อันจะสร้างแรงบันดาลใจและน�ำมาซ่ึงความ สามคั คแี กค่ นในชาติ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 53 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นามที ัง้ หมด 6 ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสง่ เสรมิ ใหม้ วลชนมกี ารออกกำ� ลงั กาย การส่งเสริมให้เกิดความรู้และความ ตระหนักด้านการออกก�ำลังกายและการ และมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการกีฬา เสริมสรา้ ง กีฬาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือให้เด็กและเยาวชนทั้ง การออกก�ำลังกายส�ำหรับประชาชนทุกกลุ่ม ในระบบและนอกระบบการศึกษา ได้รับการ ทุกเพศ ทุกวัย ยุทธศาสตร์น้ีถือว่ามีความ ศึกษาด้านพลศึกษาที่มีคุณภาพอย่างท่ัวถึง ส�ำคัญส�ำหรับประชาชนท่ัวไป ท้ังน้ี เพราะ จากครูพลศึกษาท่ีมีคุณภาพและจ�ำนวน การออกก�ำลังกายหรือการเล่นกีฬาจะท�ำให้ เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ มกี ารออกกำ� ลงั กาย สุขภาพพลานามัยแข็งแรง ลดค่าใช้จ่ายใน และเล่นกีฬาข้ันพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง รู้กฎ การรักษาพยาบาล ลดปัญหาสังคม สามารถ และกติกา จนสามารถถึงข้ันดูกีฬาเป็น เล่น ใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและ กีฬาได้ มที ศั นคตทิ ด่ี ี มีระเบยี บวนิ ัยและนำ้� ใจ อบายมุข โดยมีการสร้างโอกาสการเข้าถึง นักกีฬา รวมถึงการจัดวางระบบโครงข่ายใน กิจกรรมการออกก�ำลังกายและการเล่นกีฬา สถานศึกษาและชมุ ชน เพือ่ สรา้ งความร่วมมอื และมกี ารจดั เตรยี มโครงสร้างพื้นฐาน และส่ิง ระหว่างสถานศึกษาและครอบครัว ในการ อำ� นวยความสะดวกแกป่ ระชาชนทกุ กลมุ่ อยา่ ง ผลกั ดนั ใหก้ ารออกก�ำลงั กายและการเลน่ กฬี า ท่วั ถึง รวมไปถึงการสง่ เสริมใหป้ ระชาชนมจี ติ เป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตต้ังแต่ปฐมวัย โดยมี สาธารณะและพัฒนาระบบอาสาสมัครการ แนวทางที่สำ� คัญไดแ้ ก่ กฬี าโดยมแี นวทางทีส่ �ำคญั ได้แก่ 1. การเร่งสร้างและพัฒนาพลศึกษา 1. การสาธารณะสถานท่ีและอุปกรณ์ และสขุ ศึกษาในสถานศึกษาทว่ั ประเทศ กีฬาท่ีเพียงพอและเหมาะสมเพ่ือการออก 2. การส่งเสริมการพัฒนาการออก กำ� ลงั กายและการเล่นกีฬาของมวลชน ก�ำลังกายและการกีฬาขั้นพ้ืนฐานในชุมชน 2. การเสรมิ สรา้ งความเสมอภาคในการ ท้องถ่นิ นอกสถานศึกษา เขา้ ถงึ การออกก�ำลงั กายและการเลน่ กฬี าของ 3. การจัดวางระบบโครงข่ายและสรา้ ง ประชาชนทกุ กล่มุ ความเช่ือมโยงระหวา่ งสถานศึกษาและชุมชน 3. การส่งเสริมการพัฒนาอาสาสมัคร และบุคลากรการกีฬาเพ่ือมวลชนอย่างเป็น ระบบ
54 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยท่มี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อสำ�หรับเยาวชนหญิง ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา การพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ ต่อยอดความส�ำเร็จในระดับอาชีพ มุ่งเน้น เพื่อเป็นส่วนส�ำคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้านการสร้างและการพัฒนานักกีฬาของ ทางเศรษฐกิจ มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมการ ชาติให้ประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันใน กีฬาแบบครบวงจร สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิม ระดับตา่ งๆ เพอื่ สร้างชอ่ื เสยี ง เกียรตยิ ศ และ และส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ โดยมี เกียรติภูมิของประเทศชาติให้ทัดเทียมกับ ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร ท� ำ ธุ ร กิ จ ท่ี เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง นานาชาติ สามารถสร้างความภาคภมู ิใจและ อุตสาหกรรมการกีฬา อาทิ ธุรกิจการผลิต เป็นเคร่ืองมือในการรวมจิตใจ ซ่ึงจะเป็นการ เสื้อผา้ และอปุ กรณ์กฬี า ธรุ กิจเพื่อการบริการ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ เก่ียวกับการกีฬา ธุรกิจการจัดกิจกรรมการ อกี ทงั้ ยงั สง่ เสรมิ การพฒั นาตอ่ ยอดนกั กฬี าทมี่ ี แขง่ ขนั ตา่ งๆ รวมถงึ สถาบนั พฒั นากฬี าอาชพี ความเปน็ เลศิ ไปสกู่ ารกฬี าเพอื่ การอาชพี อยา่ ง ทกุ ระดบั พรอ้ มทง้ั มงุ่ พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วเชงิ เตม็ ตวั สามารถสร้างรายได้จากความรู้ ความ กีฬา และจัดตัง้ เมอื งกีฬา เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทย สามารถ ทกั ษะ และประสบการณ์ โดยจดั ให้ เปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นการกฬี าของภมู ภิ าค โดยมี มีโครงสรา้ งพน้ื ฐานทีพ่ ร้อมรองรบั การพฒั นา แนวทางท่ีสำ� คัญ ไดแ้ ก่ ประกอบกับการจัดให้มีระบบสวัสดิการ 1. ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ช่วยเหลือและส่งเสริมการสร้างความร่วมมือ อุตสาหกรรมการกฬี า ระหว่างภาครัฐและเอกชนในการร่วมพัฒนา 2. การพฒั นาการกฬี าเพอื่ การทอ่ งเทยี่ ว เส้นทางอาชีพนักกฬี า โดยมีแนวทางที่สำ� คัญ และนันทนาการ ได้แก่ 1. การเฟ้นหาและพัฒนานักกีฬาท่ีมี ความสามารถทางการกีฬาเพื่อความเปน็ เลิศ 2. การพัฒนาบุคลากรการกีฬาอย่าง เป็นระบบและมีมาตรฐานสากล เพื่อการ พัฒนากีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและการอาชีพ อย่างยงั่ ยนื 3. การสรา้ งพฒั นาศนู ยบ์ รกิ ารการกฬี า และศูนย์ฝกึ กีฬาแหง่ ชาตทิ ี่เป็นมาตรฐาน 4. การส่งเสริมและจัดเตรียมการ ดูแลสวัสดิการและสุขภาพของนักเรียนและ บุคลากรการกีฬา 5. การสง่ เสรมิ และพฒั นากฬี าเพอ่ื การ อาชพี อยา่ งเป็นระบบ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 55 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม การยกระดับการบริหารจัดการด้าน ท่ีเก่ียวข้องกับการกีฬา มุ่งเน้นด้านการสร้าง กีฬาให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการ และการพัฒนาสุขภาพของประชาชนและ บริหารจัดการทางการกีฬา โดยเสริมสร้าง สมรรถภาพของนักกีฬา ทั้งทางด้านร่างกาย การบรู ณาการตงั้ แตร่ ะดบั นโยบายจนถงึ ระดบั และจติ ใจ รวมไปถงึ เทคนิคทกั ษะกฬี าในชว่ ง ปฏิบัติการ ผ่านกลไกของคณะกรรมการ การแขง่ ขนั ตลอดจนพฒั นาไปสคู่ วามสามารถ นโยบายการกีฬาแห่งชาติท่ีจะมีการจัดตั้งข้ึน สงู สดุ ของแตล่ ะบคุ คลอยา่ งเปน็ ระบบ โดยจดั ร ว ม ไ ป ถึ ง พั ฒ น า ร ะ บ บ ฐ า น ข ้ อ มู ล ท่ี มี ให้มีโครงสร้างพื้นฐานที่มีมาตรฐานและ มาตรฐานเพอื่ ประโยชนใ์ นการเชอื่ มโยงขอ้ มลู เพียงพอต่อความต้องการ พร้อมท้ังส่งเสริม ส�ำหรับการติดตามและประเมินผลอย่างมี การวจิ ยั และพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมที่ ประสิทธิภาพ อีกท้ังยังส่งเสริมการยกระดับ เกยี่ วขอ้ งกบั การกฬี า และสรา้ งความตระหนกั การบริหารจัดการขององค์กรกีฬาต่างๆ ให้ และการน�ำองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ทัดเทียมสากล และอยู่บนพื้นฐานของหลัก สูงสุดกับประชาชนและนักกีฬาทุกกลุ่ม ธรรมาภบิ าล โดยมีแนวทางท่สี �ำคัญ ได้แก่ มีแนวทางการพฒั นาท่สี ำ� คญั ได้แก่ 1. การสรา้ งความรว่ มมอื ของหนว่ ยงาน 1. การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและ ภาครฐั และภาคเอกชนทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การกฬี า บุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาท้ังใน 2. การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการ สว่ นกลาง ภมู ภิ าคและระดบั ท้องถนิ่ ออกก�ำลังกายและการกีฬาต้ังแต่ระดับชาติ 2. การพัฒนาและการสร้างเครือข่าย ภูมิภาค และท้องถิ่น เพื่อการติดตามและ องค์ความร้นู วัตกรรมทางการกีฬา ประเมนิ ผล 3. การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 3. การยกระดบั การบรหิ ารจดั การกฬี า องค์ความรู้ทางการกีฬาเพื่อน�ำไปพัฒนาขีด บนพ้ืนฐานของหลกั ธรรมาภิบาล ความสามารถของนักกีฬาและสุขภาพของ ประชาชน
56 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ ส�ำ หรับเยาวชนหญงิ โดยการจดั ท�ำวิจัยฉบับนีเ้ พอ่ื ใหส้ อดคล้องกับการด�ำเนินงานตามแผนการพัฒนากฬี าแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 -2564) ตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 และยทุ ธศาสตร์ที่ 5 ดังน้ี ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การสง่ เสริมใหเ้ กิดความรู้และความตระหนักด้านการออกกำ� ลงั กายและการกฬี าข้นั พน้ื ฐาน เพ่ือให้เด็กและเยาวชนท้ังในระบบและนอกระบบการศึกษา ได้รับการศึกษาด้านพลศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างทั่วถึง จากครูพลศึกษาท่ีมีคุณภาพและจ�ำนวนเพียงพอต่อความต้องการ มีการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาข้ันพื้นฐานได้อย่าง ถกู ต้อง รกู้ ฎ และกติกา จนสามารถถงึ ขน้ั ดูกีฬา เปน็ เล่นกฬี าได้ มีทศั นคตทิ ่ดี ี มีระเบยี บวินัยและน้�ำใจนักกฬี า รวมถึงมี การจดั วางระบบโครงขา่ ยในสถานศกึ ษาและชมุ ชน เพอ่ื สรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษาและครอบครวั ในการผลกั ดนั ให้การออกกำ� ลงั กายและการเลน่ กีฬาเปน็ ส่วนหนงึ่ ของวิถีชวี ิตตัง้ แตป่ ฐมวัย 1. เป้าประสงค ์ 1.1 เดก็ และเยาวชน มคี วามเขา้ ใจและมคี วามตระหนกั ในกจิ กรรมทางกาย การออกกำ� ลงั กายและการเลน่ กฬี าเพม่ิ มากขนึ้ 1.2 เดก็ และเยาวชน ทุกกลุม่ และทกุ พืน้ ท่ี มีสุขภาพร่างกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.3 เดก็ และเยาวชน มคี วามรแู้ ละทกั ษะในการออกกำ� ลงั กายและกฬี าทถ่ี นดั ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 1 ชนดิ กฬี า พรอ้ มกบั มคี วาม ส�ำนึกถึงความมีระเบียบวินยั และนำ�้ ใจนักกฬี า 1. สง่ เสรมิ การเรยี นรูด้ ้านการออกก�ำลงั กายและการ วชิ าอนื่ ในสถานศกึ ษาทข่ี าดแคลนครพู ลศกึ ษา เพมิ่ อตั ราการ กีฬาขนั้ พ้ืนฐานในสถานศกึ ษา โดยการส่งเสริมวชิ าพลศกึ ษา จา้ งงานของครผู สู้ อนวชิ าพลศกึ ษาในสถานศกึ ษา เสรมิ สรา้ ง และวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวยั จดั ใหม้ คี าบเรยี น ความรขู้ องครผู สู้ อนวชิ าพลศกึ ษาใหท้ นั สมยั ผา่ นเครอื ขา่ ยครู พลศึกษาไม่น้อยกว่า 2 คาบต่อสัปดาห์ ยกระดับหลักสูตร ผู้สอนวิชาพลศึกษา เพื่อรักษาและพัฒนาคุณภาพของการ วิชาพลศึกษาให้เป็นมาตรฐานเดียวกันท่ัวประเทศ ส่งเสริม เรียนการสอนวชิ าพลศึกษาในสถานศึกษาอย่างต่อเน่อื ง ให้นักเรียนออกก�ำลังกายก่อนและหลังเลิกเรียนและจัดให้มี 3. จัดให้มีอุปกรณ์และสถานที่เพื่อการออกก�ำลัง การพัฒนาแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เป็นมาตรฐาน กายขัน้ พ้นื ฐานตามสถานศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดบั ทอ้ งถ่นิ โดยการ พร้อมท้ังเก็บรวบรวมข้อมูลผลการทดสอบสมรรถภาพทาง สร้างความตระหนักให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาเล็งเห็นถึง กายของนกั เรยี นท่ัวประเทศ นอกจากนี้ ควรพจิ ารณาความ ความส�ำคัญของการมีและการใช้ประโยชน์จากสถานที่และ เป็นไปได้ในการออกแบบทดสอบและท�ำการประเมินวดั ผล อปุ กรณก์ ฬี าทไ่ี ดม้ าตรฐาน และสง่ เสรมิ การดแู ลรกั ษาสถานที่ ความรดู้ า้ นการออกกำ� ลงั กายและการกฬี าขนั้ พนื้ ฐาน และอุปกรณ์ในการเล่นกีฬาของสถานศึกษาท่ัวประเทศ 2. พฒั นาคณุ ภาพของครพู ลศกึ ษาใหม้ มี าตรฐาน และ ให้การสนบั สนุนงบประมาณแก่สถานศกึ ษาของภาครัฐ เพอื่ จัดสรรให้มีการบรรจุครูพลศึกษาในสถานศึกษาท่ัวประเทศ ปรับปรงุ สถานทแี่ ละจดั หาอุปกรณ์กฬี า โดยการจดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมวชิ าการพลศกึ ษาใหก้ บั ครผู สู้ อน 4. สง่ เสรมิ และพฒั นาการออกกำ� ลงั กายและการกฬี า
