ชื่อหนังสือ : Amazing Fossils in Satun Geopark เจ้าของ : กรมทรัพยากรธรณี ผู้เรียบเรียง : คมฉาน ตะวันฉาย ถ่ายภาพ : คมฉาน ตะวันฉาย จำ�นวนพิมพ์ครั้งที่ ๑ : ๕๐๐ เล่ม เผยแพร่ : ตุลาคม ๒๕๖๐ ]สารบัญ บทเกรนิ่ อทุ ยานธรณสี ตลู ๕ บทท่ี ๑ ทำ�ไม? ใครๆ จงึ ให้ฉายาสตูลเป็นฟอสซลิ แลนด์ ๑๑ บทที่ ๒ สตั วโ์ ลกล้านปใี นอทุ ยานธรณสี ตลู ๑๘ บทที่ ๓ สุไหงอูเป...ประตูสอู่ ุทยานธรณสี ตูล ๒๕ บทท่ี ๔ กำ�เนิดอุทยานธรณสี ตูล ๒๘ บทที่ ๕ ขอเวลา ๑ วัน กับการจับหวั ใจอทุ ยานธรณสี ตลู ๓๒ บทท่ี ๖ เทย่ี วให้ทั่ว ดใู หห้ มดในอทุ ยานธรณสี ตลู ๔๐ บทที่ ๗ รู้จกั ชุมชน ผลิตผลทอ้ งถ่นิ ๙๖ บทที่ ๘ สง่ ทา้ ย พักอย่างไรในอทุ ยานธรณสี ตลู ๙๘ ๒ เท่ียวไปในอุทยานธรณีสตูล
]คำ�นำ� กรมทรัพยากรธรณีได้ประกาศพื้นที่หลายแห่งที่มีความสำ�คัญและโดดเด่นทางธรณีวิทยา ธรรมชาติ วิทยา และวัฒนธรรม มีเรื่องราวที่เชื่อมโยงคุณค่าของผืนแผ่นดินกับวิถีชีวิตชุมชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ซึ่งมี การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยการอนุรักษ์ การถ่ายทอดความรู้ และการพัฒนา อย่างยั่งยืน ให้เป็นอุทยานธรณี ซึ่งในแต่ละแห่งก็มีความโดดเด่นและความสำ�คัญที่แตกต่างกันออกไป สำ�หรับอุทยานธรณีสตูล แม้จะไม่เห็นความโดดเด่นโดยชัดในพื้นที่ แต่เมื่อมองลึกลงไปในเนื้อแท้ จะเห็นว่าพื้นที่มีความหลากหลายทั้งธรรมชาติ วัฒนธรรม วิถีชุมชนและเรื่องราวทางธรณีของธรณีในยุค แรกๆ เมื่อประมาณ ๕๐๐ ล้านปีก่อน การเปน็ อทุ ยานธรณจี ะเปน็ การกระตุน้ ใหผ้ ูค้ นในพืน้ ทีร่ ูจ้ กั คณุ คา่ ของธรรมชาติ ธรณี วฒั นธรรมและ วิถีชุมชน ที่รวมกันกลายเป็นอุทยานธรณี นำ�มาซึ่งการอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ไว้ และเป็นที่มาของรายได้จาก การท่องเที่ยวเข้ามาสู่ในพื้นที่ ซึ่งอุทยานธรณีสตูลได้บรรลุถึงเจตนารมณ์ของการเป็นอุทยานธรณี ทุก อย่าง หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นส่วนเสริมทำ�ให้รู้จักอุทยานธรณีสตูลมากขึ้นในทุกแง่มุมที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเข้าใจเรื่องราวของทางธรณีที่ปรากฏในพื้นที่ เพื่อจะได้ท่องเที่ยวได้อย่างมีความรู้และ เพลิดเพลินและเมื่อมีโอกาส ก็ขอเชิญชวนให้ท่องเที่ยวในอุทยานธรณีอื่นๆ ของประเทศไทยด้วย เพราะล้วนแล้วแต่มีคุณค่าและความสวยงามทั้งสิ้น นายทศพร นุชอนงค์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๓
]เพราะอยากเล่าจึงเอามาเขียน ผมเป็นคนเดินทาง ที่ชอบท่องเที่ยว แล้วก็ชอบไปหมดที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ประกอบกับเป็น คนที่รู้น้อย พอเห็นอะไรเมื่อไปท่องเที่ยว ก็เลยอยากรู้ไปหมดว่ามันคืออะไร เกิดมาได้อย่างไร เพราะเรา มีคำ�ถาม จึงต้องแสวงหาคำ�ตอบ ทั้งอ่านหนังสือ ดูสารคดีโทรทัศน์ สอบถามผู้รู้ในแขนงต่างๆ ผมจึงมี กิจกรรมและได้ประสาทะกับผู้คนหลากหลาย ทั้งกลุ่มเดินป่า กลุ่มดำ�นํ้า กลุ่มดูนก กลุ่มถ่ายภาพนก กลุ่มดูผีเสื้อ กลุ่มดูเห็ดรา กลุ่มดูกล้วยไม้ กลุ่มดูพืชพันธุ์ไม้ กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน ฯลฯ เรียกว่าไปดูดเอา ความรู้เขามาแทบทุกกลุ่ม และเมื่อผมมาเจอกับนักธรณีทั้งหลายนี่เองที่ทำ�ให้ผมนึกในใจว่า เรามาเจอขุมทรัพย์ทางปัญญา เข้าแล้ว เพราะก่อนหน้านี้ผมไปพบและสงสัย ก็เก็บภาพฟอสซิล เก็บภาพลายหินแปลกๆ ไว้สารพัด และแน่นอนว่า มีคำ�ถามอยู่ในหัวผมเต็มไปหมด พอกรมทรัพยากรธรณีเชิญไปทำ�ข่าวการเปิดอุทยานธรณีผาชัน-สามพันโบก ที่อุบลฯ นั่นแหละ นั่นจึงเป็นช่องทางแรกที่ผมได้เข้ามาคลุกคลี ได้สอบถามหาคำ�ตอบในสารพันปัญหาที่สงสัยเมื่อออก ท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นการเกิดหน้าผา รูปลักษณ์ของภูเขา นํ้าใต้ดิน ลักษณะแปลกๆ ของลานหิน ก้อน หิน ฯลฯ ซึ่งล้วนแล้วธรณีตอบได้ทั้งสิ้น ตั้งแต่นั้นมา ผมจึงเป็นนักธรณีหลังห้อง คือ ขยันถาม ขยันอ่าน หนังสือเกี่ยวกับเรื่องธรณีมากๆ หน่อย เจอนักธรณีท่านใดก็ขอความรู้เขาหมด และถือว่าโชคดีซํ้าสองที่ นักธรณีที่ผมถามเขาไม่ค่อยรำ�คาญ (หรือรำ�คาญแต่ไม่ได้บอก) อธิบายให้ฟังด้วยดี หนังสือเล่มนี้ทำ�ขึ้นมาให้อ่าน เพราะอยากให้อ่าน แล้วใช้เป็นคู่มือในการออกไปเที่ยวอุทยาน ธรณีสตูล โดยผมพยายามเขียนให้เข้าใจกันง่ายๆ แบบไม่ใช่นักวิชาการ ไม่ใช่นักธรณีเพราะผมก็ไม่ใช่ นักธรณีเลยเขียนให้คนที่ไม่ใช่นักธรณีด้วยกันอ่าน เพื่อให้พอเข้าใจเรื่องธรณีบ้าง แต่กระนั้น ผมก็รบกวนให้ คุณชันชนา คำ�ชา นักธรณีชำ�นาญการ ของกรมทรัพยากรธรณี ซึ่ง เป็นผู้สำ�รวจและปลุกปั้นอุทยานธรณีสตูลมาแต่ต้น และ ผอ.นิวัติ บุญนพ นักธรณีชำ�นาญการพิเศษ ผู้อำ�นวยการสำ�นักธรณีเขต ๓ (ระยอง) ช่วยตรวจทานเนื้อหาและความถูกต้องในเรื่องเกี่ยวกับธรณี ทั้งหมดอีกครั้ง ถ้ามีอะไรที่ยังผิดพลาดอยู่ ก็คงเกิดจากนักสนใจธรณีแบบผมนี่เองที่จับสาระมาไม่หมด ขอน้อมรับผิดในความผิดพลาดถ้าจะเกิดขึ้น หวังว่าหนังสือเล่มนี้ จะช่วยให้ท่านผู้อ่านเข้าใจปรากฏการณ์ทางธรณีที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวได้ มากขึ้น และเหนืออื่นใด อ่านจบแล้วคงอยากไปเที่ยวอุทยานธรณีสตูล ถ้าอย่างนั้น อย่ามัวอ่านคำ�นำ� ของผมอยู่เลย เปิดไปอ่านในเล่มเถอะครับ ศรัทธาและเชื่อมั่น คมฉาน ตะวันฉาย มิถุนายน ๒๕๖๐ ๔ เท่ยี วไปในอุทยานธรณสี ตูล
]อุทยานธรณีสตูล ก่อนที่เราจะได้ท่องเที่ยวกันให้สำ�ราญในอุทยานธรณีสตูล ผมอยากบอกเล่าเรื่องราวของอุทยาน ธรณีสักหน่อยว่าคืออะไร ไปดูเนื้อหามาจากเวบไซต์เขา (www.satun-geopark.com) ก็เห็นว่าเนื้อหา เขาครบถ้วน เพื่อเป็นการทำ�ความรู้จักสถานที่นี้ ก็เลยขอนำ�เนื้อหาเขามาใส่ ในหนังสือนี้เพื่อเป็นการปู เรื่อง แล้วเดี๋ยวพอในเล่ม จะขยายความให้ไปเรื่อยๆ รับรองว่าอ่านจนจบเล่ม แล้วไปเที่ยวตามหนังสือ เล่มนี้ ท่านผู้อ่านรู้จักอุทยานธรณีสตูลแบบปรุโปร่งเลย ดูเนื้อหาเขาก่อนครับ..... “จากผืนทะเล ๕๐๐ ล้านปี สู่ขุนคีรียิ่งใหญ่ ผูกพันวิถีชีวิต ผู้คน” เกี่ยวกบั อุทยานธรณสี ตลู “อุทยานธรณี”(Geopark) คือ พื้นที่ที่มีความสำ�คัญและโดดเด่นทางธรณีวิทยา ธรรมชาติวิทยา และวฒั นธรรม มเี รอ่ื งราวทเ่ี ชอ่ื มโยงคณุ คา่ ของผนื แผน่ ดนิ กบั วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนทอ่ี าศยั อยใู่ นพน้ื ทซ่ี ง่ึ มกี ารบรหิ าร จดั การแบบมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น โดยการอนรุ กั ษ์ การถา่ ยทอดความรู้ และการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๕
“อุทยานธรณีสตูล” (Satun Geopark) ตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย ครอบคลุม 4 อำ�เภอ ของจังหวัดสตูล คือ ทุ่งหว้า มะนัง ละงู และอำ�เภอเมือง ลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาหินปูน มีเกาะ น้อยใหญ่ และชายหาดที่สวยงาม นักท่องเที่ยวสามารถสัมผัสกับธรรมชาติอันบริสุทธิ์ ความรุ่มรวยทาง ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตผู้คนที่ผูกพันกับพื้นที่แห่งนี้ ผืนดินแห่งนี้ เป็นบันทึกหลักฐานของโลกใต้ทะเลเมื่อ ๕๐๐ ล้านปีก่อน ที่อุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิต ยุคเก่า เกิดเป็นแหล่งสร้างออกซิเจนให้กับโลกในช่วงเวลานั้น ต่อมามีการยกตัวของเปลือกโลกก่อเกิด เป็นเทือกเขา และถํ้า ซึ่งได้กลายเป็นบ้านหลังแรกของมนุษย์โบราณ ปัจจุบันผู้คนก็ยังดำ�รงชีวิตโดยใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรของแผ่นดินนี้อยู่ และก่อเกิดเป็นวัฒนธรรมประเพณีที่มีเอกลักษณ์ ด้วยความโดดเดน่ ทางธรณวี ิทยา ภมู ปิ ระเทศและธรรมชาติของอทุ ยานธรณสี ตลู กอ่ ใหเ้ กิดกจิ กรรม การท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลากหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวแนวผจญภัย เช่น ล่องแก่ง ดำ�นํ้า เที่ยวถํ้า การท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจที่นํ้าตก ชายหาด รวมถึงเลือกซื้อของฝากผลิตภัณฑ์ชุมชน และสัมผัสวัฒนธรรมท้องถิ่นที่หลากหลาย... …มาถึงตรงนี้ ผมขออธิบายเพิ่มสักหน่อยครับ คือ พอกรมทรัพยากรธรณีเขาเห็นความสำ�คัญ ของพื้นที่นี้ว่ามีความสำ�คัญ โดดเด่น เขาก็ประกาศเป็นอุทยานธรณี ซึ่งพื้นที่อุทยานธรณีนี้แตกต่างจาก อุทยานแห่งชาติทั่วไป เพราะอุทยานแห่งชาติ ประกาศตาม พรบ.ที่กำ�หนดคือมีพื้นที่ มีการจัดการ มี บุคลากรมาดูแลและบังคับใช้กฎหมาย ตาม พรบ.อุทยานแห่งชาติอย่างที่รู้ทั่วไป แต่อุทยานธรณี พอเขาประกาศแล้ว ทุกอย่างก็เหมือนเดิม คือไม่ได้มีเจ้าหน้าที่จากกรม ๖ เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณีสตูล
ทรัพยากรธรณีมาเป็นหัวหน้า ไม่มีพนักงานแต่อย่างใด แต่ทางกรมทรัพยากรธรณีเขาจะสนับสนุนทาง วชิ าการ นักธรณี นกั สำ�รวจ มาช่วยจดั การแนวทางให้ โดยคนในพืน้ ที่กจ็ ดั การบริหารกันเอง พื้นทีอ่ ทุ ยาน ธรณีที่ประกาศทับหมู่บ้าน ทับชุมชน แม้กระทั่งทับอุทยานแห่งชาติ ชุมชน หมู่บ้าน ก็ไม่ต้องไปรื้อถอน เหมือนเขา แค่ประกาศให้รู้ว่าขอบเขตมันแค่ไหนอย่างไรเท่านั้น แต่ทุกอย่างก็ยังเหมือนเดิม อันไหนเคย เป็นอุทยานแห่งชาติก็เป็นเหมือนเดิม อันไหนเป็นหมู่บ้าน เป็นบ้านชาวบ้านก็เป็นเหมือนเดิม อุทยาน ธรณีสตูลจึงประกาศคลุมทับหลายอำ�เภอ รวมทั้งอุทยานแห่งชาติตะรุเตาและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะ เภตราด้วย พอประกาศเป็นอุทยานธรณีแล้ว ถ้าเห็นว่าพื้นที่เรามีความสำ�คัญมากในระดับโลก ก็ทำ�เรื่องขอขึ้น ทะเบียนเป็นอุทยานธรณีโลก ซึ่งจะมีกระบวนการมาประเมินจาก ยูเนสโกอีก ก็เหมือนการขึ้นทะเบียน มรดกโลกสถานที่อื่นๆ ที่เราคุ้นเคยกันนั่นเอง แต่นี่เป็นพื้นที่ทางธรณี ซึ่ง ณ ขณะที่ผมเขียนข้อมูลใน เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ อุทยานธรณีสตูลกำ�ลังทำ�เรื่องขอขึ้นทะเบียนเป็นอุทยานธรณีโลกอยู่ ... มาดูเนื้อหาในเวบไซต์เขาต่อ..... แนวทางในการจัดตั้งเปน็ อทุ ยานธรณโี ลก ๑. อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Globat Geoparks) เป็นโครงการด้านการอนุรักษ์ มรดกทางธรณีวิทยา โบราณคดี นิเวศวิทยา และวัฒนธรรม ขององค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๗
วัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติหรอื ยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization : UNESCO) อุทยานธรณีโลกเป็นขอบเขตพื้นที่ที่ประกอบด้วยแหล่งที่มีคุณค่าด้าน ธรณีวิทยา โบราณคดี นิเวศวิทยา และวัฒนธรรม มีการบริหารจัดการแบบองค์รวมระหว่างการอนุรักษ์ การให้ความรู้ การศึกษาวิจัย และการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการ เชื่อมโยงความสำ�คัญของมรดก ทางธรณวี ทิ ยาผา่ นการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรณวี ทิ ยา ปจั จบุ นั ทวั่ โลกมอี ทุ ยานธรณโี ลกของยเู นสโก จ�ำ นวนทง้ั สนิ้ ๑๒๐ แห่ง ใน ๓๓ ประเทศ โดยภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอุทยานธรณีธรณีโลกของยูเนสโกแล้ว จำ�นวน ๔ แห่ง ใน ๒ ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ๑ แห่ง สาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม ๑ แห่ง และสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ๒ แห่ง ๒. จงั หวดั สตลู ไดด้ �ำ เนนิ การตามแนวทางของกรมทรพั ยากรธรณใี นการจดั ตัง้ อทุ ยานธรณตี ัง้ แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้นมา โดยกำ�หนดพื้นที่อุทยานธรณี ตั้งหน่วยงานบริหารจัดการ จัดทำ�แผนบริหาร จัดการ และดำ�เนินการตามแผนฯ โดยได้ประกาศจัดตั้งอุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark) เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ ๓. ประโยชน์ของการเป็นสมาชิกของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก : เป็นการส่งเสริมให้เกิด การอนุรักษ์ผ่านการท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยาซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ของการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน ทำ�ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติเพิ่มมากขึ้นทั้งในด้านคุณค่าของแหล่ง ทรพั ยากรธรรมชาติ และดา้ นการทอ่ งเทีย่ วซึง่ จะดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทีย่ วน�ำ รายไดส้ ูช่ มุ ชนทอ้ งถิน่ และประเทศ ๘ เทย่ี วไปในอุทยานธรณีสตูล
ประชากรในพื้นที่มีงานทำ� มีรายได้และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ประชากรในพื้นที่เกิดจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์ และหวงแหน ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าได้รับการปกป้องคุ้มครองอย่างยั่งยืน เกิดเครือข่าย ความร่วมมือในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรณีวิทยาอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งศึกษา วิจัย ของนักวิชาการทั้งในและต่างประเทศอีกด้วย ครม.เหน็ ชอบ เสนอ “อทุ ยานธรณสี ตลู ” เปน็ สมาชกิ อทุ ยานธรณโี ลก วันที่ ๘ พ.ย. ๒๕๕๙ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบเสนอให้อุทยานธรณีสตูลเป็น สมาชิกอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Globat Geoparks) ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ทส.) เสนอ ดังนี้ ๑. เห็นชอบให้เสนออุทยานธรณีสตูลเป็นสมาชิกอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Globat Geoparks) ๒. มอบหมายให้คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ (ยูเนสโก) กระทรวงศึกษาธิการ ดำ�เนินการเสนออุทยานธรณีสูตลเป็นสมาชิกธรณีโลก ของยูเนสโกต่อสำ�นักเลขาธิการยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานว่า อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNE- SCO Globat Geoparks) เป็นโครงการด้านการอนุรักษ์มรดกทางธรณีวิทยา โบราณคดี นิเวศวิทยา และ วัฒนธรรม ขององค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization : UNESCO) อุทยานธรณีโลกเป็น ขอบเขตพื้นที่ที่ประกอบด้วยแหล่งที่มีคุณค่าด้านธรณีวิทยา โบราณคดี นิเวศวิทยา และวัฒนธรรม มีการ บริหารจัดการแบบองค์รวมระหว่างการอนุรักษ์ การให้ความรู้ การศึกษาวิจัย และการพัฒนาสังคมและ เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการตั้งแต่เริ่ม ต้นกระบวนการ เชื่อมโยงความสำ�คัญของมรดกทางธรณีวิทยาผ่านการท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา ปัจจุบันทั่วโลกมีอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก จำ�นวนทั้งสิ้น ๑๒๐ แห่ง ใน ๓๓ ประเทศ โดย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอุทยานธรณีธรณีโลกของยูเนสโกแล้ว จำ�นวน ๔ แห่ง ใน ๓ ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี ๑ แหง่ สาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม ๑ แหง่ และสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ๒ แห่ง อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark) ได้รับการประกาศเป็นอุทยานธรณีระดับประเทศในเดือน พฤศจิกายน ปี ๒๕๕๙ อุทยานธรณีสตูลครอบคลุมพื้นที่ ๒,๕๙๗.๒๑ ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ที่มีความ โดดเด่นทางธรณีวิทยาระดับสากลและได้รับการบริหารจัดการโดยใช้กรอบแนวคิดการอนุรักษ์ธรณีวิทยา การให้ความรู้ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ......จบ..เนื้อหาของเวบไซต์เขาจบแค่นี้ ก็เป็นการบอกกล่าว เหมือนแนะนำ�ตัวให้รู้จักกันก่อน ก็คง พอทำ�ให้เราเข้าใจความหมาย จังหวะย่างก้าวของพื้นที่แห่งนี้พอสมควร ซึ่งในบทต่อๆ ไป ก็จะเข้า เรื่องราวของเรา และจะรู้จักคำ�ว่าอุทยานธรณีมากขึ้น g เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู ๙
ตารางธรณี ปี ๒๕๕๐ ๑๐ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณีสตลู
บทที่ ๑ ทำ�ไม? ใครๆ จึงให้ฉายาสตูล ว่าเป็น...ฟอสซิลแลนด์ ขอให้ท่านผู้อ่านดูตารางธรณีน้ีประกอบ ซึ่งตารางธรณีท่ีประกอบน้ี เป็น ตารางธรณใี นปี ๒๕๕๐ ท่ีตอ้ งระบุปีเพราะว่ามกี ารปรบั เปลี่ยน แกข้ ยับเรื่อง อายแุ ตล่ ะชว่ งยคุ อยเู่ รอ่ื ยๆ ขนึ้ อยกู่ บั การพบเจอหลกั ฐานการขดุ คน้ ฟอสซลิ อะไร แต่ท่านผู้อ่านจำ�ตารางธรณีให้พอเข้าใจก็แล้วกัน แล้วจะเข้าใจว่าผม กำ�ลังจะเลา่ อะไรสู่กันฟงั เรา...ทเี่ ปน็ เราในทกุ วนั นี้ กค็ อื ชอ่ งบนสดุ ของตารางทเ่ี อามาใหด้ ู จะเหน็ วา่ ตน้ ตระกลู ทเ่ี ปน็ มนษุ ย์ เรา ซงึ่ ในชว่ งเร่ิมแรก อาจจะไม่ใช่รปู ร่างทเี่ ราเห็น มสี องขา สองแขน เดนิ ตัวตัง้ ฉากกนั นด้ี ้วยซา้ํ กไ็ มร่ เู้ หมอื นกนั วา่ โคตรเหงา้ ของมนษุ ยจ์ รงิ ๆ เรมิ่ จากแบบไหน ไดแ้ ตส่ นั นษิ ฐานจากหลกั ฐานทข่ี ดุ คน้ และ ทฤษฎีววิ ัฒนาการ แต่มนุษย์ต้ังแต่เริ่มแรก พฒั นาการเรอื่ ยๆ เปน็ มนุษย์สมัยหนิ มาจนมนษุ ยส์ มยั ปัจจุบัน เทีย่ วไปในอทุ ยานธรณีสตลู ๑๑
น้ี ใช้เวลา ๒ ลา้ นปี ทางธรณเี ขาเรียกรวมว่า ยคุ ควอเตอรน์ ารี ซ่งึ ในยุคนี้ กย็ งั แยกเปน็ มนษุ ย์สมัยหินและ สมยั ปัจจบุ ัน ซ่ึงยคุ ควอเตอร์นารนี ีเ่ อง เปน็ หนึ่งใน ๒ ของมหายุค ซโี นโซอิก ถา้ หากมหายคุ ซโี นโซอกิ เปน็ วนั น้ี มหายคุ กอ่ นหนา้ นหี้ รอื มหายคุ เมอ่ื วานน้ี กจ็ ะเปน็ มหายคุ มโี ซโซอกิ พดู แบบนอี้ าจงง ถา้ บอกวา่ เปน็ ยคุ ของไดโนเสารค์ รองโลกคงจะออ๋ กนั เปน็ แถว ในบรรดาของไดโนเสารเ์ อง เขากม็ วี วิ ฒั นาการมาเปน็ ยคุ ๆ เรม่ิ ตง้ั แตไ่ ทรแอสสคิ ทเี่ ราคนุ้ ๆ กนั กย็ คุ จรู าสสคิ และมาสนิ้ สดุ ยคุ ไดโนเสาร์ ท่ยี ุคครีเทเชยี ส ทีเ่ ขาว่าอกุ าบาตชนโลกจนหมอกควันฟ้งุ บดบังดวงอาทติ ยเ์ ป็นวนั เป็นปี จนไดโนเสารต์ าย เกล้ียง ชนดิ ทเ่ี รยี กวา่ ลา้ งโลกกนั เลยทีเดยี ว เวลาเขาขุดเจอซากไดโนเสาร์ หรือถ้าจะหาซากไดโนเสาร์ ก็ ต้องหาในชนั้ หนิ ของมหายุคมีโซโซอกิ นแ่ี หละ ไปหาในมหายุคอน่ื ไมม่ ที างเจอ แต่ถ้าถัดจากเมอื่ วาน กค็ ือเม่ือวานซนื ไอ้เมอ่ื วานซืนนลี่ ะครับคอื มหายุคของแผน่ ดินทเี่ ป็นสตลู และ บริเวณใกลเ้ คยี งในปัจจบุ นั เรียกว่า มหายุคพาลีโอโซอิก ซ่ึงถา้ ถัดจากมหายุคพาลโี อโซอกิ ไปอกี กจ็ ะเปน็ มหายคุ พรแี คมเบรยี น ทม่ี อี ายปุ ระมาณ ๔,๖๐๐ ลา้ นปี (ในชว่ ง ๕๔๒-๔๖๐๐) หรอื มหายคุ ทโ่ี ลกเพงิ่ จะเรมิ่ มสี ิง่ มีชีวิตเกิด พวกแบคทีเรียอะไรพวกนี้ พอนกึ ภาพออกนะครบั วา่ แผน่ ดนิ ทเ่ี ปน็ สตลู ปจั จบุ นั นน้ั เปน็ แผน่ ดนิ ของมหายคุ พาลโี อโซอกิ จะเรยี กวา่ เปน็ มหายคุ เกา่ แกก่ ว็ า่ ได้ แมจ้ ะไมใ่ ชม่ หายคุ แรก แตก่ เ็ ปน็ มหายคุ ทท่ี ง้ิ รอ่ งรอยของสง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี คยมชี วี ติ อยแู่ พร่ หลายในยคุ นม้ี าใหเ้ ราไดส้ บื คน้ เยอะแยะ แมเ้ วลาจะเนน่ิ นานมาถงึ ประมาณ ๕๔๒ ลา้ นปมี าแลว้ กต็ าม ในมหายคุ พาลโิ อโซอิกนี้ มี ๖ ยุคยอ่ ยอยูใ่ นนี้ โดยเรมิ่ จากยุคแคมเบรยี นตง้ั แต่ประมาณ ๕๔๒ ลา้ นปี ไปจนถึงเพอร์เมยี นประมาณ ๒๕๑ ล้านปี ซงึ่ ถา้ ทา่ นผู้อ่านดูตารางธรณีกาลประกอบจะเขา้ ใจมากขนึ้ ซ่งึ ๑๒ เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณีสตลู
