Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเลี้ยงปลาบู่

การเพาะเลี้ยงปลาบู่

Description: การเพาะเลี้ยงปลาบู่.

Search

Read the Text Version

การเพาะเล้ยี งปลาบู กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ รูปรางลักษณะ การแพรกระจาย แหลง ทอ่ี ยอู าศยั การสืบพันธุ การเพาะเลี้ยงปลาบู การอนุบาล รูปแบบการเลี้ยงปลาบู โรคพยาธิและการปอ งกนั การรักษาปลาเปนโรค การรวบรวมลูกปลา การตลาด ราคาและผลตอบแทน

การเพาะเลี้ยงปลาบู 2 การขนสงลําเลยี ง การใชประโยชน การแปรรูปปลาบู คําแนะนํา การปองกันสัตวนํ้าจากภัยธรรมชาติ การเพาะเลย้ี งปลาบู ปลาบู หรอื บทู ราย บจู าก บทู อง บเู ออ้ื ย บูสิงโต มชี อ่ื สามญั วา Sand Gody, Marbled Sleepy Gody และชื่อวิทยาศาสตร Oxyleotris mamorata Bleeker ปลาบเู ปน ปลาทม่ี คี วามสําคัญทาง เศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ซึง่ ผลผลติ สวนใหญถูกสง ออกไปจําหนายตา งประเทศสามารถทํารายไดเ ขา ประเทศ แตล ะปม มี ลู คา หลายสบิ ลา นบาง ไดแก ฮอ งกง สงิ คโปร มาเลเซยี ฯลฯ เนอ่ื งจากความตอ งการปลา บูท รายจากตา งประเทศมีเพิ่มขึ้นทุกปเ ปน ผลใหปลาบทู รายมีราคาแพงขน้ึ ในอดตี การเลย้ี งปลาบทู ราย นยิ มเลย้ี งกนั มาในกระชงั แถบลมุ น้ําและลําน้าํ สาขาบรเิ วณภาคกลางตง้ั แตจ งั หวดั นครสวรรค อทุ ยั ธานี เรอ่ื ยมาจนถงึ จงั หวดั ปทุมธานี โดยมจี งั หวดั นครสวรรค เปนแหลงเลี้ยงสง ออกทใ่ี หญท ่สี ดุ สําหรับ ปญ หาการเลย้ี งปลาบทู รายขณะนม้ี ี 3 ประการ คอื 1. พันธปุ ลาทีน่ บั วนั จะหายาก ไมเพียงพอตอความตองการ 2. ผเู ลย้ี งยงั ขาดความรแู ละเทคโนโลยใี หม ๆ ในการเพาะเลย้ี ง 3. สภาพสง่ิ แวดลอ มเปลย่ี นแปลง ไมเ ออ้ื อํานวยตอ การเพาะเลย้ี งปลา รปู รา งลกั ษณะ ปลาบทู รายมลี กั ษณะลําตวั กลมยาว ความลกึ ลําตวั ประมาณ 1 ใน 3.5 ของความยาวมาตรฐาน ของลาํ ตวั สวนหัวยาว 1 ใน 2.8 ของความยาวมาตรฐานของลําตวั หวั คอ นขา งโต และดา นบนของหัว แบนราบ หัวมีจุดสีดําประปราย ปากกวางใหญเปด ทางดา นบนตอนมมุ ปากเฉยี งลงและยาวถงึ ระดบั กง่ึ กลางตา ขากรรไกรลา งยน่ื ยาวกวา ขากรรไกรบน ทง้ั ขากรรไกรบนและลา งมฟี น แหลมซเ่ี ลก็ ๆ ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 3 ลักษณะฟนเปนแบบฟนแถวเดียว ลกู ตาลกั ษณะโปนกลมอยบู นหวั ถดั จากรมิ ฝป ากบนเลก็ นอ ย รจู มกู คู หนา เปน หลอดยน่ื ขน้ึ มาอยตู ดิ กบั รอ งทแ่ี บง จะงอยปากกบั รมิ ฝป ากบน ครีบหูและครีบหาง มลี กั ษณะ กลมมนใหญ มลี วดลายดําสลบั ขาว มกี า นครบี ออ นอยู 15-16 กา น ครบี หลงั 2 ครบี ครบี อนั หนา สน้ั เปน หนาม 6 กา น เปน กา นครบี สน้ั และเปน หนาม ครบี อนั หลงั เปน กา นครบี ออ น 11 กา น ครบี ทอ งหรอื ครบี อกอยแู นวเดยี วกบั ครบี หแู ละมกี า นครบี ออ น 5 กา น ครบี อกของปลาบไู น Subfamily Eleotrinae แยกจากกันอยางสมบูรณ ซง่ึ แตกตา งจากปลาบชู นดิ อน่ื ในครอบครวั Gobiidae ซง่ึ มคี รบี ทอ งตดิ กนั เปน รปู จาน ครบี กน อยใู นแนวเดยี วกบั ครบี หลงั อนั ทส่ี อง มกี า นครบี ออ น 7 กา น และมอี ยู ในแนวเดยี วกบั ครบี หลงั อนั ทส่ี อง และมคี วามยาวครบี เทา กบั ครบี หลงั อนั ทส่ี อง สว นของครบี มลี าย สนี า้ํ ตาลดาํ แดงสลบั ขาวเปน แถบ ๆ และมจี ดุ สดี ํากระจายอยูทั่วไป ลําตวั มเี กลด็ แบบหนามคลา ยซหี วี และมแี ถบสดี ําขวางลําตวั 4 แถบ ดา นทอ งมสี อี อ น สตี วั ของปลาบทู รายแตกตา งกนั ไปตามถน่ิ ทอ่ี ยู อาศยั ปลาบทู รายจดั เปน ปลาขนาดกลางและเปน ปลาชนดิ เดยี วในครอบครวั นท้ี ่ีมขี นาดใหญท ส่ี ดุ ปกติ มขี นาดประมาณ 30 เซนตเิ มตร เคยพบยาวถึง 60 เซนตเิ มตร การแพรกระจาย ปลาบทู ราย เปน ปลาทเ่ี ราสามารถพบไดท ว่ั ไปในน้ําจดื และน้ํากรอ ยเลก็ นอ ย ในหลายประเทศ โดยเฉพาะในแถบเอเซยี ตะวนั ออกเฉยี งใตแ ละหมเู กาะมลายู ไดแก บอรเ นยี ว เกาะสมุ าตรา อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี จีน ไทย สําหรับในประเทศไทยพบปลาบูขยายพันธุทั่วไปตามแมนํ้าลําคลอง และสาขาทว่ั ทกุ ภาคตามหนองบงึ และอา งเกบ็ น้ําตา ง ๆ เชน แมน ้ําเจาพระยา ปากน้ําโพ บงึ บอระเพด็ แมน า้ํ ลพบรุ ี แมน ้ําทาจีน อา งเกบ็ น้ําเขอ่ื นอบุ ลรตั น จงั หวดั ขอนแกน อา งเกบ็ น้ํา ลาํ ตะคอง จงั หวดั นครราชสมี า อา งเกบ็ น้ําเขอ่ื นสริ กิ ติ  จงั หวดั อตุ รดติ ถ อา งเกบ็ น้ําบางพระ จังหวัด ชลบุรี อา งเกบ็ น้ําเขอ่ื นบางลาง จังหวัดยะลา จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก และ ทะเลนอย จังหวดั สงขลา แหลง ทอ่ี ยอู าศยั ปลาบทู รายเปน ปลากนิ เนอ้ื ทช่ี อบอยนู ง่ิ ๆ ตามดนิ ออ น พน้ื ทรายและหลบซอ นตามกอ นหนิ ตอ ไม เสาไม รากหญาหนา ๆ เพอ่ื รอใหเ หยอ่ื ผา นมาแลว เขา โจมตที นั ทดี ว ยความเรว็ ปลาบูทรายพบทั้ง ในนาํ้ จดื และน้ํากรอ ยเลก็ นอ ย ลกู ปลาบทู รายชอบซอ นตวั บรเิ วณรากพชื พนั ธไุ มน ้ํา พวกรากจอก ราก ผัก การสบื พนั ธุ 1. ความแตกตา งลกั ษณะเพศ การสงั เกตลกั ษณะความแตกตา งระหวา งปลาบเู พศผแู ละ เพศเมยี ดูไดจากอวัยวะเพศที่อยูใกลรูทวาร ปลาเพศผมู อี วยั วะเพศเปน แผน เนอ้ื ขนาดเลก็ สามเหลย่ี ม ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 4 ปลายแหลม สว นตวั เมยี มอี วยั วะเพศเปน แผน เนอ้ื ขนาดใหญแ ละปา นตอนปลายไมแ หลมแตเ ปน รขู นาด ใหญลักษณะคลายถวยนํ้าชาขนาดเลก็ เมอ่ื พรอ มผสมพนั ธปุ ลายอวยั วะเพศทง้ั ตวั ผแู ละเมยี มสี แี ดง บาง ครง้ั เหน็ เสน เลอื ดฝอยสแี ดงทม่ี าเลย้ี งอวยั วะเพศไดช ดั เจน 2. การเจรญิ พนั ธแุ ละฤดกู าลวางไข ปลาบโู ตเตม็ วยั เมอ่ื มคี วามยาวประมาณ 30 เซนตเิ มตร ขนึ้ ไป ปลาบทู ส่ี ามารถขยายพนั ธไุ ดม ขี นาดตง้ั แต 8 เซนตเิ มตรขน้ึ ไป สําหรบั ปลาเพศเมยี ทม่ี รี งั ไข แกเ ตม็ ทม่ี ขี นาดความยาวสดุ ปลายหาง 12.5 เซนตเิ มตร น้าํ หนกั 34 กรัม และเพศผมู ถี งุ น้ําเชื้อ แกเ ตม็ ทม่ี คี วามยาว 14.5 เซนตเิ มตร น้าํ หนกั 44 กรัม ปลาบจู ะเรม่ิ สรา งอวยั วะเพศภายในตง้ั แต เดอื นมกราคมซง่ึ ในระยะแรกยงั ไมส ามารถแยกออกไดว า เปน รงั ไขห รอื ถงุ น้าํ เชื้อ เมอ่ื ถงึ เดอื นมนี าคมจงึ จะแยกออกไดโ ดยรงั ไขจ ะมจี ดุ สขี าวเลก็ ๆ แลว เจรญิ เปน เมด็ ไขต อ ไป แตถ า เปน ถงุ น้ําเชื้อก็จะเปน สขี าวทบึ ขึ้นจากเดมิ รงั ไขท แ่ี กจ ดั มสี เี หลอื งเขม มเี มด็ ไขอ ยเู ตม็ และมเี สน เลอื ดมาหลอ เลย้ี ง สว นถงุ น้ํา เชื้อที่แกจัดจะมีลักษณะเปนลายมีรอยหยักเล็กนอยและมีสีขาวทึบ ปลาบสู ามารถวางไขไ ดเ กอื บตลอดทง้ั ปย กเวน ในชว งฤดหู นาว ตลอดฤดกู าลการวางไขป ลาบู สามารถวางไขไ ดป ระมาณ 3 ครง้ั ตอ ไป 3. พฤตกิ รรมการผสมพนั ธแุ ละวางไข การผสมพนั ธปุ ลาบใู นธรรมชาตพิ บวา ปลาบูตัวผูจะ หาสถานทใ่ี นการวางไข ไดแก ตอไม เสาไม ทางมะพรา ว ฯลฯ แลวทําความสะอาดวสั ดดุ งั กลา ว หลงั จากนน้ั ตวั ผจู ะเขา เกย้ี วพาราสพี รอ มไลต อ นตวั เมยี ใหไ ปทร่ี งั ทเ่ี ตรยี มไวเ พอ่ื การวางไข การผสมพนั ธุ ปลาบเู รม่ิ ตง้ั แตต อนหวั ค่ําจนถงึ ตอนเชา มดื โดยผสมพันธุแบบภายนอกตัวปลา คอื ตวั เมยี ปลอ ยไข ออกมาตดิ กบั วสั ดแุ ลว ตวั ผปู ลอ ยน้ําเชอ้ื ออกมาผสม โดยทไ่ี ขป ลาบจู ะตดิ กบั ตอไม เสาไมห รอื วสั ดอุ น่ื ๆ ทป่ี ลาบสู ามารถวางไขต ดิ และตวั ผจู ะเฝาดแู ลไข โดยใชครีบหูหรือครีบหางพัดโบกไปมา ไขที่ไดร บั การ ผสมจะฟก เปน ตวั ภายในเวลา 28 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25-27 องศาเซลเซยี ส 4. ความดกของไข ปลาบเู ปน ปลาทม่ี รี งั ไขแ บบ 2 พู ปลาบทู ม่ี ขี นาดความยาว 15.2 เซนตเิ มตร มนี ้าํ หนกั รงั ไข 1.6 กรัม และมีจํานวนไขป ระมาณ 6,800 ฟอง และปลาทม่ี คี วามยาว 21.5 เซนตเิ มตร มนี ้าํ หนกั รงั ไข 4.7 กรัม คดิ เปน ไขป ระมาณ 36,200 ฟอง ววิ ฒั นาการของไขป ลาบู ไขท ย่ี งั ไมไ ดร บั การผสมมเี สน ผา ศนู ยก ลางประมาณ 0.83 มลิ ลเิ มตร ความยาวของไขป ระมาณ 1.67 มลิ ลเิ มตรเมอ่ื ยดึ ตดิ กบั วสั ดลุ กู ปลาบใู ชเ วลาฟก ออกเปน ตวั หลดุ ออกจาก เปลอื กไขจ มลงสพู น้ื ประมาณ 32 ชั่วโมง ถึง 5 วัน แลว ลอยไปตามกระแสน้ํา ลกู ปลาอายุ 2 วนั หลงั ฟก ลกู ปลาเรม่ิ กนิ อาหาร เนอ่ื งจากถงุ ไขแ ดงยบุ หมดและเหน็ ปากชดั เจน มกี ารวา ยน้ําในลกั ษณะแนวดง่ิ คอื พงุ ขน้ึ และจมลง มคี วามยาวเฉลย่ี 4 มลิ ลเิ มตร อายุประมาณ 7 วัน ลกู ปลามคี วามยาวประมาณ 4.6 มลิ ลเิ มตร มลี ายสดี ําเขม ทบ่ี รเิ วณสว น ทอ งดา นลา งไปจนถงึ โคนครบี หางตอนลา ง อายปุ ระมาณ 15 วัน ลกู ปลามคี วามยาวเพม่ิ ขน้ึ เปน 5.05 มลิ ลเิ มตร อายปุ ระมาณ 20 วัน ลกู ปลามคี วามยาวเพม่ิ ขน้ึ เปน 7.6 มลิ ลเิ มตร อายุประมาณ 30 วัน ลกู ปลามคี วามยาวประมาณ 8-10 มลิ ลเิ มตร เกดิ ลายพาดขวางลําตวั คลายพอแม สว นเนอ้ื ใสไมม ลี ายและสามารถมองเหน็ อวยั วะภายใน อายปุ ระมาณ 37-45 วัน ลกู ปลามลี กั ษณะคลา ยพอ แมเ พยี งแตม ขี นาดเลก็ สว นทเ่ี ปน เนอ้ื ใส เปลย่ี นเปน ขนุ สนี ้ําตาลเหลอื ง ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 5 การเพาะเลย้ี งปลาบู เดมิ การเลย้ี งปลาบใู ชว ธิ ชี อ นลกู ปลาตามรากหญา รากพนั ธไุ มน ้ําในลําคลอง หนองบึง ใน ปจ จบุ นั เนอ่ื งจากสภาพแวดลอ มเสอ่ื มโทรม