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 57 ขั้นพ้ืนฐานส�ำหรับเด็กและเยาวชนคนพิการในสถานศึกษา ผ่านการประชาสัมพันธ์และการตลาดที่สามารถเข้าถึงเด็ก โดยการปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบการศึกษาดา้ นการกฬี าใน และเยาวชนได้ โดยการบูรณาการการใช้สื่อต่างๆ รวมถึง สถานศึกษาส�ำหรับคนพิการ ก�ำหนดให้มีการเรียนการสอน นกั กฬี าและบคุ คลทมี่ ชี อื่ เสยี งในการกฬี าเพอื่ ประชาสมั พนั ธ์ วชิ าพลศึกษาส�ำหรับคนพกิ าร จดั ตงั้ สถาบันพัฒนาการกีฬา ควบคไู่ ปกบั การสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคเอกชน เพอ่ื น�ำองค์ คนพิการส�ำหรับพัฒนาองค์ความรู้ฝึกฝนทักษะ และพัฒนา ความรู้ด้านบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้เพ่ือเพิ่มความสนใจ บคุ ลากรเพอ่ื รองรบั การพฒั นากฬี าคนพกิ ารในดา้ นการออก และให้ความรู้เก่ียวกับการกีฬาแก่เด็กและเยาวชนต่อการ กำ� ลังกายและการกฬี าขัน้ พน้ื ฐาน ออกก�ำลังกายและการกีฬา รวมทั้งควรเชิดชูเกียรติประวัติ 5. สง่ เสรมิ การพฒั นาการออกกำ� ลงั กายและการกฬี า ของเดก็ และเยาวชนทมี่ ผี ลงานดเี ดน่ ในการกฬี าทกุ ระดบั เพอ่ื ขน้ั พืน้ ฐานในชุมชนทอ้ งถน่ิ นอกสถานศกึ ษา เป็นตัวอย่างและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่เด็กและเยาวชน 5.1 ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมการออกก�ำลงั กาย ในสงั คม และการกฬี าขนั้ พนื้ ฐานนอกหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน 6.จัดวางระบบโครงข่ายและสร้างความเชื่อมโยง เพอื่ เพมิ่ ความตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการออกกำ� ลงั กาย ระหว่างสถานศกึ ษาและชุมชน โดยการพฒั นาและสง่ เสรมิ กจิ กรรมกฬี าและนนั ทนาการนอก 6.1 จัดต้ังเครือข่ายการกีฬาระหว่างชุมชนและ หลักสูตรสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน โดยประสานความร่วมมือ สถานศกึ ษา พรอ้ มทงั้ เพิม่ บทบาทการมีสว่ นร่วมของสถาบัน กับท้องถ่ินและภาคเอกชน ให้ความรู้และจัดการทดสอบ ครอบครัว โดยการเสริมสร้างความร่วมมือในสถานศึกษา สมรรถภาพทางกายแก่เด็กและกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ให้เกิดการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียนและ ให้แก่เยาวชนในชุมชนท้องถ่ิน เพ่ือให้เข้าใจถึงความส�ำคัญ ผปู้ กครอง เพ่ือเน้นยำ้� ถงึ ความส�ำคัญของการกีฬา และสร้าง ของการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า ซงึ่ สง่ ผลตอ่ สขุ ภาพโดยรวม ความเข้าใจถึงการพัฒนาการกีฬาของสถานศึกษา ส่งเสริม 5.2 พฒั นาและส่งเสรมิ ให้มอี าสาสมคั รและผ้นู ำ� ใน และผลกั ดนั กจิ กรรมกฬี า นนั ทนาการ และการจดั การประชมุ ระดับเยาวชน เพ่ือเสริมสร้างการเรียนรู้ด้านการออกก�ำลัง เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พร้อมทั้งหาแนวทางส่งเสริม กายและการกีฬา โดยการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน และผลกั ดนั กจิ กรรมกฬี าและนนั ทนาการนอกระบบสถานศกึ ษา ท่ีเกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับท้องถ่ินในการจัดให้มีกิจกรรมและ 6.2 ส่งเสริมความร่วมมือและสร้างความสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ เพ่ือสร้างและพัฒนาอาสาสมัครและผู้น�ำ ระหวา่ งสถานศกึ ษาของทงั้ ในและตา่ งประเทศ โดยการจดั ตงั้ ทางการกฬี าในระดบั เดก็ และเยาวชน เสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื เครอื ขา่ ยและสง่ เสรมิ การเปน็ สมาชกิ ของคณะกรรมการและ กบั สถานศกึ ษาเพอื่ กระตนุ้ ใหผ้ บู้ รหิ ารเลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั องค์กรการกีฬาท่ีเป็นมาตรฐานสากลในระดับสถานศึกษา ของโครงการ และผลกั ดนั ใหน้ กั เรยี นของตนเขา้ รว่ มกจิ กรรม และสถาบนั อดุ มศกึ ษา เพอ่ื เสรมิ สรา้ งและพฒั นาสมั พนั ธภาพ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งการเรยี นรดู้ า้ นการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า อนั ดขี องทกุ เครอื ขา่ ยและกำ� หนดเปน็ แนวทางการปฏบิ ตั แิ ละ ตัง้ แต่เยาวว์ ยั ส่ือสารกับเครือข่ายการกีฬาในทุกระดับ อาทิ ท้องถนิ่ สถาน 5.3 เพิ่มความตระหนักและเสรมิ สร้างนำ้� ใจนกั กีฬา ศึกษา และสถาบนั อดุ มศึกษา
58 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยท่ีมผี ลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ ส�ำ หรบั เยาวชนหญงิ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การส่งเสรมิ ให้มวลชนมกี ารออกก�ำลงั กายและมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการกีฬา เพ่ือเสรมิ สรา้ งการออกก�ำลังกายสำ� หรับประชาชนทกุ กลมุ่ ทกุ เพศ ทกุ วัย ยทุ ธศาสตรน์ ้ีถือวา่ มีความส�ำคัญสำ� หรบั ประชาชนทวั่ ไป ทงั้ นี้ เพราะการออกกำ� ลงั กายหรอื การเลน่ กฬี าจะทำ� ใหส้ ขุ ภาพพลานามยั แขง็ แรง ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษา พยาบาล ลดปัญหาสังคม สามารถใชป้ ระโยชน์ในการแกไ้ ขปญั หายาเสพติดและอบายมขุ โดยมีการสรา้ งโอกาสการเขา้ ถงึ กจิ กรรมการออกก�ำลงั กายและการเลน่ กฬี า และมกี ารจดั เตรยี มโครงสรา้ งพนื้ ฐานและสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกแกป่ ระชาชน ทกุ กลุ่มอยา่ งทว่ั ถงึ รวมไปถงึ การส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีจติ สาธารณะ และพฒั นาระบบอาสาสมัครการกฬี า 1. เปา้ ประสงค ์ 1.1 ประชาชนทกุ ภาคส่วนมีสขุ ภาพโดยเฉล่ียทด่ี ขี นึ้ จากการออกก�ำลังกายและการเลน่ กฬี า 1.2 มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการกีฬาท่ีมีมาตรฐาน และสามารถรองรับกิจกรรมกีฬาของประชาชนทุกกลุ่มอายุอย่างมี ความเสมอภาคกัน พร้อมทัง้ มสี ง่ิ อ�ำนวยความสะดวกให้แกค่ นพกิ ารและผสู้ งู อายุใหค้ รอบคลุมในทกุ ท้องถนิ่ 1.3 สร้างโอกาสในการเข้าถึง และมกี ารประชาสมั พันธ์ถงึ กิจกรรมและการบริการทางการกีฬา รวมทัง้ สร้างความรสู้ ึก เป็นเจา้ ของและรว่ มดแู ลโครงสร้างพืน้ ฐานดา้ นการกีฬาของชุมชนท้องถนิ่ 1.4 มีอาสาสมัครทางการกีฬาและผู้น�ำการออกก�ำลังกายที่มีความพร้อมในการช่วยเหลือหรือให้การดูแลการเล่นกีฬา และการออกกำ� ลังกายของชุมชนทอ้ งถ่นิ 2. ตวั ชว้ี ัด 2.4 จำ� นวนบคุ ลากรและผนู้ ำ� ทางกฬี าและนนั ทนาการ 2.1 มกี ารจดั เตรยี มและพฒั นาสถานกฬี าสาธารณะไม่ ได้รับการพัฒนา ผ่านการประเมินและทดสอบถูกติดตาม นอ้ ยกว่า 1 แหง่ ตอ่ ต�ำบล และบนั ทกึ อยา่ งถกู ตอ้ ง โดยมอี ตั ราการเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2.2 มีการจัดอุปกรณ์การออกก�ำลังกาย/เล่นกีฬา ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 5 ตอ่ ปี ไมน่ ้อยกวา่ 5 ชนิดกฬี าต่อตำ� บลตอ่ ปี 2.5 ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เฉล่ียของประชากรทั่ว 2.3 มกี ารจดั กจิ กรรมการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า ประเทศดีข้ึนรอ้ ยละ 5 เม่ือเทยี บกับเกณฑม์ าตรฐานสากล เพอ่ื มวลชนทว่ั ประเทศทจี่ ดั ขนึ้ โดยหนว่ ยงานภาครฐั หรอื เกดิ 2.6 มีอาสาสมัครทางการกีฬาครบทุกหมู่บ้าน และ จากความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน เพมิ่ ขนึ้ ไม่น้อยกวา่ 1 คนตอ่ จำ� นวนประชากร 900 คน อย่างตอ่ เน่ืองไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 10 ต่อปี
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 59 3. แนวทางการพัฒนา 3.1 จัดหาและพัฒนาสถานท่ีและอุปกรณ์กีฬาที่ ให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุนและบริหาร เพียงพอและเหมาะสมเพ่ือการออกก�ำลังกายและการเล่น จดั การสถานกฬี า เพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ จากสถานกฬี าของภาครฐั กฬี าของมวลชน 4. ส่งเสริมให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการ 1. พัฒนาและบ�ำรุงรักษาโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน ใช้สถานกีฬาเพ่ือสาธารณชน โดยการพัฒนาความร่วมมือ การออกก�ำลังกายและการกีฬาตั้งแต่ระดับท้องถ่ิน โดย ระหว่างสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาในการจัดพ้ืนที่ การพิจารณาศึกษาและก�ำหนดพื้นที่พัฒนาสถานกีฬาหรือ หรอื สถานกฬี า เพื่อเพม่ิ โอกาสใช้ประโยชน์ในการออกก�ำลงั อุปกรณ์ส�ำหรับการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาท่ัวประเทศ กายและเล่นกีฬาทั้งก่อนและหลังเวลาท�ำงาน เพ่ิมการเข้า จัดสร้างสถานกีฬาหรือจัดหาอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้องอย่าง ถงึ สถานที่ออกก�ำลงั กายและเล่นกฬี าของประชาชนในพน้ื ท่ี เหมาะสม เพ่ือเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงให้แก่ประชาชนใน และพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการสถานที่และอุปกรณ์ พ้ืนที่ สนับสนุนให้มีการบ�ำรุงรักษาสถานกีฬาท่ัวทุกพื้นท่ี ที่ไดม้ าตรฐานทางการกีฬาให้กับสถานศึกษา และพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้มีความเหมาะสม เพ่ือ 5. ส่งเสริมให้สถานกีฬาขยายเวลาการให้บริการ รองรบั การใชป้ ระโยชนข์ องผสู้ งู อายแุ ละคนพกิ ารในทกุ พน้ื ที่ แกป่ ระชาชน โดยการศกึ ษาความตอ้ งการของประชาชนใน ทว่ั ประเทศ แตล่ ะทอ้ งท่ี และพฒั นาความรว่ มมอื กบั สถานกฬี าของภาครฐั 2. พัฒนามาตรการด้านความปลอดภยั สำ� หรับการ และภาคเอกชนให้ก�ำหนดเวลาที่เหมาะสมในการเปิดให้ ออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาตามความเหมาะสม โดยการจัด บรกิ าร เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมกี ารออกกำ� ลงั กายและเลน่ ท�ำแนวทางและก�ำหนดกฎระเบียบเพื่อส่งเสริมด้านความ กฬี าเพิ่มมากข้นึ ประชาสมั พนั ธ์ช่วงเวลาการใหบ้ รกิ าร และ ปลอดภยั ในการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า ใหค้ ำ� แนะนำ� และ จัดกิจกรรมเพ่ือดึงดูดและเพ่ิมความสนใจของประชาชนให้ ประชาสัมพันธ์แนวทางในการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาท่ี เข้ามาใช้บรกิ ารในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ปลอดภัยแก่ประชาชนผ่านสื่อต่างๆ และผลักดันให้เจ้าของ 6. สรา้ งความรูส้ กึ เปน็ เจา้ ของและส่งเสรมิ การดแู ล สถานกฬี าทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชน มมี าตรการในการรกั ษา รกั ษาสถานท่ีออกก�ำลงั กายและสงิ่ อำ� นวยความสะดวก โดย กฎระเบียบ โดยมีมาตรการตักเตือนหรือบทลงโทษส�ำหรับ การประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ เพ่ือ ผฝู้ ่าฝนื สรา้ งจติ สำ� นกึ และความรสู้ กึ เปน็ เจา้ ของใหป้ ระชาชนในการ 3. ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ใช้ประโยชน์ พร้อมกับดูแลรักษาสถานท่ีและอุปกรณ์กีฬา และเอกชนในการพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นการกฬี า โดย สาธารณะอย่างเหมาะสม รวมทั้งสนับสนุนโครงการอาสา การกำ� หนดมาตรการจงู ใจใหภ้ าคเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มกบั สมัครเพื่อช่วยเหลือในการดูแลรักษาสถานที่และอุปกรณ์ ภาครฐั ในการพฒั นาและบำ� รงุ รกั ษาสถานกฬี า และสรา้ งโอกาส และกำ� หนดมาตรการตกั เตอื นหรอื ปอ้ งกนั การใชส้ ถานทแี่ ละ อปุ กรณ์การกีฬาท่ีไม่ถูกวธิ ี
60 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยทมี่ ีผลต่อความแข็งแรงของกลา้ มเน้อื ส�ำ หรบั เยาวชนหญิง 3.2 เสรมิ สรา้ งความเสมอภาคในการเข้าถึงการ ออกกำ� ลงั กายและการเลน่ กฬี าสำ� หรบั ประชากร ทกุ กลมุ่ 1. เผยแพร่ความรู้เพื่อเพ่ิมความ ตระหนักด้านการออกก�ำลังกาย การเล่นกีฬา และการดูแลสุขภาพให้กับประชาชนทั้งส่วน กลางและท้องถิ่น โดยการจัดต้ัง ส่งเสริม และ ประชาสัมพันธ์ศูนย์เผยแพร่ความรู้ พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุดกีฬา หรือหอเกียรติยศกีฬาไทยทั้งใน ส่วนกลางและชุมชนท้องถ่ิน การใช้การส่ือสาร ผ่านช่องทางส่ือดิจิตอลหรือส่ือสังคมออนไลน์ เพ่ือเพ่ิมช่องทางการเข้าถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ ใน การสร้างความตระหนักด้านการออกก�ำลังกาย และเลน่ กีฬา 2. จัดให้มีและส่งเสริมกิจกรรมการ ออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสำ� หรบั ประชาชนทวั่ ไป โดยการจดั กจิ กรรมและสง่ เสรมิ การด�ำเนินกิจกรรมการออกก�ำลังกายและ เล่นกีฬาในระดับท้องถ่ิน ระดับจังหวัด ระดับ ภูมิภาคและระดับชาติ ส�ำหรับประชาชนทั้งวัย เรียนและวัยท�ำงานอย่างต่อเนื่องและเสมอภาค โดยพัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ท่ี เกย่ี วขอ้ งทงั้ ภาครฐั และเอกชนในการผลกั ดนั ให้ มกี ารออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าอยา่ งสมำ่� เสมอ ประชาสัมพันธ์โดยใช้นักกีฬาท่ีมีช่ือเสียงเป็น ตน้ แบบ (Model) เพอื่ ดงึ ดดู ใหป้ ระชาชนเขา้ รว่ ม กิจกรรมผา่ นส่อื ยุคใหม่