ในแตล่ ะยคุ นกี่ จ็ ะมีสัตวห์ รอื ส่ิงมีชวี ติ เด่นๆ อยู่ สงสัยใชไ่ หมครบั ว่า แล้วนักธรณีเขาเอาอะไรมากำ�หนดว่ายุคน้ัน ยุคนีเ้ ริ่มต้นตอนไหน และสิน้ สดุ ลง ตอนไหน. ? ผมกส็ งสยั ...แตน่ กั ธรณเี ขาไมใ่ หเ้ ราสงสยั นาน เขาจงึ อธบิ ายมาวา่ ยคุ สมยั ทเี่ ขาแบง่ นนั้ เขายดึ ถอื เอาเหตกุ ารณท์ งั้ ทางธรณหี รอื สง่ิ มชี วี ติ เชน่ มสี งิ่ มชี วี ติ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เกดิ ขนึ้ มาอยา่ งแพรห่ ลาย แลว้ พอมี สง่ิ มชี วี ติ อกี ชนดิ หรอื เกดิ เหตกุ ารณท์ างธรณอี ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เกดิ ขน้ึ จนสงิ่ มชี วี ติ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ สญู พนั ธ์ุ ไปหรือมีสง่ิ มชี วี ิตเกิดขนึ้ มาใหม่ เขากจ็ ะนับเปน็ สน้ิ ยคุ เดมิ และเกดิ ยคุ ใหม่ ในตารางธรณกี าล จะเห็นวา่ ต้งั แต่เริ่มมหายคุ พาลโี อโซอิก คือในยุคแคมเบรียน (ประมาณ ๕๔๒- เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู ๑๓
๔๘๘ ล้านปี ไปจนสิ้นสุดมหายุคนี้คือยุคเพอร์เมียน (ประมาณ ๒๙๙-๒๕๑ ล้านปี) ก็จะมีสัตว์หรือส่ิงมี ชวี ิตต่างๆ เกดิ ข้ึนและสนิ้ สดุ ลงมากมาย แลว้ เวลาที่สง่ิ มีชีวติ เหล่าน้ียงั คงอยู่ในยคุ สมัยเขาน้ัน มันก็คงแพร่ หลาย มากมายก่ายกอง เกดิ ขนึ้ ลม้ ตาย ทับถมกนั เปน็ เวลานับลา้ นๆ ปี แลว้ ในเวลาลา้ นๆ ปีน่ี โลกเรากม็ ี การปรับเปลีย่ น ตะกอนดินสะสมอดั แน่นเปน็ หนิ ทบั เก็บรา่ งของสงิ่ มีชวี ิตในแตล่ ะยุค แตล่ ะสมยั ไว้ กลาย เปน็ ฟอสซลิ ในแตล่ ะยคุ แตล่ ะสมยั เจา้ ฟอสซลิ เหลา่ นใ้ี นชว่ งยคุ สมยั มนั มนั กจ็ ะมแี ตพ่ วกมนั หรอื ในยคุ สมยั พวกมนั ซากแลว้ ซากเลา่ ทบั ถมกนั ๆ ระยะเวลาเปน็ ร้อยๆ ล้านปี คดิ ดูว่ามันนานขนาดไหน จริงๆ นกั ธรณเี ขาเวลาดูชัน้ ดิน ชั้นหนิ ดูสขี องชน้ั ดินด้วย ยคุ สมยั ตา่ งกนั พบซากฟอสซิลตา่ งกัน ชน้ั ดินตา่ งกนั สีต่างกัน ในมหายคุ น้ี สว่ นใหญจ่ ะเปน็ สงิ่ มชี วี ติ หรอื สตั วท์ อ่ี ยใู่ นนาํ้ เมอื่ ตายลง กท็ บั ถมอยใู่ นนา้ํ เกดิ ดนิ ตะกอน ซ้อนทบั จนเป็นหนิ ก็อยู่ในนา้ํ ทนี โี้ ลกมนั ก็ยังเกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ในระยะเวลานบั ล้านๆ ปี แผน่ เปลอื กโลกมนั กเ็ คลอ่ื นทม่ี าเบยี ดชนกนั พอชนหรอื ดนั กนั กจ็ ะมบี างสว่ นถกู ดนั จนมนั โปง่ ขนึ้ มา กลาย เปน็ ภเู ขา กลายเปน็ ทส่ี งู เราจงึ เหน็ ซากของพลบั พลงึ ทะเลหรอื ไครนอยด์ ไปโผลท่ แ่ี พร่ หรอื เหน็ นอตลิ อยด ์ ไป โผลท่ ี่เมอื งกาญจน์ หรอื เห็นไทรโลไบทไ์ ปอยู่ทีจ่ งั หวัดไกลๆ ห่างทะเลในปจั จบุ นั ไมใ่ ช่จงั หวัดท่ีอยู่ติดทะเล กด็ ้วยเหตทุ วี่ ่า พอมีการค้นพบซากพลบั พลึงทะเลทีแ่ พร่ แลว้ มีคนพดู วา่ ...ตรงนี้ (แพร่) เคยเปน็ ทะเลมากอ่ น นั่นอาจจะจริง แต่อาจจะไม่จริงทั้งหมด ตรงนี้ที่ว่าอาจจะเป็นเฉพาะท่ียืนดูพลับพลึงทะเล เพราะ บริเวณตรงนั้น (ตรงที่เห็นพลับพลึงทะเล) อาจจะเคยอยู่ในน้ําแน่ ถึงได้มีซากพลับพลึงทะเล แต่ไม่ได้ หมายความวา่ บรเิ วณนน้ั ทงั้ หมดจะเคยเปน็ ทะเลมากอ่ น มนั ตอ้ งยอ้ นไปเปน็ ลา้ นปี อยา่ นกึ ภาพในปจั จบุ นั ๑๔ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล
แลว้ นึกว่าภูเขาที่เราเหน็ เดิมมนั อาจไม่ใชภ่ เู ขา มนั เป็นพืน้ นาํ้ พื้นราบทัว่ ไปแลว้ มนั จึงถกู ดันข้ึนมาจนเปน็ ภเู ขา อาจจะถกู ดันหลายคร้ังดว้ ยไม่ใชค่ ร้ังเดยี ว จนรปู รา่ งมนั เปล่ยี นไปหมด จนเดีย๋ วนไี้ อ้ทเี่ คยอยูใ่ นทะเล ก็อาจไมไ่ ดอ้ ยู่ มาโผลบ่ นบก ไอ้ที่เคยอยู่บนบกอาจจะถกู ฝงั ถูกบดอัดทับเปน็ หิน เป็นดิน อยู่ใตด้ ินเราไมร่ ู้ ว่าตรงไหนกนั บ้าง กม็ ันเปน็ ลา้ นๆ ปีมาแลว้ มาเข้าเรอ่ื งแผ่นดินสตูลต่อ เด๋ยี วจะยาวไปไกล... แผน่ ดนิ สตูลกเ็ ชน่ กนั เมอ่ื แผ่นเปลือกโลกมนั ชนกนั เบียดกนั มนั กด็ ันเอาทเ่ี คยอยู่ในน้าํ ขน้ึ มาบนบก พนื้ ดนิ แผน่ หนิ ทเ่ี คยอยู่ใต้นํา้ กถ็ ูกดันข้ึนมา พอขน้ึ มาแล้ว ก็อาจจะมดี ันกันอีกหลายครั้ง พืน้ ผิวบนเปลอื ก โลกกป็ รบั เปลีย่ นไปสารพดั เวลาเป็นล้านๆ ปีนะครบั คดิ ดูวา่ นานขนาดไหน เปน็ ภเู ขาเปน็ ทร่ี าบ เปน็ แมน่ า้ํ เป็นสารพดั จะเป็นอย่างท่ีปรากฏในปจั จบุ นั น้ี สภาพที่เราเหน็ ปัจจุบัน กไ็ มใ่ ช่โลกมนั ท�ำ ครั้งเดียว อาจจะ หลายๆ ครัง้ ชวี ิตเรามันแค่ไม่ถงึ ๑๐๐ ปี เลก็ มากๆ เมื่อเทยี บกบั โลกทีม่ อี ายุมายาวไกลและมวี ิวฒั นาการมานาน แสนนาน ทนี ้ี เราตดั ฉบั มาเปน็ แผน่ ดนิ สตลู ในปจั จบุ นั ....วา่ ท�ำ ไมใครตอ่ ใครเขาถงึ ใหฉ้ ายาวา่ สตลู นน้ั เปน็ ฟอสซลิ แลนด์ กแ็ ผน่ ดนิ สตลู โดยเฉพาะในพน้ื ท่ี อ.ทงุ่ หวา้ อ.ละงู อ.มะนงั ภเู ขา กอ้ นหนิ แมแ้ ตร่ อ่ งหว้ ย ล�ำ ธาร ลว้ น แลว้ แตม่ ซี ากฟอสซลิ ของสตั วท์ ะเลหรอื สง่ิ มชี วี ติ ในทอ้ งทะเลมหายคุ พาลโี อโซอกิ ทง้ั หมด อายตุ ง้ั แต ่ ๕๔๒ ลา้ นปี จนถงึ ๒๕๑ ลา้ นปี ปรากฏอยทู่ ง้ั สน้ิ ในถา้ํ ในกอ้ นหนิ รมิ ทางธารนา้ํ จนมกี ารพดู กนั วา่ ถนนบางสาย ใน อ.ทงุ่ หวา้ ท�ำ ดว้ ยซากฟอสซลิ ทง้ั หมด เพราะผรู้ บั เหมาเขาไปซอ้ื หนิ มาถมทางท�ำ ถนน หนิ เหลา่ นน้ั พอแงะ เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู ๑๕
๑๖ เที่ยวไปในอุทยานธรณสี ตลู
แกะ กะเทาะออกมากจ็ ะปรากฏฟอสซิลสัตว์หรือสิ่งมชี ีวิตใต้ทอ้ งทะเลในยคุ พาลิโอโซอิกท้ังสนิ้ ท�ำ ไมปล่อยใหผ้ รู้ บั เหมาท�ำ แบบนี้ ? เขาทำ�ถนนมานานแล้ว จนกระท่ังมีการมาสำ�รวจทางธรณีในภายหลัง จึงมาพบซากฟอสซิลเหล่านี้ เกล่ือนตามก้อนหินริมถนน สองข้างทาง เรียกว่าหยิบหินข้างทางออกมาสักก้อน ลองแกะดูก็จะเห็นซาก ฟอสซิลอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ปรากฏทนั ที นส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ โลกเมอ่ื ๕๐๐ ลา้ นปกี อ่ นนนั้ ถกู กอ้ นหนิ ท�ำ หนา้ ทเ่ี สมอื นดง่ั เซฟเกบ็ รปู รา่ ง รอ่ ง รอยของสิง่ มชี วี ติ เหลา่ น้นั ไวใ้ นกอ้ นหนิ แล้วถูกน�ำ มา เปดิ เผยในยุคสมยั นน้ี ีเ่ อง แลว้ แบบนี้ สตลู ควรไดช้ อื่ วา่ เปน็ ฟอสซลิ แลนด์ ได้หรือยัง .....! แต.่ .แคน่ ้ี กย็ งั ไมอ่ าจจะยกยอ่ งไดว้ า่ สตลู นน้ั เปน็ ดนิ แดนมหศั จรรยข์ องฟอสซลิ หากยงั ไมไ่ ดเ้ ดนิ ทางไป เยย่ี มเยอื น โรงเรียนกำ�แพงวิทยา อ.ละงู จ.สตลู โรงเรียนแห่งนี้เขามีชมรมกิจกรรมที่เกี่ยวกับ การศึกษาฟอสซิลในพื้นที่ โดยมี “ครูนก” นาย ธรรมรัตน์ นุตะธีระ เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา ท่ีจัด กิจกรรม พาเด็กออกไปศึกษา ออกไปเรียนรู้เก่ียว กับฟอสซิลในพื้นท่ี แล้วนำ�ตัวอย่างบางส่วนที่พบ ในพ้ืนท่ี นำ�มาจัดแสดงท่ีใต้ถุนอาคารเรียนหลังหนึ่ง และทำ�เป็นแหล่งรวบรวมฟอสซิลในพื้นที่ จัดสร้าง เป็นพิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาตใิ นโรงเรยี นข้ึน มาถงึ ตอนนี้ ขอให้ทา่ นผู้อา่ นไปดูตารางธรณกี าลอกี ครัง้ หนงึ่ เพือ่ ความเขา้ ใจ....ไม่งนั้ งงกนั พอดี ส่ิงที่มันน่ามหัศจรรย์ก็คือ ตัวอย่างฟอสซิลท่ีเก็บมาได้และนำ�มารวบรวมและจัดแสดงน้ัน มันเป็น ตัวแทนของยุคต่างๆ ใน ๖ ยคุ ของมหายคุ พาลิโอโซอกิ โดยไล่ไปต้งั แตย่ ุคแคมเบรียน ยุคออรโ์ ดวเิ ชยี น ยุคไซลเู รียน ยคุ ดโิ วเนียน ยคุ คารบ์ อร์นเิ ฟอรัสและยุคเพอร์เมยี น ครบท้ัง ๖ ยคุ ในแผน่ ดนิ เดียวกันหรอื อย่ใู นบรเิ วณใกลเ้ คียงกนั แลว้ โดยปกติ มันไม่เป็นแบบนเ้ี หรอ....? ยากมาก...! หรือในบา้ นเรา จะบอกวา่ ไมม่ ีเลยกย็ ังได้ ทีใ่ นพื้นทเี่ ดียวกนั จะมซี ากฟอสซิลของสง่ิ มชี วี ิต ครบทั้ง ๖ ยคุ โดยทวั่ ไป กจ็ ะเจอฟอสซลิ สตั วแ์ คบ่ างยคุ บางสมยั เทา่ นนั้ อาจจะมบี างพน้ื ท่ี ทเี่ จอซากฟอสซลิ สง่ิ มชี วี ติ ในยุคสมัยต่างๆ อยูใ่ นพนื้ ทีเ่ ดียวกนั มากกวา่ ๑ ยุค แต่ ไมม่ ีทไ่ี หนครบทั้ง ๖ ยคุ เท่าท่สี ตลู นี่จึงเป็นความหัศจรรย์ และคณุ คา่ ทางธรณีอย่างมาก เรียกวา่ ถ้าสนใจอยากเรยี นร้สู งิ่ มีชวี ติ เม่อื โลก ยุคเร่ิมแรกมาท่ี สตลู ...ไม่ผิดหวัง.... ทีเ่ ดยี ว ครบ จบทุกยุค... แล้วแบบนี้ สมควรที่จะยกย่องว่าสตูลนั้น เป็น FOSSIL LAND ได้หรือยัง g เท่ยี วไปในอุทยานธรณีสตูล ๑๗
บทที่ ๒ ในอสุทัตยวา์โลนกธรลณ้านีสปตี ูล ๑๘ เท่ยี วไปในอุทยานธรณีสตูล