การใชเ ครอ่ื งมอื จบั ปลาผดิ ประเภทและการทําการประมง เกนิ ศักยภาพ ทําใหล กู ปลาในธรรมชาตมิ ปี รมิ าณลดลง แตเ นอ่ื งจากความตอ งการปลาบเู พอ่ื การ บรโิ ภคและการสง ออกมจี ํานวนสงู ยง่ิ ๆ ขน้ึ จึงทําใหม กี ารขยายตวั ดา นการเลย้ี งปลาบู ซง่ึ กรมประมงได ประสบความสําเรจ็ ในการเพาะพนั ธปุ ลาบู แตก ย็ งั ไมเ พยี งพอตอ ความตอ งการ การเพาะพันธปุ ลาบูมี 2 วิธี คือ 1. วธิ กี ารฉดี ฮอรโ มน 2. วธิ เี ลยี นแบบธรรมชาติ สถานีประมงนํ้าจดื จงั หวดั ปทมุ ธานี ไดพ ฒั นาการเพาะพนั ธุปลาบเู ปนเชิงพาณิชยไ ดส ําเรจ็ โดยเนน การเพาะพนั ธวุ ธิ เี ลยี นแบบธรรมชาตซิ ง่ึ ใหจ ํานวนรงั ไขไ ดม ากกวา วธิ ฉี ดี ฮอรโ มนผสมเทยี ม และ สามารถอนบุ าลลกู ปลาบโู ดยการใชอ าหารธรรมชาตมิ ชี วี ติ ไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพซึ่งมีวิธีดําเนนิ การ ดงั น้ี 1. การคดั เลอื กพอ แมพ นั ธทุ ด่ี มี ผี ลทําใหอ ตั ราการฟก และอตั รารอดตายสงู และไดล กู ปลา ที่แข็งแรง พอ แมพ นั ธปุ ลาบทู ด่ี คี วรมลี กั ษณะ 1.1 ควรเปน ปลาวยั เจรญิ พนั ธุ เพราะไขท ไ่ี ดม อี ตั ราการฟก และอตั รารอดตายสงู 1.2 พอ แมพ นั ธคุ วรมนี ้ําหนกั อยใู นชว ง 300-500 กรัม แตไมค วรเกิน 1 กิโลกรัม และ ไมค วรเปน ปลาทอ่ี ว นหรอื ผอมเกนิ ไป 1.3 เมอ่ื จบั พอ แมพ นั ธขุ น้ึ มาจากทก่ี กั ขงั ใหม ๆ ควรรบี คดั ปลาทม่ี สี นี วลดปู ราดเปรยี ว และ ควรเปน ปลาทป่ี รบั สสี สู ภาพเดมิ ไดเ รว็ เมอ่ื หายตกใจ ไมค วรคดั พอ แมพ นั ธทุ ม่ี สี เี หลอื งซดี ผดิ ปกติ 1.4 เมอ่ื ลบู ตามตวั ปลาจากหวั ไปหางแลว รสู กึ ตวั ปลาลน่ื แสดงวา เปน ปลาท่ีมสี ุขภาพดี 1.5 บรเิ วณนยั ตต าไมข าวขนุ 1.6 ไมใชปลาที่จับได โดยการใชไฟฟา ชอ็ ตเพราะเม่อื เลี้ยงไปสักระยะหนงึ่ แลว ปลาจะตาย มากหรือตายหมดทั้งกระชัง 1.7 ไมม พี ยาธภิ ายนอกหรอื เชอ้ื ราเกาะตามลําตวั ถา มปี รมิ าณไมม ากควรกําจัด รักษา และ ปอ งกนั กอ นนําไปทําเปน พอ แมพ นั ธุ 1.8 บรเิ วณครบี อก ครีบหู ครีบหาง และครบี ทอ งไมค วรมบี าดแผลฉกี ลกึ ถงึ โคนครบี 1.9 ตามลําตวั ไมค วรมบี าดแผลถงึ แมจ ะเปน บาดแผลเลก็ ๆ ก็ตามเพราะจะทําใหต ดิ เชอ้ื โรค และลกุ ลามถงึ ตายในทส่ี ดุ ถาจําเปน ควรรกั ษาใหห ายกอ นนําไปเปน พอ แมพ นั ธุ ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 6 2. การเตรยี มบอ พอ แมพ นั ธุ การเตรยี มบอ พอ แมพ นั ธโุ ดยวธิ เี ลยี นแบบธรรมชาติ ขนาดบอ เพาะพนั ธไุ มค วรใหญห รอื เลก็ จนเกนิ ไปเพอ่ื สะดวกตอ การดแู ลและจดั การกับพอแมพันธุ สาํ หรับบอ ขนาด 800 ตารางเมตร ปลอยพอแมพ ันธุ 150 คู ใหผลผลิตดีที่สุด การเตรยี มบอควรวิดบอใหแ หง พรอ มกําจดั ศตั รปู ลาออกใหห มด และที่สําคญั ควรเกบ็ วสั ดทุ ป่ี ลาสามารถใชเ ปน ทว่ี างไขไ ดอ อกใหห มด เชน พวกรากไม ตอไม หิน พืชนํ้า ทางมะพรา ว หรอื วสั ดอุ น่ื เนอ่ื งจากปลาจะวางไขท ว่ี สั ดทุ ไ่ี มไ ดจ ดั เตรยี มไว ซง่ึ ยงุ ยากตอ การรวบรวมรงั ไขป ลาบแู ละการฟก ไขอ กี ดว ย ควรตากบอ ทง้ิ ไว 2-3 วัน แลว ใส ปนู ขาวในอตั รา 50-100 กิโลกรัม/ไร ใสป ยุ คอกในอตั รา 100-150 กโิ ลกรมั ตอ ไร จากนน้ั เปด น้ํา เขา บอ และควรกรองน้ําดว ยตะแกรงตาถ่ี เพอ่ื ปอ งกนั ไขป ลาและลกู ปลาชนดิ อน่ื ๆ ซง่ึ ถอื วา เปน ศตั รโู ดย ตรงตอ ไขป ลาบู เนอ่ื งจากลกู ปลาเหลา นเ้ี ขา มากนิ ไขป ลาบไู ดถ งึ แมว า พอ แมพ นั ธปุ ลาบคู อยเฝา รงั ไขอ ยกู ็ ตาม อกี ทง้ั ยงั เปน ศตั รทู างออ ม คอื ไปแยง อาหารปลาบอู กี ดว ย สาํ หรบั ระดบั น้ําในบอ ควรใหอ ยใู นชว ง 1.00-1.10 เมตร แลวทิ้งไว 2-3 วัน เพอ่ื ใหเ กดิ อาหารธรรมชาตขิ น้ึ ในบอ และควรทําการวเิ คราะหค ณุ สมบตั ขิ องนํ้ากอ นปลอ ยปลาเพอ่ื ใหแ นใ จวา น้ํานน้ั มคี วามเหมาะสมแลว จงึ ปลอ ยพอ แมพ นั ธุ 3. การเลย้ี งและดแู ลพอ แมพ นั ธุ การเลย้ี งพอ แมพ นั ธปุ ลาบคู วรใหอ าหารผสมซง่ึ มสี ตู รอาหาร ดงั น้ี ปลาเปด 94 เปอรเ ซน็ ต ราํ ละเอยี ด 5 เปอรเ ซน็ ต วติ ามนิ และเกลอื แร 1 เปอรเ ซน็ ต อาหารผสมดงั กลา วใหใ นอตั รา 5 เปอรเ ซน็ ตข องน้ําหนักปลาทุกวันหรือ 10 เปอรเ ซน็ ตข องน้ํา หนักปลาทุก 2 วัน เมอ่ื ปลามคี วามคนุ เคยกบั สตู รอาหารดงั กลา วแลว ถา หากผเู ลย้ี งตอ งการเปลย่ี น สูตรอาหารควรเปล่ียนทีละนอยโดยเพ่ิมอาหารสูตรใหมในอาหารสูตรเดิมสําหรับม้ือแรกท่ีจะเปลี่ยน อาหาร ควรมอี ตั ราสว นอาหารเดมิ ตอ อาหารใหมไ มเ กนิ 1 : 1 โดยน้ําหนกั เนอ่ื งจากปลาบจู ะไมย อมรบั อาหารที่เปลี่ยนใหใหมทันที นสิ ยั ปลาบชู อบออกหากนิ ตอนเยน็ และในเวลากลางคนื ควรใหอ าหารปลา บตู อนเย็น