Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูเก็ตเปอรานากัน

ภูเก็ตเปอรานากัน

Description: สื่อการเรียนรู้สาระท้องถิ่นจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดกระบี่ชุดนี้ สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ได้ร่วมกันสร้างสรรค์กับนักวิชาการและนักเขียนในท้องถิ่น เพื่อให้เด็กและเยาวชนรวมทั้งประชาชนทั่วไปในจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดกระบี่ ได้รับความรู้และความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและท้องถิ่นของตน รวมทั้งก่อให้เกิดความเข้าใจและการยอมรับในวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่หลากหลายตามบริบทพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันออกไป.

Search

Read the Text Version

ส่อื การเรยี นร้สู าระทอ้ งถ่ินโดย สำ�นกั งานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้

ชอื่ ภูเก็ต เปอรานากัน เรือ่ ง : ชัยฤทธิ์ ศรโี รจนฤ์ ทธิ์ ภาพ : ชมพูนทุ สามารถ โครงการ สรา้ งสรรค์สอื่ การเรยี นรู้สาระทอ้ งถน่ิ เลขมาตรฐานประจำ�หนงั สอื 978-616-235-253-9 บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ อารยะ มาอนิ ทร์ ทศั นยั วงศพ์ ิเศษกุล ผู้ช่วยบรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ วราพร ตยานุกรณ์ วภิ าศยั นยิ มาภา ฉตั ราภรณ์ กงสนิ ภัทจรีย์ จนั ทรหนู ปาลดิ า เรอื นวงค์ นันธนา เจรญิ ภกั ดี ทัศนยี ์ ประกอบพร บรรณาธกิ ารดำ�เนนิ งาน รตั นา คชนาท ขอขอบคุณ นพ.โกศล แตงอุทัย ออกแบบปกและรูปเล่ม ชมพนู ทุ สามารถ พิมพ์ครั้งแรก ๒๕๕๘ จ�ำ นวน ๓,๐๐๐ เล่ม สงวนลิขสทิ ธิ์ c สำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้ สำ�นักงานบรหิ ารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) สำ�นักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ เจา้ ของโครงการ สำ�นกั งานอทุ ยานการเรยี นรู้ (สอร.) สงั กัดส�ำ นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องค์การมหาชน) สว่ นบริการ ศนู ยก์ ารคา้ เซน็ ทรลั เวลิ ด์ ชนั้ ๘ Dazzle Zone ถนนราชดำ�ริ ปทุมวนั กรุงเทพ ฯ ๑๐๓๓๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๐๐ โทรสาร ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๓๒ สว่ นสำ�นกั งาน ๙๙๙/๙ อาคารสำ�นกั งานเซน็ ทรลั เวิลด์ ชัน้ ๑๗ ถนนพระราม ๑ ปทมุ วัน กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๓-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๖ www.tkpark.or.th

คำ�นำ� ภารกจิ ส�ำคญั ตอ่ สงั คมประการหนงึ่ ของส�ำนกั งานอทุ ยานการเรยี นรู้ คอื การปลกู ฝงั นิสัยรักการอ่าน และการกระจายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและสอดคล้อง กับความสนใจของเด็ก เยาวชน และประชาชน ในรูปแบบห้องสมุดมีชีวิตท่ีสร้างสรรค์บน พน้ื ฐานการมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ งๆ โดยส�ำนกั งานอทุ ยานการเรยี นรไู้ ดร้ ว่ มกบั องคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในภูมิภาคต่างๆ เพือ่ ขยายผลการด�ำเนินงานดังกล่าว การสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้สาระท้องถ่ิน ให้มีรูปแบบการน�ำเสนอท่ีทันสมัยและ ดึงดูดความสนใจ เป็นเครื่องมือท่ีส�ำคัญอย่างหนึ่ง ซ่ึงส�ำนักงานอุทยานการเรียนรู้เห็นว่า มีส่วนในการสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กและเยาวชนสนใจการอ่านและใฝ่หาความรู้อย่าง ต่อเนื่อง โดยน�ำเรื่องราวภูมิปัญญาสาระท้องถ่ินใกล้ตัวท่ีสอดคล้องกับวัย การด�ำรงชีวิต พรอ้ มกบั สอดแทรกแนวคดิ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มาเปน็ เนอ้ื หาของสอื่ การเรยี นรสู้ �ำหรบั เยาวชนตามชว่ งวัย ตัง้ แต่ ๓ – ๑๒ ปี ส่ือการเรียนรู้สาระท้องถิ่นจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดกระบ่ีชุดน้ี ส�ำนักงานอุทยาน การเรยี นรไู้ ดร้ ว่ มกนั สรา้ งสรรคก์ บั นกั วชิ าการและนกั เขยี นในทอ้ งถนิ่ เพอื่ ใหเ้ ดก็ และเยาวชน รวมท้ังประชาชนท่ัวไปในจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดกระบี่ ได้รับความรู้และความภาคภูมิใจ ในวัฒนธรรมและท้องถ่ินของตน รวมท้ังก่อให้เกิดความเข้าใจและการยอมรับในวิถีชีวิต วัฒนธรรมที่หลากหลายตามบริบทพ้ืนที่และสภาพแวดลอ้ มทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป ส�ำนกั งานอทุ ยานการเรยี นรู้ มุง่ หวงั วา่ หนังสือชุดนี้จะเปน็ ส่อื การเรียนรอู้ กี ชดุ หน่งึ ที่จะส่งเสรมิ การอา่ นและการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ซึง่ หมายถึงเป็นหนงั สือทผ่ี อู้ า่ น อ่านอย่างมีความสุข สนุกในการอ่าน และ ก่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่าของท้องถ่ิน ตนเองไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ ส�ำนกั งานอทุ ยานการเรียนรู้