เมื่อสตูลได้สมญาว่าเป็นฟอสซิลแลนด์ ก็แสดงว่า พื้นดินที่สตูลนี่เต็มไป ด้วยฟอสซิล ฟอสซิลในนิยามทางธรณีและที่เราเข้าใจกันคือซากของสิ่งที่ เคยมีชีวิตในอดีต ถูกเก็บรักษารูปร่างไว้ในหิน ซึ่งจะสรุปว่าหินเป็นตู้ดอง สภาพสิ่งมีชีวิตในอดีตเหล่านั้นก็ว่าได้ ซึ่งกระบวนการเกิดซากฟอสซิลก็มา จากการล้มตายของสิ่งมีชีวิต แล้วถูกตะกอนทับถม เกิดปฏิกริยาทางเคมี จนเป็นหิน ซากฟอสซิลนั้นก็จึงอยู่ในหินมาด้วย ถา้ ท่านผู้อ่านเริ่มจับทางถกู กจ็ ะพอเดาไดว้ ่า ถ้าอยา่ งน้นั หนิ ประเภทไหน ทีเ่ จอฟอสซลิ ชนิดไหน ก็ พออนุมานไดว้ า่ ส่ิงมชี ีวติ ทเ่ี จอ น่าจะสัมพันธ์กบั ช่วงอายุเดยี วกับหินชนิดนั้น เพราะแบบนน้ี ักธรณถี ึงไมม่ า ขดุ หาไดโนเสารเ์ อาแถวสตลู เพราะมนั เป็นหนิ กันคนละชว่ งอายุ ไม่ใช่ชว่ งอายุทไ่ี ดโนเสารเ์ ขามชี วี ิต เวลา เขาหาฟอสซิลไดโนเสาร์ จงึ ไปขดุ หาทางอีสาน ดิน หนิ แบบน้นั มีโอกาสเจอซากไดโนเสารม์ ากกวา่ นี่คอื ความสมั พนั ธ์ของหินกับซากฟอสซลิ ...! นส่ี รปุ กนั แบบงา่ ยๆ แตใ่ นการเกดิ ขน้ึ จรงิ ๆ มนั ใชเ้ วลานานมากๆ มกี ระบวนการทางเคมเี ขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งสารพดั ซากฟอสซลิ ทเี่ ราเห็นในปัจจบุ ัน ไมใ่ ช่ว่าโลกในอดีต มสี ง่ิ มชี ีวิตอยู่แค่น้ี เพียงแตว่ ่าตอนนเี้ ราเจอแค่นี ้ แสดงวา่ มที เ่ี รายงั ไมเ่ จออกี เพยี บ แลว้ บางชนดิ กย็ งั อยใู่ ตโ้ ลกยงั ไมถ่ กู ดนั ออกมา หรอื บางทถี กู ดนั ออกมาบน ผวิ โลกแลว้ ถูกสภาพแวดลอ้ ม ลม น้าํ นํ้าแข็งทำ�ลายไปอกี มันกเ็ ลยมีให้เหน็ ไดไ้ ม่ครบหมด ฟอสซิลที่เราเจอมกั เปน็ สว่ นท่ีแขง็ เชน่ เปน็ เปลือก เปน็ กระดอง เป็นเกล็ด สว่ นท่ีนุม่ นิ่มเชน่ เปน็ เนอ้ื เป็นอะไรนี่จะไม่เหลือกันแล้ว เวลาท่ีนักธรณีเห็นรายละเอียดของฟอสซิล เช่น ร้ิวของลาย ช่องในลำ�ตัว อะไรพวกน้ี เขาถงึ ไดต้ นื่ เตน้ กนั เพราะมนั มใี หเ้ ห็นไมบ่ อ่ ย ก่อนที่ท่านผู้อ่านจะออกดูของจริง มารู้จักกับซากฟอสซิลที่เราเจอกันบ่อยมากในดินแดนแห่งนี้กัน กอ่ น สมาชิกของอทุ ยานธรณสี ตลู ท่ีเป็นฟอสซิลทเี่ ราจะไดพ้ บเจอไดแ้ ก.่ ..... สโตรมาโตไลต์ ฟงั ดชู อ่ื กไ็ มน่ า่ ใชช่ าวบา้ นชาวชอ่ งเขาแลว้ อธบิ ายงา่ ยๆ เลยคอื เจา้ สง่ิ ทเ่ี ราเรยี กวา่ สโตรมาโตไลตท์ เ่ี ราเหน็ กนั เปน็ ตาขา่ ยเปน็ ตารางในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานธรณสี ตลู น้ี มอี ายปุ ระมาณ ๔๕๐ ลา้ นปกี อ่ น ในยคุ ออรโ์ ดวเิ ชยี น แต่ นกั วทิ ยาศาสตรเ์ ขาเคยพบเจา้ สโตรมาโตไลตน์ ใ่ี นตา่ งประเทศ แลว้ สบื คน้ อายไุ ปไดถ้ งึ ประมาณ ๓,๕๐๐ ลา้ น ปี สง่ิ ทเ่ี รยี กวา่ สโตรมาโตไลทน์ ม่ี นั คอื ผลติ ผลของเจา้ ไซยาโนแบคทเี รยี ทเ่ี ปน็ สง่ิ มชี วี ติ เรม่ิ แรกของโลก จะเรยี ก วา่ เปน็ แบคทเี รยี โบราณกไ็ ด้ เจา้ ไซยาโนแบคทเี รยี นม้ี นั จะดดู เอาแคลเซยี มจากนา้ํ มาสรา้ งเปน็ เกราะคลมุ ตวั มนั ในขณะทม่ี นั ดดู แคลเซยี มมาเปน็ เกราะมนั นน้ั กจ็ ะมตี ะกอนดนิ หรอื โคลนทล่ี อยไปมาในทะเล ตกมาสะสมบน ตวั มนั จนเปน็ ชน้ั หนาขน้ึ แลว้ มนั ไมไ่ ดอ้ ยโู่ ดดเดย่ี วมนั กม็ าเกดิ ตอ่ กนั เปน็ สาย พอมนั ตายลงแลว้ เกดิ การทบั ถม เกดิ กระบวนการเปน็ ฟอสซลิ เรากถ็ งึ เหน็ วา่ มนั เปน็ ตารางเปน็ รปู รา่ งแบบทป่ี รากฏ บางคนเรยี กวา่ ไอเ้ จา้ นม่ี นั กค็ อื สาหรา่ ยสเี ขยี วแกมนา้ํ เงนิ ทเ่ี คยเกดิ ขน้ึ มากมายในโลกยคุ เรม่ิ แรกนน่ั เอง พดู แบบนก้ี ถ็ กู แตไ่ มถ่ กู ทง้ั หมด เพราะสาหรา่ ยสเี ขยี วแกมนา้ํ เงนิ เปน็ ชนดิ หนง่ึ ของเจา้ ไซยาโนแบคทเี รยี เท่ียวไปในอุทยานธรณสี ตลู ๑๙
อุปมาให้เห็นภาพคือ ถ้าไซยาโนแบคทีเรียคือคำ�ว่ามะม่วงท้ังหมด สาหร่ายสีเขียวแกมน้ําเงินก็คือ มะมว่ งแกว้ ซงึ่ เป็นมะมว่ งชนิดหนงึ่ แบบนพ้ี อเขา้ ใจนะ เพราะไม่อย่างนน้ั จะสบั สนเดี๋ยวไซยาโนแบคทเี รีย เด๋ียวสาหร่ายสีเขียวแกมนา้ํ เงนิ บทบาทของสาหร่ายสีเขียวแกมน้าํ เงินคือมันผลิตออกซิเจนให้โลกอย่างมากมาย ออกซิเจนน้มี าจาก กระบวนการสงั เคราะหแ์ สงของมนั แลว้ มนั มมี ากมาย มหาศาล มอี ยยู่ าวนานเปน็ ลา้ นปี นกั วทิ ยาศาสตรถ์ งึ อุปมาว่าโลกยุคเร่มิ แรกน่แี หละท่ไี ด้สาหร่ายสีเขียว แกมนา้ํ เงนิ ผลติ ออกซเิ จนใหโ้ ลก (แตจ่ รงิ ๆ ไมเ่ ฉพาะ สาหรา่ ยสเี ขยี วแกมนา้ํ เงนิ ทผ่ี ลติ ออกซเิ จน คอื มะมว่ ง ทกุ ชนดิ กผ็ ลติ ออกซเิ จน ไมเ่ ฉพาะมะมว่ งแกว้ อยา่ เพง่ิ งงครบั ) ในพนื้ ทอี่ ทุ ยานธรณสี ตลู มรี อ่ งรอยของสโตร- มาโตไลตป์ รากฏใหเ้ หน็ มากมายหลายแหง่ และคอ่ น ข้างชัดเจนมาก ไปเหน็ ของจริงที่เป็นฟอสซิล ก็ลอง จนิ ตนาการย้อนหลังไปประมาณ ๔๗๐ ลา้ นปี เอาก็ แลว้ กนั วา่ ในอดตี แบคทเี รยี โบราณพวกนม้ี นั มากมาย ขนาดไหน ไทรโลไบต์ เหน็ รปู รา่ งและตวั เจา้ ไทรโลไบตแ์ ลว้ ทา่ นผอู้ า่ นคดิ ถงึ อะไร.... แมงดาทะเล นแ่ี หละคลา้ ยสดุ แตม่ นั กไ็ มเ่ หมอื นซะทเี ดยี ว บางคน บอกวา่ เจา้ นแ่ี หละมนั คอื บรรพบรุ ษุ ของแมงดาทะเลแตแ่ ทจ้ รงิ แลว้ ไทรโลไบต์และแมงดาทะเลเป็นสัตว์ทะเลต่างสายพันธ์ุกันท่ีเร่ิมมี วิวฒั นาการในช่วงเวลาใกล้เคียงกนั ไทรโลไบตเ์ ปน็ สตั วท์ ค่ี ลานหากนิ ตามพน้ื ทะเลกนิ พวกแพลงกต์ อน รปู รา่ งของมนั ทพ่ี บเหน็ จากซากฟอสซลิ คอื มนั จะมหี วั ทเ่ี ปน็ เกราะ แขง็ มปี ลอ้ งเปน็ รว้ิ ๆ เปน็ สตั วท์ ม่ี เี กราะแขง็ หมุ้ ตวั แบบกงุ้ ไทรโลไบต์ ดำ�รงพงศ์เผ่าเกือบท้ังมหายุคพาลิโอโซอิก คือ ตงั้ แตก่ ลางยคุ แคมเบรยี น จนกระทั่งส้ินสดุ ยคุ เพอรเ์ มยี น หรือสิน้ สดุ ของมหายคุ พาลโิ อโซอกิ นนั่ เอง จะบอกวา่ เจา้ ไทรโลไบตน์ ส่ี น้ิ สดุ ไปเม่ือ ประมาณ ๒๕๐ ลา้ นปกี ไ็ ด้ เปน็ ระยะเวลาประมาณ ๒๐๐ ล้านปีที่โลกมสี ิง่ มีชวี ิตชนดิ นอ้ี ยู่ในนํ้า ในพนื้ ทอ่ี ุทยานธรณีสตูล มี ซากไทรโลไบตม์ ากมาย ลองสงั เกตดูดๆี ๒๐ เท่ียวไปในอุทยานธรณสี ตลู
แกรปโตไลต์ มักเรียกกันให้เข้าใจง่ายๆว่า...เจ้าฟันเลื่อย...ตามรูปลักษณะของลำ�ตัวที่เม่ือเอาไปส่องดูด้วย กลอ้ งจุลทรรศน์ จะเห็นผวิ มนั เปน็ หยกั ๆ คล้ายฟันเลื่อย แทจ้ รงิ เจ้าแกรปโตไลต์นี่เปน็ สัตว์ทะเลขนาดเล็ก อยูร่ วมกนั เป็นกลมุ่ มนั เคยลอ่ งลอยใชช้ ีวติ ในทะเล มาเมื่อประมาณ ๔๔๐ ล้านปี และมีมากสดุ ในยคุ ไซลูเรยี น พอ ตายลง ก็จะมีตะกอนมาทับถม มากๆ จนเป็นฟอสซิล ให้เรามา ค้นพบนี่เอง แต่ส่วนใหญ่เราจะพบ ฟอสซิลที่เป็นตัวตรงๆ แต่จริงๆ แลว้ แกรปโตไลตม์ ีหลายรปู รา่ ง เป็นกิ่งคล้ายกัลปังหา คล้ายคีม หนีบนํ้าแข็ง เป็นเกลียวๆ และ ตัวตรงๆ แกรปโตไลตน์ ถ่ี อื เปน็ ฟอสซลิ รบั แขกของอทุ ยานธรณสี ตลู กว็ า่ ได้ เพราะพบงา่ ย พบบอ่ ย นย่ี อ่ มแสดง ใหเ้ ห็นว่าในอดตี มเี จ้าแกรปโตไลตน์ ่ีมากมายเพียงใด แบรคิโอพอด เป็นสตั ว์ทะเลทม่ี ีรูปร่างคล้ายหอยสองฝา หากินหน้าดินใต้ทะเลเหมอื นหอย แตเ่ ขาไมจ่ ัดให้มันเป็น หอยเพราะมีบางอย่างท่ไี ม่ใช่ลักษณะ ของหอย (หอยจะอยใู่ นไฟลมั มอลลสั กา แต่แบรคิโอพอดอยู่ในไฟลั่ม แบรคิโอ โพดา) แบรคิโอพอดเคยมีชีวิตอยู่ในยุค แคมเบียน แล้วเจริญเติบโต มีการ ปรับเปลี่ยนรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ จนสืบเชื้อสายมาจนถึงปัจจุบัน มีการพบซากฟอสซิลแบรคิโอ- พอดหลายแห่งนอกจากที่สตูล เช่น มีพบที่เพชรบูรณ์ เลย ก็พบ ลองมา อุทยานธรณีสตูลก็ลองหาดูดีๆ อาจ จะเจอแบรคิโอพอดบ้างก็ได้ เท่ียวไปในอทุ ยานธรณีสตูล ๒๑
หอยกาบคู่ ผมว่าในบรรดาฟอสซิลที่พบเห็นใน อุทยานธรณีสตูลน้ีทั้งหมด น่าจะเป็นเจ้านี่ แหละที่ไม่ต้องมาอธิบายกันมากว่ามันคือ อะไร เพราะรปู ร่าง หนา้ ตา กค็ ล้ายคลงึ กับ ในปจั จบุ ัน หอยกาบคเู่ กดิ ขนึ้ มาในยคุ แคมเบรยี น (ประมาณ ๕๔๐ ล้านปี) และมีมาจนมาถึง ปัจจุบัน เรากย็ ังเหน็ หอยกาบคู่นอี้ ยู่ โดยมี วิวัฒนาการการปรบั ตัวใหอ้ ยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลายมากขึ้น อย่ใู นนํ้ากร่อยและน้าํ จดื ได้ เวลาทพ่ี บเห็นหอบกาบคู่ มกั เหน็ กาบท่ีชัดเจน ซึง่ โดยกระบวนการเปน็ ฟอสซลิ ก็เปน็ แบบนคี้ อื สว่ นท่ี แขง็ จึงจะคงเป็นรูปร่าง สว่ นทีน่ ุ่มน่ิมก็ผุสลายหายไป นอติลอยด์ เปน็ บรรพบรุ ุษของเซฟาโรพอด คือพวกที่มีตีนติดหัว แขนหรือหนวดกเ็ รยี กตีนหมด จัดเปน็ สตั ว์ใน ชน้ั เดยี วกบั หมกึ หมกึ ยกั ษ์ นอตลิ สุ (หรอื หอยงวงชา้ ง) เจา้ นอตลิ อยดน์ ปี้ รากฏครง้ั แรกเมอื่ ประมาณ ๔๗๐ ล้านปีกอ่ น แล้วกด็ ำ�รงพงศ์เผา่ มาจนถึงปจั จบุ นั เม่ือเราพบเห็นฟอสซิลของนอติลอยด์ เราจะเห็นลำ�ตัว บางทีก็เห็นช่องในลำ�ตัวด้วย น่ันแสดงว่า ลำ�ตัวและช่องก้ันห้องในลำ�ตัวเป็น เปลอื กแขง็ (เพราะสว่ นทเ่ี ปน็ เนอ้ื นมุ่ นม่ิ ยอ่ ยสลาย ไป) เวลาเราเหน็ ฟอสซลิ ของนอตลิ อยด์ เรามกั จะ พบเหน็ ทเ่ี ปน็ ตวั ตรงๆ แตร่ ปู ลกั ษณข์ องนอตลิ อยด์ ไม่ได้มีลักษณะเป็นตรงๆ อย่างเดียว หากแต่มี หลายอย่าง แม้กระท่งั การม้วนขดเข้ามา แต่ไม่ วา่ รปู รา่ งจะเปน็ แบบไหน ภายในล�ำ ตวั มชี อ่ งเลก็ ๆ แบง่ กน้ั ในล�ำ ตวั นา่ จะชว่ ยในการขน้ึ ลงในนา้ํ หลกั การน้ีถูกนำ�มาดัดแปลงเป็นห้องอับเฉาของเรือ ด�ำ นา้ํ ทใ่ี ชเ้ พอ่ื การด�ำ ลงนา้ํ ลกึ หรอื ขน้ึ สผู่ วิ นา้ํ ในสตลู น้นั พบเห็นฟอสซิลของนอติลอยดห์ ลายที่ พบบอ่ ยมาก เพราะหินปนู ในยคุ ออรโ์ ดวิเชยี นซ่ึง พบเหน็ ไดม้ ากในสตูล เป็นหินในชว่ งเดียวกนั กับท่ีนอตลิ อยด์ ซึง่ มีมากสุดๆ ในชว่ งนพี้ อดี พอตายและเปน็ ฟอสซลิ จึงพบเห็นในหินปูนยุคนน้ี ัน่ เอง ทายาทของนอติลอยด์ท่ีสืบทอดมาจนถึงปัจจุบันคล้ายคลึงกับในอดีตมากท่ีสุดคือหอยงวงช้าง หรือ นอติลุสน่ันเอง ๒๒ เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณีสตลู
แอมโมนอยด์ แอมโมนอยด์ สมาชิกของฟอสซิลแลนด์ท่ีจะพามาให้รู้จักเป็นตัวสุดท้ายคือแอมโมนอยด์ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ สันนิษฐานว่าแอมโมนอยด์นั่นวิวัฒนาการมาจาก แบคไทรทินา ซึ่งเป็นนอติลอยด์ขนาดเล็ก โดยเร่ิมแรก จะมลี �ำ ตัวเปน็ กรวยตรงแลว้ จึงวิวัฒนาการใหต้ วั คอ่ ยๆ มว้ นขดเขา้ มา เพอ่ื ปรบั ตวั ให้เข้ากบั สภาพแวดล้อม และการดำ�รงชวี ิต แอมโมนอยด์เกิดขึ้นในยุค ดโิ วเนียน (ประมาณ ๔๐๐ ลา้ นปี) แลว้ วิวัฒนาการรา่ งกายมาเร่ือย จน มาถึงปลายมหายุคมโี ซโซอิก แอมโมนอยด์กส็ ูญพันธ์หุ มดไปจากโลกพร้อมไดโนเสาร์ ในพ้ืนที่อุทยานธรณีสตูลนั้น พบเห็นฟอสซิลแอมโมนอยด์ได้ชัดเจนบริเวณลานหินจุดชมวิวของเส้น ทางท่องเทย่ี วเกาะเขาใหญ่ ของอุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะเภตรา ที่บ่อเจด็ ลูก พบเห็นฟอสซิลแอมโมนอยด์ ขนาดใหญ่ หลายตวั ชัดเจนในก้อนหิน เหล่านี้คือซากฟอสซิลที่มีการพบบ่อย พบมาก ในพื้นที่ของอุทยานธรณีสตูล ซึ่งในข้อเท็จจริง อาจมีฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตอีกมากมายหลายชนิดที่ยังคงฝังร่างไว้ในชั้นหิน ที่ยังไม่ปรากฏตัว ยังไม่มี การค้นพบ ถ้าท่านผู้อ่านลองทำ�ตัวเป็นนักบรรพชีวิน สังเกต เสาะหา ศึกษา ท่านอาจจะเป็นคนแรก ที่เจอซากฟอสซิลชนิดใหม่ของโลกก็ได้ มาเที่ยวอุทยานธรณีสตูล ไม่ใช่แค่มาเที่ยว เผลอๆ กลายเป็นคนดังระดับโลกขึ้นมาเชียวนะ ทำ�เป็นเล่นไป..... g เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณีสตลู ๒๓