สว นการจดั การน้ําในบอ ควรเปลย่ี นถา ยน้ําเดอื นละประมาณหนง่ึ ในสข่ี องปรมิ าตรน้ําในบอ ซง่ึ นา้ํ ทเ่ี ขา บอ ควรมกี ารกรองหลายชน้ั เพอ่ื ปอ งกนั ศตั รปู ลาทง้ั ทางตรงและทางออ มเขา มากบั น้ํา พรอม ทง้ั ลอ มรว้ั รอบ ๆ บอ พอ แมพ นั ธเุ พอ่ื ปอ งกนั ศตั รปู ลาเขา บอ เชน ปลาชอ น ปลาหมอ งกู นิ ปลา ตะกวด ฯลฯ ไมใหเขามาทาํ รายพอแมพันธุที่เลี้ยงไว 4. การเพาะพนั ธปุ ลาบู การเพาะพนั ธปุ ลาบมู ี 2 วิธี คอื การฉดี ฮอรโ มน และการเลยี นแบบ ธรรมชาติ สาํ หรบั วธิ หี ลงั สามารถผลติ พนั ธปุ ลาบไู ดจ ํานวนมากและไดอ ตั ราการรอดตายสงู ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 7 4.1 วธิ กี ารฉดี ฮอรโ มน การเพาะพนั ธปุ ลาบเู รม่ิ ครง้ั แรกในป พ.ศ. 2515 โดยนําปลาบูเพศ ผทู ม่ี นี าํ้ หนกั 168 และ 170 กรัม เพศเมีย 196 และ 202 กรัม มาทําการฉดี ฮอรโ มนเพยี งครง้ั เดยี ว ดว ยตอ มใตส มองของปลาในขนาด 1,500 กรัม รว มกบั คลอรโิ อนคิ โกนาโดโทรปน (Chorionic Gonadotropin, C.G.) จํานวน 250 หนว ยมาตรฐาน (International Unit, I.U.) ฉดี เขา ตวั ปลาโดย เฉลย่ี ตวั ละ 62.5 หนว ยมาตรฐาน หลงั จากฉดี ฮอรโ มนแลว นําพอ แมพ นั ธไุ ปปลอ ยลงในบอ ซเี มนตข นด 2x3 ตารางเมตร น้าํ ลกึ 75 เซนตเิ มตร และใชท างมะพรา วเปน วสั ดใุ หแ มป ลาบวู างไข ปรากฎวา แมป ลาทม่ี นี ้ําหนกั 202 กรัม วางไขป ระมาณ 10,000 ฟอง มอี ตั ราการฟก 90 เปอรเ ซน็ ต 4.2 วธิ กี ารเลยี นแบบธรรมชาติ หลงั จากปลอ ยพอ แมพ นั ธปุ ลาบไู ด 3 วนั แลว ปกกระเบื้อง แผน เรยี บขนาด 40x60 เซนตเิ มตรหรอื วสั ดอุ น่ื ทง่ี า ยตอ การโยกยา ยลําเลียง เชน หลักไม ตอไม ฯลฯ เพอ่ื ใหป ลาบมู าวางไข นําแผน กระเบอ้ื งเหลา นไ้ี ปปก ไวเ ปน จดุ ๆ รอบบอแตละจุดปกเปน กระโจม สามเหลย่ี มและหนั ดา นทข่ี รขุ ระไวข า งใน โดยปก ดา นกวา งลงในดนิ กน บอ พรอมทั้งทําเครอ่ื งหมาย ปก หลกั ไมไ วแ สดงบรเิ วณทป่ี ก กระเบอ้ื งเพอ่ื สะดวกในการตรวจสอบและเกบ็ รงั ไข เมอ่ื ปลาบมู คี วาม คนุ เคยกับกระเบ้อื งแผนเรียบดแี ลว ในตอนเยน็ จนถงึ ตอนเชา มดื ปลาบสู ว นใหญเ รม่ิ ทําการวางไขผ สม พันธุที่กระเบื้องแผนเรียบ สว นใหญป ลาบวู างไขต ดิ ดา นในของกระโจมกระเบอ้ื ง รงั ไขป ลาบสู ว นใหญ เปน รปู วงรี แตจ ะมบี างครง้ั เปน รปู วงกลม ลกั ษณะไขป ลาบเู ปน รปู หยดน้ํา สใี ส ดา นแหลมของไขม ี กาวธรรมชาตติ ดิ อยไู วใ ชใ นการยดึ ไขใ หต ดิ กบั วสั ดุ ชวงเชาหรือเย็นของทุกวันใหทําการตรวจสอบแผน กระเบอ้ื งและนํากระเบอ้ื งทม่ี รี งั ไขป ลาบตู ดิ ไปฟก การลําเลยี งรงั ไขป ลาบคู วรใหแ ผน กระเบอ้ื งทม่ี ไี ขป ลา แชน ้ําอยตู ลอดเวลา ขอ ควรระวงั ในการเกบ็ รงั ไขข น้ึ มาฟก คอื เมอ่ื พบกระเบอ้ื งทม่ี รี งั ไขต ดิ อยแู ลว ตอ งนําขึ้นไปฟกทันที เพราะถา นํากลบั ลงไปปก ไวท เ่ี ดมิ พอ แมป ลาบทู เ่ี ฝา อยใู กล ๆ จะมากินไขห มด ในกรณีกระเบื้องแผนเรียบที่ผานการใชงานมานานควรทําความสะอาดโดยแชแผนกระเบื้องในสารเคมี กาํ จดั เชอ้ื รา ไดแก มาลาไคท ก รนี ชนดิ ปราศจากธาตสุ งั กะสี ความเขม ขน 2.4 พีพีเอ็ม ตลอดคนื กอ นนําไปปก เปน กระโจมในบอ ดนิ 5. การฟก ไข การฟกไขปลาบูทําในตกู ระจกขนาดกวา ง 47 เซนตเิ มตร ยาว 77 เซนตเิ มตร ลกึ 60 เซนตเิ มตร โดยใสน ้ําลกึ 47-50 เซนตเิ มตร กอ นนํารงั ไขม าฟก ตอ งฆา เชอ้ื ดว ย มาลาไคท ก รี น ชนดิ ปราศจากสงั กะสี ความเขม ขน 1 พีพีเอ็ม โดยวิธีจุม การฟก ไขต อ งใหอ ากาศตลอดเวลา ตกู ระจกขนาดดงั กลา ว 1 ตใู ชฟ ก รงั ไขป ลาบู 4 รงั เมอ่ื ไขฟ ก เปน ตวั จนหนาแนน ตกู ระจกแลว กร็ วบรวม ลกู ปลาไปอนบุ าลในบอ ซเี มนตข นาด 6 ตารางเมตร เนอ่ื งจากไขป ลาฟก เปน ตวั ไมพ รอ มกนั จึงจําเปน ตอ งคอยยา ยรงั ไขอ อกไปฟก ในตกู ระจกอน่ื ตอ ไปเรอ่ื ย ๆ จนกวา จะฟก เปน ตวั หมดเพอ่ื ปอ งกนั การเนา เสยี ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 8 ของน้ําในตูกระจกอันเนื่องมาจากของเสียที่ไขปลาและลูกปลาขับถายออกมาและการสลายตัวของไขเ สีย โดยปกตไิ ขป ลาจะใชเ วลาฟก ออกมาเปน ตวั หมดทง้ั รงั ประมาณ 3-5 วัน การอนบุ าล การอนบุ าลลกู ปลาบแู บง ตามอายขุ องลกู ปลาเปน 3 ระยะคือ 1) การอนบุ าลในบอ ซเี มนตข นาดเลก็ 2) การอนบุ าลในบอ ซเี มนตข นาดใหญ 3) การอนบุ าลในบอ ขนาดใหญห รอื ในบอ ดนิ 1. การอนบุ าลในบอ ซเี มนตข นาดเลก็ การอนบุ าลชว งนเ้ี ปน ชว งทส่ี ําคญั ในการเพาะขยายพันธุ ปลาบู การอนบุ าลลกู ปลาใหไ ดอ ตั ราการรอดตายต่ําหรือสงู ข้ึนอยกู บั ปจ จยั สําคญั 4 ประการ คอื อตั รา การปลอย การจดั การน้ําในการอนบุ าล การใหอ ากาศ ชนดิ อาหารและการใหอ าหาร 1.1 อตั ราการปลอ ยลกู ปลาบวู ยั ออ น ควรปลอ ยอตั รา 20,000 ตวั ตอ 6 ตารางเมตร หรือ ปรมิ าณ 3,300 ตวั /ตารางเมตร 1.2 การจดั การน้ําในการอนบุ าล เนอ่ื งจากลกู ปลาบวู ยั ออ นมขี นาดเลก็ มากและบอบช้ํางา ย ดงั นน้ั การจดั การระบบน้ําตอ งทําอยา งนมุ นวลเพอ่ื ไมใ หล กู ปลาบอบช้ํา ในการอนบุ าลวนั แรกควรเตมิ นา้ํ โดยกรองผา นผา โอลอนแกว ใหไ ดร ะดบั น้ําเฉลย่ี 20-25 เซนตเิ มตร แลวนําลกู ปลาวยั ออ นมาปลอ ย หลงั จากนน้ั ใหเ พม่ิ ระดบั น้ําทุกวัน ๆ ละ 5 เซนตเิ มตร จนไดร ะดบั น้ําเฉลย่ี 40-45 เซนตเิ มตร จงึ เรม่ิ ถา ยน้ํา 50 เปอรเ ซน็ ต ของปรมิ าณน้ําทง้ั หมดทกุ วนั จนลกู ปลาอายไุ ด 1 เดอื น การเพม่ิ ระดบั นา้ํ ในระยะแรกควรเปด น้ําเขา ชา ๆ อยา เปด น้ํารนุ แรงเพราะลกู ปลาในชว งระยะน้ี บอบบางมากและเพอ่ื ไมใ หข องเสยี ทอ่ี ยกู น บอ ฟงุ กระจายขน้ึ เปน อันตรายตอ ลกู ปลาวยั ออ น สว นการ ถา ยเทนา้ํ ในบอ ควรถา ยน้ําออกโดยใชว ธิ กี าลกั น้ําผา นกลอ งกรองน้ํา การสรา งกลอ งกรองน้ํานค้ี วรใหม ี ขนาดพอเหมาะกบั บอ อนบุ าลเพอ่ื สะดวกในการทํางานและขนยา ย กลอ งกรองน้ําทําดว ยโครงไมหรอื ทอ พวี ซี บี ดุ ว ยผาโอลอนแกว การถา ยน้ําออควรทําอยา งชา ๆ เพราะลกู ปลาบวู ยั ออ นสแู รงน้ําทด่ี ดู ออกทง้ิ ไม ได ลกู ปลาจะไปตดิ ตามแผงผา กรองตายไดใ นชว งทา ยของการอนบุ าลประมาณ 1-2 อาทิตย สามารถ เปลย่ี นผา กรองใหม ขี นาดตาใหญข น้ึ อกี เลก็ นอ ยจากเดมิ โดยใหม คี วามสมั พนั ธก บั ขนาดลกู ปลาบู 1.3 การใหอ ากาศ การใหอ ากาศในบอ อนบุ าลสําหรบั ลกู ปลาวยั ออ นในชว งครง่ึ เดอื นแรกจํา เปน ตอ งปลอ ยใหอ ากาศผา นหวั ทรายอยา งชา ๆ และคอ ย ๆ เพราะลกู ปลาระยะนย้ี งั ไมส ามารถวา ยทวน กระแสน้ําทเ่ี คลอ่ื นตามแรงดนั อากาศมาก ๆ ได 1.4 ชนดิ อาหารและการใหอ าหาร อาหารทใ่ี ชใ นการอนบุ าลลกู ปลาบสู ว นใหญเ ปน อาหาร ธรรมชาตมิ ชี วี ติ ยกเวนระยะแรกที่ลูกปลาเพิ่มฟกจะใหอาหารไขระยะตอมาใหโรติเฟอรและไรแดง วธิ กี ารเตรยี มอาหารและการใหอ าหารมชี วี ติ 1.4.1 อาหารไข ตไี ขแ ดงและไขข าวใหเ ปน เนอ้ื เดยี วกนั และใชนํ้ารอ นเตมิ ลงไปขณะทต่ี ไี ขใ น อตั ราสว นน้ํารอ น 150 ซซี ตี อ ไข 1 ฟองนําอาหารไขไ ปกรองดว ยผา โอลอนแกว แลว กรองดว ยผา กรอง แพลงกต อนขนาดตา 59 ไมครอนอกี ครง้ั หนง่ึ นําไปอนบุ าลลกู ปลาชว ง 3 วนั แรกของการอนบุ าลในชว ง เชา กลางวนั และเย็น ปรมิ าณทใ่ี หโดยเฉลยี่ 40 ซี.ซี. ตอ บอ ตอ ครง้ั ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 9 1.4.2 โรตเิ ฟอรน ้ําจืด โรตเิ ฟอรเ ปน แพลงกต อนสตั วข นาดเลก็ มหี ลายชนดิ ทง้ั ทอ่ี าศยั อยใู น นา้ํ กรอ ยและน้ําจืด สว นโรตเิ ฟอรน ้ําจืดทีน่ ํามาใชอ นบุ าลลกู ปลาบวู ยั ออ น คอื Brachinonus calyciflorus ในการเพาะโรตเิ ฟอรน น้ั ตอ งเพาะสาหรา ยเซลลเ ดยี วทเ่ี รยี กวา คลอเรลลา หรือที่เรียกกัน ทวั่ ไปวา น้าํ เขียว เพอ่ื ใหเ ปน อาหารของโรตเิ ฟอร วธิ กี ารเพาะน้ําเขยี วคลอเรลลา มขี น้ั ตอนดงั น้ี 1. เตมิ น้ําลงในบอ ใหม รี ะดบั น้ําประมาณ 20 เซนตเิ มตร 2. ละลายปยุ ตามสตู รใดสตู รหนง่ึ สตู รที่ 1 : ปุย N-P-K สตู ร 16-20-0 จาํ นวน 3 ก.ก. ราํ ละเอยี ด จาํ นวน 3 ก.ก. ปนู ขาว จาํ นวน 3 ก.ก. สตู รที่ 2 : อามิ-อามิ หรือกากผงชูรส จาํ นวน 20 ลติ ร ยูเรีย จาํ นวน 1.5 ลติ ร ปุย N-P-K สตู ร 16-20-0 จาํ นวน 1.5 ก.ก. ปุยซุปเปอรฟอสเฟต จาํ นวน 260 กรัม ปนู ขาว จาํ นวน 3 ก.ก. 3. ใสน ้ําเขยี วคลอเรลลา ทม่ี คี วามหนาแนน ประมาณ 5 x 10 เซลล/ 1 ซี.ซี. ประมาณ 2 ตนั ทงิ้ ไว 2-3 วัน ระหวา งนน้ั ตอ งคนบอ ย ๆ เพอ่ื ปอ งกนั การตกตะกอนของน้ําเขียว เมอ่ื สนี ้ําเขม ขน้ึ ใหเ พม่ิ ระดับน้ําเปน 40 เซนตเิ มตร และใสป ยุ ในปรมิ าณครง่ึ หนง่ึ ของปยุ ทใ่ี ชใ นขอ 2 4. ทิ้งไว 2-3 วัน น้าํ จะมสี เี ขยี วเขม ใหน ําโรตเิ ฟอรท ก่ี รองจนเขม ขน ประมาณ 20 ลติ ร (ความหนาแนน 3,621 ตวั ตอ ซี.ซี.) มาใสใ นบอ เพาะน้ําเขียว ถา เปน ไปไดค วรมกี ารเพม่ิ อากาศลงใน บอ เพาะ 5. เมอ่ื โรตเิ ฟอรข ยายตวั เตม็ ท่ี น้าํ จะเปน สชี าและมฟี องอากาศลอยตามผวิ น้ํามาก ก็ใหทํา การกรองโรตเิ ฟอรไ ปใชป ระโยชนใ นการเลย้ี งลกู ปลาบวู ยั ออ นดว ยผา กรองแพลงกต อน 59 ไมครอน หลงั จากโรตเิ ฟอรเ หลอื จํานวนนอ ยในบอ ใหลา งบอ และดําเนนิ การเพาะโรตเิ ฟอรข น้ึ ใหม ทง้ั นค้ี วรใหโ รตเิ ฟอรน ้ําจดื อนบุ าลลกู ปลาบใู นตอนเชา กลางวนั และเย็น มอ้ื ละ 4-6 ลติ ร/ บอ /ครง้ั สาํ หรบั ลกู ปลาอายุ 2-12 วัน หลงั จากนน้ั คอ ย ๆ ลดปรมิ าณการใหโ รตเิ ฟอรจ นลกู ปลาอายุ ได 30-37 วัน 1.4.3 ไรแดง ไรแดงเปน แพลงกต อนสตั วอ กี ชนดิ หนง่ึ มขี นาดเลก็ แตข นาดใหญก วา โรตเิ ฟอร อยา งเหน็ ไดช ดั ชอบอยรู วมกลมุ มสี แี ดง สําหรับวิธีเพาะไรแดง มขี น้ั ตอน คอื 1. ทาํ ความสะอาดบอ ซเี มนตแ ละตากทง้ิ ไว 1 วัน 2. กรองน้ําดว ยถงุ กรองผา โอลอนแกว ใหไ ดร ะดบั น้ํา 20 เซนตเิ มตร และละลายปยุ ตามสตู รใด สตู รหนง่ึ ดงั น้ี สตู รท่ี 1 : อามิ-อามิ จาํ นวน 5 ลติ ร ปุย N-P-K สตู ร 16-20-0 จํานวน 2 ก.