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 61 3. จดั กิจกรรมและสง่ิ อ�ำนวยความสะดวกทีม่ คี วาม ท่ีเข้าถึงได้ของประชาชนทุกภาคส่วน ส่งเสริมกิจกรรมด้าน เหมาะสมกบั กลมุ่ ประชาชนผสู้ งู อายุ โดยการจดั กจิ กรรมและ การกีฬาในชุมชนตามแนวชายแดน โดยเฉพาะใน ๓ จังหวัด ส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรมการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา ชายแดนภาคใต้ เพ่อื ลดความเหลือ่ มล้�ำและเสริมสรา้ งความ พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่มีความเหมาะสมส�ำหรับผู้สูง สามคั คีในสงั คมอย่างตอ่ เนือ่ ง อายทุ ่วั ประเทศ ประชาสมั พันธเ์ พือ่ สรา้ งความสนใจผ่านสือ่ 3.3 ส่งเสริมการพัฒนาอาสาสมัครและบุคลากรการ ต่างๆ จัดการทดสอบสมรรถภาพทางกายและกิจกรรม กฬี าเพอ่ื มวลชนอยา่ งเปน็ ระบบ สง่ เสรมิ การเรยี นรใู้ หก้ บั ผสู้ งู อายุ เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจถงึ ความ 1. สร้างจิตสาธารณะพร้อมทั้งจัดให้มีอาสาสมัคร สำ� คญั ของการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า และเผยแพรค่ วามรู้ ทางการกีฬา และผู้น�ำการออกก�ำลังกายเพ่ือมวลชนอย่าง เบื้องต้นด้านการดูแลรักษาสุขภาพ โดยน�ำองค์ความรู้ด้าน เป็นระบบ โดยการส่งเสริมให้คนในชุมชนสมัครเป็นอาสา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬามาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ สมคั รทอ้ งถนิ่ และทำ� การฝกึ อบรมเพอื่ ใหอ้ าสาสมคั รสามารถ 4. จดั กจิ กรรมและสิง่ อำ� นวยความสะดวกทม่ี คี วาม ทำ� หนา้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและมมี าตรฐาน ผลกั ดนั การ เหมาะสมกับกลุ่มประชาชนคนพิการและผู้ด้อยโอกาส โดย สร้างและฝึกอบรมบุคลากรเพ่ือเป็นผู้น�ำการออกก�ำลังกาย การจัดกิจกรรมและส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรมการออก และกจิ กรรมกฬี าประจำ� ในทอ้ งถนิ่ สนบั สนนุ ทางการเงนิ เพอื่ ก�ำลังกายและเล่นกีฬา พร้อมส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีมี ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมและพจิ ารณาคา่ ตอบแทนและสวสั ดกิ าร ความเหมาะสม และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้ด้อยโอกาส ที่เหมาะสม เพ่ือท�ำให้ต�ำแหน่งงานมีความน่าสนใจ รวมถึง ทว่ั ประเทศประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื สรา้ งความสนใจเกย่ี วกบั กจิ กรรม จัดการฝึกอบรมและพัฒนาโอกาสส�ำหรับความก้าวหน้าใน โดยใช้ส่ือต่างๆ รวมไปถึงจัดการทดสอบสมรรถภาพทาง อาชีพ และจัดตั้งเครือข่ายของผู้น�ำการออกก�ำลังกายเพ่ือ กายและกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรใู้ หก้ ับผ้ดู ้อยโอกาส เพ่ือ แบง่ ปนั และแลกเปลย่ี นแนวทางการพฒั นาการออกกำ� ลงั กาย สร้างความเข้าใจถึงความส�ำคัญของการออกก�ำลังกายและ 2. พฒั นาบคุ ลากรการกฬี าสำ� หรบั กจิ กรรมการออก เล่นกีฬา จัดตั้งองค์กรหรือหน่วยงานที่มีหน้าท่ีส่งเสริมและ ก�ำลังกายและเล่นกฬี าในระดบั ทอ้ งถ่ิน โดยการสง่ เสริมและ พฒั นาการกฬี าเพอ่ื กลมุ่ ประชาชนคนพกิ ารและผดู้ อ้ ยโอกาส พัฒนาผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน และผู้บริหารการกีฬาในท้องถิ่น 5. รวมใจคนไทยรกั ชาตดิ ว้ ยกจิ กรรมกีฬาเพือ่ เสริม โดยจดั ใหม้ หี ลกั สตู รการฝกึ สอนใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ ว สร้างความสามัคคี โดยการส่งเสริมกิจกรรมการชมและ กับการปฏิบัติหน้าท่ีในด้านการออกก�ำลังกายและกีฬาเพ่ือ เชียร์กีฬาในทุกระดับ สร้างความร่วมมือกับสถานศึกษา มวลชน และสนับสนุนงบประมาณท่ีเหมาะสมรวมถึงการ และสถาบันอุดมศึกษาในการผลักดันการชมและเชียร์กีฬา สร้างโอกาสในการเจริญเติบโตในหน้าท่ีการงานเพื่อจูงใจให้ ในหมู่เด็กและเยาวชน รวมทั้งร่วมมือกับสื่อโฆษณาในการ มีการประกอบอาชพี เหลา่ นม้ี ากขนึ้ ประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื สรา้ งความรว่ มใจในการเชยี รท์ มี ชาตไิ ทย เพอ่ื สรา้ งความเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ของประชาชนชาวไทย ในเวลามกี ารแขง่ ขนั กฬี าตา่ งๆ จดั ใหบ้ ตั รเขา้ ชมกฬี าทมี่ รี าคา
62 การสร้างรูปแบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อสำ�หรับเยาวชนหญิง ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การพฒั นาองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมที่เกีย่ วขอ้ งกบั การกีฬา เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นด้านการสร้างและการพัฒนาสุขภาพของประชาชนและสมรรถภาพของนักกีฬาทั้งทางด้าน ร่างกายและจติ ใจ รวมไปถงึ เทคนคิ ทกั ษะกีฬาในชว่ งการแข่งขัน ตลอดจนพฒั นาไปสคู่ วามสามารถสูงสุดแตล่ ะบุคคลอย่าง เป็นระบบ โดยจัดให้มีโครงสร้างพ้ืนฐานที่มีมาตรฐานและเพียงพอต่อความต้องการ พร้อมทั้งส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา องค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมทเ่ี กย่ี วข้องกับการกฬี าและสรา้ งความตระหนกั และการน�ำองค์ความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ กบั ประชาชนและนักกฬี าทกุ กลมุ่ 1. เป้าประสงค ์ 1.1 องค์ความรู้ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการกฬี าไดร้ บั การเผยแพร่และใช้ประโยชน์อยา่ งท่วั ถงึ โดยประชาชนทกุ ภาคสว่ น 1.2 มีโครงสร้างพื้นฐานและบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาที่สามารถให้บริการงานด้าน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกฬี าได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 1.3 ขดี ความสามารถของนกั กฬี าและสขุ ภาพของประชาชน มพี ฒั นาการทดี่ ขี นึ้ จากการใชอ้ งคค์ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยกี ารกีฬา 1.4 มหี นว่ ยงานหลกั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าทสี่ ามารถบรู ณาการและเชอ่ื มโยงขอ้ มลู กบั หนว่ ยปฏบิ ตั ิ ไดอ้ ย่างทวั่ ถึงและตอ่ เนอื่ ง 1.5 มีการพฒั นาองคค์ วามรู้ สง่ เสรมิ การวิจยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมทางการกฬี าอย่างมี ระบบ ควบคู่ไปกบั การพัฒนาความร่วมมอื กบั หน่วยงานวิจยั อย่างตอ่ เนอื่ ง 2. ตัวช้ีวัด 2.1 มจี งั หวดั ทม่ี ศี นู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าทไ่ี ดร้ บั การ 2.4 มีส่ือเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการกีฬาประจ�ำ พฒั นาใหส้ ามารถดำ� เนนิ การได้ และสามารถประสานงานกบั ทอ้ งถน่ิ ทด่ี ำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ชนดิ ตอ่ ตำ� บล สว่ นกลางอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพไมน่ อ้ ยกวา่ 12 จงั หวดั ภายใน 2.5 มีการฝึกอบรมและพัฒนาองค์ความรู้และ ปี พ.ศ. 2564 นวัตกรรมทางการกีฬาในระดับภูมิภาค ไม่น้อยกว่าปีละ 4 2.2 มีการจัดตั้งสภาวิชาชีพส�ำหรับบุคลากรด้าน ครั้ง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าขนึ้ และสามารถดำ� เนนิ 2.6 มกี ารลงทนุ จากภาคเอกชนในการคน้ ควา้ และวจิ ยั การได้โดยสมบรู ณ์ ท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างนวัตกรรมการกีฬา โดยมีอัตราการ 2.3 มีบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาท่ัวประเทศ เตบิ โตไมน่ อ้ ยกว่าอัตราการเตบิ โตของมูลคา่ GDP ทไี่ ดร้ บั การพฒั นาและรบั รองมาตรฐานเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2.7 นักกีฬาและบุคลากรการกีฬาไม่น้อยกว่าร้อยละ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 5 ตอ่ ปี 80 มคี วามพงึ พอใจในคณุ ภาพและมาตรฐานของบรกิ ารดา้ น วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกฬี าทไี่ ด้รับ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 63 3. แนวทางการพฒั นา 3.1 พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและบุคลากรทางด้าน 2. สร้างระบบฐานข้อมูลและวางนโยบายที่เอ้ือ วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าทงั้ ในสว่ นกลาง ภมู ภิ าค และระดบั ทอ้ งถนิ่ ต่อการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ 1. พัฒนาและยกระดับโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน กีฬา โดยการจดั ตั้งฐานขอ้ มูลกลางส�ำหรับวิทยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์การกีฬาทงั้ ในส่วนกลางและระดบั ท้องถนิ่ โดย เทคโนโลยีการกีฬา เผยแพร่และส่งเสริมการใช้งานฐาน การจดั ตง้ั สถาบนั วทิ ยาศาสตร์การกีฬาแหง่ ประเทศไทยเพอ่ื ข้อมูลท้งั ภายในและระหวา่ งหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง รวมไปถึง เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสมรรถภาพของนักกีฬาและ สาธารณชน และใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลเพ่ือก�ำหนด สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพทแี่ ขง็ แรงแกป่ ระชาชน ปรบั ปรงุ และพฒั นา นโยบายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ในการ ศูนย์ให้บริการวิทยาศาสตร์การกีฬาที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดย ช่วยพัฒนานักกีฬาในพ้ืนท่ีให้เกิดความเป็นเลิศ และการใช้ เพมิ่ จำ� นวนศนู ยใ์ หบ้ รกิ ารดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าในระดบั องค์ความรู้ทางการกีฬาเพ่ือพัฒนาสุขภาพพลานามัยของ จงั หวัดใหค้ รอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งรวมไปถงึ ศนู ย์ตรวจสอบ ประชาชน สารตอ้ งหา้ มในนกั กฬี า และสรา้ งความรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษา 3. ประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื เสรมิ สรา้ งความตระหนกั ดา้ น เพื่อใช้ทรัพยากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาควบคู่ไปกับการใช้ชีวิต กีฬาทม่ี อี ยใู่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด ประจ�ำวัน โดยการรณรงค์ให้นักกีฬาและประชาชนท่ัวไป 2. พัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาให้มี ตระหนักถึงบริการด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาพื้นฐาน คุณภาพและสามารถให้บริการอย่างทั่วถึงในทุกระดับ โดย รวมถงึ ประโยชนข์ องการใชอ้ งคค์ วามรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การกฬี า การพัฒนาคุณภาพของบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และ ซ่ึงประกอบด้วย สรีรวิทยาการกีฬา ชีวกลศาสตร์ทางการ เทคโนโลยกี ารกฬี า โดยวางมาตรฐานหลักสตู รวทิ ยาศาสตร์ กฬี า จติ วทิ ยาการกีฬา โภชนาการการกีฬา เวชศาสตร์การ และเทคโนโลยีการกีฬา และหลักสูตรการอบรมที่เกี่ยวข้อง กีฬา และเทคโนโลยีการกฬี า โดยใชส้ อ่ื สังคมออนไลน์ และ อื่นๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและสอดคล้องกับมาตรฐาน ส่ือดิจิตอลในการเผยแพร่ข่าวสารและความรู้ที่เกี่ยวกับ สากล บัญญัติและบังคับใช้กฎหมายเก่ียวกับวิชาชีพการ วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าใหค้ รอบคลมุ ประชากรทวั่ ประเทศ และ กีฬาเพ่ือวางมาตรฐานคุณภาพวิชาชีพการกีฬาเพิ่มจ�ำนวน ทำ� งานรว่ มกบั นกั กฬี าทม่ี ชี อื่ เสยี งเพอ่ื ถา่ ยทอดประสบการณ์ บุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาให้ และแสดงให้เห็นถึงบทบาทความส�ำคัญของวิทยาศาสตร์ เพียงพอส�ำหรับการให้บริการประชาชนและนักกีฬาอย่าง การกีฬาท่อี ยูเ่ บือ้ งหลังความส�ำเร็จของตน ท่วั ถึง 4. ยกระดับระบบการเรียนการสอนด้านการกีฬา 3.2 การพัฒนาและการสร้างเครือข่ายองค์ความรู้ ให้มีความทันสมัยในระดับอุดมศึกษา โดยการศึกษาและ และนวัตกรรมทางการกฬี า วิเคราะห์บทเรียนจากกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดี และปรับปรุง 1. สร้างเครือข่ายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสูตรการศึกษาทางการกีฬาในระดับอุดมศึกษาให้ การกฬี าทง้ั ภายในและนอกประเทศ โดยการพฒั นาเครอื ขา่ ย ทนั สมยั สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานระดบั สากล จดั ตง้ั มหาวทิ ยาลยั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี า และจดั ใหม้ กี ารแลก การกีฬาแห่งชาติและสนับสนุนให้เปิดหลักสูตรการเรียน เปลย่ี นความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าอยา่ ง การสอนในสาขาวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์ความรู้ที่ ตอ่ เนอื่ งตง้ั แตร่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ สรา้ งความรว่ มมอื กบั องคก์ รกฬี า เกยี่ วขอ้ งกบั การกฬี าของประเทศ สง่ เสรมิ การศกึ ษาทางดา้ น นานาชาติส�ำหรับเพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาระหว่าง กีฬาโดยใช้สื่อสาธารณะในการประชาสัมพันธ์ เพื่อดึงดูดให้ ประเทศ จดั ประชมุ เชงิ วชิ าการ และสง่ เสรมิ การเปน็ เจา้ ภาพ นักเรียนมีความสนใจและเพิ่มปริมาณบุคลากรการกีฬาท่ีมี การสมั มนาระดบั นานาชาตวิ า่ ดว้ ยเรอื่ งของวทิ ยาศาสตรแ์ ละ คณุ ภาพในประเทศ เทคโนโลยีการกีฬา และเชิญชวนบุคลากรจากหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องจากทัง้ ภาครฐั และเอกชนมาเข้ารว่ มงาน