ภาพตลาดทุ่งหวา้ ในอดตี สุไหงอูเป...หรือทุ่งหว้าในปัจจุบันนั้น ในอดีตย้อนไปเป็นร้อยปี ไม่ได้เป็นเมืองผ่าน ชุมชนหรืออำ�เภอเล็กๆ ในจังหวัดสตูลอย่าง เช่นปัจจุบัน แต่ทว่าที่นี่คือจุดหมายปลายทางของคนที่มาค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้าแล้วขนส่งทางเรือ เป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองจาก การค้าขาย คึกคักด้วยพ่อค้าวานิชที่เดินทางซื้อขายสินค้าสารพัน ๒๔ เท่ียวไปในอุทยานธรณสี ตูล
บทที่ ๓ สุไหงอูเป...ประตูสู่ อุทยานธรณีสตูล ภาพตลาดท่งุ หวา้ ในปัจจบุ นั สไุ หงอเู ปเคยเจรญิ รงุ่ เรอื งควบคมู่ ากบั เมอื งมาบงั หรอื สะโตย (ตวั เมอื งสตลู ในปจั จบุ นั ) ความทเ่ี ปน็ ชมุ ชนทนี่ าํ้ ทะเล มชี อ่ งทางเขา้ มาไดล้ กึ ในแผน่ ดนิ ทง้ั ยงั ถกู ปกปอ้ งคลน่ื ลมดว้ ย ป่าชายเลนและภูเขาขนาบข้าง ทำ�ให้สุไหงอูเปเหมาะเป็น ท่าเรือขนส่งและขนถ่ายสินค้า มีการค้าขายพริกไทยท่ีใหญ่ ทส่ี ดุ ในยา่ นน้ี เพราะพน้ื ทบี่ นฝง่ั ในอดตี แถบทงุ่ หวา้ ปลกู พรกิ ไทยกนั อยา่ งมาก พรกิ ไทยเปน็ เครอ่ื งเทศทที่ างยโุ รปตอ้ งการ สไุ หงอเู ปจงึ เปน็ เปา้ หมายหนง่ึ ของพอ่ คา้ ทางเรอื ทจี่ ะเดนิ ทาง มารวบรวมพรกิ ไทย กอ่ นสง่ ไปมะละกาแลว้ เดนิ ทางตอ่ ไปยงั ตลาดปลายทางในอกี ฟากโลกหนง่ึ คลองกาบหมากนนั้ ท�ำ ให้ การขนส่งเป็นไปได้โดยง่าย เข้ามาในแผ่นดินได้ลึก เมือง สุไหงอูเปขณะน้ันจึงคลาคล่ําไปด้วยพ่อค้าวานิชชาว จีน คนจีนที่ท้ังอพยพมาปลูกพริกไทย และเป็นนาย หน้าตัวแทนรวบรวมพริกไทยและเครื่องเทศ อาคาร ร้านคา้ ถกู ปลกู สรา้ งขน้ึ มา ดว้ ยรปู ทรงทก่ี �ำ ลงั นิยมตาม ยุคสมัยในย่านมลายูที่ผสมผสานระหว่างยุโรป และจีน แบบทเี่ รยี กกนั วา่ เปน็ ศลิ ปะแบบชโิ น-โปรตกุ สี ทมี่ กั เปน็ สถาปตั ยกรรมทไี่ ด้รับความนยิ มในเมอื งทา่ เมอื งค้าขาย ทางเรือในอดีต ทุ่งหว้าเองก็ยังคงเหลืออาคารร้านค้า เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณีสตลู ๒๕
อาคารเก่าในอดีตบางแหง่ ยงั มีการใช้งาน บางแหง่ กป็ ลอ่ ยรา้ ง ๒๖ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู
ประเพณีไหวผ้ โี บ๋ รปู ทรงแบบนอ้ี ยู่เพื่อประกาศใหเ้ หน็ ความรุ่งเรอื งในอดตี อยู่บ้าง ทุ่งหว้า...สะท้อนให้เห็นความสามัคคขี องคนต่างศาสนาท่ีอยดู่ ว้ ยกันดว้ ยความสมัครสมาน เป็นหนงึ่ เดียว ในตลาดเล็กๆ ของเทศบาลทุง่ หว้า เราจะเหน็ ทัง้ ร้านคา้ คนไทยมสุ ลมิ ทนี่ ับถอื ศาสนาอิสลามและคน ไทยพทุ ธทน่ี บั ถอื พทุ ธศาสนา ท�ำ มาคา้ ขาย พดู คยุ ชว่ ยเหลอื กนั เฉกเชน่ สงั คมไทยทว่ั ๆ ไป งานบญุ ทางศาสนา อสิ ลาม เช่น งานระดมทนุ ทม่ี ัสยดิ ชาวไทยพทุ ธกไ็ ปชว่ ย งานประเพณที างพุทธศาสนา ชาวมุสลมิ กไ็ ปช่วย ประเพณที ่ีดูจะเป็นเอกลักษณอ์ กี อยา่ ง เช่น ประเพณไี หวผ้ ีโบ๋ ซง่ึ คลา้ ยกับประเพณไี หว้ศาลเจา้ ในทุ่งหว้า กถ็ อื เปน็ ประเพณที ค่ี นไทยทกุ ศาสนาในทงุ่ หว้ามาช่วยกนั ละลายความตา่ งทางศาสนาลงอยา่ งสน้ิ เชงิ ที่นี่จึงสะท้อนให้เห็นสังคมแห่งความสามัคคีตัวอย่าง ที่อยู่ด้วยกันอย่างสงบสุข นี่จึงอาจเป็น เสน่ห์หนึ่งอย่างของทุ่งหว้า... g เท่ยี วไปในอุทยานธรณีสตลู ๒๗
บทที่ ๔ กำ�เนิดอุทยานธรณีสตูล เริ่มต้นจากเดือนเมษายน ปี ๒๕๕๑ มีชาวบ้านไปงมกุ้งก้ามกราม ในลำ�ห้วย ในถํ้าวังกล้วย ซึ่งมีกุ้งก้ามกรามชุกชุม แล้วไปพบเข้ากับวัตถุบางอย่างที่ดู ไม่คุ้นตา จึงนำ�ออกมามอบให้นายอำ�เภอทุ่งหว้า นายอำ�เภอก็เลยให้เอาไป เก็บรักษาไว้ที่สถานีตำ�รวจทุ่งหว้า ตอนนั้นคนเข้าใจว่าเป็นฟันของจระเข้ เลยมีหนังสือพิมพ์เอาไปลงข่าวว่าพบฟันจระเข้โบราณในถํ้าวังกล้วย อาคารพพิ ธิ ภณั ธ์ชา้ งดึกด�ำ บรรพ์ท่งุ หวา้ ๒๘ เท่ียวไปในอทุ ยานธรณสี ตลู
พอขา่ วออกไป ผศ.ดร.ประเทอื ง จนิ ตสกลุ ท่านเป็นผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและ ธรณีวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของสถาบันราชภัฏนครราชสีมา พอท่านเห็นข่าว เลยโทรศัพท์มา แจง้ นายก อบต.ทงุ่ หวา้ นายณรงค์ฤทธิ์ ทุ่งปรือ บอกว่า สง่ิ ทเ่ี ราคดิ ว่ามันคือฟันจระเข้น้นั จรงิ ๆ มันคือ ฟันของช้าง สเตโกดอน (Stegodon) เป็นช้างโบราณที่สูญพันธ์ุไปแล้ว มีชีวิตอยู่ในช่วงสมัยไมโอซีน ตอนปลายถึงสมัยไพลสโตซนี ตอนตน้ (มชี วี ติ ในชว่ งนบั ลา้ นปมี าแลว้ ) เปน็ ชา้ งทถ่ี กู จดั อยใู่ นวงศส์ เตโกดอนติดี (Stegodontidae) วงศย์ อ่ ยสเตโกดอนตนิ ี (Stegodontinae) และเมื่อได้ลงพ้ืนท่ีศึกษาอย่างละเอยี ดแล้ว จงึ รวู้ า่ เปน็ ซากกระดกู ขากรรไกรพรอ้ มฟนั กราม ซที่ ี่ ๒ และ ๓ ดา้ นลา่ งขวาของชา้ งดกึ ด�ำ บรรพส์ กลุ สเตโก- ดอนอยู่ในสมัยไพลสโตซีนอยา่ งทบี่ อก ชา้ งสเตโกดอน เปน็ ชา้ งทมี่ ีววิ ฒั นาการตอ่ มาจากช้างสเตโกโลโฟดอน และมลี กั ษณะรว่ มกนั ระหวา่ ง ชา้ งมาสโตดอนกบั ชา้ งเอลลฟิ าสทเ่ี ปน็ สกลุ ชา้ งปจั จบุ นั กะโหลกมขี นาดใหญ่ ขากรรไกรสน้ั ไมม่ งี าลา่ ง งาชา้ ง สเตโกดอนบางชนดิ เชน่ Stegodon magnidens ในประเทศอนิ เดยี ยาวถงึ ๓.๓ เมตร ฟนั กรามประกอบดว้ ย สนั ฟนั แนวขวาง ๖ – ๑๓ สนั ซากดึกด�ำ บรรพ์สเตโกดอนในประเทศไทยหลายซากมีขนาดใหญ่ เชน่ สเต- โกดอน อนิ สกิ นสิ (Stegodon insignis) ในชน้ั ตะกอนลกึ ๒๕ เมตร ทจ่ี งั หวดั นครสวรรค์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทพ่ี บในพน้ื ทต่ี �ำ บลทา่ ชา้ ง สเตโกดอน (Stegodon sp.) บางตวั สงู ไดถ้ งึ ประมาณ ๔ เมตรซากดกึ ด�ำ บรรพช์ า้ ง สเตโกดอน พบทง้ั ในทวปี เอเชยี และทวปี แอฟรกิ า แตท่ ม่ี อี ายเุ กา่ แก่ พบเฉพาะในแถบเอเชยี ตอนใตแ้ ละเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ แสดงวา่ ภมู ภิ าคน้ี อาจจะเปน็ ถน่ิ ก�ำ เนดิ ดง้ั เดมิ ของชา้ งแทๆ้ ในปจั จบุ นั ต่อมามีการจัดสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำ�บรรพ์ทุ่งหว้า เพ่ือจัดแสดงซากฟอสซิลและบอกเล่า ความเปน็ มาของอำ�เภอทุ่งหว้าท้งั ในเรื่องวถิ ีชีวติ ศิลปะ วัฒนธรรม (อยูใ่ นบรเิ วณ อบต.ท่งุ หวา้ ติดที่วา่ การ อ�ำ เภอท่งุ หวา้ ) เม่ือสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ เสด็จปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ท่ี อ.ทุ่งหว้า เม่ือปี ๒๕๕๒ นาย ณรงคฤ์ ทธ์ิ ทงุ่ ปรอื นายก อบต.ทงุ่ หว้า ได้จัดบู๊ทแสดงถึงพิพิธภัณฑ์ช้างโบราณ ซง่ึ สมเด็จพระเทพรัตน-์ เทย่ี วไปในอุทยานธรณีสตูล ๒๙
เทศกาล ฟอสซลิ เฟสตวิ ัล งานประจ�ำ ปีท่ี อ.ทุ่งหวา้ ๓๐ เท่ียวไปในอทุ ยานธรณีสตลู
ห้องจดั แสดงในโรงเรียนกำ�แพงวิทยา มคี นเขา้ เยย่ี มเยือนตลอด ราชสุดาฯ ได้มีพระราชดำ�รสั ใหเ้ ก็บรักษาไว้ใหล้ กู หลานไดเ้ รียนรู้ตอ่ ไป ซ่งึ ก่อนหน้าน้นั ในโรงเรียนกำ�แพงวทิ ยา โรงเรยี นมธั ยมใน อ.ละงู ได้มคี รทู ่สี นใจเรือ่ งธรณี (ครนู ก ที่ เอย่ ถงึ ไปในบทที่ ๑ แล้ว) ไดจ้ ดั ตั้งพิพิธภัณฑธ์ รรมชาตใิ นโรงเรียนกำ�แพงวิทยาขน้ึ โดยจดั กจิ กรรมให้เดก็ ๆ ได้ศึกษา เกบ็ รวบรวมซากฟอสซิลในพนื้ ท่ี จนกระท่งั เดก็ ๆ มคี วามรใู้ นเรอ่ื งธรณีวทิ ยาในระดับดี ตอ่ มา กรมทรพั ยากรธรณี กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ก�ำ ลงั จะจดั ตง้ั อทุ ยานธรณขี น้ึ จงึ ไดส้ ง่ นกั ธรณลี งมาส�ำ รวจพน้ื ท่ี และเมอ่ื เหน็ ถงึ ศกั ยภาพของพน้ื ทธ่ี รณขี องสตลู และความพรอ้ มอน่ื ๆ ทเ่ี รม่ิ ตน้ มาบา้ งแลว้ กรมทรพั ยากรธรณจี งึ ประกาศตง้ั อทุ ยานธรณสี ตลู ขน้ึ และตง้ั แตบ่ ดั นน้ั จงึ เกดิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและทอ้ งถน่ิ ไดร้ ว่ มมอื กนั พฒั นาจน กระทัง่ อุทยานธรณีสตลู เริ่มเป็นทีร่ ู้จักอยา่ งกวา้ งขวาง และ กำ�ลังจะก้าวไปสู่การขึ้นทะเบียนอุทยานธรณีโลกทางธรณี ในไม่ช้า จะเห็นว่า กว่าที่อุทยานธรณีสตูลจะมาจนถึงทุกวัน นี้ มีจังหวะก้าวย่างอย่างมั่นคง การรับรู้ และตื่นตัวของ ประชาชนในพื้นที่เป็นไปอย่างกว้างขวางพร้อมเพรียง จึงเป็นตัวอย่างของความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่ มุ่งหน้าไปสู่เป้าหมายเดียวกันที่ควรเอาเป็นตัวอย่าง.... g เที่ยวไปในอุทยานธรณีสตลู ๓๑
บทที่ ๕ ขอเวลา ๑ วัน กับการจับหัวใจ ในอ๒ุทยแบาบนธ๒รบณรรีสยตากูลาศ ๓๒ เทย่ี วไปในอุทยานธรณสี ตลู