ก. ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 10 ราํ ละเอยี ด จํานวน 5 ก.ก. ปนู ขาว จํานวน 3 ก.ก. สตู รท่ี 2 : อามิ-อามิ จํานวน 20 ลติ ร ปุย N-P-K สตู ร 16-20-0 จํานวน 1.5 ก.ก. ยูเรีย จํานวน 1.5 ลติ ร ปุยซุปเปอรฟอสเฟต จํานวน 260 กรัม ปนู ขาว จํานวน 3 ก.ก. 3. เตมิ น้ําเขยี วลงบอ ประมาณ 1-2 ตนั คนบอ ย ๆ ประมาณ 3 วัน คลอเรลลา ขยายตวั เตม็ ทซ่ี ง่ึ สนี า้ํ จะมสี เี ขยี วเขม 4. ใสไ รแดงประมาณ 1.5-2.0 กิโลกรัม 5. ประมาณ 2-3 วัน ตอ มา ไรแดงจะขยายตวั เต็มทแี่ ลวดําเนนิ การรวบรวมไรแดงจนหมดบอ หลงั จากนน้ั เรม่ิ ตน เพาะไรแดงใหมต อ ไป การใหไ รแดงควรใหเ มอ่ื ลกู ปลามอี ายุ 12 วนั ขน้ึ ไป และควรใหไ รแดงในปรมิ าณ 200 กรัม/ 6 ตารางเมตร/ครง้ั ในตอนเชา กลางวนั และเย็น จนลกู ปลามอี ายปุ ระมาณ 25 วัน จงึ ลดปรมิ าณลง ตามความเหมาะสม ลกู ปลาบอู ายุ 30-37 วัน มคี วามยาวประมาณ 8-10 มลิ ลเิ มตร จงึ ยา ยลกู ปลาบู ไปอนบุ าลในบอ ขนาดใหญ 2. การอนบุ าลในบอ ซเี มนตข นาดใหญ เมอ่ื ลกู ปลาอายไุ ดป ระมาณ 1 เดอื น ก็ทาํ การยายไป อนบุ าลตอ ในบอ ซเี มนตข นาด 50 ตารางเมตร ทม่ี รี ะดบั น้ําประมาณ 40-50 เซนตเิ มตร โดยคัด ลกู ปลาใหม ขี นาดใกลเ คยี งกนั แลว ปลอ ยลกู ปลาในอตั ราตารางเมตรละ 100-160 ตวั ในชว งสปั ดาห แรกใหอ าหารธรรมชาตมิ ชี วี ติ ไดแก ไรแดง หนอนแดง ฯลฯ ประมาณ 10 เปอรเ ซน็ ตข องน้ําหนกั ตวั ปลา ชว งสปั ดาหท ส่ี องเรม่ิ ฝก ใหก นิ อาหารสมทบทม่ี สี ตู รอาหารประกอบดว ย ปลาเปด 94 เปอรเ ซน็ ต ราํ ละเอยี ด 5 เปอรเ ซน็ ต วติ ามนิ และเกลอื แร 1 เปอรเ ซน็ ต การฝก ใหล กู ปลาบกู นิ อาหารสมทบ ควร คอ ย ๆ ลดปรมิ าณไรแดงและเพม่ิ อาหารสมทบ สําหรบั อาหารสมทบนน้ั ปน เปน กอ นเลก็ ๆ โยนใหลกู ปลาบรู อบบอ และควรเปลย่ี นถา ยน้ําทุกวัน ๆ ละ 5-10 เซนตเิ มตร การเลย้ี งปลาบใู นบอ กลางแจง อาจประสบปญหาสาหรายชนิดที่ไมตองการโดยเฉพาะพวกท่ีเปนเสนใยขึน้ ทว่ั บอ ระหวา งอนบุ าลลกู ปลา ซงึ่ ยากลาํ บากตอ การดแู ล ควรใชน ้ําเขยี วเตมิ เปน ระยะ ๆ ตามความเหมาะสมของคณุ ภาพน้ํา ความขนุ และสนี ้ํา อกี ทง้ั ชว ยขยายอาหารธรรมชาตใิ นบอ ไดแ ก ไรแดง อกี ดว ย 3. การอนบุ าลในบอ ขนาดใหญ หรอื ในบอ ดนิ การอนบุ าลลกู ปลาบขู นาด 2.5 เซนตเิ มตรขน้ึ ไป สว นใหญเ ลย้ี งในบอ ซเี มนตแ ละบอ ดนิ สว นการเลย้ี งในกระชงั นน้ั ปรากฎวา ไมค อ ยประสบผลสําเรจ็ มอี ตั รารอดและอตั ราการเจรญิ เตบิ โตต่ําไมเ หมาะสมทจ่ี ะใชอ นบุ าลลกู ปลาขนาดดงั กลา ว สําหรับการอนุบาลลูกปลาขนาดดังกลาวในบอซีเมนตลูกปลาจะมีอัตรารอดสูงกวาบอดินและ รวบรวมปลาบไู ดส ะดวก แตอ ตั ราการเจรญิ เตบิ โตชา โดยปลอ ยลกู ปลาขนาด 5 เซนตเิ มตร จํานวน 3,000 ตวั หรอื ตารางเมตรละ 60 ตวั ใหอ าหารปลาประกอบดว ย ปลาเปด 94 เปอรเ ซน็ ต รําละเอยี ด 5 เปอรเ ซน็ ต วติ ามนิ และเกลอื แร 1 เปอรเ ซน็ ต ระยะเวลาเลย้ี ง 90 วัน อตั รารอดประมาณ 85 เปอรเ ซน็ ต ลกู ปลาทม่ี นี ้ําหนกั เฉลย่ี 1.46 กรัม เพม่ิ ขน้ึ เปน 4.97 กรัม ความยาวเฉลย่ี 5 เซนตเิ มตร ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 11 เพมิ่ เปน 7.55 เซนตเิ มตร นอกจากนก้ี ารตดิ ตง้ั ระบบน้ําหมุนเวียนโดยดึงนํ้าจากบอ พักมาเลี้ยง ลกู ปลาบแู ลว ปลอ ยกลบั สบู อ ดนิ หมนุ เวยี นตลอดเวลากส็ ามารถทําได ส  ว นก า ร อ นุ บ า ลลู ก ป ลา บู  ใ นบ  อ ดิ นไ ด อัตรารอดไมสูงนักและรวบรวมลูกป ลาไดลํ าบากแตมี การเจริญเตบิ โตเรว็ จากการทดลองเลย้ี งปลาบใู นบอ ดนิ ของสถานพี ฒั นาการเพาะเลย้ี งปลาจงั หวัด ปทมุ ธานี ใชเ วลาเลย้ี ง 2 เดอื น โดยใสปุยมูลไกแ หงเพ่อื ใหเ กิดอาหารธรรมชาติ และใหอาหารสมทบ (ปลาเปด 94 เปอรเ ซน็ ต รําละเอยี ด 5 เปอรเ ซน็ ต วติ ามนิ และเกลอื แร 1 เปอรเ ซน็ ต) ในอตั รา 10 เปอรเ ซน็ ตข องน้ําหนักปลาพบวา ไดอ ตั รารอดเฉลย่ี 44 เปอรเ ซน็ ตน ้ําหนกั ลกู ปลาเรม่ิ ปลอ ย 0.04-0.39 กรัม ไดน ้ําหนกั เฉลย่ี 2.4 กรัม จากการศกึ ษาอตั ราปลอ ยลกู ปลาบขู นาด 1.5-3.0 เซนตเิ มตรในบอ ดนิ พบวา อตั ราปลอ ย 10,000 ตวั ตอ บอ ดนิ ครง่ึ ไร หรอื ตารางเมตรละ 12.5 ตวั ในเวลา 1 เดอื น ไดอ ตั รารอดมากทส่ี ดุ คอื 61.06 เปอรเ ซน็ ต การเลย้ี งปลาบู ปลาบมู รี าคาแพงจงึ เปน ทต่ี อ งการของตลาดในประเทศและตา งประเทศเปนจํานวนมาก ทําใหม ี ผสู นใจเลย้ี งปลาบอู ยา งกวา งขวาง การเลย้ี งปลาบมู เี ลย้ี งกนั ในบอ ซเี มนต บอ ดนิ และกระชงั แตที่นิยม เล้ียงกันมากเปนการเล้ียงในกระชัง สวนบอดินก็มีผูเล้ียงกันอยูบางทั้งในรูปการเลี้ยงแบบเด่ียว แบบรวม และแบบผสมผสาน สําหรบั การเลย้ี งในบอ ซเี มนตม กี ารเลย้ี งอยนู อ ยมากเพราะลงทนุ สงู และ ตอ งการน้ําสะอาดในการเลย้ี ง รปู แบบการเลย้ี งปลาบู 1. การเลย้ี งปลาบใู นบอ ดนิ สว นใหญจ ะเลย้ี งรว มกบั ปลาชนดิ อน่ื เชน เลย้ี งรว มกบั ปลานลิ เพอ่ื ไวคุมจํานวนประชากรของลกู ปลานลิ ไมใ หแ นน บอ เชน ดยี วกบั ปลาชอ น นอกจากนย้ี งั มกี ารเลย้ี งรว มกบั ปลาชนดิ อน่ื ใตเ ลา ไก หรอื เลา หมู โดยปลอ ยอตั ราสว นปลาบตู ่ําซง่ึ ขน้ึ อยกู บั ผเู ลย้ี งจะหาซอ้ื พนั ธไุ ด จาํ นวนมากนอ ยเทา ใด เมอ่ื เลย้ี งปลามนี ้ําหนกั 400-500 กรมั ขน้ึ ไป จึงจับจําหนา ยแลว หาพนั ธปุ ลามา ปลอยชดเชย อาหารทใ่ี หเ ปน พวกปลาเปด บดปน เปน กอ น ๆ ใสล งในเรอื แจวใหอ าหารเปน จดุ ๆ รอบ บอ จดุ ทใ่ี หอ าหารมกี ระบะไมป ก อยเู หนอื กน บอ เลก็ นอ ย ในชว งตอนเยน็ ปรมิ าณอาหารทใ่ี หป ระมาณ 5 เปอรเ ซน็ ตข องน้ําหนกั ปลา ใชเ วลาเลย้ี ง 8-12 เดอื น จับจําหนา ยน้ําหนกั ปลาทน่ี ยิ มรบั ซอ้ื ตง้ั แต 400-800 กรมั ไมเ กนิ 1 กิโลกรัม ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 12 2. การเลย้ี งปลาบใู นกระชงั ปลาบเู ปน ปลาอกี ชนดิ หนง่ึ ทน่ี ยิ มเลย้ี งในกระชงั เนอ่ื งจากสามารถ เลย้ี งไดห นาแนน ในทแ่ี คบได และเปน ปลากนิ เนอ้ื จงึ ไมจ ําเปน ตอ งพง่ึ อาหารธรรมชาตมิ ากนกั ถงึ แมว า ปลาบมู นี สิ ยั ชอบอยนู ง่ิ เปน สว นใหญ แตชอบที่ที่มีนํ้าไหลผา นโดยเฉพาะทม่ี คี วามขนุ ยง่ิ ดเี พราะปลาบตู ก ใจงา ยเมอ่ื เลย้ี งในน้ําใส ปลาบเู ปน ปลาทม่ี รี าคาแพง ทป่ี ากกระชงั ราคากโิ ลกรมั ละ 320 บาท (ราคาป 2541) การเลี้ยงปลาบูในกระชังมีวิธีการดังนี้ 1. การเลอื กสถานท่ี การเลอื กสถานทท่ี เ่ี หมาะสมในการวางกระชงั ปลาบนู บั เปน จดุ เรม่ิ ตน การเลย้ี งท่ีสําคัญที่สุด ถา เลอื กสถานทเ่ี ลย้ี งไดด ี ทําใหป ลาบเู จรญิ เตบิ โตเรว็ อตั รารอดสงู ทุนคาใชจา ยในการจดั การ สถานที่ที่เหมาะสมสําหรบั การเลย้ี งปลาบใู นกระชงั คอื 1. คณุ สมบตั ขิ องน้ําดแี ละมปี รมิ าณเพยี งพอตลอดป 2. ใกลแ หลง หาพนั ธปุ ลาและอาหารปลาไดง า ย ราคาถกู 3. การคมนาคมสะดวกตอ การลําเลยี งพนั ธปุ ลาและอาหารปลา 4. ไมอยูใกลแหลงโรงงานอุตสาหกรรมและพื้นท่ีที่มีการใชสารเคมีสําหรับการเกษตรมาก เพอ่ื หลกี เลย่ี งสารพษิ ทป่ี นเปอ นมากบั น้ํา 5. นา้ํ มคี วามขนุ พอสมควรเพราะปลาบชู อบทม่ี ดื ชว ยใหป ลากนิ อาหารไดด แี ละไมต กใจงา ย 6. ความลกึ ของน้ําไมค วรต่ํากวา 2 เมตร 7. มกี ระแสน้ําทไ่ี หลแรงพอสมควร 8. ปลอดภยั จากการถกู ลกั ขโมย 9. ปราศจากศตั รแู ละภยั ธรรมชาติ 10. ไมก ดี ขวางการสญั จรทางน้ําและไมผ ดิ กฎหมายบา นเมอื ง 2. ประเภทของกระชัง กระชังสวนใหญเ ปน กระชงั ไมไผหรอื ไมจ ริง สว นกระชงั ตาขา ยไนลอน หรอื ใยสงั เคราะหห รอื ตาขา ยเหลก็ ทใ่ี ชเ ลย้ี งปลาน้ํากรอ ยยงั ไมเ ปน ทน่ี ยิ มของเกษตรกรผเู ลย้ี งปลาน้ําจืด กระชังแบงเปนประเภท ๆ ดงั น้ี 2.1 กระชังไมไ ผล ว น ๆ เหมาะสําหรบั ผเู ลย้ี งปลาทม่ี ที นุ นอ ย อายกุ ารใชง านประมาณ 1-1.5 ป กระชงั ทีใ่ ชก ันท่ัวไปมขี นาดกวา ง 2 เมตร ยาว 5 เมตร ลกึ 1.5 เมตร ราคากระชงั ละ ประมาณ 1,600-2,000 บาท ไมไผที่ใชจะเหลาใหเรียบขนาดกวาง 2.5 เซนตเิ มตร หนา 0.5 เซนตเิ มตร สานเปน รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา มเี ฝอ กไมไ ผป ด ดา นบน ใชล กู บวบไมไ ผป ระมาณ 50 ลํา ขอ เสยี ของกระชังแบบนี้คือ กระแสน้ําไหลถายเทไมสะดวกมีเศษอาหารเหลือกตกคางในกระชังและทําความ สะอาดกระชงั ยาก 2.2 กระชังทําดว ยไมไ ผแ ตโ ครงกระชงั เปน ไมจ รงิ นําไมไ ผม าผา เปน ซกี ๆ ละประมาณ 3 นว้ิ ตัดเปนทอนตามความกวางและความยาวของขนาดกระชังที่จะสรางและตีไมไผรอบทุกดานของโครง กระชงั ไมจ รงิ ใหม ชี อ งหา งประมาณ 1 เซนตเิ มตร เพอื่ ใหน้ําไหลผา นและใชไ มไ ผข นาดเดยี วกนั ทาํ ฝาปด กระชงั ใชล กู บวบประมาณ 25 ลํา อายกุ ารใชง านประมาณ 2 ป คา สรา งกระชงั ประมาณ 2,800-3,200 บาท ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 13 2.3 กระชังไมจ รงิ เหมาะสําหรับผูที่มีทุนมาก