64 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยทมี่ ีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือส�ำ หรบั เยาวชนหญงิ 3.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางการกีฬา เพื่อน�ำไปพัฒนาขีดความสามารถของนักกีฬาและสุขภาพ ของประชาชน 1. ผลกั ดนั ใหม้ กี ารนำ� องคค์ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าไปใชจ้ รงิ สำ� หรบั การพฒั นาศกั ยภาพของ นกั กฬี าและสขุ ภาพของประชาชน โดยการสนบั สนนุ และจดั หาทรพั ยากรดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าทมี่ คี ณุ ภาพ ให้เพียงพอกับความต้องการของสมาคมกีฬาต่างๆ ในการน�ำไปใช้พัฒนาศักยภาพของนักกีฬา สร้างความร่วมมือระหว่าง สถานศกึ ษาเพ่อื แบง่ ปันความรใู้ นดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าแขนงตา่ งๆ และสง่ เสรมิ การน�ำวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีการกีฬามาปรับใชเ้ พอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน 2. ส่งเสริมการค้นคว้าและวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาภายในประเทศ โดยมุ่งเน้นการสร้าง นวัตกรรมเพื่อการกีฬา โดยการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ที่เก่ียวข้องกับการกีฬาในประเทศ โดยการสร้าง มาตรการ ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาของท้ังภาครัฐและเอกชน พรอ้ มทง้ั สนบั สนนุ การใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ในประเทศไทยเพอื่ ชว่ ยพฒั นาศกั ยภาพของนกั กฬี า สง่ เสรมิ การวจิ ยั ตอ่ ยอดเปน็ นวตั กรรมทางการกีฬา และส่งเสริมภาพลักษณอ์ งคค์ วามรู้ภมู ิปัญญาไทยในระดบั สากล 3.5 ยุทธศาสตร์กรมพลศึกษา (กรมพลศกึ ษา, 2560) กรมพลศึกษา มีนโยบายและแนวทางส่งเสริมให้ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 เกดิ การตระหนกั รู้ สง่ เสรมิ และพฒั นาดา้ นการออกกำ� ลงั กาย การกีฬา นันทนาการ วิทยาศาสตร์การกีฬา และ การส่งเสริมการออกกำ�ลังกาย กีฬา และ การพัฒนาบุคลากรสาขาที่เก่ียวข้อง พัฒนาองค์ความรู้ นนั ทนาการ นวัตกรรม รวมทั้งการยกระดับการบริหารจัดการด้าน การกีฬาและนันทนาการให้มีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ประชาชนมแี นวโนม้ การเอาใจใสต่ อ่ สขุ ภาพและการออก กำ� ลงั กายเพมิ่ ขนึ้ เพอ่ื สอดรบั กบั หนา้ ทขี่ องกรมพลศกึ ษา การส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่าย ในการสนับสนุนให้มีการเข้าถึงการออกก�ำลังกาย เล่น การออกกำ�ลงั กาย กฬี าและนนั ทนาการ กีฬา และกิจกรรมนันทนาการของประชาชนทุกกลุ่ม กรมพลศกึ ษาจงึ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ การ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ออกก�ำลังกาย กีฬา ส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการสร้าง เครือข่ายการออกก�ำลัง กีฬาและนันทนาการ สรา้ งและ การส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานบุคลากร พฒั นารูปแบบ องค์ความรู้ นวตั กรรมดา้ นการออกกำ� ลัง ทางการกีฬาและนันทนาการ กาย กฬี า นนั ทนาการและวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี ามาปรบั ใช้ ใหเ้ หมาะสมกับแต่ละชว่ งวัย เพอ่ื เสริมสรา้ งให้ประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ทุกเพศ วัยและท้องถ่ิน ให้มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ลดปัญหาสังคม โดย การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม ยทุ ธศาสตร์กรมพลศึกษา (พ.ศ. 2560–2564) มีดงั น้ี ด้านการออกกำ�ลังกาย กฬี า นันทนาการ และ วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การพัฒนาสูอ่ งคก์ ารคณุ ภาพ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 65 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การสง่ เสริมการออกกำ�ลงั กาย กฬี า และนนั ทนาการ เพื่อให้เดก็ เยาวชน และประชาชนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และตระหนกั รู้ มีทกั ษะในการออกกำ�ลงั กาย เล่นกีฬาท่ีถนดั และใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชนด์ ว้ ยนนั ทนาการตามความสนใจจนเปน็ วถิ ชี วี ติ และสรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ เยาวชน และประชาชน ออกกำ�ลงั กาย เลน่ กฬี า และกจิ กรรมนนั ทนาการเพอ่ื ใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะทด่ี ี พรอ้ มทง้ั มสี ำ�นกึ ในระเบยี บวนิ ยั และนำ้ �ใจนกั กฬี า เปา้ ประสงค์ 1. เดก็ และเยาวชนทง้ั ในระบบและนอกระบบการศกึ ษามคี วามเขา้ ใจและตระหนกั ในการออกกำ�ลงั กาย และการเลน่ กีฬาเพม่ิ มากข้ึน 2. เด็ก และเยาวชน มีความรแู้ ละทักษะการออกกำ� ลงั กาย และเล่นกีฬาที่ถนัดได้อย่างน้อย 1 ชนดิ กฬี า พร้อมทัง้ มี สำ� นึกในระเบยี บวนิ ัยและนำ�้ ใจนักกฬี า 3. เด็ก เยาวชน และประชาชนใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ดว้ ยนนั ทนาการจนเปน็ วิถชี วี ติ เพ่มิ มากข้นึ 4. เดก็ และเยาวชนมสี มรรถภาพทางกายดขี ้นึ ตามเกณฑม์ าตรฐาน ตวั ชี้วดั 1. รอ้ ยละของจำ� นวนประชาชนท่อี อกกำ� ลังกายและเล่นกฬี าอย่างสม่�ำเสมอ 2. ร้อยละเด็ก เยาวชน และประชาชนใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชนด์ ว้ ยนันทนาการจนเปน็ วถิ ีชีวิต 3. ร้อยละเด็กและเยาวชนท่ัวประเทศที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย 4. ร้อยละของคา่ ดชั นมี วลกาย (BMI) เฉลย่ี ดขี ึ้นเม่ือเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐานสากล แนวทางการพฒั นา 1. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การออกกำ�ลงั กาย การเลน่ กฬี า จดั การแขง่ ขันกฬี าและกิจกรรมนนั ทนาการให้ครอบคลมุ ทกุ พ้นื ทีท่ ั่วประเทศ 2. พัฒนารูปแบบการออกกำ�ลังกาย เล่นกีฬาและนันทนาการตามความต้องการ ความถนัดและความสนใจของ ประชาชน 3. สรา้ งเกณฑ์มาตรฐานและประเมนิ สมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชน
66 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ีผลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ส�ำ หรับเยาวชนหญงิ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การสง่ เสริมและสนบั สนุนการสร้างเครือขา่ ยการออกก�ำลังกาย กฬี าและนนั ทนาการ เพอื่ สง่ เสรมิ ภาคเี ครอื ขา่ ยการออกกำ� ลงั กาย กฬี าและนนั ทนาการทกุ ระดบั ทงั้ สว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าคและสว่ นทอ้ งถน่ิ ใหม้ กี ารรว่ มในการผลกั ดนั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การบรกิ าร และมอี าสาสมคั รทางการกฬี าและผนู้ ำ� การ ออกกำ� ลงั กายทมี่ คี วามพรอ้ มในการชว่ ยเหลอื หรอื ใหก้ ารดแู ลดา้ นการออกกำ� ลงั กาย เลน่ กฬี า ประกอบกจิ กรรมนนั ทนาการ สำ� หรับประชาชนทกุ กลมุ่ ให้ครอบคลมุ ทกุ พ้ืนที่ เปา้ ประสงค์ 1 มีเครือข่ายด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตรก์ ารกีฬาใหค้ รอบคลุมทุกระดับ 2. มีอาสาสมัครการกีฬาท่มี คี วามพร้อมในการชว่ ยเหลือ หรือใหก้ ารดแู ลการเลน่ กีฬา การออกก�ำลงั กายของชุมชน และทอ้ งถ่ิน ตัวชวี้ ดั 1. รอ้ ยละของเครอื ข่ายดา้ นการกฬี า นันทนาการ และวทิ ยาศาสตร์การกฬี าท่ีได้รบั การสง่ เสรมิ และพฒั นา 2. จำ� นวนหมูบ่ า้ นทมี่ อี าสาสมัครกีฬาและผนู้ ำ� การออกก�ำลงั กายครบทุกหมู่บา้ น 3. ร้อยละของเครือข่าย อาสาสมคั รกีฬาและผู้นำ� การออกก�ำลังกายทน่ี ำ� องคค์ วามรไู้ ปเผยแพรใ่ นชมุ ชน 4. จำ� นวนประชาชนที่ได้รับการสง่ เสริมจากเครือข่าย อาสาสมคั รกีฬา และผนู้ �ำการออกก�ำลังกาย แนวทางการพัฒนา 1. ขยายและพฒั นาเครือขา่ ยด้านการกฬี า นนั ทนาการ และวิทยาศาสตรก์ ารกีฬาให้ครอบคลุมทกุ ระดบั 2. ส่งเสริมและพฒั นาอาสาสมคั รการกีฬา และผนู้ ำ� การออกก�ำลงั กายอยา่ งเป็นระบบ 3. สร้างความร่วมมือและแลกเปล่ยี นเรยี นร้ดู า้ นการกฬี า นันทนาการและวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าทกุ ภาคส่วน 4. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมดา้ นกีฬา นันทนาการและวิทยาศาสตรก์ ารกฬี าของเครือข่าย
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 67 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งและพฒั นาองคค์ วามรู้ นวตั กรรมดา้ นการออกกำ� ลงั กาย กฬี า นนั ทนาการ และวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า เพือ่ พฒั นางานวจิ ยั นวตั กรรม หลกั สตู ร คู่มอื มาตรฐานด้านการออกก�ำลังกาย กฬี า นนั ทนาการ วทิ ยาศาสตรก์ าร กีฬา เทคโนโลยีทางการกีฬาและแบบรูปรายการมาตรฐาน การบริหารจัดการสถานกีฬา และผลักดันให้มีการน�ำงานวิจัย องค์ความรู้ไปใช้ไดจ้ ริงเพ่ือพฒั นาสขุ ภาพของประชาชนและต่อยอดการลงทนุ ของภาคเอกชน เปา้ ประสงค ์ 1. มีหลักสูตร คู่มือ องค์ความรู้และมาตรฐานด้านการออกก�ำลังกาย กีฬา นันทนาการ วิทยาศาสตร์การกีฬา แบบรูปรายการสถานการณก์ ีฬา และการบรหิ ารจัดการสถานการณก์ ฬี า 2. งานวิจัย สงิ่ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรมด้านการออกก�ำลังกาย กีฬา และนันทนาการทพี่ ัฒนามีการน�ำไปใชใ้ นภาค เอกชนหรอื ภาคอตุ สาหกรรมเพ่ือเพ่ิมมูลค่า ตัวช้วี ดั 1. จำ� นวนหลกั สตู ร คมู่ อื องคค์ วามรแู้ ละมาตรฐานดา้ นการออกกำ� ลงั กาย กฬี า นนั ทนาการและวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า 2. จำ� นวนงานวิจยั ด้านการออกกำ� ลังกาย กฬี า นนั ทนาการ และวทิ ยาศาสตร์การกีฬา 3. จ�ำนวนแบบรูปรายการสถานกีฬาท่ีใช้ในการเล่นกีฬา ออกก�ำลังกาย ฝึกซ้อมแข่งขันกีฬา และนันทนาการที่ได้ มาตรฐาน 4. จ�ำนวนผู้ประกอบการภาคเอกชนหรืออุตสาหกรรมท่ีน�ำสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมด้านการออกก�ำลังกาย กีฬา และนันทนาการไปตอ่ ยอดเพือ่ เพม่ิ มลู ค่า แนวทางการพัฒนา 1. สรา้ งและพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมดา้ นการออกกำ� ลงั กาย กฬี า นนั ทนาการ และวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าเพอื่ เพิ่มมลู ค่า 2. เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์องค์ความรู้ นวตั กรรมดา้ นการออกก�ำลังกายกีฬา นันทนาการ และวทิ ยาศาสตร์การกีฬา ใหก้ ับหนว่ ยงานในทกุ พ้ืนทท่ี ว่ั ประเทศ 3. พัฒนาช่องทางการเข้าถึงองค์ความรู้เก่ียวกับการพัฒนาบุคลากร การออกก�ำลังกาย กีฬา นันทนาการ และ วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา สรุปได้วา่ นโยบายและยทุ ธศาสตรท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั สขุ ภาพของคน ไดแ้ ก่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564), ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579), นโยบายและยทุ ธศาสตร์การวจิ ยั ของชาติ ฉบบั ท่ี 9 (พ.ศ. 2560-2564) แผนพัฒนาการกฬี าชาติ ฉบบั ท่ี 6 (พ.ศ. 2560-2564) ยทุ ธศาสตรก์ รมพลศกึ ษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ตา่ งมงุ่ เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยเ์ ป็นสำ� คัญ ในการพฒั นาประเทศ มุง่ สร้างสขุ ภาวะทดี่ ี มงุ่ พฒั นา คนให้เป็นคนที่มีความสมบูรณ์ มีวินัย รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อม เขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ ยา่ งมคี ณุ ภาพ มคี วามเจรญิ เตบิ โตทางจติ วญิ ญาณ โดยใชส้ ง่ เสรมิ ใหค้ นออกกำ� ลงั กาย เลน่ กฬี า และ นนั ทนาการ ลดปญั หาดา้ นการเจบ็ ปว่ ยของรา่ งกาย ลดคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นสาธารณสขุ และกฬี ามวยไทยสามารถตอบสนอง ต่อนโยบายและยุทธศาสตรด์ ังกลา่ วไดเ้ ป็นอยา่ งดี จึงเปน็ ท่มี าของการท�ำวิจัยในหัวข้อดงั กลา่ ว
68 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื สำ�หรับเยาวชนหญงิ 4. งานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง 4.1 งานวจิ ัยในประเทศ อนันต์ เมฆสวรรค์ (2535) ได้ท�ำการศึกษาเร่ืองเกณฑ์ ปกติทักษะกีฬามวยไทยของนักศึกษาชาย วิทยาลัยพลศึกษา เพ่ือเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทักษะกีฬามวยไทยของ นกั ศกึ ษาชาย วทิ ยาลยั พลศกึ ษาทก่ี ลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ นกั ศกึ ษาชาย วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชลบุรี จ�ำนวน 104 คน วิทยาลัย พลศึกษาจังหวัดอ่างทอง จ�ำนวน 44 คน วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี จ�ำนวน 87 คน วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัด สมทุ รสาคร จ�ำนวน 62 คน วทิ ยาลยั พลศึกษากรุงเทพ จ�ำนวน 76 คน รวมจำ� นวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง 373 คน และแบบทดสอบทนี่ ำ� มา ใช้เป็นแบบทดสอบทักษะกีฬามวยไทยของ ครองจกั ร งามมศี รี ซง่ึ มีรายการทดสอบ 4 รายการ คือ การเตะเฉียงบรเิ วณลำ� ตัว การตเี ขา่ เฉยี งบรเิ วณลำ� ตวั การถบี บรเิ วณลำ� ตวั การชกหมดั ตรง บรเิ วณใบหน้า ผลการศึกษาแตล่ ะวิทยาลัยในภาคกลาง พบว่า มีความแตกต่างกันในทุกรายการ ทดสอบอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถติ ทิ ่ีระดบั .05 ครองจกั ร งามมศี รี (2530) ไดท้ ำ� การศกึ ษาเรอ่ื งแบบทดสอบทกั ษะกฬี ามวยไทยสำ� หรบั นกั ศกึ ษาชาย วทิ ยาลยั พลศกึ ษา โดยใชก้ ลุม่ ตวั อย่างจากนักศึกษาชาย วิทยาลยั พลศึกษากรุงเทพ จ�ำนวน 30 คน ซงึ่ แบบทดสอบมจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื การนำ� แบบทดสอบทกั ษะนไี้ ปใชว้ ดั และประเมนิ ผลสมั ฤทธใิ์ นการเรยี นวชิ ามวยไทย สำ� หรบั นักศึกษาชาย วทิ ยาลยั พลศกึ ษา แบบทดสอบดงั กล่าวนี้มี 4 รายการ คอื 1) การเตะเฉียงบริเวณล�ำตัว 2) การตเี ข่า เฉยี งบริเวณลำ� ตวั 3) การถีบบรเิ วณล�ำตวั 4) การชกหมดั ตรงบรเิ วณใบหนา้ ผลของการศึกษาค้นควา้ พบว่า แบบทดสอบ ท่ีสร้างข้นึ มีความเทีย่ งตรง และมคี วามเชอ่ื ม่นั ในระดับสงู อย่างมนี ยั สำ� คัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 69 วนดิ า ศรสี ขุ (2539) ไดท้ ำ� การศกึ ษาผลของการฝกึ เพ็ญพกั ตร์ หนุยคุ (2542 : บทคัดย่อ) ศึกษาผล แบบหมนุ เวยี นในนำ้� และบนบกทม่ี สี มรรถภาพทางกายของ ของการบรหิ ารกลา้ มเนอ้ื ลำ� ตวั ชนดิ ไอโซเมตรกิ (Isometric) นักกีฬาวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็น ต่อความแข็งแรงของกล้ามเน้ือล�ำตัวและรูปร่าง โดยศึกษา นกั กีฬาชายของวทิ ยาลัยพลศกึ ษา จงั หวดั ชลบุรี ทมี่ อี ายุ ในหญิงจำ� นวน 40 คน อายุ 25-30 ปี ทีม่ ีค่าดชั นมี วลกาย ระหวา่ ง 18-24 ปี ในกฬี าแตล่ ะประเภทจำ� นวน 60 คน ไม่เกิน 25 และไมเ่ คยออกกำ� ลังกายมากอ่ นในช่วง 6 เดือน ซ่ึงผ่านการทดสอบสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุดมา กอ่ นเขา้ โปรแกรมฝกึ บรหิ ารกลา้ มเนอื้ ลำ� ตวั ชนดิ ไอโซเมตรกิ แลว้ แบง่ เปน็ 3 กลมุ่ ๆละ 20 คน โดยการสมุ่ แบบกำ� หนด ทป่ี ระกอบด้วย ทา่ บรหิ ารกล้ามเนอ้ื หนา้ ท้อง และกล้ามเนือ้ (RandomizedAssignment)กลมุ่ ควบคมุ ไมไ่ ดร้ บั การฝกึ ใดๆ หลัง ทดสอบผลความแข็งแรงของกลุ่มกล้ามเน้ือล�ำตัวกลุ่ม กลมุ่ ฝกึ แบบหมนุ เวยี นบนบกและกลมุ่ ฝกึ แบบหมนุ เวยี นในนำ้� ของล�ำตัว (Trunk Flexor) และกลุ่มเหยียดล�ำตัว (Trunk ฝกึ ครงั้ ละ 1 ชวั่ โมง เปน็ เวลา 12 สปั ดาหๆ์ ละ 3 วนั ทำ� การ Extensor) ขณะกลา้ มเนอ้ื หดตวั ชนดิ ไอโซเมตรกิ และไอโซไค ทดสอบอตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพกั ความแขง็ ของกลา้ ม เนตรกิ (Isokinetric) พบวา่ ผเู้ ขา้ รบั บรกิ ารฝกึ ตามโปรแกรม เนอ้ื แขน ขา และกลา้ มเนอื้ หลงั สมรรถภาพการจบั ออกซเิ จน 8 สปั ดาหม์ คี วามแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื กลมุ่ งอลำ� ตวั และกลมุ่ สงู สดุ เปอรเ์ ซน็ ตข์ องไขมนั ในรา่ งกายและความอดทนของ เหยียดล�ำตัว ขณะกล้ามเน้ือหดตัวชนิดไอโซเมตริกเพิ่มขึ้น กลา้ มเนอ้ื แขนและขา กอ่ นและหลงั การทดลองสปั ดาหท์ ่ี 4 หลงั การฝึก 2 สัปดาห์เป็นต้นไป และมคี วามหนาของไขมนั สปั ดาหท์ ่ี 8 และสปั ดาหท์ ่ี 12 นำ� ผลทไี่ ดม้ าวเิ คราะหต์ ามวธิ ี ใตผ้ ิวหนงั ลดลงหลังการฝึก 2 สัปดาห์ สถติ ิ โดยหาคา่ เฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานวเิ คราะหค์ วาม แปรปรวนแบบทางเดยี ว (One-way analysis of variance) และเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งเปน็ รายคู่ โดยวธิ ขี องตกู ี เอ (Tukey A) ผลการวจิ ยั พบวา่ หลงั การทดลองสปั ดาหท์ ่ี 12 ผลของการฝกึ แบบหมนุ เวยี นในนำ�้ และบนบกทำ� ใหน้ กั กฬี า วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชลบุรีมีอัตราการเต้นของหัวใจ ขณะพกั สมรรถภาพการจบั ออกซเิ จนสงู สดุ เปอรเ์ ซน็ ตข์ อง ไขมนั ในรา่ งกายและความอดทนของกลา้ มเนอื้ แขนและขา ดกี วา่ นกั กฬี าวทิ ยาลยั พลศกึ ษาจงั หวดั ชลบรุ ใี นกลมุ่ ควบคมุ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั การฝกึ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทร่ี ะดบั .05 สว่ นผลการ ฝึกแบบหมุนเวียนในน�้ำกับบนบกท�ำให้นักกีฬาวิทยาลัย พลศึกษาจังหวัดชลบุรีมีสมรรถภาพทางกายทุกตัวแปร ไมแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทร่ี ะดบั .05
70 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยท่มี ีผลต่อความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื ส�ำ หรับเยาวชนหญงิ ศัลย์ สุขเสือ (2546) ไดศ้ ึกษาและเปรยี บเทยี บผลของ การออกก�ำลังกายด้วยท่าพ้ืนฐาน 5 ท่า แบบวงจร ที่มีต่อ สมรรถภาพทางกายของนกั เรียนชาย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 กลุ่มตัวอย่างเป็นนกั เรียนชายชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 จำ� นวน 60 คน ไดม้ าจาการพิจารณาผลการทดสอบสมรรถภาพทาง กาย แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม จ�ำนวนกลุ่มละ 30 คน โดยกลุ่มทดลอง ฝึกตามโปรแกรมออกก�ำลังกายด้วยท่าพ้ืนฐาน 5 ท่า แบบ วงจรและกลุ่มควบคุมเล่นกีฬาตามอิสระด้วยการฝึกทักษะ ฟุตบอลและวอลเลย์บอล ท้ังสองกลุ่มใช้เวลาในการฝึก 8 สปั ดาหๆ์ ละ 3 วนั เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย คือโปรแกรม การออกก�ำลังกายด้วยท่าพื้นฐาน 5 ท่าแบบวงจร และข้อ ทดสอบสมรรถภาพทางกายซึง่ ประกอบดว้ ย 4 รายการ คอื ว่ิงระยะทาง 1 ไมล์ วัดส่วนประกอบของร่างกายโดยการ หาดรรชนมี วลกาย ลกุ -นัง่ 1 นาที และน่ังงอตัวไปขา้ งหนา้ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยหาค่าเฉล่ีย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน หา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉล่ียด้วยการทดสอบค่าที่ (dependent and independent t-test) ผลการวิจัยพบว่าสมรรถภาพทาง กายด้านดรรชนีมวลกายหลังฝึกของกลุ่มทดลองลดลงอย่าง มีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05 ส่วนความแข็งแรงและความอดทน ของกลา้ มเนอ้ื ความออ่ นตวั ความอดทนของระบบไหลเวยี น โลหิตและระบบหายใจ เพ่ิมข้ึนอยา่ งมนี ยั สำ� คัญทรี่ ะดบั .05 สมรรถภาพทางกายดา้ นดรรชนมี วลกายหลงั การฝกึ ของกลมุ่ ควบคุมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05 ส่วนความแข็ง แรงและความอดทนของกลา้ มเนอ้ื ความออ่ นตวั ความอดทน ของระบบไหลเวยี นโลหิตและระบบหายใจ ลดลงอย่างมีนัย สำ� คญั ท่ีระดบั .05 สมรรถภาพดา้ นความแขง็ แรงและความ อดทนของกล้ามเน้ือ ความอ่อนตัวความอดทนของระบบ ไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจหลังการฝึกกลุ่มทดลอง ดี กวา่ กลุ่มควบคุมอยา่ งมนี ัยสำ� คญั ทีร่ ะดับ .05 สว่ นดา้ นดัชนี มวลกายหลังการฝึกกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่แตกต่าง กันอยา่ งมีนยั สำ� คญั ทร่ี ะดบั .05
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 71 สธุ น เพ็ชรนิล (2548: บทคัดย่อ) ได้ ศึกษาระดับทักษะมวยไทยของนักศึกษาชาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง วชิ าเอกพลศึกษา วิทยาลัยศึกษาในเขตภาคใต้ ปีการศึกษา 2547 และเพื่อสร้างเกณฑ์ระดับ ทักษะมวยไทยของนักศึกษาชายหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง วิชาเอก พลศึกษา วิทยาลัยพลศึกษาในเขตภาคใต้ ใช้กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี จ�ำนวน 281 คน ได้มาโดยการส่มุ อย่างง่าย เคร่อื งมือ ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบทดสอบ ทักษะมวยไทย 4 รายการ คือทักษะการเตะ เฉียงบรเิ วณลำ� ตวั ทักษะการตเี ขา่ เฉียงบริเวณ ลำ� ตวั ทกั ษะการถบี บรเิ วณล�ำตวั ทกั ษะการชก หมดั ตรงบรเิ วณใบหนา้ วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยการ ใชค้ า่ เฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และคะแนน ทผี่ ลการวิจยั พบว่า ทกั ษะการเตะเฉียงบริเวณ ลำ� ตวั ทักษะการตีเข่าเฉยี งบรเิ วณล�ำตัว ทกั ษะ การถีบบริเวณล�ำตัว และทักษะการชกหมัด ตรงบริเวณใบหนา้ ของนักศึกษาชาย หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาช้ันสูง วิทยาลัย พลศึกษาในเขตภาคใต้ ปีการศึกษา 2547 มี คา่ เฉลี่ย 42.17, 51.13, 42.50 และ 107.48 คร้ัง ตามลำ� ดบั สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 3.98, 5.66, 3.60 และ 8.96 ตามลำ� ดับ เกณฑโ์ ดย รวมทกั ษะมวยไทยของนักศึกษาชาย หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาช้ันสูง วิชาเอก พลศึกษา วิทยาลัยพลศึกษาในเขตภาคใต้ ปกี ารศึกษา 2547 มดี งั นี้ สูงมาก มคี ะแนนที ปกตทิ ่ี 64 ข้ึนไป สงู มีคะแนนทปี กตทิ ี่ 55-63 ปานกลางมคี ะแนนทปี่ กตทิ ี่ 46-54 ตำ่� มคี ะแนน ทีปกติท่ี 38-45 ต�่ำมาก มีคะแนนทีปกติท่ีต่�ำ กวา่ 37
72 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยท่มี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อส�ำ หรับเยาวชนหญิง ศาศวัต ทิพนาค (2549: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการฝึกด้วยน้�ำหนัก โดยเทคนิคปิระมิดสองรูปแบบท่ีมีต่อความ แขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ กลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ นกั เรยี นชายสถาบนั สอนศลิ ปะการตอ่ สแู้ ละปอ้ งกนั ตวั ฟติ แอนดไ์ ฟต์ จำ� นวน 30 คน ที่มีอายุระหว่าง 17-20 ปี มีประสบการณ์ในการยกน�้ำหนักแล้วอย่างน้อย 6 เดือน ได้มาจากการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยแบ่งกลมุ่ ตวั อย่างออกเป็น 3 กลมุ่ ๆ ละ 10 คน โดยวิธีการกำ� หนดเข้ากล่มุ คือ กลมุ่ ควบคุม ใหป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมกฬี าตามปกติ กลมุ่ ทดลองท่ี 1 ฝกึ ยกน�้ำหนกั โดยใชเ้ ทคนคิ ปริ ะมดิ ขนึ้ กลมุ่ ทดลองที่ 2 ฝกึ ยกน้�ำหนกั โดยใช้ เทคนคิ ปิระมดิ ลง ท้งั นี้ กลมุ่ ทดลองทง้ั 3 กลมุ่ ทำ� การฝกึ ยกน�ำ้ หนกั 3 วนั ตอ่ สัปดาห์ คอื วันจันทร์ พธุ และศกุ ร์ เปน็ ระยะ เวลา 12 สัปดาห์ สถติ ิทใ่ี ชว้ จิ ัย คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance: ANOVA) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนรูปแบบการทดลองแบบวัดซำ�้ แบบสองมิติ (Repeated Measure in two Dimensional Design) โดยวธิ ีของ Turky ทดสอบความแตกตา่ งเป็นรายคู่ ซงึ่ ก�ำหนดความมนี ยั สำ� คัญทางสถิตไิ ว้ที่ระดับ .05 ผลการวิจัย พบวา่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ภายในกลมุ่ ควบคมุ ไมม่ กี ารเปลย่ี นแปลงของความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ กอ่ นการฝกึ กบั ภายหลงั การฝกึ สัปดาห์ท่ี 3, 6, 9 และ 12 อย่างมีนยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05 แต่พบว่ากลมุ่ ทดลองที่ 1 และกล่มุ ทดลอง ที่ 2 มีการเปล่ียนแปลงของความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ ในกลุ่มที่ 1 เพมิ่ ขน้ึ ดกี วา่ กลมุ่ ท่ี 2 ภายหลังการฝกึ สัปดาหท์ ่ี 6, 9 และ 12 ต่างกันอย่างมนี ยั ส�ำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 ขณะเดยี วกนั ยังพบว่ากลมุ่ ทดลองท่ี 2 มแี นวโนม้ การเปล่ยี นแปลง เพิ่มขนึ้ ของมวลกล้ามเนื้อ และขนาดกล้ามเนือ้ ไดด้ กี วา่ กลมุ่ ทดลองท่ี 1