ถ้าท่านผู้อ่านมีเวลาจำ�กัด แต่อยากเข้าถึงอุทยานธรณีสตูล เอาแบบเข้า ถึงหัวใจเลย ผมแนะนำ�กับ ๒ กิจกรรมเดินทางนี้ โดยเริ่มแรกคือ.... ล่องเรือเข้าถํ้าเลสเตโกดอน ที่มาของการจัดตัง้ อทุ ยานธรณสี ตูล ดูเหมือนว่ากิจกรรมการล่องเรือเท่ียวถํ้าเลสเตโกดอนน้ี จะเป็นไฮไลท์สำ�คัญสำ�หรับการมาอุทยาน ธรณสี ตูล เพราะจะเรยี กว่านี่เปน็ บ่อเกดิ ของการประกาศพื้นทใี่ ห้เป็นอทุ ยานธรณสี ตลู ก็ยงั ได้ ถํ้าเลสเตโกดอนนั้น เปน็ ชือ่ ท่มี าเปลี่ยนทีหลัง เดิมชาวบ้านในทอ้ งถิ่นเรียกว่าถํ้าวังกลว้ ย เปน็ ถา้ํ ทม่ี ี ลำ�ห้วยไหลเข้าไปใต้ภูเขาหินปูนที่จะว่ายาวที่สุดก็ว่า ได้ เพราะนบั ตง้ั แตล่ �ำ คลองกลว้ ยไหลเขา้ ไปในภเู ขาวงั กลว้ ยแลว้ ไหลออกอกี ดา้ นหนงึ่ นนั้ รวมระยะทาง ๓.๔ ก.ม. นว่ี า่ เฉพาะทอ่ี ยใู่ นถาํ้ อยา่ งเดยี ว เพราะคลองน้ี จะ เร่มิ ไหลออกไปรวมกบั ทะเลอกี ที โดยลักษณะของถํ้าเลในภูเขานั้น จะเป็นอุโมงค์ถํ้า ใตภ้ เู ขา เปน็ ลกั ษณะทางนาํ้ โบราณ ทเี่ กดิ จากนา้ํ ทไี่ หล เข้าไปใต้ภูเขามานานนับพันๆ หม่ืนปี ภายในจึงเป็น ลักษณะโถงกว้างไปตามลำ�ห้วย บางช่วงอุโมงค์ถํ้าสูง ถงึ ๒๐ เมตร เห็นรอ่ งรอยการเดนิ ทางของนํ้าปรากฏ ตามผนังถ้ําอย่างชัดเจน ภายในมีแก่งหิน เนินทราย และเวง้ิ น้ําใหญใ่ นบางชว่ ง ถ้ําแห่งน้ี เป็นถ้ําที่ยังมีการก่อเกิดของหินงอกและ หินย้อยอยู่ตลอด แสดงว่ารอยแตกของภูเขาด้านบน นั้นยังไม่ถูกปิดทับ น้ําฝนท่ีตกลงมายังคงละลายเอา เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๓๓
หนิ ปูนใหไ้ หลตกลงมาในอโุ มงคถ์ ้ํา แลว้ ค่อยๆ สะสมกนั เป็นหนิ ยอ้ ยทม่ี ีธาตเุ หลก็ และซลิ ิกาผสมอยู่ ทำ�ให้ หินย้อยยังคงมีสีออกเหลือง-แดงปะปน บางแห่งสะท้อนแสงระยิบระยับ บางแห่ง น้ําท่ีไหลตกลงมาจาก เพดานถ้ําราวกับฝักบัวท่ีน้ําไหลแผ่กระจายในรัศมี ในฤดูฝนรอยแตกของถํ้าทำ�ให้นํ้าฝนท่ีไหลลงมาจาก ภูเขาหนิ ปูน พ่งุ ออกมาราวทอ่ นาํ้ แตกทีเดียว ความมหัศจรรย์ของถํ้าเลสเตโกดอน มีต้ังแต่เร่ิมเข้า ท่ีเมื่อเราเข้ามาในถํ้าแล้วมองออกไปทางปาก อุโมงค์ จะเห็นแสงสีของปากถ้ําท่ีแสงกระทบสายนํ้า แลดูสวยงามและปลายอุโมงค์เม่ือจะออกก็เช่นกัน เพียงแต่ปลายอโุ มงค์น้นั ปากถํา้ จะเปน็ ทรงรปู หวั ใจ โดยจะเหน็ ชดั เจนเมื่อน้ําลง อีกท้งั ภายในถาํ้ ยังมีซาก ๓๔ เที่ยวไปในอุทยานธรณีสตลู
ฟอสซิลของนอติลอยด์หลายแห่งท่ีค่อนข้างชัดเจน ซึ่งยิ่งตอกย้ําให้การเป็นฟอสซิลแลนค์ของพ้ืนที่แห่งนี้ เปน็ จรงิ เปน็ จังมากขึ้นแม้กระทั่งในผนังถํา้ การลอ่ งถาํ้ เลนน้ั ใชเ้ วลาเกอื บๆ ๓ ชม. ทง้ั ระยะทางทยี่ าวไกลและมจี ดุ นา่ สนใจภายในมากมาย เรยี ก ว่าเที่ยวกันคร่ึงวันเลยแหละ และเพื่อเป็นการสงวนและรักษาสภาพถํ้าเลให้ยังคงความสมบูรณ์ให้ได้นาน ท่สี ดุ จงึ จำ�กัดใหน้ ักท่องเทีย่ วเขา้ เทยี่ วชมไดว้ นั หนึง่ เตม็ ทแี่ ค่ ๑๐๐ คน กก่ี ลมุ่ กีค่ ณะ เขาก็นับรวมกนั ให้ แค่ ๑๐๐ คน ถ้าเกิน กต็ ้องรอวนั ตอ่ ไป โดยนกั ทอ่ งเท่ยี วต้องโทรจองการล่องถํา้ เลลว่ งหน้าที่ อบต.ทุ่งหว้า (โทร ๐๘๔-๘๕๘-๕๑๐๐) เพอ่ื จะไดต้ รวจเชค็ สภาพนา้ํ ของล�ำ ธาร ทย่ี งั มอี ทิ ธพิ ลของนาํ้ ขน้ึ และนาํ้ ลงอยู่ (ถา้ นา้ํ ลงมาก เรอื แคนจู ะลอ่ งไดย้ าก ตอ้ งลากเรอื หลายแหง่ นกั ทอ่ งเทย่ี ว กอ็ าจจะตอ้ งลงเพอื่ เดนิ เทา้ หลายครงั้ แตถ่ า้ นา้ํ ขน้ึ จะลอ่ งไดง้ า่ ยกวา่ จงึ ตอ้ งมกี ารตรวจเชค็ สภาพนาํ้ ขน้ึ นาํ้ ลงกอ่ นลอ่ งเรอื ) และในแตล่ ะวนั นาํ้ ขน้ึ น้ําลงกไ็ ม่ใชช่ ว่ งเวลาเดียวกัน นกั ทอ่ งเทีย่ วจึงควรสอบถาม อบต.ทุ่งหว้า วา่ วันทที่ ่านจะล่องน้ัน เป็นเวลา เท่าใด จะได้ก�ำ หนดโปรแกรมอย่างอื่นใหส้ อดคล้องกนั ได้ การลอ่ งเรอื เขา้ ถา้ํ เลนน้ั จะก�ำ หนดนกั ทอ่ งเทยี่ วไว้ วนั ละ ๑๐๐ คนอยา่ งทบี่ อก กลมุ่ เราจะกคี่ นกแ็ ลว้ แตเ่ รา แตข่ อใหก้ ลุม่ เราอยใู่ น ๑๐๐ คนในวันนน้ั ก็พอ แลว้ ไมใ่ ช่วา่ เขาจะให้เข้าพร้อมกนั ๑๐๐ คน ไมต่ ้อง รอให้ครบ ๑๐๐ คน กลมุ่ ใครมาตอนไหนก็เข้าได้เลย (ในช่วงท่นี ้าํ ข้ึน) โดยเมื่อนัดวันและรู้เวลาล่องแล้ว นักท่องเที่ยวจะพร้อมกันที่หน้าถํ้า จะได้รับแจกเสื้อชูชีพ หมวก กันน็อค ไฟฉายคาดหน้าผาก และสรุปการล่องถํ้าให้ฟังคร่าวๆ ส่วนนักท่องเที่ยวควรเตรียมตัวไปเพื่อ เท่ียวไปในอุทยานธรณสี ตลู ๓๕
การเปียกน้าํ ถงุ กันนา้ํ ส�ำ หรับใส่อุปกรณ์ถ่ายรปู และแต่งตวั แบบลำ�ลอง เมือ่ พรอ้ ม นักท่องเทีย่ วมหี น้าที่ นั่งชมความงามของถํ้าอย่างเดียว โดยมีคนพายเรือให้ จะมีผู้นำ�ทัวร์ ส่องไฟสปอตไลท์และนำ�ชมตามจุด ต่างๆ ที่เป็นความสวยงามภายในถํ้า ที่จะพบเห็นตลอดเวลา นอกจากหินงอกหินย้อยที่สวยงาม ชนิดที่ อาจไม่เคยเจอที่ไหนมาก่อนแล้ว จะมีจุดที่ทดสอบความมืด ที่ต้องปิดไฟทุกดวง และไม่มีการพูดคุยกัน จะได้ยินแต่เสียงนํ้าหยด นํ้าไหลและลมหายใจเราเท่านั้น นี่คือความเงียบสงัดที่บางคนอาจไม่เคยเจอ มาก่อนด้วยซํ้า เมื่อใกล้ออกปากถํ้าจะสังเกตุว่ามีค้างคาวเกาะอยู่บนเพดาน และเพราะถํ้านี้เป็นถํ้าที่มี ลำ�ห้วยไหลภายในถํ้า อากาศจริงโปร่ง เย็น ไม่เหม็นอับ เมอื่ ออกจากปากถาํ้ แลว้ ตอ้ งนงั่ เรอื แคนอู อกไปอกี ราว ๕๐๐ เมตร จงึ จะสน้ิ สดุ การนงั่ แคนู แลว้ เปลยี่ น เป็นขึ้นเรอื หางยาว ชมปา่ โกงกางสองฝ่งั ทาง เรอื หางยาวเดนิ ทางออกไปอีกราว ๔ กม. กจ็ ะถึงท่าออ้ ย ซ่งึ ปจั จบุ นั เป็นเหมอื นสวนสาธารณะริมนํา้ ของชาวทุ่งหวา้ ตัง้ แตล่ งแคนูท่หี นา้ ถํ้า จนกระทั่งมาขน้ึ ฝ่งั ทที่ ่าอ้อย คดิ ค่าใชจ้ า่ ยเพยี ง ๓๐๐ บาท ต่อคน เท่าน้นั แต.่ ....หวั ใจส�ำ คญั ของการประกาศพนื้ ทเี่ ปน็ อทุ ยานธรณกี ค็ อื การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในพนื้ ที่ ท่ี ใหช้ าวบา้ นในพ้ืนทม่ี ีรายไดจ้ ากการประกาศเป็นอุทยานธรณดี ้วย ดังนนั้ อทุ ยานธรณสี ตลู จงึ มกี ลมุ่ แมบ่ า้ น ในพน้ื ท่ี จดั รายการอาหารพนื้ บา้ น เพอื่ ไวร้ องรบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว ทที่ า่ ออ้ ย โดยมขี องวา่ ง นา้ํ ดมื่ นาํ้ อดั ลม และ อาหารหลกั กบั ขา้ ว ๔-๕ อยา่ ง และผลไม้ คดิ ค่าอาหารคนละ ๑๒๐ บาทเท่านัน้ นอกจากจะไดล้ อ่ งถาํ้ เลอยา่ งสนกุ สนานและไดค้ วามประทบั ใจแลว้ เรายงั ไดอ้ มิ่ ทอ้ งและลมิ้ รสอาหาร พื้นบ้านท่ีแสนอร่อย เพื่อเป็นการได้มาเยือนทุ่งหว้า เยือนอุทยานธรณีสตูลอย่างแท้จริงจึงควรทดลองใช้ บรกิ ารอาหารของกลุม่ แมบ่ ้าน โดยเฉพาะเมือ่ ล่องช่วงเช้า แลว้ ออกมาเทีย่ งพอดี หรอื ล่องช่วงบา่ ย แลว้ ออกมาไดเ้ วลาอาหารมอ้ื เย็นพอดี จะเปน็ การเหมาะควรอย่างมาก ๓๖ เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล
ล่องเรือดูสันหลังมังกร จากท่าออ้ ยสูป่ ากทะเล อย่างที่ผมบอกไปว่าบริเวณท่าอ้อยน้ันก็สวยงามแล้ว เพราะเป็นลานกว้างอยู่ริมน้ํากว้าง เบื้องหน้า คือป่าโกงกางทีส่ มบรู ณไ์ กลออกไปคือแนวเขาหนิ ปูนท่สี วยงาม สนั นษิ ฐานวา่ แตก่ อ่ น บรเิ วณนนี้ า่ จะเปน็ ทา่ เรอื ทขี่ นถา่ ยออ้ ย หรอื นาํ้ ตาลออ้ ย ซงึ่ การตงั้ ชอื่ ของบา้ น เรามกั ตั้งตามอตั ลกั ษณ์ หรือกิจกรรมหรือชอ่ื บคุ คลที่อาจมีวรี กรรมอะไรกับสถานทนี่ ั้น เพอ่ื ให้เป็นทจ่ี ดจ�ำ กันง่ายและชุมชนยา่ นนน้ั ยอมรับ บริเวณท่าอ้อยนี้ เป็นจุดตั้งต้นในการนั่ง เรือออกไปชมสันหลังมังกร ซึ่งอยู่ตรงรอยต่อ ของสตูลและตรังพอดี ช่วงเวลาที่ควรจะไปก็ คือเวลาที่นํ้าลง ซึ่งมันจะตรงข้ามกับการเข้า ล่องถํ้าเลสเตโกดอนพอดี คือถ้านํ้ายังลง ก็ให้ มาเที่ยวดูสันหลังมังกรก่อน พอนํ้าขึ้นค่อยไป ล่องถํ้าเล ช่วงที่นํ้าขึ้น-ลง ก็จะเป็นเวลาพอดี กับกิจกรรมแต่ละอย่างพอดี เช่น ถ้านํ้าขึ้นช่วง เช้า และนํ้าลงช่วงบ่าย ก็ให้เข้าถํ้าเลช่วงเช้า แล้วช่วงบ่ายค่อยไปดูสันหลังมังกร หรือถ้านํ้าลงช่วงเช้า ก็มาดูสันหลังมังกรก่อน พอนํ้าขึ้นช่วงบ่ายค่อยเข้าถํ้าเล จะเหน็ ว่า ใช้เวลาทั้งวันในการดสู นั หลังมงั กรและเข้าถ้ําเล ครบ ๑ วนั พอดี การไปดูสันหลงั มงั กร มัน ยงิ่ ใหญ่ขนาดนั้นเลยหรือ? บางคนอาจจะถามแบบน้ี เอาเปน็ วา่ ผมไมอ่ ยากให้พลาดเชยี วแหละ ถา้ ไมเ่ ช่ือ ตามผมมาพสิ ูจน์ เรือท่ีจะล่องดูสนั หลังมงั กรกจ็ ะเป็นเรอื หัวโทงนแ่ี หละ บางล�ำ กม็ หี ลังคา บางลำ�ก็ไมม่ ี โดยเราจะลง เท่ียวไปในอทุ ยานธรณีสตูล ๓๗
เรือกันก็ที่ท่าอ้อยนี่แหละ แล้วเรือก็จะแล่น ออกไปตามล�ำ นาํ้ ใหญอ่ อกสทู่ ะเล สองฝั่งน้ํา จะเหน็ ปา่ โกงกาง วถิ ชี วี ติ ของชาวประมงพน้ื บ้านที่สวยงาม เงียบสงบ คลองท่ีผมว่านี้ จริงๆ มันก็คือส่วนหน่ึง ของท้องทะเลนั่นเอง เพียงแต่มันเข้ามาลึก ในแผ่นดิน ประกอบกับถูกน้ําจืดที่ไหลออก มาจากในถํา้ และลำ�ห้วยอ่นื ๆ ไหลมาผสม ใน ส่วนที่เข้าไปลกึ ๆ นา้ํ จงึ มรี สกร่อย แต่ย่งิ ออก ไปเรือ่ ยน้าํ กจ็ ะเค็มมากขึ้น จดุ แวะแรกของเสน้ ทาง เปน็ สนั ทรายกวา้ ง กลางนํ้า มองเหน็ เขาตะบัน โดดเด่นอย่กู ลาง ทะเล แต่ทางซ้าย จะเห็นเขาทะนานเหมือน จะโผลอ่ อกมาจากปา่ ชายเลน สันทรายกว้าง นีเ้ ขาเรยี ก หอส่หี ลงั ซ่งึ ผมก็ไมร่ ้วู า่ ทำ�ไมเรียก แบบน้ี แต่คงเป็นสันทรายปากแม่น้ําท่ีมีมา นาน เพราะขนาดมตี น้ ไมใ้ หญข่ ึ้นได้ เวลานา้ํ ลง สันทรายกจ็ ะโผลข่ ึ้นมา สามารถเดนิ เลน่ ได้ บนหอสหี่ ลงั นม้ี ปี มู ดแดง หรอื ปทู หารเยอะมาก มนั จะออกมาหากนิ บนพนื้ ทรายเวลานา้ํ ลง ดว้ ยปรมิ าณ ท่ีมากมายมหาศาลและปลายขาท้ังแปดที่จะออกสีแดงๆ ยิ่งยามต้องแดดและปริมาณท่ีมากมาย จะเห็น ราวกับรว้ิ คลน่ื ท่ีแดงพรวิ้ ไปมายามที่ขบวนปมู นั เคล่อื นตวั ราวกับแนวคลืน่ สแี ดง สวยงามและแปลกตาดี แตเ่ วลานา้ํ ขน้ึ ปเู หลา่ นจี้ ะหายลงรไู ปจนหมด เหน็ แตต่ น้ ไมท้ เี่ หมอื นขนึ้ อยใู่ นนาํ้ เทา่ นนั้ ทบ่ี อกวา่ นค่ี อื ๓๘ เท่ียวไปในอทุ ยานธรณสี ตลู