ภูเก็ต เปอรานากัน เรื่อง ชัยฤทธ์ิ ศรีโรจนฤ ทธ์ิ ภาพ ชมพนู ทุ สามารถ

เกาะหจากปีนังมาถึงฝงั่ ภเู ก็ต มาก ผมช่ือลคี่ รบั บ้านผมอยู่ที่เกาะปีนัง รัฐปนี ัง ประเทศ มาเลเซยี ครับ คนไทยสมัยก่อนเรียกปีนงั ว่า เกาะหมาก คงเปน็ เพราะสมัยกอ่ นมตี ้นหมากขึ้นมากนนั่ เอง ผมมีความฝันอยากไป เทย่ี วทเ่ี กาะภูเกต็ จงั หวัดภูเก็ต ประเทศไทยมากเลยครบั เพราะใคร ตอ่ ใครกบ็ อกวา่ ปนี ังกับภเู กต็ คลา้ ยๆ กนั มีวฒั นธรรมเปอรานากัน เหมือนกนั เปอรานากนั คืออะไรนะ่ เหรอครับ ยา่ ของผมบอกว่า สมัยก่อน มีการอพยพเดินทางของชาวจนี มาอยู่ทคี่ าบสมทุ รมลายูตงั้ แตส่ งิ คโปร์ มะละกา ปนี ัง ภูเกต็ ระนอง และเมอ่ื แต่งงานกบั คนพ้นื เมอื ง ก็เลยสรา้ ง วัฒนธรรมทผี่ สมผสานกนั ระหวา่ งจนี กบั มลายขู น้ึ มา เรยี กวา่ เปอรานากนั ทแ่ี ปลว่า เดก็ ลกู ครงึ่ หรอื เรยี กอกี อยา่ งว่า บา้ บา๋ -ยา่ หยา ทีม่ ีลกั ษณะ รูปแบบศิลปะ สถาปตั ยกรรม เคร่อื งนุ่งหม่ ขา้ วของเครอ่ื งใช้ เฉพาะตวั 6

ถา้ ดจู ากแผนท่ีจะเหน็ ว่า ไทย เกาะภเู กต็ และเกาะปนี งั ตง้ั อยู่ ดา้ นซา้ ยของคาบสมทุ รมลายู มีระยะทางไมห่ า่ งกนั มาก ทำ�ให้มี ภเู กต็ การค้าขาย เดินทางไปมาหาส่กู นั บอ่ ยๆ ยา่ บอกว่า ลกั ษณะของเมอื ง ภเู ก็ตกับปีนังเหมอื นกนั อยา่ งกับเป็นฝาแฝด ตอนเด็กๆ ยา่ กเ็ คยน่ังเรอื จากปีนังไปเยยี่ มญาตทิ ภี่ เู กต็ ย่าเล่าให้ผมฟงั บอ่ ยๆ และบอกว่าเรายังมญี าติอยูท่ ภ่ี ูเกต็ ด้วยนะ จนผมอยากไปภเู ก็ตบ้างแล้วครบั ปนี งั มาเลเซยี ปดิ เทอมคราวนี้ผมเตรยี มพร้อมแลว้ ท่จี ะไปเยย่ี มเมืองฝาแฝดของบ้านผม ปนี งั กบั ภเู ก็ตจะเหมือนกนั แคไ่ หนนะ เราจะเป็น เปอรานากันเหมอื นกันจริงๆ ไหม ผมขอเก็บอุปกรณ์ใสก่ ระเป๋า แล้วตามผมมาเลยนะครับ 7

พลาดไมไดใ นเมืองภูเกต็ ผมซ้ือหนงั สือท่องเท่ยี วภูเก็ตไวค้ รับ มหี ลายๆ ที่ท่ีผมต้ังใจไวว้ ่า จะต้องไปเที่ยวชมใหไ้ ด้ แต่กไ็ ม่รจู้ ะไปไดค้ รบหรอื เปลา่ ผมเลย ตงั้ ใจอย่ใู นตวั เมอื งภเู ก็ตเป็นหลกั ถา้ โชคดผี มคงไดไ้ ปเท่ยี วชายหาด สวยๆ ของภูเกต็ แล้วจะถา่ ยรูปมาฝากนะครบั อาคารบรษิ ัท ถนนเยาวราช เอกวานิช คฤหาสน บานหลวงอำนาจ ถนนดีบกุ พระพทิ ักษชินประชา นรารักษ บา นคุณพระประชา Blue Elephant พพิ ธิ ภณั ฑไ ทยหวั ถนนกระบ่ี เขารัง บา นพระอราม ศาลเจาแสงธรรม สาครเขต เขารัง จุดชมววิ ตวั เมอื งภเู ก็ต ที่สวยงามท้งั กลางวันและกลางคืน ศาลเจาปดุ จอ ถนนระนอง ว่าแต่วา่ ผมจะไดข้ น้ึ ไปชมววิ ตอน ไหนล่ะเนย่ี กลางวันหรอื กลางคนื ศาลเจาจยุ ตุย ถนนรัษฎา วงเวียนสรุ ิยเดช โร อาหาร เส้ือผา้ บ้านชินประชา อาหารอร่อยของภเู ก็ตหลายอยา่ ง อยากชมบา้ นแบบคฤหาสน์ ก็เหมือนปีนัง แต่หลายอย่าง ก็ตอ้ งไปบา้ นชนิ ประชาครับ กไ็ ม่เหมอื นนะครบั ผมนะ่ อยากลองกินขนมจนี น้ำ�ยาท่สี ุดแลว้ ที่นยี่ ังมชี ดุ บ้าบ๋า-ยา่ หยา สวยๆ ดว้ ย ดอกเฟอ งฟา เปน ดอกไมป ระจำจงั หวัดภูเก็ต 8

ถนนถลาง ถนนกลางเมอื งทีม่ มี ุมมองเหมอื นปนี ังมาก มีอาคารบา้ นเรือน ร้านคา้ ทย่ี งั มีชวี ติ ชีวาอยู่ พลาดไมไ่ ด้นะครับ บานหลวงอนุภาพ อาคารสำนกั งาน ภเู กต็ การ บริษัทอนุภาษและบตุ ร ซอยรม ีณยอาคารตึกแถว พิพิธภณั ฑ์ไทยหวั ถนนเทพกระษัต ีรเกา ในซอย พิพธิ ภัณฑ์ไทยหวั ทนี่ เี่ คยเป็นโรงเรยี นเกา่ แก่ รมณยี  ปจั จบุ นั เป็นพิพิธภณั ฑเ์ รียนร้เู รอ่ื งภูเก็ต วฒั นธรรมเปอรานากนั และประวตั ิ รา นผา สิรริ ตั น สวน 72 พรรษา ของโรงเรยี นครับ ถนนถลาง ตน ประดเู ปน ตน ไมป ระจำจงั หวดั ภเู กต็ ม โรงแรม อาคารชารต เตอร ออนออน ถนนพงั งา ถนน ูภเ ็กต สถานีตำรวจภเู ก็ต(เดิม) า รงแรมถาวร สะพานหิน สะพานหนิ สวนสาธารณะริมทะเล ท่เี ขาบอกวา่ เปน็ แผน่ ดินท่ีถมออกไป ว้าว! เจง๋ จรงิ ๆ ถมทะเลเป็นแผน่ ดิน 9