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 73 กฤษดา สรุ ำ� ไพ (2551) ได้ศกึ ษาถึงผลการฝึกพลิ าทสิ ท่มี ีตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนอื้ กลมุ่ ตัวอย่างเปน็ นักเรียนชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มอี ายเุ ฉลยี่ เทา่ กบั 11 ปี จากโรงเรยี นวดั ใต้ กลมุ่ ตวั อยา่ งจำ� นวน 30 คน ไดม้ าดว้ ยวธิ กี ารสมุ่ อยา่ งงา่ ย แลว้ แบง่ กลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ 2 กลมุ่ โดยใชค้ วามแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื หนา้ ทอ้ งเปน็ เกณฑใ์ นการแบง่ กลมุ่ ควบคมุ ไมไ่ ดร้ บั การฝกึ สว่ นกลุ่มทดลองท�ำการฝกึ พิลาทิส 16 ท่า สัปดาหล์ ะ 3 คร้ัง เป็นเวลา 9 สปั ดาห์ ทำ� การวัดความแข็งแรงของกล้ามเน้อื แขน หนา้ ท้อง ขาและหลงั กอ่ นการฝึกและหลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี 3, 6 และ 9 นำ� คา่ คะแนนเฉลย่ี ความแขง็ แรงของกลา้ ม เนอ้ื แขน หนา้ ท้อง ขาและหลัง มาท�ำการวิเคราะหโ์ ดยใช้สถติ ทิ ีเทสและการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ�้ำ โดยกำ� หนดระดบั ความมนี ยั สำ� คญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 พบว่า 1. คา่ เฉลี่ยความแข็งแรงของกล้ามเน้อื แขนของทั้งสองกลุม่ กอ่ นการฝึกและหลังการฝึก สัปดาหท์ ี่ 3 ไมแ่ ตกต่างกันอย่างมนี ยั ส�ำคญั ทางสถติ ิ แตภ่ ายหลงั การฝกึ สัปดาหท์ ่ี 6 และ 9 คา่ เฉลยี่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ แขนของกลมุ่ ทดลองดกี วา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ 2. คา่ เฉลย่ี ความแขง็ แรง ของกล้ามเนือ้ หนา้ ทอ้ งของทัง้ สองกลุ่มก่อนการฝึก ไม่แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สำ� คัญทางสถติ ิ แต่ภายหลงั การฝกึ สปั ดาห์ที่ 3, 6 และ 9 ค่าเฉล่ียความแข็งแรงของกล้ามเน้อื หนา้ ทอ้ งของกลมุ่ ทดลองดีกว่ากลุม่ ควบคมุ อยา่ งมนี ัยส�ำคญั ทางสถิติ 3. คา่ เฉลี่ยความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขาของทั้งสองกลุ่มก่อนการฝึก ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ แต่ภายหลัง การฝกึ สปั ดาหท์ ่ี 3, 6 และ 9 คา่ เฉลยี่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ขาของกลมุ่ ทดลองดกี วา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ 4. คา่ เฉลยี่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื หลงั ของทง้ั สองกลมุ่ กอ่ นการฝกึ ไมแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ แตภ่ ายหลงั การฝกึ สปั ดาหท์ ่ี 3, 6 และ 9 ค่าเฉล่ียความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื หลังของกลุม่ ทดลองดกี ว่ากลุม่ ควบคุมอยา่ งมีนยั สำ� คัญ ทางสถิติ 5. ค่าเฉลีย่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ แขน หนา้ ทอ้ ง ขาและหลงั ของกล่มุ ทดลองหลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 3, 6 และ 9 ดขี ้ึนกวา่ ก่อนการฝึกอย่างมีนัยสำ� คัญทางสถิติ วฑิ รู ย์ ยมะสมติ (2552) ไดศ้ กึ ษาผลการฝกึ กลา้ มเนอื้ ตน้ ขาดว้ ยนำ�้ หนกั ทมี่ ตี อ่ ความแขง็ แรงและความเรว็ ในการวง่ิ 50 เมตร ของนกั เรยี นเตรยี มทหาร ปกี ารศกึ ษา 2551 กลุม่ ตัวอย่างเป็นนกั เรียนชน้ั ปที ่ี 1 ท่มี อี ายุ 15-17 ปี จ�ำนวน 30 นาย แบง่ เปน็ กลมุ่ ควบคมุ 15 นาย และกลมุ่ ทดลอง 15 นาย ไดม้ าโดยการเลอื กแบบเจาะจง กลมุ่ ควบคมุ ฝกึ กายบรหิ ารของกอง ทพั บก กลุม่ ทดลองฝึกโปรแกรมกล้ามเนื้อตน้ ขาดว้ ยนำ�้ หนกั ท�ำการฝกึ เปน็ เวลา 8 สัปดาหๆ์ ละ (จนั ทร์, พธุ , ศุกร)์ ต้งั แต่ เวลา 05.30 – 07.00 น. ทดสอบเพอ่ื เกบ็ ขอ้ มูลความแขง็ แรงและความเร็วในการวงิ่ 30 เมตร ของกลา้ มเน้อื ขา กอ่ นการฝกึ และหลักการฝกึ สัปดาห์ท่ี 4 และ 8 โดยใช้เครือ่ งมือวัดความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ขา (Back Leg Dynamometer) และ ทดสอบว่ิงเร็ว 50 เมตร (วินาที) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าความ แตกตา่ งดว้ ย T-Test ผลการวิจัยพบว่า 1. กอ่ นการฝึก คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน กล่มุ ควบคุมและกลมุ่ ทดลอง ความสามารถในการวิง่ 50 เมตร และความแข็งแรงของกล้ามเน้อื ขา ไมแ่ ตกตา่ งกนั 2. หลงั การฝึกสปั ดาห์ท่ี 4 ค่าเฉลย่ี และ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน กลุม่ ควบคมุ และกล่มุ ทดลอง ความสามารถในการวิ่ง 50 เมตร และความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ไมแ่ ตกตา่ งกนั 3. หลงั การฝึกสัปดาห์ที 8 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กล่มุ ควบคมุ และกล่มุ ทดลอง ความสามารถ ในการวิ่ง 50 เมตร และวดั ความแขง็ แรงของกลา้ มเนือ้ ขา มีความแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำ� คัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05
74 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อสำ�หรับเยาวชนหญงิ 4.2 งานวิจยั ตา่ งประเทศ อเล็กซานเดอร์ และ เลสไล (Alezander & Leslie 1969 : 124) ได้ท�ำการวจิ ยั เร่ือง ผลของการฝึกแบบวงจรการฝึกยกนำ้� หนักและการฝึกเป็นช่วงที่มีต่อความแข็งแรงกล้าม เนอื้ ความอดทนของระบบหายใจและหลอดเลอื ด ผรู้ บั การทดลองเปน็ นกั ศกึ ษาชายทเ่ี รยี นวชิ า พลศกึ ษาในมหาวิทยาลัยเม็กซโิ ก จำ� นวน 51 คน โดยแบง่ เป็น 3 กลุม่ คอื กลุ่มท่ี 1 ใชก้ ารฝึก แบบวงจร กลมุ่ ท่ี 2 ใช้การฝึกยกน้�ำหนกั กลุ่มท่ี 3 ใช้การฝกึ แบบหนักสลับเบา มรี ะยะการฝึก 10 สัปดาห์ มกี ารทดสอบก่อนและหลงั การฝึก ซึ่งการทดสอบความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือ โดย วดั ความแขง็ แรงของการงอขอ้ ศอก เหยยี ดขอ้ ศอก และการเหยยี ดหวั เขา่ จะทดสอบโดยใชเ้ ครอ่ื ง Cable Densitometer และในการทดสอบความอดทนของระบบหายใจและหลอดเลอื ด โดยวดั ปรมิ าณการนำ� ออกซเิ จนเขา้ สงู สดุ จากเครอื่ ง Astrand rhyming monogram ผลการวจิ ยั พบวา่ ผลของการฝกึ แบบวงจร การฝกึ ยกนำ้� หนกั และการฝกึ แบบหนกั สลบั เบาใหผ้ ลตอ่ ความแขง็ แรง ของกลา้ มเน้ือและการทำ� งานของระบบหายใจและหลอดเลอื ดไมแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำ� คญั ซูติ และคอร์บิน ได้ศึกษาเกณฑ์ปกติสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาใหม่ (Physical Fitness Norms for College Freshman) ของมหาวทิ ยาลยั แคนซสั (Kansas State University) ซึ่งมีอายุระหว่าง 17–19 ปี กลุ่มตัวอย่างมีจ�ำนวนทั้งส้ิน 3,250 คน แบ่งเป็นนักศึกษาชาย 1,717 คน นกั ศกึ ษาหญงิ 1,533 คน การทดสอบประกอบดว้ ยรายการทดสอบต่างๆ ดงั น้ี 1) การทดสอบแรงบีบมือ ความแขง็ แรงของหลังส่วนบนและความแขง็ แรงของเขา 2) การทดสอบความยืดหยนุ่ ของกล้ามเนือ้ หลังและกลา้ มเน้ือด้านหลังของขา 3) การทดสอบปรมิ าณการใช้ออกซิเจนสูงสดุ โดยวธิ ีของออสตราน 4) การหาคา่ รอ้ ยละของไขมนั โดยวธิ กี ารทดสอบแบบสกนิ โฟลต์ แลว้ นำ� ขอ้ มลู จากการทดสอบ แต่ละรายการหาค่ามัชฌมิ เลขคณติ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาค่าเปอรเ์ ซ็นตไ์ ทล์ ผลการ ศึกษาพบว่า มคี ่าเฉลี่ยของผลการทดสอบ ดงั นี้ - นักศกึ ษาชายมีอายเุ ฉลี่ย 18 ปี ความสูงเฉลีย่ 178.5 เซนติเมตร นำ้� หนักเฉลี่ย 3.16 กโิ ลกรัม แรงบีบมือซา้ ย 49.19 กิโลกรมั แรงบีบมอื ขวา 49.4 กโิ ลกรมั ความแข็งแรงของขา 165.95 กโิ ลกรมั ความแขง็ แรงของหลงั 163.22 กโิ ลกรมั ความยดื หยนุ่ ของกลา้ มเนอ้ื หลงั และกลา้ มเนอ้ื ด้านหลังของขาท่อนบน 41.5 เซนติเมตร ปริมาณการใช้ออกซิเจนสูงสุด 2.90 ลิตรต่อนาที รอ้ ยละของไขมนั 12.35 - นักศึกษาหญิงมีอายุเฉล่ีย 15 ปี ความสูงเฉลี่ย 165.381 เซนติเมตร น้�ำหนักเฉลี่ย 49.18 กโิ ลกรัม แรงบีบมอื ซ้าย 24.90 กโิ ลกรัม แรงบบี มือขวา 27.45 กโิ ลกรมั ความแขง็ แรงของขา 90.91 กโิ ลกรมั ความแขง็ แรงของหลงั 84.60 กโิ ลกรมั ความยดื หยนุ่ ของกลา้ มเนอ้ื หลงั และกลา้ มเนอื้ ด้านหลังของขาทอ่ นบน 45.85 เซนติเมตร ปรมิ าณการใช้ออกซเิ จนสูงสุด 2.30 ลติ รตอ่ นาที
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 75 โซด์ (Saud 1988 : 132) ไดศ้ ึกษาเปรยี บเทียบ โปรแกรมการออกก�ำลังกายแบบวงจรท่ีสร้างขึ้นกับ โปรแกรมการฝึกกายบริหารที่มีต่อระดับสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียนต�ำรวจในโรงเรียนต�ำรวจของ ประเทศคูเวต กลุ่มตัวอย่างคอื นักเรียนต�ำรวจช้นั ปีที่ 1 จำ� นวน 59 คน โดยแบง่ เปน็ 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ ทดลอง ใชโ้ ปรแกรมการฝกึ แบบวงจร จำ� นวน 30 คน กลุม่ ควบคมุ ใชโ้ ปรแกรมการฝกึ กายบรหิ ารของโรงเรยี น จ�ำนวน 29 คน ทง้ั สองกลุ่มไมเ่ ป็นนักกฬี า ทำ� การฝกึ 10 สปั ดาห์ สปั ดาหล์ ะ 4 วนั วันละ 40 นาที ท�ำการ ทดสอบกอ่ น และหลงั การฝกึ สถติ ทิ ใ่ี ชใ่ นการทดสอบ สมมตฐิ าน คือ t-test ระดับความมนี ัยสำ� คัญที่ .05 ผลการวิจัยพบว่า ส่วนประกอบของร่างกาย ความ ออ่ นตวั ความคลอ่ งแคลว่ และกำ� ลงั ทง้ั สองโปรแกรม มกี ารเปลีย่ นแปลงเพ่มิ ขน้ึ คล้ายกนั ส่วนความอดทน ของระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด และ ความอดทนของ กลา้ มเนอื้ ทง้ั สองโปรแกรมมกี ารเปลยี่ นแปลงเพม่ิ ขนึ้ แต่จะดกี ว่าในโปรแกรมการฝึกแบบวงจร โลนี (Loney 1990 : 89) ได้ศึกษาเพอื่ เปรยี บ เทียบผลการฝึกยกน�้ำหนักแบบวงจรดั้งเดิม (tradi- tional circuit weight training) กับการฝึกแบบ วงจรพิเศษส�ำหรับผู้หญิงในระยะเวลา 9 สัปดาห์ ตัวแปรที่น�ำมาศึกษาประกอบด้วย พลังแอโรบิก นำ้� หนกั ของรา่ งกายเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมนั และความแขง็ แรง ของรา่ งกายสว่ นบนและส่วนลา่ งท�ำการทดสอบก่อน และหลงั การฝกึ ใชส้ ถติ เิ ปรยี บเทยี บเพอื่ ดคู วามแตก ตา่ งในการพฒั นาของทงั้ สองกลมุ่ ทร่ี ะดบั นยั สำ� คญั ที่ .05 ผลการศกึ ษาพบวา่ ไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั ในการ พฒั นาตวั แปรทง้ั 5 ดา้ นของทง้ั สองกลมุ่ การฝกึ แอโรบกิ แบบวงจรพิเศษจะมีการพัฒนาด้านพลังแอโรบิก ได้ดีกว่า ถึงแม้ว่ามันจะพัฒนาไม่แตกต่างอย่างมีนัย สำ� คญั กบั การฝึกยกน้�ำหนกั แบบวงจรดั้งเดมิ
76 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยท่มี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื สำ�หรับเยาวชนหญงิ ไฟวเ์ จนแบม(Faigenbaum1993:2735A) ได้ค้นคว้าผลของการฝึกด้วยน�้ำหนักเพื่อความ แขง็ แรงของเด็ก โดยประเมนิ โปรแกรมการฝกึ 2 คร้ัง ตอ่ สปั ดาห์ กล่มุ ตวั อย่างเปน็ อาสาสมคั ร 23 คน แบ่ง เปน็ กล่มุ ฝกึ อายเุ ฉล่ยี 10.8 ปี เป็นชาย 10 คน เป็น หญิง 4 คน และกลุ่มควบคมุ อายุเฉล่ยี 9.9 ปี เปน็ ชาย 5 คน และหญิง 4 คน โปรแกรมการฝึกความแข็งแรง ใช้เวลา 45 นาที ฝกึ 2 ครง้ั ต่อสัปดาห์ ฝึกเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ใช้เคร่ืองฝึกด้วยน้�ำหนัก Heartline ขนาด ของเด็กทำ� การยก 10-15 ครงั้ จำ� นวน 3 ชุด มคี วาม หนักเป็น 50%, 75% และ 100% ของ 10-RM และมีการออกก�ำลังกายโดยการยืดเหยียดกล้ามเน้ือ และบริหารกาย ท�ำการทดสอบก่อนและหลังฝึกโดย วัดความแข็งแรงโดยใช้ 10-RM ความอ่อนตัวใช้การ นั่งงอตัวไปข้างหน้า วัดก�ำลัง ใช้การยืนกระโดดแตะ ฝา และการนงั่ ขวา้ งลกู บอล วดั ความดนั โลหติ ขณะพกั สว่ นประกอบของรา่ งกาย ใชก้ ารวดั ไขมนั ใตผ้ วิ หนงั 7 ตำ� แหนง่ และวัดเสน้ รอบวงของรา่ งกาย 4 ตำ� แหนง่ ผู้ปกครองให้การรับรองเรื่องสุขภาพของเด็กและให้ ความรว่ มมอื ในการประเมนิ ผล โดยตอบแบบสอบถาม ก่อนและหลังการฝึกปรากฏว่ากลุ่มฝึกมีอัตราความ ต้งั ใจฝึกเป็น 97.4% มกี ารเพม่ิ ความแขง็ แรงโดยการ วัด 10-RM ใน 5 ท่า คือ Leg Extension = 64.5 %, Leg Curl = 787.6%, Chest Press = 64.1%, Overhead Press = 87.0% และ Biceps Curl = 78.1% ซ่งึ คา่ เฉลย่ี ของกล่มุ ควบคุมเพิม่ ขึ้น 13% ผล รวมของไขมนั ใตผ้ ิวหนังของกลุ่มฝกึ ลดลง 2.3% และ กลมุ่ ควบคมุ เพมิ่ 1.7% ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมี นยั สำ� คญั ทรี่ ะดับ .05 ผลการประเมินจากผปู้ กครอง เด็กมีดังนี้ คือ มีการพัฒนาความแข็งแรงข้ึนในเด็ก ท้ัง 2 กลุ่ม ผลการฝึกในตัวแปรอ่ืนๆ ไม่มีนัยส�ำคัญ ทร่ี ะดับ .05 และไม่มีการบาดเจ็บเนือ่ งจากโปรแกรม การฝกึ โดยตรง สรปุ การฝกึ 2 คร้งั ตอ่ สปั ดาห์ ในการ ฝกึ ความแขง็ แรงโดยการดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ สามารถเพม่ิ ความแข็งแรง และพัฒนาส่วนประกอบของร่างกาย ได้ทัง้ เด็กชายและเดก็ หญิง สรปุ การฝกึ โดยใช้น�้ำหนัก สามารถเพ่ิมความแข็งแรง และผลรวมของไขมันใต้ ผวิ หนังลดลงทงั้ เด็กชายและเดก็ หญิง