สันทรายใหญ่ จากหอสหี่ ลงั แลน่ ออกไปไมน่ าน กจ็ ะไปพบแนวทรายทที่ อดตวั ยาวออกไปสทู่ ะเล นเี่ องทเ่ี ขาอปุ มาวา่ มนั คอื สนั หลงั มงั กร ดว้ ยวา่ แนว ทรายนอี้ อกสเี หลอื งดว้ ยเปลอื กหอย จงึ ถกู ตง้ั ชอื่ วา่ สนั หลงั มงั กรเหลอื ง สนั ทรายนแี้ ทบจะแบง่ แดนกนั ระหวา่ งสตลู และตรงั กว็ า่ ได้ แตเ่ หลอ่ื มเขา้ มาในเขตตรงั นบั เปน็ ความสมั พนั ธห์ นง่ึ ระหวา่ งทะเลและสนั ทรายทกี่ อ่ ให้เกิดแนวทรายทีส่ วยงามให้เราได้มาเทีย่ วชมกัน กิจกรรมของเส้นทางดูสันหลังมังกรน่ียังไม่หมด เพราะเมื่อ ล่องเรือกลับเข้ามาในคลองนํ้า ขณะลอยเรืออยู่ในเว้ิงน้ําที่แทบจะมีป่า โกงกางล้อมทุกด้าน จะมีกิจกรรมโชว์เหยี่ยว คือเหย่ียวแดง ซึ่งเป็น เหย่ียวที่หากินตามชายน้ําโฉบปลาจับสัตว์เล็กๆ เหย่ียวชนิดน้ีจะเกาะ อยตู่ ามยอดโกงกาง ในช่วงที่มีลูกออ่ น จะไดย้ นิ เสียงลกู เหยย่ี วรอ้ งหาแม่ใหม้ าปอ้ นอาหารชัดเจน คนเรอื เขาจะมไี ส้ไก่เอามาลอ่ โดยให้ลอยไปกบั นาํ้ สกั ครเู่ มอื่ เหยีย่ วเห็นกจ็ ะบินลงมาโฉบเอาไป จาก หนง่ึ ตวั กจ็ ะเพม่ิ ไปจนเปน็ สบิ ๆ ตวั และดเู หมอื นวา่ เหยย่ี วจะเพม่ิ ปรมิ าณมากขน้ึ กวา่ แตก่ อ่ น ท�ำ ใหเ้ ราไดใ้ กลช้ ดิ เหน็ อากปั กิรยิ าในการโฉบหาอาหารได้อย่างชัดเจน ในบางครั้ง เราจะพบฝูงโลมาเขา้ มาภายในคลองนํา้ ที่วา่ ใหเ้ หน็ เปน็ บุญตา ไดถ้ า่ ยรปู กันสนุก กิจกรรมท้ังล่องถํ้าเลหรือน่ังเรือไปดูสันหลังมังกร จึงเป็นเหมือนกิจกรรมคู่ท่ีควรทำ�ควบคู่กัน โดยมี อาหารฝมี อื แม่บ้านเปน็ ตวั เช่อื มและใช้ทา่ อ้อยนเ่ี องเปน็ สถานท่ี ทา่ เทียบเรือท่าอ้อย หา่ งจาก สแี่ ยกตลาดทงุ่ หวา้ มาไม่ถงึ ๒ กม. ตรงดงิ่ มาเลย ทางจะมาสุดทท่ี ่าอ้อย นีแ่ หละ แค่มาแวะดูถา่ ยรปู ทานอาหารกส็ วยแล้วครับ ววิ เขาสวย แคก่ จิ กรรมสองอยา่ งนี้ กท็ �ำ ใหผ้ ทู้ มี่ าเยอื นอทุ ยานธรณสี ตลู นนั้ เพลนิ ไดต้ ลอดวนั แลว้ ทสี่ �ำ คญั เขาคดิ ค่าไปทำ�กจิ กรรมสนั หลังมงั กรแค่คนละ ๓๐๐ บาท รู้แบบนี้จะช้าทำ�ไม ไปสิครับ ๓๐๐ บาท ได้เหยียบหลังมังกร ยังไม่คุ้มอีกเหรอ..... g เท่ียวไปในอุทยานธรณสี ตลู ๓๙
บทที่ ๖ เที่ยวให้ทั่ว ดูให้หมด ในอุทยานธรณีสตูล ในพื้นที่อุทยานธรณีสตูล ที่ได้ฉายาว่าเป็นฟอสซิลแลนด์นั้น มิได้ได้มาโดย บังเอิญ หากแต่มาจากการค้นพบซากฟอสซิลโบราณที่มีอายุนับล้านๆ ปี ที่พบเห็นได้ในหลากหลายรูปแบบ หลากหลายชนิดพันธุ์ในพื้นที่อุทยานธรณี สตูล แหล่งที่น่าสนใจ น่าศึกษา และน่าค้นหาซากฟอสซิลเหล่านี้ จึงอยู่ใต้เท้า เราเมื่อไปเยือน อยู่ในก้อนหิน อยู่ในเส้นทางการเดินทางแทบทุกย่างก้าวใน อุทยานธรณีสตูล การช่างสังเกต การเที่ยวดูอย่างพินิจ อาจทำ�ให้ท่านเป็น นักค้นหาที่ยิ่งใหญ่หากพบซากฟอสซิลสิ่งที่อาจไม่เคยค้นพบมาก่อนในพื้นที่ อุทยานธรณีสตูลแห่งนี้ และที่สำ�คัญ มันจะเที่ยวดูได้อย่างสนุกสนาน แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วในเขตอทุ ยานธรณสี ตลู นนั้ เปน็ ผลพวงมาจากสภาพพนื้ ทที่ เี่ ปน็ ธรรมชาตอิ ยา่ งแทจ้ รงิ เพราะในพืน้ ท่ีมภี ูเขาหนิ ปนู ตา่ งๆ กระจายกนั อยทู่ ่ัวไปในพน้ื ที่ ดังนน้ั เมอื่ มีภเู ขาหนิ ปนู ส่ิงท่จี ะต้องเจอคอื ถา้ํ ....อันนเี้ จอแนๆ่ ซงึ่ เด๋ียวเราจะไดไ้ ปเท่ียวดกู นั ภเู ขาเหลา่ นก้ี ย็ งั คงมปี า่ ทส่ี มบรู ณ์ จงึ ท�ำ ใหม้ นี า้ํ ตกอยมู่ ากมายในพน้ื ทเ่ี ชน่ กนั นา้ํ ตกเหลา่ น้ี นา้ํ สว่ นหนง่ึ มาจากระบบนเิ วศของปา่ ทซ่ี มึ ซบั นา้ํ ไวแ้ ลว้ ทยอยปลอ่ ยออกมา แตอ่ กี ทม่ี าหนง่ึ ของนา้ํ ตกเหลา่ นค้ี อื บรรดานา้ํ ใตด้ นิ ทง้ั หลายทไ่ี หลผดุ ออกมาจากพน้ื ดนิ เปน็ ระบบนา้ํ ใตด้ นิ นน่ั เอง นา้ํ ตกในยา่ นนม้ี กั จะเปน็ นา้ํ ตกหนิ ปนู เพราะธรณสี ณั ฐานของยา่ นนค้ี อื ภเู ขาหนิ ปนู หนิ ปนู ทน่ี า้ํ เหลา่ นไ้ี หลผา่ นละลายตดิ ออกมา แลว้ เดนิ ทางกอ่ ตวั สะสมเปน็ ขน้ั นา้ํ ตกหนิ ปนู หนิ ปนู ทน่ี า้ํ เหลา่ นค้ี อ่ ยๆ ชะออกมาทลี ะนดิ จากภเู ขา นบั หมน่ื นบั แสนปี ภเู ขากค็ อ่ ยๆ ๔๐ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู
ถกู กดั กรอ่ นกลายเปน็ รปู รา่ งตา่ งๆ ขนะเดยี วกนั หนิ ปนู กค็ อ่ ยๆ มาสะสม กลายเปน็ ชน้ั นา้ํ ตกตา่ งๆ เชน่ กนั เมอ่ื ยงั มปี า่ เมอื่ ยงั มนี ํา้ เมอ่ื ยงั มนี าํ้ ตก ก็จะมลี ำ�หว้ ยล�ำ ธารหลาย สายไหลกระจายกนั ในพน้ื ทแ่ี ตกตา่ งทม่ี า จากสายเลก็ สายนอ้ ยคอ่ ยไหล มารวมกันกลายเป็นลำ�ห้วยลำ�ธารสายใหญ่ ลำ�ห้วยหลายสายไหลลอด ภูเขาหินปูน กลายเป็นถํ้าน้ําที่สวยงามบางแหล่งกลายเป็นสถานท่ีทำ� กจิ กรรมล่องแก่งท่ีสนกุ สนาน ด้วยความที่แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานธรณีสตูล มีมากมาย หลายแห่ง มีหลายรูปแบบ มีหลายกิจกรรม แต่ในเล่มนี้จะเลือกมา ที่ที่เด่น ไปง่าย มีเนื้อหา และสมควรไปดูมาเล่า มาชวนเท่านั้น ผม ว่าท่านผู้อ่านเที่ยวไม่หมดภายในวันเดียวแน่ ถ้ามีเวลานาน ก็เที่ยวดูให้พรุนทุกที่ แต่ถ้ามีเวลาจำ�กัด ผมว่าท่านผู้อ่านดูเนื้อหาที่บอกเล่าคร่าวๆ ดูรูป แล้วดูกิจกรรม แล้วกาชื่อสถานที่ไว้ก่อน หลังจากนั้น ก็ไปดูแผนที่ที่ไปขอเขาที่ อบต. ทุ่งหว้า เพื่อดูว่า ที่เรากาหัวสถานที่ว่าจะไปดูนั้น มันอยู่ถนนไหน เส้น ทางไหน เพื่อจะได้วางแผนการเที่ยวได้ถูก ไม่ใช่อะไร แค่อยากให้ดูให้ทั่วแค่นั้นเอง เดี๋ยวขาดอันไหนไป กลับไปบ้านจะมาบ่นว่า...ข้ามไป ได้ยังไง ต่อไปนี้เหล่านี้คือสถานที่ที่จะชวนท่านเพลิดเพลินไปกับพื้นที่ของอุทยานธรณีสตูล เตรียม ปากกามาหมายหัวชื่อสถานที่ได้เลย..... ศาลโต๊ะสามยอด ที่ตั้ง : ริมถนนสายบ้านสะพานวา-บ้านป่าแก่ ตำ�บลป่าแก่บ่อหิน อำ�เภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล โตะ๊ สามยอด เปน็ ศาลเจา้ อยรู่ มิ ทาง คลา้ ยเจา้ ทท่ี ค่ี นในพน้ื ทใ่ี หค้ วามเคารพนบั ถอื ใครขับรถผ่านไปมาก็บีบแตรเพ่ือทำ�ความ เคารพ มีรูปป้ันบุคคลแล้วสร้างศาลาไว้ กนั แดดกนั ฝน ตง้ั อยรู่ มิ ทางขา้ งภเู ขาหนิ ปนู ลกู เตย้ี ๆ ทน่ี จ่ี ะมกี องหนิ ปนู ทห่ี กั ตกลงมากอง อย่บู นพ้นื ใกล้ศาลมากมาย ท่สี ำ�คัญคือบน หินปูนเหล่าน้มี ีฟอสซิลของนอติลอยด์ ซึ่ง เป็นสัตว์ยุคออร์โดรวิเชียน (อายุประมาณ ๔๘๘-๔๔๔ ล้านป)ี ซึ่งเปน็ ยุคทน่ี อติลอยด์ครองโลกกว็ ่าได้ ซากฟอสซลิ นอติลอยดท์ ่ีนี่ จะเหน็ ช่องนา้ํ ใน รา่ งกายชดั เจน อกี ทงั้ ยงั เจอพลบั พลงึ ทะเลและฟอสซลิ สง่ิ มชี วี ติ รว่ มสมยั อกี หลายชนดิ อกี ดว้ ย ลองเดนิ พนิ จิ ดกู ้อนหนิ เหลา่ น้ดี ีๆ อาจจะพบเหน็ สตั ว์อน่ื ๆ อกี มากมาย... เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณีสตูล ๔๑
กลมุ่ หนิ สาหร่าย โตะ๊ ทวด – ท่าแร่ โต๊ะทวด ที่ตั้ง : บ้านทุ่งเสม็ด หมู่ ๑๑ ตำ�บลกำ�แพง อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล ทางด้านใต้ของถนนสายบ้านทุง่ เสม็ด-บา้ นป่าแกบ่ ่อหินทีแ่ ยกออกจากถนนสาย 416 (ท่งุ หวา้ -ละง)ู ไปทางทศิ ตะวันออก ท่าแร่ ที่ตั้ง : ในลำ�คลองเล็กๆ ที่เลียบไปกับทางเทปูน ในบ้านป่าฝาง ตำ�บลกำ�แพง อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล (ท้ังสองสถานท่ี จะคล้ายคลงึ กนั เลยเอามารวมในเรื่องเดียวกนั ซะเลย) สาหร่ายสร้างโลก... ! อย่างที่เคยเขียนบอกไปในสิ่งมีชีวิตในอุทยานธรณีสตูลเมื่อ ๕๔๒ ล้านปีก่อนแล้วว่า เม่ือโลกเรา เร่มิ น่ิง พอท่ีสิ่งมชี วี ติ จะกอ่ เกิดขึ้นได้บา้ ง ตอนนัน้ ในนํ้าจะมีสาหร่ายสเี ขยี วแกมนํ้าเงินเกิดขึ้น และเกิดขนึ้ มากมาย สาหรา่ ยพวกนจ้ี ะปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาแลว้ กา๊ ซนกี้ จ็ ะลอยขน้ึ ไปสะสมในอากาศ สาหรา่ ย สเี ขยี วแกมนํา้ เงินเหล่านี้ ทำ�หน้าที่นี้อยู่นาน ตลอดระยะเวลานบั ล้านๆ ปี สาหรา่ ยชนิดนี้ได้เจรญิ เติบโต อยกู่ นั เกลอื่ นแหลง่ นาํ้ ไปทว่ั โลก พอหมดอายขุ ยั กต็ ายไป แลว้ กถ็ กู ตะกอนในนาํ้ คอ่ ยๆ ทบั ถมๆ มาเรอ่ื ยๆ ที่ ผมวา่ นก้ี นิ เวลานับแสนนับล้านๆ ปีนะ ไมใ่ ชป่ ระเดี๋ยวประดา๋ ว หรอื แคช่ ่วงอายคุ น แต่มันนานมากๆ ชนดิ ท่ี ต้องใสไ่ ม้ยมกหลายตวั นั่นเทยี ว พอมนั ถกู ทบั ถมจนตะกอนทท่ี บั ถมกลายเปน็ ประเภทของหนิ ตะกอน เจา้ ซากของสาหรา่ ยนก่ี ถ็ กู เกบ็ รปู ๔๒ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณีสตูล
รา่ งในหนิ ตะกอน ถา้ ใตท้ ะเลเปน็ ตะกอนทราย กจ็ ะเปน็ หนิ ทราย วนั ดคี นื ดี พอ แผน่ เปลอื กโลกมนั เคลอ่ื นมาจนดนั กนั พน้ื ทบ่ี างสว่ นกถ็ กู ดนั ขน้ึ มา หนิ ทส่ี าหรา่ ย เหลา่ นเ้ี คยทบั ถมอยใู่ ตพ้ น้ื โลก กถ็ กู ดนั ขน้ึ มา จากทเ่ี คยอยใู่ นนา้ํ มนี า้ํ ทบั อยู่ กถ็ กู ดนั ขน้ึ มาอยบู่ นทๆ่ี นา้ํ ทว่ มไมถ่ งึ บางทดี นั จนกลายเปน็ ภเู ขา เจา้ ซากสง่ิ มชี วี ติ ใน ทะเลพวกนก้ี ด็ นั ไปอยบู่ นภเู ขาสงู แลว้ กาลเวลากก็ ดั กรอ่ นจนกระทง่ั เหน็ ภาพ ลกั ษณข์ องสาหรา่ ยทว่ี า่ ปรากฏขน้ึ อยา่ งชดั เจน อย่าลืมว่ากระบวนการเหล่านี้ที่เก็บฝังสาหร่ายใช้เวลานับล้านๆ ปี สาหร่ายนี้มีอายุและเจริญเติบโตเมื่อประมาณ ๕๐๐ ล้านปีก่อน และคง สภาพมาบอกเล่าให้เรารู้จักพวกเขาในปัจจุบันนี้นับว่ามหัศจรรย์อย่าง มากแล้ว ในพื้นที่อุทยานธรณีสตูล พบเห็นฟอสซิลของสโตรมาโตไลท์ หรือ สาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงินนี่ค่อนข้างชัดเจนคือที่บริเวณหินสาหร่าย ที่ ชาวบ้านทำ�ศาลาครอบไว้ และเยื้องๆ คนละฝั่งถนนก็มี แต่ที่ชัดเจน เห็น ร่องรอยชัดมากก็คือบริเวณ หินสาหร่ายท่าแร่ ที่อยู่ในลำ�ธารนํ้าเล็กๆ ที่ นี่ก็จะเห็นรูปร่างและตารางระแหงของสาหร่ายโบราณนี้ชัดเจนมาก g สโตรมาโตไลต์ เทีย่ วไปในอุทยานธรณสี ตูล ๔๓