เมอื่ เดก็ เกาะมาเจอกนั ๒ ๑ แชะ แชะ โอโ ห... แชะ สวยจงั เลย ๔ อุย! ๓ ผมช่ือล่ีครบั ขอโทษ ผมชอื่ ตน ครบั ครับ “ถา่ ยรปู ใหไ้ หมครบั ” ตน้ ถามลี่ “ขอบคณุ ครบั ” ลี่ยนื ยิ้ม สว่ นตน้ กถ็ า่ ยรปู ใหอ้ ยา่ งตงั้ ใจ แลว้ มติ รภาพของเดก็ ทง้ั สองคนก็เกดิ ขน้ึ ตน้ เลยอาสาพาลี่ไปเท่ยี วรอบๆ ตวั เมืองภูเกต็ ทีส่ ามารถเดนิ ไปเท่ยี วด้วยกันได้ อาคารสถานีตำ�รวจภูเก็ตตลาดใหญ่ สร้างแบบ สถาปัตยกรรมชิโนโปรตุกีสเป็นอาคารสองชั้นสีขาว ตรงกลางเป็นหอนาฬิกาสูงสี่ชั้นตรงกับมุมถนน ด้าน บนออกแบบใหค้ ลา้ ยกบั หมวกของต�ำ รวจในสมยั กอ่ น หน้าต่างและประตูทำ�เป็นช่องโค้งมีเสาอิงแบ่งเป็น ช่วงๆ ประดบั ดว้ ยลายปนู ป้นั 10

ด้วยความทีภ่ ูเกต็ กบั ปีนังอยูไ่ ม่ไกลกนั จึงมีลักษณะภูมิอากาศแบบเส้นศูนย์สตู ร ไดร้ บั อิทธิพลจากลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ และลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือมีอากาศ รอ้ นชืน้ ตลอดปีเหมือนกนั และเม่อื มกี ารเดนิ ทางค้าขายกนั จึงท�ำ ให้มีวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมท่ีใกล้เคียงกันไปด้วย ต้นเห็นทา่ ทางของลก่ี ็รู้ว่าเป็นนักท่องเทีย่ ว เขาเลยอาสาพาเที่ยวในตัวเมืองภูเก็ต ลี่ดีใจมาก เพราะได้รู้จักเพ่ือนใหม่ใจดีมีนำ้�ใจจะพาเขาเท่ียว เหมือนท่ีอา่ นเจอในหนังสอื บ่อยๆ ว่า คนไทยเปน็ คน เอ้อื เฟือ้ โอบอ้อมอารี ยนิ ดตี อ้ นรับนักท่องเทยี่ ว และ ด้วยวัยของเด็กทง้ั สองคนท่ีไม่ตา่ งกัน มากนัก จงึ ท�ำ ใหพ้ วกเขาสนทิ กนั อย่างรวดเรว็ ตน้ ชี้ใหล้ ีด่ ูฝ่งั ตรงกนั ขา้ ม กับอาคารสถานตี ำ�รวจเกา่ แลว้ บอก วา่ นั่นคอื ตึกธนาคารชาร์ตเตอร์ท่ีเปน็ พิพธิ ภัณฑบ์ า้ บ๋าภเู กต็ ธนาคารชาร์ตเตอร์ สร้างในสมยั พระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว (ร.๕) เพอ่ื รองรบั การเจรญิ เติบโตของเหมืองแร่ ลักษณะอาคาร มเี สาแบบไอโอนคิ รับซุม้ ทั้งชน้ั บน และชั้นล่าง หัวเสาช้ันลา่ งเป็นรูปก้นหอย ระหวา่ งเสาเป็นซ้มุ โคง้ คร่ึงวงกลม ตกแต่งด้วยหนิ สลัก สวยงาม นบั ว่าเป็นธนาคารแห่งแรกในภมู ิภาคนี้ 11

ถนนเกาเลา ความหลัง หงอ่ คาข่ี ถนนถลาง 12 ต้นพาลี่มาที่ถนนถลางซึ่งเป็นถนนสายหลัก สายหนึ่งในอดีตของภูเก็ต ที่นี่มีอาคารบ้านเรือนเก่า แกแ่ บบ “เต่ียมฉ”ู่ ซ่ึงออกแบบมาให้ใชเ้ ป็นทีอ่ ย่อู าศัย และประกอบธุรกิจค้าขายได้ไปในตัว ในอดีตระหว่าง บ้านกบั ถนนมคี นู �ำ้ เลก็ ๆ คั่นกลางทัง้ สองฝัง่ ลักษณะ เด่นของเต่ียมฉู่ที่ภูเก็ตและปีนังมีลักษณะเหมือนกัน กค็ อื พ้ืนท่ี “หง่อคาข”่ี ซง่ึ เปน็ ทางเดินเชอื่ มตอ่ กันเพอื่ ไว้ใช้หลบฝน เนื่องจากลักษณะภูมิอากาศร้อนช้ืน แถบเส้นศูนย์สูตรทำ�ให้มีฝนตกบ่อยๆ จึงทำ�ทางเดิน เช่ือมต่อกันเพื่อใช้เป็นที่หลบฝน ล่ีกับต้นต่างก็ภูมิใจ ในแนวคดิ ของคนรนุ่ กอ่ นทเ่ี สยี สละพน้ื ทส่ี ว่ นตวั คนละ เลก็ ละนอ้ ย ใหท้ กุ คนไดใ้ ชป้ ระโยชนเ์ ปน็ พน้ื ทสี่ ว่ นรวม ซึง่ ต่างจากปัจจุบัน

ลี่สนใจถ่ายรูปซอยรมณยี ์ ทม่ี บี ้านต้นซอยทาสีชมพู ดสู วยเดน่ ต้นเล่าให้ฟังวา่ แต่กอ่ นซอยนชี้ ื่อว่า “ห่งั อาหล่าย” ซ่งึ เป็น แหล่งทอ่ งเทย่ี วยามราตรี ในสมยั ก่อน ต่อมาพระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐ์ มหศิ รภักดไี ด้เปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น ซอยรมณยี ์ มาจนกระทงั่ ปจั จุบนั รา้ นผ้าสิรริ ตั น์ รา้ นขายของรน้า�ำนเขS้าinจา&กปLeีนeงั ในสมัยกอ่ น ทมี่ ีลวดลายปูนปนั้ สวยงามเป็นเอกลกั ษณ์ อาคารบา้ นเรอื นบนถนนถลางบางส่วนไดร้ บั การอนุรกั ษไ์ วเ้ ปน็ อย่างดี 13 ต้นกับล่ีจึงยังได้เห็นบ้านเก่าสวยๆ ท่ีบางบ้านก็ยังคงอนุรักษ์ไว้ บางบ้านก็ ดดั แปลงมาเป็นร้านอาหาร โรงแรม ทพี่ ัก ทีส่ ำ�คญั ถนนสายนี้ยงั เปน็ ถนนสาย หลักเมอื่ มีงานวฒั นธรรมตา่ งๆ ของจงั หวดั ภูเก็ต