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 77 สรุปงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง จะพบว่าการออกแบบการฝึกความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือน้ันมีหลากหลายรูปแบบด้วยกัน แต่ ท่ีมีการฝึกที่นิยมกันมากคือ การฝึกที่มีน้�ำหนัก เข้ามาเก่ียวข้อง อันได้แก่ การเพ่ิมน�้ำหนักใน การฝกึ กลา้ มเน้ือ การใชแ้ รงตา้ น การใชอ้ ุปกรณ์ ตา่ งๆ เพอ่ื ใหก้ ลา้ มเนอ้ื ในสว่ นทต่ี อ้ งการออกแรง ต้าน และผลการฝึกพบว่ากล้ามเนื้อที่ได้รับการ ฝึกแบบท่ีมีน�้ำหนักร่วมจะมีขนาดของวงกล้าม เนื้อเพิ่มข้ึน ความแข็งแรงทนทานของกล้าม เนื้อเพิม่ ขน้ึ กลา้ มเนอื้ มรี ปู รา่ งกระชับไดส้ ดั ส่วน ไขมันส่วนเกินได้มีการเผาผลาญไป พร้อมกันน้ี ยงั สง่ ผลตอ่ ระบบไหลเวยี นโลหติ ทม่ี กี ารไหลเวยี น ดขี ้นึ ระบบการท�ำงานของปอดดขี ึน้ ดังนน้ั การ ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเน้ือจึงไม่ได้เฉพาะ ประโยชน์ส่วนเดียวเท่าน้ัน ยังส่งผลต่อระบบ อนื่ ๆของรา่ งกายทีม่ กี ารพัฒนาดีขนึ้
บทที่ 3 วธิ ีการดำ�เนนิ การวจิ ยั
80 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยทีม่ ีผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ สำ�หรบั เยาวชนหญงิ การวจิ ยั เรอื่ งการสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ สำ� หรบั เยาวชนหญงิ เปน็ การวจิ ยั เชิงทดลอง (Experimental Research Design) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยท่ีมีผลต่อความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อส�ำหรับเยาวชนหญิง ศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการฝึกมวยไทยท่ีจ�ำแนกการฝึกตามโปรแกรม และฝึกตามปกติ ขั้นตอนการศึกษาวิจัยได้ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ กลุ่มวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ก่อนท�ำการศกึ ษาทดลอง โดยวิธีการด�ำเนนิ การวิจยั มดี งั น้ี ประชากร ประชากร คอื สมาชกิ ของศนู ยอ์ นรุ กั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย กรมพลศกึ ษา เพศหญงิ อายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปี จำ� นวน 200 คน ในปี พ.ศ. 2560-2561 กลุ่มตวั อยา่ งประชากร กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื สมาชกิ ของศนู ยอ์ นรุ กั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย กรมพลศกึ ษา เพศหญงิ จำ� นวน 50 คน แบง่ เปน็ กลมุ่ ควบคมุ 25 คน และกลมุ่ ทดลอง 25 คน ที่มีอายุระหวา่ ง 15-25 ปี ด้วยวธิ ีการสมุ่ อยา่ งง่าย (Simple Random Sampling) ได้รบั การคัดเลือกจากแบบประเมนิ สุขภาพทว่ั ไป (Par-Q) พร้อมทงั้ วัดชีพจร ความดันโลหิต กอ่ นเข้าร่วมการทดลอง กลมุ่ ควบคมุ กลมุ่ ควบคมุ คอื กลมุ่ ทไี่ ดร้ บั การฝกึ มวยไทยตามทผี่ วู้ จิ ยั ไดก้ ำ� หนดรปู แบบ โดยไดร้ บั การอธบิ ายถงึ รปู แบบและวธิ กี ารฝกึ ในเบ้ืองต้น และให้ด�ำเนนิ การฝกึ ด้วยตนเองในวนั และเวลาทกี่ ำ� หนด กล่มุ ทดลอง กลมุ่ ทดลอง คอื กลมุ่ ทใ่ี ชโ้ ปรแกรมการฝกึ มวยไทยท่ีผู้วิจัยไดก้ �ำหนดรปู แบบ โดยได้รับการอธบิ ายถงึ รปู แบบและวิธี การฝึกทัง้ หมด โดยต้องเข้ารับการทดลองและฝกึ ทศี่ นู ยอ์ นรุ กั ษ์ศิลปะมวยไทย กรมพลศึกษา ในวันและเวลาทก่ี ำ� หนด เกณฑ์ในการคัดเลอื กกลุ่มตัวอย่าง เกณฑ์การคัดเข้า (Inclusion criteria) 1) เปน็ สมาชกิ ศนู ย์อนรุ กั ษศ์ ิลปะมวยไทย กรมพลศึกษา อายุระหวา่ ง 15-25 ปี เพศหญิง 2) เป็นผู้มีสุขภาพแขง็ แรง ไมม่ ีโรคประจ�ำตัวท่ีรุนแรง 3) มีความสนใจเข้ารว่ มเขา้ ร่วมในการวิจัยและเซน็ ใบยนิ ยอมเขา้ ร่วมการวจิ ยั เกณฑ์การคดั ออก (Exclusion criteria) 1) ไม่มคี ณุ สมบัติตามเกณฑ์ท่ีกำ� หนดของการวจิ ยั 2) ไม่สมคั รใจหรอื ปฏิเสธเขา้ รว่ มการวจิ ยั อีกต่อไป 3) ขาดการฝึกมากกวา่ รอ้ ยละ 20 ของโปรแกรมการฝึก คือขาดการฝกึ มากกวา่ 6 คร้งั จากทั้งหมด 30 คร้งั 4) เกิดเหตุสุดวิสัยไม่สามารถเข้าร่วมท�ำการวิจัยได้ เช่น เกิดการเจ็บป่วย หรืออุบัติเหตุในช่วงท�ำการทดลองจนไม่ สามารถเข้ารว่ มการทดลองต่อได้
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 81 ข้นั ตอนการดำ� เนนิ การวจิ ัยและการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผ้วู จิ ยั ดำ� เนนิ การวิจัย และเกบ็ ขอ้ มูลตามวัตถุประสงค์ โดยแบง่ ขั้นตอนการวิจัยออกเป็น 2 ขัน้ ตอน ได้แก่ ขน้ั ตอนที่ 1 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทย ขนั้ ตอนท่ี 2 การศกึ ษาผลของการฝกึ มวยไทยทสี่ ง่ ผลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ซงึ่ ในแตล่ ะขนั้ ตอน มวี ธิ กี ารดำ� เนนิ การ ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 วตั ถปุ ระสงค์ การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทย เพอ่ื สรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยใหส้ ามารถนำ� ไปใชไ้ ดก้ บั เยาวชนหญงิ อายุระหว่าง 15–25 ปี วิธีการด�ำเนินการวิจัยในข้ันตอนท่ี 1 มรี ายละเอียด ดงั น้ี 1. ทบทวนเอกสารงานวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับมวยไทย ศึกษา รปู แบบการออกก�ำลังกายโดยใชก้ ีฬามวยไทย 2. ศึกษาและคัดเลือกท่าทางที่เหมาะสมกับการฝึกมวยไทย ขั้นพนื้ ฐานสำ� หรบั เยาวชนหญงิ 3. สร้างรูปแบบการฝึกมวยไทย โดยคัดเลือกการใช้อวัยวะ ทั้ง 4 ส่วน ที่ใช้ในการฝึกมวยไทยท่ัวไปและเป็นทา่ ทีไ่ มอ่ ันตราย เกินไป สามารถใช้กลา้ มเน้ือหลกั ไดเ้ ต็มท่ี ดงั นี้ - ทา่ ทใ่ี ช้หมดั ไดแ้ ก่ หมัดตรงหนา้ หมัดตวัด หมดั เสย หมดั เหว่ยี ง - ทา่ ทใี่ ชเ้ ทา้ ไดแ้ ก่ เตะตรง เตะตดั กลบั หลงั เตะ ถบี ตรง กระโดดถบี - ทา่ ที่ใช้เข่า ไดแ้ ก่ เข่าตรง เขา่ เฉยี ง เข่าลอย เข่ากระท้งุ - ท่าที่ใชศ้ อก ไดแ้ ก่ ศอกตี ศอกตดั ศอกกลบั 4. ท� ำ ก า ร คั ด เ ลื อ ก ท ่ า ที่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ อ อ ก แ บ บ โ ป ร แ ก ร ม การฝึก โดยส่งแบบประเมินเกี่ยวกับองค์ประกอบของโปรแกรม การฝึกมวยไทยส�ำหรับเยาวชนหญิง (IOC) ให้ผู้เชี่ยวชาญ หรือ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ างดา้ นมวยไทยทำ� การตรวจพจิ ารณา จำ� นวน 5 ทา่ น 5. น�ำข้อพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดมาปรับปรุงแก้ไข โปรแกรมการฝึกซ้อมตามค�ำแนะนำ� 6. นำ� รปู แบบทผี่ า่ นการปรบั ปรงุ ไปใชใ้ นงานวจิ ยั โดยทำ� การทดลอง กบั ตัวอยา่ ง (pilot) เพือ่ ปรับโปรแกรมใหม้ ีความเหมาะสม
82 การสร้างรปู แบบการฝึกมวยไทยท่มี ีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื สำ�หรับเยาวชนหญิง เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในงานวิจัย ข้ันตอนท่ี 2 1. โปรแกรมการฝึกมวยไทยส�ำหรับเยาวชนหญิง การศกึ ษาผลของการฝึกมวยไทยท่ี (DPE Program) โดยใชม้ วยไทย 4 ส่วน ไดแ้ ก่ หมัด ส่งผลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ เทา้ ศอก เข่า 1. ประกาศเชิญชวนรับอาสาสมัครจากศูนย์อนุรักษ์ 2. แบบประเมินความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ศิลปะมวยไทย สำ� นกั การกฬี า กรมพลศกึ ษา เพศหญงิ ในรูปแบบ function training อายุระหวา่ ง 15-25 ปี 3. เคร่อื งวดั สว่ นสงู (Height scale) 2. ก่อนได้รับการฝึกมวยไทย ผู้เข้าร่วมการทดลองได้ 4. ความวัดความดันโลหิต (Blood pressure) รับทราบรายละเอียดของวิธีปฏิบัติในการเก็บข้อมูล ย่ีห้อ Omron จากผวู้ จิ ยั 5. เคร่ืองวัดองค์ประกอบของร่างกาย (Body 3. ผู้เข้าร่วมการทดลองอ่านรายละเอียด ลงชื่อ composition) ยหี่ อ้ Omron ในใบยินยอม 6. แบบประเมินความพร้อมการออกก�ำลังกาย 4. ผเู้ ขา้ รว่ มการทดลองกรอกแบบสอบถามดา้ นสขุ ภาพ (PAR-Q) ประเมินความพรอ้ มกอ่ นออกก�ำลังกาย (Par-Q) 7. แบบแสดงความยนิ ยอมเขา้ รว่ มวิจัย 5. ก่อนการเข้าโปรแกรมการฝึก แต่ละกลุ่มจะท�ำการ เก็บข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับสุขสมรรถนะ ได้แก่ ส่วนสูง น้�ำหนกั ดชั นมี วลกาย เปอรเ์ ซ็นต์ไขมนั อัตราการเต้น หัวใจขณะพัก ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวขณะพัก และความดันโลหติ ขณะหวั ใจคลายตวั ขณะพัก 6. หลงั การเขา้ รว่ มโปรแกรมการฝกึ แตล่ ะกลมุ่ จะไดร้ บั การประเมนิ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ จากผวู้ จิ ยั ไดแ้ ก่ ลกุ น่งั และดันพ้ืน และการประเมิน FMS (Functional Movement Screening) เปน็ การทดสอบท่ีออกแบบ โดย Gray Crook และ Lee Burton เพอื่ ประเมนิ รปู แบบ การเคล่ือนไหวพ้ืนฐานที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน FMS ประกอบไปด้วยแบบทดสอบ 7 แบบ ได้แก่ Deep Squat, Hurdle Step, Inline Lunge, Shoulder Mobility, Active Stranght-leg, Trunk Stability Push Up และ Rotary Stability ทง้ั น้ี การให้คะแนน มี 4 ระดบั คอื 0 ถึง 3 ในการทดสอบแต่ละคร้งั ให้ ผู้รับการทดสอบท�ำการทดสอบได้ 3 คร้ัง หาก เปน็ การทดสอบขา้ งซา้ ยและขา้ งขวาใหบ้ นั ทกึ คะแนนของแต่ละข้าง ซ่ึงมีหลักในการคิด คะแนน ดงั นี้
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 83 ความหมายของคะแนนจากผลการทดสอบดังนี้ การวิเคราะหท์ างสถติ ิ คะแนน ความหมาย น�ำข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มาท�ำการ 0 ผู้รับการทดสอบไม่สามารถท�ำท่าทางที่ วิเคราะห์ด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์โปรแกรม ทดสอบได้เนือ่ งจากมอี าการเจบ็ ส�ำเร็จรูป เอส พี เอส เอส (SPSS) โดยหาค่าต่างๆ 1 ผรู้ บั การทดสอบไมส่ ามารถทำ� ทา่ ทางที่ ดังน้ี ทดสอบได้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับสุขสมรรถนะ 2 ผู้รับการทดสอบสามารถท�ำท่าทางท่ี ของผู้เข้าร่วมวิจัย โดยน�ำข้อมูลมาหาค่าเฉลี่ย ทดสอบได้ แตม่ ลี กั ษณะการเคลอื่ นไหว และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วน�ำเสนอ ท่ีไม่ถูกต้อง ในรูปความเรียง 3 ผู้รับการทดสอบสามารถท�ำท่า 2. วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบความแตกต่าง ทางที่ทดสอบได้อย่างสมบูรณ์ คา่ เฉลย่ี ความแขง็ แรงกลา้ มเนอ้ื หลงั การฝกึ ระหวา่ ง ถกู ตอ้ ง กลุ่ม โดยการทดสอบค่าทีแบบ Independent 7. รูปแบบการฝึกตามโปรแกรมฝึก Sample t–test จะมีลกั ษณะดงั น้ี - ท�ำการฝึกในแต่ละท่ามวยไทย เรม่ิ จากรา่ งกายสว่ นบน (upper body) สลบั กบั รา่ งกายสว่ นลา่ ง (lower body) - ท�ำการฝกึ มวยไทยสว่ นบนกอ่ น คอื โดยเร่ิมจากการฝกึ การใช้หมัดตรงหน้า จำ� นวน 10 ครงั้ พกั 10 วนิ าที ทำ� ซ�้ำจ�ำนวน 3 เซ็ต ไปตามลำ� ดับโปรแกรม - ทำ� การฝกึ มวยไทยสว่ นลา่ ง คอื โดยเรม่ิ จากการการฝกึ ใช้เท้าเตะตรง จ�ำนวน 10 ครั้ง พัก 10 วินาที ท�ำซ้�ำจ�ำนวน 3 เซต ตามลำ� ดบั โปรแกรม - ทำ� การฝกึ จำ� นวน 1 ครงั้ /วนั ใชเ้ วลาไมน่ อ้ ยกวา่ 30 นาที - ทำ� การฝึก 3-4 ครัง้ ต่อสปั ดาห์ จนครบ 10 สปั ดาห์ สถานท่ใี นการทำ� วจิ ยั และทำ� การทดสอบ - โรงยมิ ศนู ยอ์ นรุ กั ษศ์ ลิ ปะมวยไทยแหง่ ชาติ กลมุ่ อนรุ กั ษ์ ศลิ ปะมวยไทย ส�ำนกั การกีฬา กรมพลศึกษา - ห ้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ ก า ร กี ฬ า ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศกึ ษา - ห ้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ ก า ร กี ฬ า คณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
84 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยท่ีมผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื สำ�หรับเยาวชนหญิง แผนภูมิสรปุ ขัน้ ตอนการดำ�เนินงานวจิ ัย ข้ันตอนที่ 1 การสร้างรูปแบบการฝกึ มวยไทย ขัน้ ตอนท่ี 2 การศึกษาผลของการฝกึ มวยไทยทส่ี ง่ ผลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทย (DPE Program) สง่ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นมวยไทยตรวจสอบ คร้ังท่ี 1 สง่ ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นมวยไทยตรวจสอบ ครงั้ ท่ี 2 ทำ�การทดลองกบั ตัวอยา่ ง (Pilot) รปู แบบการฝกึ มวยไทย (DPE Program)
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 85 ข้ันตอนที่ 2 แบบประเมินทางดา้ นประวัติสขุ ภาพทั่วไปก่อนออกกำ�ลังกาย ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ pre - test โปรแกรมการฝึกซอ้ มมวย (DPE Program) ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ post - test ความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อ สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
การวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ผล ตามระเบยี บวธิ กี ารทางสถติ ทิ ไี่ ดจ้ ากสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรง ของกลา้ มเนอ้ื สำ� หรบั เยาวชนหญงิ เพอ่ื ศกึ ษาและเปรยี บเทยี บรปู แบบการฝกึ มวยไทย ท่ีจ�ำแนกการฝึกตามโปรแกรมและฝึกตามปกติ จากนั้นจึงน�ำผลมาวิเคราะห์เสนอ ในรปู ตารางประกอบความเรยี ง โดยแบ่งการน�ำเสนอ ดังนี้ ตอนที่ 1 การเปรียบเทยี บค่าสุขสมรรถนะของกลุ่มตวั อย่าง ตอนท่ี 2 การเปรียบเทยี บคา่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อของกลุ่มตัวอย่าง
88 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ สำ�หรบั เยาวชนหญงิ ตอนท่ี 1 การเปรียบเทยี บค่าสขุ สมรรถนะของกลุ่มตัวอยา่ ง ตารางที่ 1 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ สขุ สมรรถนะ ระหว่างกลมุ่ ทดลองก่อนฝึกตามโปรแกรมและกลุ่มควบคุมก่อนฝกึ ตามปกติ กลุ่มทดลอง กลุม่ ควบคมุ คา่ สขุ สมรรถนะ n = 25 n = 25 คา่ t p-value (Health-related Physical Fitness Parameter) x S.D. x S.D. นำ้ �หนัก (กโิ ลกรัม) 51.74 7.37 57.85 27.08 -1.090 0.281 ดชั นมี วลกาย (กิโลกรัมตอ่ ตารางเมตร) 19.15 5.07 20.87 5.17 -1.185 0.242 เปอรเ์ ซ็นต์ไขมัน (เปอรเ์ ซ็นต)์ 22.58 4.93 23.48 5.46 -0.611 0.544 0.590 อัตราการเตน้ ของหัวใจขณะพัก 84.16 10.63 85.80 10.78 -0.545 0.742 (ครงั้ ต่อนาที) -0.332 0.429 -0.797 ความดันโลหติ ขณะหัวใจบีบตวั ในขณะพัก 112.56 8.28 113.36 8.76 (มลิ ลลิ ิตรปรอท) ความดันโลหติ ขณะหวั ใจคลายตวั ในขณะพกั 67.56 8.01 69.28 7.23 (มิลลลิ ิตรปรอท) จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1 - 2 พบว่า กลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานของค่าสุขสมรรถนะในทกุ ค่า (นำ้� หนกั , ดัชนมี วลกาย, เปอร์เซ็นต์ไขมนั , อตั ราการ เต้นของหัวใจขณะพัก, ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวในขณะพัก และความดันโลหิตขณะ หวั ใจคลายตวั ในขณะพกั ) ทไี่ มแ่ ตกตา่ งกวา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 89 80 กลุ่มทดลอง 70 กลุ่มควบคุม 60 57.85 51.74 50 40 30 20.87 22.58 23.48 20 19.15 10 W BMI Fat (กโิ ลกรัม) (กโิ ลกรัมต่อตารางเมตร) (เปอรเ์ ซน็ ต์) แผนภมู ิที่ 1 แสดงการเปรียบเทยี บค่าเฉล่ียและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของคา่ สุขสมรรถนะ ไดแ้ ก่ น�้ำหนัก (W), ดชั นมี วลกาย (BMI) และไขมัน (Fat) ระหว่างกลมุ่ ทดลองกอ่ นฝึกตามโปรแกรมและ กลุ่มควบคุมก่อนฝกึ ตามปกติ
90 การสร้างรูปแบบการฝกึ มวยไทยที่มีผลต่อความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ ส�ำ หรบั เยาวชนหญงิ กลมุ่ ทดลอง 140 กลมุ่ ควบคมุ 120 113.36 112.56 100 85.80 84.16 80 67.56 69.28 60 40 20 10 HRR SBP DBP (ครง้ั /นาที) (มลิ ลิลิตรปรอท) (มลิ ลลิ ติ รปรอท) แผนภูมิท่ี 2 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่าสุขสมรรถนะ ไดแ้ ก่ อตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพกั (HRR : ครง้ั ตอ่ นาท)ี , ความดนั โลหติ ขณะหวั ใจบบี ตวั ในขณะพกั (SBP : มิลลิลิตรปรอท) และความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัวในขณะพัก (DBP : มิลลิลิตรปรอท) ระหวา่ งกล่มุ ทดลองกอ่ นฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคมุ กอ่ นฝกึ ตามปกติ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 91 ตอนที่ 1 การเปรียบเทยี บคา่ สขุ สมรรถนะของกล่มุ ตวั อยา่ ง ตารางที่ 2 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่า สุขสมรรถนะระหวา่ งกลุ่มทดลองก่อนฝึกตามโปรแกรมและกลุ่มควบคุม กอ่ นฝึกตามปกติ กลุม่ ทดลอง กลุม่ ควบคุม คา่ สขุ สมรรถนะ n = 25 n = 25 คา่ t p-value (Health-related Physical Fitness Parameter) x S.D. x S.D. นำ้ �หนัก (กิโลกรมั ) 48.61 6.24 56.93 27.55 -1.473 0.147* ดชั นีมวลกาย (กโิ ลกรมั ต่อตารางเมตร) 17.28 1.59 20.51 4.87 -3.155 0.003* เปอร์เซน็ ตไ์ ขมนั (เปอร์เซน็ ต)์ 19.02 4.01 23.25 5.37 -3.157 0.003* 0.000* อัตราการเต้นของหวั ใจขณะพกั 73.84 8.11 83.88 10.39 -3.809 0.024* (ครั้งตอ่ นาท)ี -2.333 0.011* -2.658 ความดนั โลหติ ขณะหวั ใจบีบตัวในขณะพัก 106.24 9.06 112.04 8.52 (มิลลิลิตรปรอท) ความดันโลหติ ขณะหวั ใจคลายตัวในขณะพกั 63.36 7.32 68.88 7.37 (มลิ ลลิ ิตรปรอท) จากตารางท่ี 2 และแผนภูมิท่ี 3-4 พบว่า กลุ่มทดลอง มีค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานของคา่ สขุ สมรรถนะเกอื บทกุ คา่ ยกเวน้ นำ�้ หนกั ตวั (ดชั นมี วลกาย, เปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมนั , อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก, ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวในขณะพัก และความดัน โลหติ ขณะหวั ใจคลายตวั ในขณะพกั ) ทด่ี กี วา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05
92 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเนือ้ ส�ำ หรบั เยาวชนหญิง 80 กลุ่มทดลอง 70 กลมุ่ ควบคมุ 60 56.93 50 48.61 40 30 20.51 23.25 20 17.28 19.02 10 W BMI Fat (กโิ ลกรัม) (กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร) (เปอร์เซ็นต)์ แผนภมู ทิ ่ี 3 แสดงการเปรียบเทยี บคา่ เฉลีย่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของค่าสขุ สมรรถนะ ไดแ้ ก่ นำ้� หนกั (W), ดชั นมี วลกาย (BMI) และไขมัน (Fat) ระหว่างกล่มุ ทดลองหลังฝกึ ตามโปรแกรมและ กลมุ่ ควบคมุ หลงั ฝกึ ตามปกติ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 93 140 กล่มุ ทดลอง 120 106.24 112.04 กลมุ่ ควบคมุ 100 83.88 80 73.84 63.36 68.88 60 40 20 10 HRR SBP DBP (ครง้ั /นาท)ี (มิลลิลิตรปรอท) (มิลลิลติ รปรอท) แผนภมู ทิ ่ี 4 แสดงการเปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ สขุ สมรรถนะ ได้แก่ อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก (HRR : ครั้งต่อนาที), ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวในขณะพัก (SBP : มิลลิลิตรปรอท) และความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัวในขณะพัก (DBP : มิลลิลิตรปรอท) ระหว่างกลมุ่ ทดลองหลังฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคุมหลงั ฝกึ ตามปกติ
94 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยทีม่ ผี ลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื ส�ำ หรับเยาวชนหญงิ ตอนที่ 2 การเปรียบเทยี บความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อของกลุ่มตัวอยา่ ง ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือระหว่างกลุ่มทดลองก่อนฝึกตามโปรแกรมและกลุ่ม ควบคุมก่อนฝึกตามปกติ กลุม่ ทดลอง กล่มุ ควบคุม คา่ สขุ สมรรถนะ n = 25S.D. x n = 25S.D. คา่ t p-value (Health-related Physical Fitness Parameter) x ลุกนง่ั (ครัง้ ) 13.64 21.8 12.64 2.91 1.375 0.176 ดันพ้ืน (คร้งั ) 13.92 2.38 12.52 3.37 1.698 0.096 Deep Squat (คะแนน) 1.96 0.35 1.92 0.28 0.447 0.657 Hurdle Step (คะแนน) 2.48 0.51 2.36 0.49 0.849 0.400 Incline Lunge (คะแนน) 2.40 0.50 2.28 0.46 0.885 0.381 Shoulder Mobility (คะแนน) 1.88 0.93 1.76 0.83 0.482 0.632 Active Stranght-leg (คะแนน) 1.72 0.84 1.60 0.71 0.545 0.588 Trunk Stability Push Up (คะแนน) 2.40 0.58 2.28 0.54 0.758 0.452 Rotary Stability (คะแนน) 1.68 0.56 1.56 0.51 0.797 0.429 จากตารางท่ี 3 และแผนภมู ทิ ี่ 5-6 พบวา่ กลมุ่ ทดลอง มคี า่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ของค่าความแข็งแรงของกล้ามเน้ือในทกุ ค่า (ลุกนั่ง, ดันพนื้ , Deep Squat, Hurdle Step, Incline Lunge, Shoulder Mobility, Active Stranght-leg, Trunk Stability Push Up และ Rotary Stability) ทไี่ ม่แตกตา่ งกวา่ กลุ่มควบคมุ อย่างมนี ัยสำ� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 95 30 กลมุ่ ทดลอง กลุ่มควบคมุ 20 13.64 12.64 13.92 12.52 10 ลกุ น่งั (Sit-up) ดันพื้น (Push-up) ครั้ง/30 วนิ าที ครั้ง/30 วนิ าที แผนภมู ทิ ่ี 5 แสดงการเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความแขง็ แรงของ กล้ามเนอ้ื ได้แก่ ลุกน่ัง (คร้งั ) และดันพ้นื (ครัง้ ) ระหว่างกล่มุ ทดลองกอ่ นฝกึ ตามโปรแกรมและ กลุ่มควบคุมก่อนฝึกตามปกติ
96 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ีผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเน้ือสำ�หรับเยาวชนหญิง กลุ่มทดลอง 3.5 กลมุ่ ควบคมุ 3 2.48 2.40 2.5 2.36 2.28 2.40 2.28 1.96 1.88 1.68 1.76 1.72 1.56 2 1.92 1.60 1.5 1 0.5 DS HS IL SM ASL TSPU RS แผนภมู ทิ ี่ 6 แสดงการเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ได้แก่ Deep Squat (DS : คะแนน), Hurdle Step (HS : คะแนน), Incline Lunge (IL : คะแนน), Shoulder Mobility (SM : คะแนน), Active Stranght-leg (ASl : คะแนน), Trunk Stability Push Up (TSPU : คะแนน) และ Rotary Stability (RS : คะแนน) ระหว่างกลมุ่ ทดลองกอ่ นฝึกตามโปรแกรม และกลุ่มควบคุมกอ่ นฝกึ ตามปกติ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 97 ตอนท่ี 2 การเปรียบเทยี บความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ของกลุม่ ตวั อยา่ ง ตารางท่ี 4 เปรียบเทยี บคา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความแขง็ แรงของ กลา้ มเนอ้ื ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองกอ่ นฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคมุ กอ่ นฝกึ ตามปกติ กล่มุ ทดลอง กล่มุ ควบคุม คา่ สขุ สมรรถนะ n = 25 n = 25 คา่ t p-value (Health-related Physical Fitness Parameter) x S.D. x S.D. ลุกน่งั (คร้ัง) 20.08 3.01 13.64 2.18 8.663 0.000* ดนั พ้นื (ครง้ั ) 21.92 3.38 13.92 2.38 9.682 0.000* Deep Squat (คะแนน) 2.96 0.20 2.60 0.50 3.343 0.002* Hurdle Step (คะแนน) 3.00 0.00 2.76 0.44 2.753 0.008* Incline Lunge (คะแนน) 3.00 0.00 2.76 0.44 2.753 0.008* Shoulder Mobility (คะแนน) 3.00 0.00 2.60 0.50 4.000 0.000* Active Stranght-leg (คะแนน) 3.00 0.00 2.76 0.44 2.753 0.008* Trunk Stability Push Up (คะแนน) 3.00 0.00 2.88 0.33 1.809 0.077* Rotary Stability (คะแนน) 3.00 0.00 2.24 0.44 8.718 0.000* จากตารางที่ 4 และแผนภูมิที่ 7-8 พบว่า กลมุ่ ทดลอง มคี า่ เฉล่ยี และส่วน เบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ในทกุ คา่ (ลกุ นง่ั , ดนั พน้ื , ทา่ Deep Squat, ทา่ Hurdle Step, ท่า Incline Lunge, ทา่ Shoulder Mobility, ท่า Active Stranght-leg, ทา่ Trunk Stability Push Up และท่า Rotary Stability) ทีด่ ีกวา่ กลมุ่ ควบคมุ อย่างมนี ัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
98 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยท่ีมีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื สำ�หรบั เยาวชนหญงิ กลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ควบคุม 30 21.92 13.92 20.08 20 13.64 10 ลกุ นง่ั (Sit-up) ดนั พ้ืน (Push-up) ครงั้ /30 วินาที ครงั้ /30 วนิ าที แผนภูมิท่ี 7 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความแขง็ แรงของ กลา้ มเนอ้ื ไดแ้ ก่ ลกุ นงั่ (ครง้ั ) และดนั พน้ื (ครงั้ ) กลมุ่ ทดลองหลงั ฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคมุ หลังฝกึ ตามปกติ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 99 กลุ่มทดลอง กลมุ่ ควบคมุ 3.5 2.96 3 3 3 3 3 3 3 2.60 2.76 2.76 2.6 2.76 2.88 2.5 2.24 2 1.5 1 0.5 DS HS IL SM ASL TSPU RS แผนภมู ทิ ่ี 8 แสดงการเปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ได้แก่ Deep Squat (DS : คะแนน), Hurdle Step (HS : คะแนน), Incline Lunge (IL : คะแนน), Shoulder Mobility (SM : คะแนน), Active Stranght-leg (ASl : คะแนน), Trunk Stability Push Up (TSPU : คะแนน) และ Rotary Stability (RS : คะแนน) ระหวา่ งกลุ่มทดลองหลงั ฝึกตามโปรแกรม และกลมุ่ ควบคุมหลังฝึกตามปกติ
บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153