เขาน้อย ที่ตั้ง : หมู่ ๑๑ บ้านทุ่งเสม็ด ตำ�บลกำ�แพง อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล รมิ ฝง่ั ทางสายทแ่ี ยกออกจากถนนสาย ๔๑๖ (ทงุ่ หวา้ -ละง)ู จากบรเิ วณกโิ ลเมตรท่ี ๑๑ ไปทางทศิ ตะวนั ออก อยู่ระหวา่ ง กม.ท่ี ๐.๕ ไปจนถึงประมาณ กม.ท่ี ๑.๕ รวมพืน้ ท่ีแหลง่ ประมาณ ๑ ตารางกโิ ลเมตร อยู่ หา่ งจากอ�ำ เภอละงไู ปทางเหนือเป็นระยะทางประมาณ ๑๒ กโิ ลเมตร สุสานสัตว์โลกล้านปี... ! เขานอ้ ยทีว่ ่าน่ี เดมิ เขา้ ใจว่าคงเปน็ เนินเขาเตีย้ ๆ อยู่รมิ ทางหมายเลข ๓๐๒๘ ระหว่างพื้นทข่ี อง อบต. ปา่ แกบ่ อ่ หนิ กบั อบต.ก�ำ แพง ปจั จบุ นั นม้ี รี อ่ งรอยของการขดุ เอาหนิ ไปใชป้ ระโยชน์ หนิ ทเ่ี หน็ ชน้ั ลา่ ง ทเ่ี ปน็ ลักษณะเป็นบอ่ ทถี่ กู ขุดไปน้นั จะเปน็ หนิ ดินดาน เป็นแผน่ ๆ เวลาแกะหรอื ลอกออกก็จะเป็นแผน่ หินพวก นี้ โดยปกติจะเปน็ สีด�ำ แต่กม็ ีบางชิ้น บางก้อนทีเ่ ราจะเหน็ เป็นสสี ้มบ้าง สอี อกเหลอื่ มเขยี วบา้ ง ท้ังนีก้ ข็ ้นึ กับวา่ แผน่ นั้นมสี ารอะไรเคลือบหรอื ผสมอยู่มาก หินพวกนีค้ อื สสุ านของสตั ว์เมอื่ ประมาณ ๔๗๐-๔๐๐ ล้านปีกอ่ น...! ถา้ ผมวา่ แบบนี้ ทา่ นผอู้ า่ นกเ็ ดาไดค้ รา่ วๆ เลยวา่ หนิ พวกนกี้ ม็ อี ายไุ มต่ าํ่ กวา่ ๕๐๐ ลา้ นปเี ชน่ กนั (กเ็ รา ดตู ารางธรณีมาอย่างช่ําชอง ชนดิ ที่หลับตาก็นกึ ออกแล้วนน่ี า ถูกไหม?) เพราะมันเปน็ หินท่ีเก็บงำ�ซากของ สตั วท์ ่เี คยมชี วี ิตในชว่ งมหายคุ พาลิโอโซอกิ ๔๔ เท่ียวไปในอุทยานธรณสี ตูล
มีอะไรบ้าง? กพ็ วกแกรปโตไลต์ ไทรโลไบต์ พวกพลบั พลงึ ทะเล หรือไครนอยดต์ ่างๆ หนิ พวกนแ้ี หละที่ถา้ เราลอง ขุดค้นดู มันจะพบเห็นสตั ว์ทะเลโบราณที่วา่ มาไม่อยา่ งใดก็อย่างหนง่ึ เปน็ ตอ้ งเผยโฉมให้เราเหน็ แตว่ ่าจะ เป็นรูปรา่ งชดั เจนเหมือนไทรโลไบตห์ รอื ไม่นัน้ ก็ต้องลุน้ กัน แต่จากปรากฏการณ์ที่เราเจอซากสัตว์ดึกดำ�บรรพ์มากมายนี่เอง ทำ�ให้เราย้อนนึกไปถึงเรื่องราวใน อดีตเมือ่ ประมาณ ๕๐๐ ลา้ นปกี ่อนไดว้ า่ เจา้ สิ่งมีชีวิตเหลา่ นี้ก็ต้องล่องลอยอยใู่ นนาํ้ มากมาย (อยา่ เพิ่งเอ่ย ถึงบนบก เพราะบนบกยังไม่ปรากฏวา่ มตี วั อะไรเกดิ ขึน้ เลย ก็อกี แหละ พอมนั ตายมนั ก็ถกู ทบั ถมเป็นล้านๆ ปี พอแผ่นดนิ เปลอื กโลกมาชนกนั มันก็โผล่ขนึ้ มาและเป็นภูเขามาจนทุกวนั นี้ นี่ว่ากันแค่ข้างล่าง เพราะด้านบนจะเป็นเนินเขา จะเห็นภูเขาที่เป็นลายเป็นชั้นๆ......ถ้าถาม ว่าแล้วชั้นหินลายๆ พวกนี้มาจากอะไร ก็เกิดจากสโตรมาโตไลต์นี่แหละ แต่เป็นช่วงที่มันมีมาก มี น้อยแตกต่างกัน แล้วยังมีเรื่องของการผุพังเข้ามาร่วมด้วย อันที่จริงรูปลักษณ์หินเป็นชั้นๆ แบบนี้ ในย่านนี้มใี หเ้ หน็ ชดั เจน ๒-๓ แหง่ ตรงบรเิ วณใกลห้ นิ สาหรา่ ยโตะ๊ ทวดทห่ี นง่ึ และบรเิ วณโรงเรยี นบา้ น ป่าพน (ทางไปถํ้าเจ็ดคต) ก็อีกเป็นที่หนึ่ง รูปแบบก็คล้ายๆ กันนี่แหละครับ g เทย่ี วไปในอุทยานธรณสี ตลู ๔๕
ถ้ําเขาอุไรทอง ที่ตั้ง : บ้านอุไร หมู่ ๘ ตำ�บลกำ�แพง อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล ถ้าํ แห่งน.้ี ..ทา่ นผู้อ่านดูแผนที่ แลว้ ขับรถไปตามไดเ้ ลย ไปถึงทางแยก ทางร่วม มนั จะมีปา้ ยบอกหมด ไปไมย่ ากหรอก ภเู ขาที่เปน็ ทีต่ ง้ั ของถาํ้ แหง่ น้ี เปน็ ภูเขาหินปูน ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของธรณีในย่านน้ี ซึ่งการเกิด ภูเขาหินปูนนั้น อันที่จริงก็คล้ายกับการเกิดภูเขา หนิ ทราย ภเู ขาแบบอนื่ ๆ เพยี งแตล่ กั ษณะของหนิ ที่ ต่างกันต่างหากท่ไี ม่เหมอื นกัน ถา้ํ เขาอไุ รทองแหง่ นเ้ี ปน็ ภเู ขาหนิ ปนู โดดๆ คอื ไม่มีภูเขาลูกอ่ืนมาใกล้ๆ เลย ด้านหนึ่งเป็นหมู่บ้าน ส่วนอีกด้านของภูเขาเป็นสวนยางพารา ใต้ภูเขาลูก ๔๖ เที่ยวไปในอุทยานธรณสี ตูล
น้จี ะเปน็ ลกั ษณะคลา้ ยถา้ํ ลอด เราสามารถเดนิ ลอดไปอกี ดา้ นได้ และทแ่ี ปลกคอื มธี ารนา้ํ ไหลดว้ ย เขา้ ใจวา่ นา้ํ คงมาจากนาํ้ ฝนเวลาฝนตกนแี่ หละ นา้ํ คงไหลหลากลอดถา้ํ แลว้ กไ็ หลไปลงแอง่ นาํ้ นอกถา้ํ อกี ดา้ นหนง่ึ ไมไ่ ด้ เปน็ ลำ�ห้วยล�ำ คลองทม่ี เี สน้ ทางยาวไกลแตอ่ ยา่ งใด ตวั ถา้ํ เขาอไุ รทอง จะอยดู่ า้ นบนสงู จากพน้ื ดนิ ราว ๒๕ เมตร แตเ่ วลาเดนิ ขน้ึ มนั ไมไ่ ดข้ น้ึ ตรงๆ กจ็ ะคอ่ ยๆ ขน้ึ ไป เลยดเู หมอื นไกล ถา้ํ แหง่ นจ้ี ะเปน็ โถงแคบๆ แตส่ งู ขา้ งบนมหี นา้ ตา่ งถา้ํ กวา้ ง ๒ แหง่ รวมทางเขา้ ดว้ ยก็ เปน็ ๓ ชอ่ งทาง เปน็ ปลอ่ งถา้ํ ขนาดใหญ่ อากาศจงึ ไมอ่ บั มหี นิ งอกหนิ ยอ้ ยบา้ ง แตไ่ มไ่ ดม้ ากนกั เมอ่ื ขนึ้ ไปดา้ น บนจะเหน็ ทิวทศั นเ์ บื้องหน้า สวยงาม ลมพัดเย็นสบาย ไมเ่ หมน็ อับ และมีแสงสวา่ งจากภายนอกเข้ามาได้ ภายในถา้ํ มหี นิ ยอ้ ยผนงั ถา้ํ ขนาดใหญส่ งู รว่ ม ๒๐ เมตร และไฮไลทท์ ส่ี �ำ คญั อกี อยา่ งคอื เจดยี ท์ อง ซง่ึ เปน็ หนิ ยอ้ ยลงกลางถา้ํ มาจนเกดิ เปน็ หนิ งอกและสะสมกนั เหมอื นรปู ทรงเจดยี ์ เมอ่ื มกี ารแตง่ ไฟสเี หลอื ง จงึ ออกมา ราวกบั วา่ หนิ งอกนน้ั เปน็ สที องอรา่ ม ทางอุทยานธรณสี ตลู ได้ท�ำ สะพานเหลก็ ให้เดินข้ึนไปไดอ้ ย่างสะดวก มกี ารแตง่ ไฟไว้พอประมาณ g เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู ๔๗
การเกดิ ขึ้นของภเู ขา ภูเขาหินทราย ภูเขาหินปนู ภูเขาหินแกรนิต อันที่จริงจะว่าไป ภูเขาแต่ละอย่าง ก็มีอัตลักษณ์หรือความเป็นตัวตนที่ชัดเจน คอื ภูเขาหินทราย มักจะมีหลังเป็นป้านหรือ หลังแป มักจะมีหน้าผาหักชันเล็กๆ แล้วมี ไหล่เขาค่อยๆ ลาดลงมา นี่เป็นฟอร์มของ ภูเขาหินทรายเลย นั่นเพราะว่าหินทรายมัน เป็นหินชั้นชนิดหนึ่ง ที่เกิดจากการทับถมเป็น ชั้นๆ ของทราย กรวด เวลามันผุพัง สึกกร่อน ก็จะผุพังหรือสึกกร่อนเป็นชั้นๆ ส่วนใหญ่เรา จะเห็นทางภาคอีสาน ภูเขาหินปูน... ภูเขาประเภทนี้ถ้าจะ บอกว่าคือประติมากรรมของโลกก็ว่าได้ เพราะ ภูเขาหินปูนจะมีรูปร่างที่ สุดบรรยาย คือไร้รูป ไร้ฟอร์มเฉพาะหรือตายตัว เป็น แท่งๆ เป็นทรงภูเขาไฟ เป็นซาลาเปาผ่าครึ่ง เป็นชะโง้มแหลม เป็นสารพัดจะเป็น ที่สำ�คัญ เรามักจะเห็นมีหินย้อย ห้อยติ่งออกมาด้วย ภูเขาหินปูนไม่ว่าจะเห็นอยู่ในทะเล บนบก ก็ มาอีหรอบเดียวกัน ภเู ขาหนิ แกรนติ ใหท้ า่ นผอู้ า่ นนกึ ถงึ พวก เขาคชิ กฏู เขาสอยดาว ภเู ขาทางภาคตะวนั ออก หินใบเรือท่ีเกาะสิมิลันหรือที่พระธาตุอินทร์ แขวน จะเหน็ ภาพชดั หนอ่ ย แตภ่ เู ขาแบบนี้ หนิ จะไม่มรี าก มักถูกดนิ คํ้ายนั ไว้ ภูเขาแบบนี้ ถ้า ไปขดุ ไปตดั ไปท�ำ ลายหนา้ ดินมนั มากๆ เวลา ฝนตกมากๆ นานๆ มกั มดี นิ ถลม่ ดนิ สไลดท์ กุ ที่ ภเู ขาแบบนม้ี กั เปน็ ปา่ ตน้ นาํ้ เพราะนาํ้ ซมึ แทรก ลงไปในดนิ งา่ ย นว่ี า่ กนั ดว้ ยเรอ่ื งรปู แบบของภเู ขา แบบ ไมต่ อ้ งวชิ าการมาก แคพ่ อใหเ้ ขา้ ใจแคน่ น้ั g ๔๘ เท่ยี วไปในอุทยานธรณีสตูล
เขาทะนาน ที่ตั้ง : บ้านทุ่งทะนาน ตำ�บลทุ่งบุหลัง อำ�เภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล เขาทะนานเป็นภูเขาหินปูนต้ังอยู่โดดเด่น โดยไม่มีภูเขาข้างเคียง รูปลักษณ์เป็นภูเขาที่มีหน้าผาที่มี หินย้อยริมหน้าผาด้านหนึ่ง ท่ีต้องย้ําว่าต้ังอยู่โดดเด่นเพราะ รอบๆ หรือบริเวณใกล้เคียง ในรัศมี ๒ กม. ไมม่ ีภเู ขาอื่นๆ เลย มหิ น�ำ ซํ้า ท่ีตั้งยังจะคอ่ นมาอยู่ใกลท้ ะเลอกี ตา่ งหาก ซง่ึ ถา้ จำ�กนั ได้ ตอนที่นั่งเรือจาก ท่าอ้อย เพื่อจะออกทะเลไปดูสันหลังมังกร ถ้าหากว่าเรามองไปทางซ้ายมือ ก็จะเห็นเขาทะนานตั้ง อยู่โดดเด่น รูปร่างของเขาทะนานนนั้ ดเู หมือนกับเปน็ แท่งหนิ ขนาดใหญม่ ากกว่า ดา้ นฐานมเี ว้าเข้าไป (เว้าทะเล) จนดูฐานคอด ตง้ั เด่นเปน็ สง่า เพราะโดยรอบเปน็ หนา้ ผาทง้ั หมด และอยา่ งทบี่ อกไปวา่ เปน็ ไปตาม ฟอร์มของภูเขาหินปูนท่ีจะมีหินย้อยปรากฏให้ เหน็ ตามหนา้ ผาตา่ งๆ โดยรอบ ถ้าอ้อมไปด้านหลังของเขาลูกน้ี จะมีถํ้า เล็กๆ ที่ปากถํ้าเปิดกว้าง มีพระมาดัดแปลงทำ� เป็นทพ่ี ักของสงฆ์ ตัวถ้ําเองมหี ินงอกหนิ ยอ้ ยบ้าง แตไ่ มม่ ากและดเู หมอื นวา่ จะไมม่ นี า้ํ หยดน�ำ พานา้ํ ที่ เจอหนิ ปนู ไหลตกลงมาอกี แลว้ (แสดงวา่ รอยแตก เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๔๙
ฟอสซิลปะการงั ของภเู ขาดา้ นบนตนั เพราะคราบหนิ ปนู ไปแลว้ ท�ำ ใหร้ อยแตกทนี่ า้ํ เคยไหลลง มาตัน พอตนั นาํ้ ก็ไม่ไหลลงมาอกี พอนํา้ ไม่ไหลลงมา การสะสมของหินปนู ที่ ละลายมากับนํา้ ก็ไม่เกิดขึน้ ที่เราเรียกวา่ ถาํ้ มนั ตายแลว้ นน่ั เอง ซ่งึ ทเ่ี พงิ ถ้าํ เขาทะนานน้ีกเ็ ช่นกนั หินย้อยสว่ นใหญ่จะตายหมดแล้ว แตค่ วามโดดเดน่ ของทนี่ อ่ี ยตู่ รงกอ้ นหนิ ตา่ งๆ ทหี่ กั ตกลงมาอยหู่ นา้ ปาก ถาํ้ และผนังถํ้า ทีม่ ซี ากฟอสซลิ ปะการัง ปรากฏอยู่ตามกอ้ นหินต่างๆ อยา่ ง ชัดเจน สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ของที่นี่อีกอย่างคือ...‘หอยทากจิ๋ว’ ท่านผู้อ่านอาจจะงง ว่ามันจิ๋วไหน เอาเป็น ว่ามันมีขนาดใหญ่กว่าปลายไส้ปากกานิดเดียว เล็กมาก หอยทากพวกนี้จะกินต้นไม้พืชเล็กๆ เมือกตะไคร่ เกาะ ตามหน้าผาหินปูน ซึ่งในระบบนิเวศของภูเขาหินปูน จะ มีกลุ่มหอยทากนี้อยู่ แต่มีไม่กี่แห่งที่หอยทากจิ๋วอยู่อาศัย และดำ�รงค์เผ่าพันธุ์อยู่ได้ เพราะยิ่งเป็นสิ่งมีชีวิตขนาด เล็ก เขาก็จะไวกับสภาพแวดล้อมที่มีการปรับเปลี่ยนไป หอยทาก เปน็ พวกทม่ี กี ระดองคลมุ รา่ งกาย เคลอื่ นที่ โดยกลา้ มเน้อื หนา้ ทอ้ งทีไ่ หลเคลือ่ นไปมา ผดิ กบั ทากทด่ี ดู เลือด พวกนน้ั ไมม่ กี ระดองใช้การยดื และหดตัวในการเคลื่อนท่ี ชาวบ้านและผู้บริหารท้องถิ่นในพื้นที่ ปลูกดอกทานตะวันไว้ด้านหน้าภูเขา ทำ�ให้กลายเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามอีกแห่งในพื้นที่อุทยานธรณีสตูล g ๕๐ เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู
Search