เตี่ยมฉู อยสู บาย ต้นพาลี่เดินจากถนนถลางมาท่ถี นนเยาวราช และขา้ มมาทถ่ี นนกระบ่ี ลมี่ เี ชอื้ ชาตจิ นี จงึ อธบิ ายใหต้ น้ ฟงั ว่าเต่ียมฉู่ เปน็ อาคารหอ้ งแถวแบบรา้ นค้ากงึ่ ท่ีอยู่ อาศัย มาจากภาษาฮกเก้ยี นสองค�ำ คือ เต่ียมหลา่ ย แปลว่า หนา้ รา้ น และฉู่ ท่แี ปลวา่ บ้านแถว เม่ือน�ำ มา รวมกันจงึ เปน็ คำ�ว่า เตยี่ มฉู่ หอ งนอน ห้องนอนหลักจะอยู่ดา้ น หน้าบ้าน มีช่องเพ่อื มอง ลงมาตรงหง่อคาข่ี เพ่อื ดแู ขกท่ีจะเขา้ บ้านได้ หงอ คาข่ี หองรับแขก ไหวเจา หอ้ งรบั แขกเป็นพน้ื ท่ีส่วนหน้า พ้นื ท่ไี หวเ้ จ้าอาจถกู กั้นด้วยบงั ตา อาจดดั แปลงเปน็ หนา้ รา้ น แล้วตง้ั โตะ๊ บูชาเทพเจ้า หรือสำ�นักงานส�ำ หรับท�ำ งาน ตามความเชื่อของชาวจนี ฮกเกี้ยน 14

ในบา้ นมกั มบี อ่ น�ำ้ ไวใ้ ชภ้ ายในบา้ น ตรงกบั พน้ื ทเ่ี ปดิ โลง่ ของหลังคาที่เรียกวา่ ฉ่มิ แจ้ ซึง่ ทำ�ใหแ้ สงและลมพดั เข้ามาให้ ฉมิ่ แจ อากาศภายในบ้านหมนุ เวียนได้ดี ล่ีดูต่ืนเต้นมากจนต้นสงสัยอดถามไม่ได้ว่า ทำ�ไมถึง ตื่นเต้น ในเมื่อท่ีปีนังก็มีลักษณะบ้านเรือนสถาปัตยกรรม เหมือนกัน ล่เี ลยบอกให้ตน้ รู้ว่า เพราะมนั เหมือนกันมากจน ฉนั มคี วามรสู้ กึ เหมอื นบา้ นของฉนั มฝี าแฝด มที อี่ กี ทห่ี นง่ึ เปน็ เหมือนบ้านญาตทิ ่ีมาแล้วอุน่ ใจอยา่ งบอกไม่ถกู คำ�ตอบของ ลที่ �ำ ใหต้ น้ รสู้ กึ อบอนุ่ เหมอื นเจอญาตสิ นทิ เปน็ พเ่ี ปน็ นอ้ งเชน่ เดยี วกนั หองนอนที่สอง อยู่ด้านหลังบา้ น ส�ำ หรบั สมาชกิ ใน ครอบครวั คนอ่นื ๆ ฉม่ิ แจ ครัว พนื้ ท่ีซกั ล้าง อยบู่ ริเวณกลางบา้ น พ้นื ท่ีครัว จะอยทู่ า้ ยสุดมเี ตาปูน เปดิ ชอ่ งหลงั คาจากดา้ นบน ขนาดใหญ่ส�ำ หรบั ทำ�อาหาร เพื่อรองรับนำ�้ ฝน และมีรางนำ้� ในครอบครัว และบรเิ วณ สำ�หรับระบายน้ำ�ออก บางบา้ น ส�ำ หรับรับประทานอาหารรว่ มกัน อาจมีบ่อน�้ำ ในบริเวณนีด้ ว้ ย 15

โรงเรียนจนี บนแผน ดินไทย ต้นชวนลี่ไปเท่ียวโรงเรียน ลี่ก็นึก วา่ เปน็ โรงเรยี นของตน้ แตท่ ไี่ หนไดโ้ รงเรยี น ท่ีต้นพาล่ีไปนี้เป็นโรงเรียนของพ่อกับแม่ ของต้น ท่ีวันน้ีเปล่ียนโฉมกลายมาเป็น พิพิธภณั ฑ์ภูเก็ตไทยหัว ต้นเลยเล่าให้ฟงั วา่ โรงเรียนไทยหัวในอดีต พอ่ กบั แมข่ องตน้ เรยี นหนงั สอื ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาทนี่ ี่ เพราะเปน็ โรงเรยี นทส่ี อนภาษาจนี ควบคู่ไปด้วย ทำ�ให้ทั้งพ่อและแม่ของต้นสามารถสื่อสารภาษาจีนได้บ้าง และท่านท้ังสองยังสอน ค�ำ ง่ายๆ ให้ต้นดว้ ย ปัจจบุ นั โรงเรยี นก็ยงั เปดิ สอน แต่ได้ย้ายไปอยู่ที่ถนนวิชติ สงคราม ครูส่นุ ปิ่น แซ่ซึง ครูใหญ่ผู้วางรากฐาน “สคู่ วามเป็นเลศิ ทง้ั สมอง จิตใจ และร่างกาย” รปู ป้ันคา้ งคาวบนหน้าจั่ว เปน็ ค้างคาวแดงท่กี างปีกออก เปรยี บเสมอื นหนงั สอื ทเี่ ปดิ ออกอา่ น ซง่ึ สอ่ื ความหมายถงึ การทไี่ ดเ้ รยี นหนังสอื เป็นเรอ่ื งทโี่ ชคดีมาก หลงั คาอาคารออกแบบเป็นรปู กระดองเต่าตามความเชื่อ ใครทไี่ ปเย่ยี มชมพิพธิ ภัณฑจ์ ะเหน็ ของชาวจนี ท่ีเชอ่ื ว่าเต่าเปน็ สตั วม์ งคล เพราะมีอายยุ นื ยาว เปียโนเก่าเล่าความหลังที่อดีตครูใหญ่ ผอู้ ยู่อาศัยจะได้มคี วามสขุ ยาวนาน ผู้นี้จะนำ�นักเรียนร้องเพลงภาษาจีน 16 พร้อมกับดดี เปียโนตัวนี้ไปดว้ ย

โถงทางเขา หอ งนทิ รรศการ 1 โถงทางเขา หองจากแดนพญามงั กร ภายในพพิ ธิ ภณั ฑแ์ บง่ พนื้ ทจ่ี ดั แสดงทง้ั หมด ๑๔ หอ้ ง เลา่ ประวตั คิ วามเปน็ มา ตง้ั แตก่ ารเดนิ ทางของคนจนี ทมี่ าตง้ั ถน่ิ ฐานทค่ี าบสมทุ รมลายจู นถงึ ยคุ เหมอื งแรท่ เี่ ปน็ ยคุ ทองชว่ งส�ำ คญั ของภเู กต็ กอ่ นเปลย่ี นโฉมมาเปน็ เมอื งแหง่ การทอ่ งเทยี่ ว และบอก เล่าวิถีชีวิตความเป็นอยู่ภายใต้วัฒนธรรมเปอรานากัน ท่ีผสมผสานกันอย่างลงตัว ของคนภูเก็ต ยังมีการจัดแสดงประวัติความเป็นมาของโรงเรียน ผู้อุปถัมภ์โรงเรียน เป็นต้น หอ งตา ง ๆ ภาพถายนทิ รรศการ หอ งนิทรรศการ 2 บรรยากาศหอ งนทิ รรศการ จากหอ งเรยี นในอดีต ต้นเล่าให้ล่ีฟังว่าสมาชิกในครอบครัวของเขาต้ังแต่ตายายจนมาถึงพ่อแม่ ตา่ งกเ็ คยเปน็ ศษิ ย์เก่าของโรงเรียนนี้ ยายเลา่ วา่ เพอื่ นๆ ร่วมชัน้ ของยายตา่ งกอ็ าศยั อยใู่ น ละแวกโรงเรียนและรจู้ กั กนั ทั้งโรงเรยี นเลย 17

อิ่มจัง อาหารดงั เมอื งภูเกต็ ต้นกับล่ีเดินเท่ียวกันจนถึง 䢵‹ Á ᵧ¡ÇÒ ขนมจนี นำ้ ยา เวลารับประทานอาหารกลางวัน ต้น ¢¹Á¨¹Õ ¹Óé ÂÒ ถามล่ีว่าอยากกินอะไร ล่ีรีบบอก ทนั ทวี า่ อยากกนิ ขนมจนี น�ำ้ ยา เพราะ »ÅÒá˧ ทป่ี ีนงั ไม่มีใหร้ บั ประทาน ขนมจีนน้ำ�ยาท่ีภูเก็ต เป็นอาหารขึ้นชื่อ เพราะมรี สชาตติ า่ งจากขนมจนี ใตท้ วั่ ไป มนี �้ำ ยาปู เปน็ เอกลกั ษณ์ กนิ พรอ้ มกบั ผกั เคยี ง ทดี่ องน�้ำ สม้ สายชูผสมน�ำ้ ตาล และผกั ต้มกับกะทิ พรอ้ มกับ 18 ผักสดท่ีมาเป็นถาดกนั เลยทีเดยี ว

ลี่กับต้นคุยกันเรื่องอาหาร ของกินบางอย่างที่ต้นบอกว่าเป็นอาหารช่ือดัง ของภเู กต็ ลก่ี บ็ อกวา่ สามารถหารบั ประทานทปี่ นี งั ไดเ้ หมอื นกนั เพราะเปน็ อาหารจนี ฮกเกี้ยน ซงึ่ แต่ละอยา่ ง ทั้งต้นและลต่ี า่ งกย็ นื ยนั วา่ อร่อยแน่นอน หม่ผี ดั ฮกเกยี้ น ฮูแช โลบะ เก้ยี มโกย อาโปง เตา สอ ขนมเตา หมอหลาว ตน้ บอกลวี่ า่ เสยี ดายทลี่ ไี่ มไ่ ดม้ าชว่ งเทศกาลถอื ศลี กนิ ผกั ซง่ึ จะเรม่ิ กนั ในแรม ๑ ค�ำ่ จนถงึ ขน้ึ ๙ ค�ำ่ เดอื น ๙ ซงึ่ เวลานนั้ คนทงั้ ภเู กต็ จะแตง่ กายดว้ ยชดุ สขี าว ละเวน้ การกนิ เนอ้ื สตั ว์ อาหาร ทมี่ สี ว่ นผสมของเนอื้ สตั วแ์ ละผกั ทมี่ กี ลน่ิ ฉนุ โดยประเพณนี ชี้ าวภเู กต็ จดั ขนึ้ เปน็ ครงั้ แรกทอี่ �ำ เภอ กระทู้ ต่อมาไดร้ ับความนิยมจึงจดั สบื ตอ่ กนั มาเป็นเวลานบั ร้อยปี โดยมีหลักว่า ไมเ่ อาชวี ติ ของ สัตว์ท้ังหลายมาต่อเติม บำ�รุงเล้ียงชีวิตของตน ไม่เอาเลือดของสัตว์ท้ังหลายมาเป็นเลือดของ ตนและไม่เอาเน้ือของสัตว์ ท้ังหลายมาเปน็ เน้อื ของตน การแหเจาชวงถอื ศลี กินเจ พอรบั ประทานเสรจ็ ทั้งคกู่ ว็ างแผน ออกไปเดนิ เท่ยี วตอ่ ทันที 19

บานคหบดี บานเศรษฐมี เี ร่อื งเลา ต้นบอกว่านอกจากบ้านแบบ เต่ียมฉู่ ยงั มสี ถาปตั ยกรรมอีกแบบเรยี ก ว่า “องั่ ม้อหลาว” มาจากคำ�ว่า “อง่ั มอ้ ” ทแี่ ปลวา่ ชาวตา่ งชาติ สว่ นค�ำ วา่ “หลาว” แปลว่า ตึก เม่อื รวมกนั จงึ หมายถึงบ้าน ท่สี รา้ งแบบฝรั่งในสมัยนนั้ บา นชนิ ประชา ตน้ พาล่เี ดนิ ไปยังบา้ นชินประชา กระเบ้อื งปพู ื้นท่นี ำเขา กระจกรูปวงรีมกั นำมาประดับประตู นายเหมอื งตน้ ตระกลู ตณั ฑวณชิ สร้าง มาจากยโุ รป ตามความเชื่อหนึง่ โดยช่างชาวจนี จากปีนัง ลเ่ี ลา่ ใหต้ น้ ฟงั ว่า ทป่ี ีนังก็ยงั มบี ้าน แบบองั่ มอ้ หลาว โดยสงั่ ผานจากปน ัง ในมงคล ๘ ประการของชาวจนี อยหู่ ลายหลัง และยงั ไดร้ ับการอนุรักษ์ ไวเ้ ปน็ อย่างดี ฉิ่มแจ รปู ถายดานหนาของบาน หนา ตางลวดลายดอกไมม คี วามหมาย 20 ซึ่งไมไ ดใ ชเปนทาง เชน ดอกพดุ ตาล หมายถงึ ความรำ่ รวย เขาออกแลวในปจจุบัน ดอกบวั หมายถึง ความปรองดอง

คยุ กบั ปาแดง ตน้ พาลีไ่ ปสวัสดปี ้าแดง ทายาทรุ่นทสี่ ที่ ี่ดูแลบา้ น ชินประชา ปา้ แดงแต่งชุดบ้าบ๋า-ยา่ หยาที่สวยงาม เล่าให้ ฟงั ถงึ เรอื่ งราวความเปน็ มาของบา้ น และตระกลู ตณั ฑวณชิ ท่ตี ้นตระกูลเดนิ ทางมาจากมณฑลฮกเกี้ยน ประเทศจีน ปา้ แดงใจดีชี้ชวนให้ดโู ฉนดท่ีดนิ ปา้ ยบรรพบุรษุ เล่าเร่ือง สนุกๆ อีกมากมายและยังบอกวา่ ที่ภเู กต็ ยังมบี า้ นแบบ อง่ั มอ้ หลาว อยอู่ กี หลายหลงั เชน่ บา้ นของตระกลู หงสห์ ยก บา้ นพระพทิ ักษช์ ินประชา บานหงษหยก สรา งโดยหลวงอนภุ าษภูเกต็ การ ในป พ.ศ. ๒๔๗๓ บา นหลวงอำนาจนรารักษ สรา งโดยหลวงอำนาจนรารกั ษ ตน ตระกูลตัณฑเวส บานพระพทิ ักษชินประชา ตน้ พาล่มี าที่บา้ นพระพทิ ักษ์ชินประชาทีป่ รับปรงุ สวยงามเป็นร้านอาหารชอ่ื ดงั Blue Elephant สาขาภูเก็ต ซ่งึ เป็นสถาปตั กรรมแบบอ่งั ม้อหลาวท่นี ่าสนใจแห่งหนึง่ 21

สะพานหนิ แผน ดนิ ถกู ถม สะพานอยไู หน???? ตกตอนเย็นต้นชวนล่ีไปเที่ยวทะเล ล่ีดีใจ มากไม่คดิ วา่ จะได้มาเทยี่ วทะเลทภี่ เู ก็ต แต่ตน้ ก็บอก ว่าทะเลที่นี่ไม่สวยเหมือนทะเลนอกเมืองนะ แต่ตัว เมืองภูเก็ตก็ติดทะเลเหมือนกัน แถมสร้างเป็นสวน สาธารณะสะพานหนิ ให้ประชาชนมาออกกำ�ลงั กาย และยงั เป็นสถานทีจ่ ัดงานสำ�คญั ตา่ งๆ ของจังหวดั คราวนี้แหละจะได้ไปสูดอากาศหายใจให้เต็มปอด กันเลย ในอดีตพ้นื ทที่ ะเลแถบนี้มีการท�ำ เหมืองแร่ ลูกเชอ ทะเล โดยการทำ�เหมืองแร่ในทะเลจะต้องอาศัย เรือขุด ขุดดินขึ้นมาโดยใช้ลูกเชอซึ่งจะตักดินที่มี แรข่ ้นึ มาจากใต้ทะเล แลว้ ฉีดน้ำ�ล้าง จนแร่กบั ดนิ แยกออกจากกนั ปจั จบุ นั ไมม่ กี ารสมั ปทานการขดุ แร่ในทะเลแล้ว เรือขุดแร่และลูกเชอจึงเป็นเพียง เร่อื งเล่าในอดีตของชาวภูเก็ต 22 เรือขุดแรใ นอดีต

จดุ ชมวิว ศาลเจา กว้ิ เทยี้ นเกง ความเปน มาสะพานหิน ลีถ่ ามตน้ ว่ามาเดินเทยี่ วสะพานหินต้ังนานแลว้ แตท่ ำ�ไมยังไมเ่ ห็นสะพานทท่ี ำ�ดว้ ยหนิ สกั ที มนั อยตู่ รงไหน ต้นก็บอกว่าเขากต็ อบไม่ไดเ้ หมอื นกัน เพราะตงั้ แตเ่ ล็กจนโต มาเท่ยี วท่ีนี่ ก็ไม่เคยเหน็ สะพานสักครง้ั เดียว เหน็ แตอ่ นุสาวรียห์ ลกั ๖๐ ปี ท่ีเด็กๆ ชอบไปนง่ั เลน่ เปน็ กระดานลื่น เล่นกันมาตงั้ แต่รุน่ พอ่ เชยี วนะ แต่ทแี่ นๆ่ ท่นี ี่มีเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติปา่ ชายเลน เลก็ ๆดว้ ย ตน้ บอกลว่ี า่ แตก่ อ่ นสวนสาธารณะแหง่ นไ้ี มไ่ ดม้ พี น้ื ทกี่ วา้ งขวางขนาดน้ี ทม่ี ขี นาดใหญ่ มากขึน้ เน่ืองจากการถมทอี่ อกไปจนเหมอื นแผ่นดินงอกขึ้นในอา่ วทุ่งคาอยา่ งทีเ่ หน็ ในปจั จบุ นั ต้นพาลี่เดินชมไปจนถึงศาลเจ้าก้ิวเที้ยนเก้งท่ีคนภูเก็ตเคารพนับถือ เพราะเชื่อกันว่า พระนางกวิ้ เทยี นเลยี่ นลอื้ ทเ่ี ปน็ องคป์ ระธานในศาลเจา้ จะปกปอ้ งคมุ้ ครองชาวภเู กต็ ใหร้ อดพน้ จากภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ และในชว่ งพธิ ถี อื ศลี กนิ ผกั ศาลเจา้ แหง่ นย้ี งั ใชเ้ ปน็ สถานทป่ี ระกอบพธิ ี รบั พระและสง่ พระดว้ ย 23

ราตรนี ีท้ ่ีภเู ก็ต จากวิวริมทะเลยามเย็น ต้นพาล่ีย้อน กลับเข้ามาในเมืองเพ่ือมาชมวิวทิวทัศน์ภูเก็ต ยามค�ำ่ คนื ตน้ บอกวา่ กลางเมอื งภเู กต็ มภี เู ขาชอื่ วา่ เขารัง ทส่ี ามารถรับลมทะเลเยน็ ๆ และมองเหน็ แสงไฟของตวั เมืองภเู กต็ ได้รอบทศิ ทาง ล่ีมหี รอื จะพลาด อยากไปเทีย่ วชมไฟสวยๆ เขาเลยรีบตามตน้ ไปทันที อนสุ าวรยี พระยารษั ฎา ในอดีตเขารงั มชี ือ่ วา่ เขาหลงั เน่ืองจากอยู่ด้านหลังตัวเมืองภูเก็ตทาง ด้านตะวันตกเฉียงเหนือหากมองจาก ทะเล เปรียบเสมือนหลังบ้านของภูเก็ต ส่วนหน้าบ้านของภูเก็ตคือบริเวณตัว เมืองด้านสะพานหิน ที่นเ่ี รียกว่าสวนสาธารณะเขารังเปน็ ที่ตั้งของอนุสาวรียพ์ ระยารัษฎาณปุ ระดิษฐ์ อดีตสมหุ เทศาภบิ าลมณฑลภเู กต็ ซึง่ เปน็ ทเี่ คารพของชาวภูเกต็ เพราะนำ�ความเจริญรุ่งเรอื ง มาส่ภู เู ก็ตมากมาย ต้นบอกว่าเราสามารถขับรถหรือเดนิ ออกกำ�ลังกายข้นึ ไปชมวิวบนยอดเขาได้ 24

หลงั จากชมววิ เขารัง ทอ้ งของทัง้ ต้นและลี่ก็เร่ิมท�ำ งานส่งเสียงร้องจ๊อกๆ อกี คร้ัง จนทง้ั คคู่ ดิ ว่าถงึ เวลาเติมพลังกนั ก่อนแล้วคอ่ ยเที่ยวต่อ ท่ภี ูเกต็ มีอาหารยามคำ่�คืนทอ่ี ร่อย ไม่แพ้ตอนกลางวนั เช่น โอต้าว มลี ักษณะเหมอื นหอยทอดแตผ่ ดั ให้เละมากกว่า หรือขนม ทีก่ ินแล้วชื่นใจอย่างโอว้ เอ๋วทใ่ี ชเ้ มือกว้นุ ของเมล็ดโอว้ เอว๋ ผสมกบั กลว้ ยน�้ำ ว้า ยจี นได้เปน็ วุ้นสขี าว กส็ ามารถดบั ร้อนและผ่อนคลายจากทเ่ี ที่ยวกันมาทั้งวัน นอกจากนีเ้ รายงั ไดเ้ ห็น โรตใี นเมอื งภูเกต็ ทขี่ ้นึ ชื่อไมแ่ พ้ทอ่ี ืน่ เลยนะ โอตา ว โอว เอว โรตี นำ้ ชบุ หยำ น้ำพรกิ กุงเสียบ ภเู กต็ เปน็ เมอื งทไ่ี มเ่ คยหลบั ใหล โดยเฉพาะของกนิ อาหารตอนเชา้ กบั ตอนกลางคนื แตกต่างกันมาก โดยเฉพาะที่ตลาดโตร้ ุง่ เราจะไดร้ ับประทานอาหารร้อนๆ สดๆ ใหมๆ่ ทป่ี รงุ กนั เสิรฟ์ กันทันที และยังมอี าหารพ้ืนเมอื งนา่ รบั ประทานด้วยนะ 25

หาดทรายสีทอง หาดทรายแกว N ต้นถามลี่ก่อนแยกทางกันว่าพรุ่งน้ีลี่ หาดในยาง สนภาูเกมต็บนิ จะไปเทีย่ วไหน ลีบ่ อกวา่ ยังไม่รู้เหมืิอนกนั ตน้ หาดบางเทา เลยอาสาว่า ถ้าพรุ่งน้ีเขากับครอบครัวจะพาลี่ ไปเที่ยวชายหาดดีไหม ล่ีรู้ดีว่าชายหาดสวยๆ หาดปาตอง ตภวั เเู มกต็อื ง อา วมะขาม ของภูเก็ตอยู่นอกเมืองไกลออกไป เขาจึงยินดี และนัดเจอครอบครัวของตน้ ทีห่ น้าโรงแรม หาดกะรน ฉอลาอวง แหลมพันวา หาดกะตะ ตอนเช้าต้นมารบั ลพี่ ร้อมกบั คุณพ่อ หาดในหาน คุณแม่ พ่อกับแม่ของต้นทักทายลี่เป็นภาษา จนี ท�ำ ใหล้ รี่ สู้ กึ อบอนุ่ มาก พอ่ บอกวา่ จะพาไป พรแหหมลเมทพ เท่ียวสามชายหาดชือ่ ดังของภเู กต็ คือ หาดกะตะ กะรน และหาดป่าตอง ซึ่งเป็น หาดทย่ี าวและมนี กั ทอ่ งเทยี่ วมาพกั ผอ่ นมาก ทีส่ ดุ เลย 26

พอ่ ขบั รถขนึ้ เขามาจนถงึ จดุ ชมววิ สามอา่ วซงึ่ สามารถมอง เห็นวิวหาดกะตะน้อย กะตะ กะรน เป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว ที่สำ�คัญจะเห็นโทนสีของน้ำ� ทะเลตงั้ แตเ่ ขยี วออ่ นบรเิ วณใกล้ ชายหาด และเปน็ สนี �้ำ เงนิ เขม้ ขนึ้ เรอ่ื ยๆท�ำ เอาลถี่ า่ ยรปู ไวไ้ มห่ ยดุ เลย พ่อเลา่ ใหล้ ฟ่ี ังวา่ เมอื่ คร้งั ท่ีภูเกต็ เจอกับ เTสSEนTUSVNทEUAARVาNCMAOAงURICMหUA2OUIนTT0UAIEีคO0TTลINEOmืน่ Nย. ักษ คลน่ื ยกั ษส์ นึ ามิ ทน่ี ม่ี ผี คู้ นเสยี ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ เสียหายมากมาย โชคดีที่ครอบครัวต้นอาศัยใน ปายเตอื นสึนามิ เมือง เลยไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์นั้น ทำ�ให้ทุกวันน้ี มีการระวังและเตือนภัยกันเป็น อย่างดี บรเิ วณชายหาดจะมีป้ายบอกเสน้ ทาง หนีคลื่นยักษ์พรอ้ มระยะทางเสมอ พอ่ บอกวา่ เวลาไปเท่ียวไหนก็ต้องเปน็ คนชา่ งสังเกตด้วย พ่อขับรถมาแวะที่แหลม พรหมเทพชมพระอาทติ ยต์ ก เพราะท่ี นเ่ี ปน็ จดุ ชมพระอาทติ ยต์ กทสี่ วยงาม ท่ีสุดในจังหวัดภูเก็ต มีนักท่องเที่ยว มากมายมาเทย่ี วชมและถา่ ยรปู กนั ลี่ เองก็อยากชมพระอาทิตย์ตก แตแ่ ม่ บอกว่าอยากพาล่ีไปสถานที่อีกแห่ง หน่ึงท่ีมีความพิเศษมาก ค่อยเอาไว้ มาชมพระอาทติ ยก์ ันใหม่ คราวหนา้ นะล่ี ตน้ บอก 27

วัดฉลอง ครองศรทั ธาชาวภูเก็ต ตน้ นกึ วา่ พอ่ กบั แมจ่ ะพาลมี่ าเทยี่ ว ทไี่ หนที่บอกว่าเป็นทที่ ีพ่ ิเศษ สุดท้ายพ่อก็ ขับรถมาที่วัดฉลอง หรือวัดไชยธาราราม ซง่ึ เปน็ วดั ชอ่ื ดงั ทป่ี ระชาชนในจงั หวดั ภเู กต็ และใกลเ้ คยี งให้ความเคารพนบั ถือมาก แมบ่ อกวา่ ใหล้ มี่ าไหวพ้ ระ จะไดม้ บี ญุ รกั ษา วัดฉลอง เจดยี ว ัดฉลอง วดั ฉลองหรอื วดั ไชยธาราราม สรา้ งขน้ึ ในสมยั ใด ไมป่ รากฏแนช่ ดั แตม่ บี นั ทกึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ ถงึ ความ ศักด์สิ ทิ ธขิ์ องหลวงพ่อแชม่ แห่งวดั ฉลอง ทา่ นรกั ษา ผู้ปว่ ยด้วยโรคกระดูกตา่ งๆ ครง้ั หนึง่ บารมีของหลวงพอ่ แชม่ ยงั ท�ำ ใหว้ ดั และประชาชนทมี่ าหลบภยั ปลอดภยั จาก เหตุการณ์องั้ ยี่ในจงั หวัดภเู ก็ตอกี ด้วย หลวงพอ แชม หลวงพอ ชวง เจาอาวาสตอ จาก หลวงพอ เกลื้อมผสู บื ทอดวชิ า หลวงพอ แชม ผเู ปย มไปดวย ตอกระดกู และวิปสสนาธุระ อดตี เจา อาวาส ซ่ึงเปน ท่ีเคารพ พรหมวหิ าร ๔ ของคนภเู กต็ เคยมวี ีรกรรมปราบอง้ั ย่ี สืบตอ มา 28

แม่เห็นล่ีเสี่ยงเซียมซีท่ีวัด แม่เลยถามลี่ว่าให้ช่วยแปลใบ เซียมซีให้ไหม ล่ดี ใี จมากเพราะเขาอา่ นภาษาไทยไม่ได้ แม่ของตน้ จงึ บอกวา่ เซยี มซใี บนด้ี ที กุ อยา่ งและทสี่ �ำ คญั จะไดเ้ จอกบั สงิ่ ทสี่ ญู หายไป แมถ่ ามวา่ ลที่ ำ�อะไรหายหรอื เปล่า ลก่ี บ็ อกวา่ ไม่ได้ท�ำ อะไรหายไป แมเ่ ลยบอกวา่ ไมว่ า่ จะเป็นอะไรเดีย๋ วก็คงเจอเอง ทกุ คนไปกราบพระบรมสารรี กิ ธาตทุ ชี่ าวศรลี งั กาไดม้ อบใหว้ ดั ครง้ั หนงึ่ เคยอยูใ่ นเจดีย์ของเมืองอนุราชปรุ ะ เมืองหลวงเดิมของศรลี งั กา มอี ายุกวา่ ๒,๒๐๐ ปี มาแลว้ ลอี่ ธษิ ฐานอยนู่ านมาก จนตน้ ตอ้ งถามวา่ ลอ่ี ธษิ ฐานอะไร ลเี่ ลยบอกวา่ เขาอยากเจอกบั ญาตขิ อง เขาทภ่ี เู กต็ ทยี่ ายเลา่ ใหฟ้ งั ตน้ เลยแนะน�ำ ใหไ้ ปถามพอ่ กบั แม่ เพราะทง้ั สองคนเปน็ คนกวา้ งขวาง อาจจะรจู้ ักกไ็ ด้ เมือ่ ลี่ไปถามแม่ว่ารจู้ กั คนแซ่น้ีหรือไม่ แมก่ ็ดงึ ตวั ล่เี ขา้ มากอดทนั ที และบอกว่า แมเ่ องนแี่ หละทเ่ี ปน็ คนแซน่ กี้ อ่ นจะเปลยี่ นนามสกลุ มาใชแ้ ซข่ องพอ่ ลดี่ ใี จมากทเี่ ขาเจอญาติ ของ ยายทย่ี ายเคยเล่าให้ฟัง หนุม่ นอ้ ยสองคนตา่ งก็ดีใจท่นี อกจาก จะได้เพอื่ นใหมเ่ ขาสองคนยังเป็นญาติห่างๆ กันอกี ดว้ ย ลี่บอกครอบครวั ต้นว่าใหไ้ ปเทย่ี ว ปีนงั บา้ ง เขาและครอบครัวจะพาไปเท่ียว ตน้ ก็บอกใหล้ ่ีกลบั มาเยี่ยมญาตอิ ย่างเขาอกี แลว้ จะพาไปดพู ระอาทติ ยต์ กทแ่ี หลมพรหมเทพ ดว้ ยกนั 29

ผเู้ ขียนเรือ่ ง ผูว้ าดภาพประกอบ ชยั ฤทธ์ิ ศรีโรจนฤ์ ทธ์ิ ชมพนู ุท สามารถ เรียนจบจากโรงเรยี นวัดสทุ ธวิ ราราม เรียนจบจากปริญาตรี และปริญญาโท สาขาศิลปศึกษา ก่อนมาตอ่ สาขาวรรณกรรมสำ�หรับเด็ก คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ปจั จุบนั เป็น มศว ประสานมิตร นักวาดภาพประกอบหนงั สอื ส�ำ หรบั เด็กและเปน็ คณุ ปัจจุบนั เป็นบรรณาธกิ าร สำ�นกั พิมพ์ Hello Kids แม่ลูกหน่งึ ในเครือ บริษัท แปลน ฟอร์ คิดส์ จ�ำ กัด เปน็ อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยต่างๆ โครงการสรา้ งสรรคส์ อื่ การเรียนรสู้ าระทอ้ งถิ่น จังหวดั ภูเกต็ และจังหวดั กระบี่ 30