กระชงั ชนดิ นม้ี คี วามทนทานอายกุ ารใชง าน 5-7 ป กระชงั สรา งดว ยไมข นาดหนา 4 นว้ิ ใชไ มข นาดหนา 4 นว้ิ หนา 1 นว้ิ ใสกบใหเรียบปดพื้น และดา นขา ง 4 ดา น โดยใหมีระยะหาง 1.5-2 เซนตเิ มตร ดา นบนตไี มป ด เชน เดยี วกบั ดา นขา ง และมี ชอ งปด-เปด สําหรบั ใหอ าหารขนาดกวา ง 40 เซนตเิ มตร ยาว 50 เซนตเิ มตร ทนุ ลอยใชล กู บวบ ประมาณ 100 ลํา กระชงั ไมจ รงิ ขนาด 13 ตารางเมตร ลกึ 1.5 เซนตเิ มตร ราคา 2,500 บาท เมอ่ื ยา งเขา ปท ่ี 3 ตองทาํ การซอ มแซมและซอ มแซมใหมท ุก ๆ 2 ป กระชงั ไมจ รงิ ทน่ี ยิ มใชม ี 3 ขนาด คอื ขนาดที่ 1 กวาง 2.5 เมตร ยาว 8 เมตร ลกึ 1.5 เมตร ขนาดท่ี 2 กวาง 2.5 เมตร ยาว 5 เมตร ลกึ 1.5 เมตร ขนาดท่ี 3 กวาง 2.5 เมตร ยาว 3 เมตร ลกึ 1.5 เมตร 3. ขนาดกระชัง ขนาดกระชงั ทใ่ี ชเ ลย้ี งปลาบขู น้ึ อยกู บั ความตอ งการของผเู ลย้ี ง ซง่ึ ตอ งพจิ ารณา รว มกับขนาดของแหลงนํ้าและเงนิ ทนุ โดยทว่ั ไปกระชงั มขี นาดตง้ั แต 2 x 3 เมตร 2 x 5 เมตร 2.5 x 3 เมตร 2.5 x 8 เมตร กระชงั ดา นบนมฝี าปด เปด และตดิ กญุ แจปอ งกนั การลกั ขโมย 4. อตั ราการปลอ ย พนั ธปุ ลาบทู น่ี ยิ มนํามาเลย้ี งสว นใหญม ขี นาด 100-300 กรัม ซง่ึ ไดจ าก การรวบรวมจากธรรมชาติ หรอื ซอ้ื จากพอ คา คนกลางทด่ี ําเนนิ การทง้ั ขายพนั ธแุ ละรบั ซอ้ื ปลาบขู นาด ตลาดสง เขา กรงุ เทพฯ ปลาบมู นี สิ ยั ชอบนอนนง่ิ อยบู รเิ วณกน กระชงั ทําใหส ามารถปลอ ยปลาบไู ด หนาแนน ประมาณ 70-100 ตวั ตอ ตารางเมตร หรือ 10-30 กโิ ลกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร ในแหลง น้ํา ทมี่ กี ารไหลถายเทของน้ําดมี ากผา นในกระชงั ถา แหลง น้ําใดมคี ณุ สมบตั นิ ้ําไมดีและไหลถายเทชา ควร ปลอ ยตารางเมตรละ 40-50 ตวั กอ นปลอ ยพนั ธปุ ลาลงในกระชงั ควรทําใหป ลามคี วามคนุ เคยกบั น้ํา ทจ่ี ะเลย้ี งโดยเอาน้ําในกระชังปนลงไปในภาชนะดว ยและควรฆา เชอ้ื ปอ งกนั โรคเสยี กอ น สาํ หรบั การปอ งกนั โรค กอ นปลอ ยพนั ธปุ ลาบลู งเลย้ี งควรแชป ลาในน้ําเกลอื ทม่ี คี วามเขม ขน 10 เปอรเ ซน็ ต แลวนํามาแชใ นดา งทบั ทมิ ซง่ึ มคี วามเขม ขน 5-10 พีพีเอ็ม นาน 20 นาที อกี ครง้ั หนง่ึ เพอ่ื กาํ จดั หนอนสมอ แลวนําไปแชใ นน้ํายาเมทธลิ นี บลเู ขม ขน 2-3 พีพีเอ็ม หลงั จากนน้ั นําไปปลอ ยลง เลย้ี งในกระชงั เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชร วบรวมพนั ธปุ ลาจากแหลง น้ําธรรมชาตนิ ยิ มใชล อบ ขา ย สวิง ยอยก ฯลฯ แลว นําปลาไปพกั รวมกนั ในกระชงั จนไดป รมิ าณมากพอจงึ คอ ยลําเลยี งพนั ธปุ ลาไปยงั ผเู ลย้ี ง ทั้งนี้ควรจะ ปอ งกนั พนั ธปุ ลาไมใ หเ กดิ ความบอบช้ําหรอื มบี าดแผลและเกดิ ความเครยี ด โดยกอ นพกั ปลาลงใน กระชงั ควรทําการฆา เชอ้ื โรคทต่ี ดิ มากบั ตวั ปลาโดยแชป ลาในน้ําทผ่ี สมเฟอราเนซความเขม ขน 1-2 กรัม ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 14 ตอ นํ้า 100 ลติ ร แชไว 5-15 นาที หรอื แชใ นสารละลายดา งทบั ทมิ ทม่ี คี วามเขม ขน 10 พีพีเอ็ม นาน 10 นาที ในระหวา งพกั ปลาควรดแู ลเอาใจใส และใหอ าหารเพยี งพอเพอ่ื ใหป ลาแขง็ แรงขน้ึ กอ นลําเลียง ไปเลย้ี งในกระชงั ตอ ไป 5. อาหารและการใหอ าหาร ปลาบจู ดั เปน ปลากนิ เนอ้ื อาหารทด่ี คี วรมโี ปรตนี 38-40 เปอรเ ซน็ ต ไขมนั 5-8 เปอรเ ซน็ ต คารโ บไฮเดรต 9-12 เปอรเ ซน็ ต วติ ามนิ และแรธ าตุ 0.5-1 เปอรเ ซน็ ต อาหารใชเ ลย้ี งปลาบแู บง เปน 2 ชนิด 5.1 อาหารแบบพน้ื บา น เปน อาหารสดไดจ ากการนําปลาเปด จากทะเลหรอื ปลาน้ําจืด มาสับใหป ลากนิ หรอื ใชเ ครอ่ื งบดอาหาร ซึ่งมีผลดีทาํ ใหก ระดกู ปลาเปด ปน ยอ ยละเอยี ดไมเ ปน อนั ตราย ตอ ลําไสป ลาบู ประหยดั เวลาและแรงงาน สตู รอาหารปลา คอื ปลาเปด สดบดละเอยี ด 94 เปอรเ ซน็ ต รําละเอยี ด 5 เปอรเ ซน็ ต วติ ามนิ เกลอื แร 1 เปอรเ ซน็ ต (เกษตรกรบางรายผสมหัวอาหารหมหู รือไกล งไปดว ย) และควรใสเ กลอื ปน ในอตั รา 100 กรัม ตอ อาหาร 3 กิโลกรัม เพื่อทาํ ใหอ าหารจบั ตวั เหนยี วขน้ึ ปอ งกนั การละลายหรอื ลอยตวั ของอาหาร 5.2 อาหารผสมสตู รสําเรจ็ แบบเปย ก อาหารชนดิ นย้ี งั ไมเ ปน ทแ่ี พรห ลายเตรยี มจาก วัสดุอาหารแหงและเปยก สะดวกในการจดั เกบ็ ไดน านในตเู ยน็ เตรยี มงา ยและถกู สขุ ลกั ษณะ ทง้ั ยงั สามารถเตมิ ยาปฏชิ วี นะและฮอรโ มนเรง การเจรญิ เตบิ โต ปลาบกู นิ อาหารเชอ่ื งชา กวา ปลาชนดิ อน่ื จงึ ควรปน เปน กอ นใสถ าดแขวนไวใ นกระชงั ใหต าํ่ กวา ระดบั ผวิ น้ําประมาณ 50 เซนตเิ มตร การใหอาหารจะใหอาหารทุก ๆ วัน ละ 3-5 เปอรเ ซน็ ต ของนา้ํ หนกั ปลาในกระชงั หรอื ให 2 วนั ครง้ั ๆ ละ 8-10 เปอรเ ซน็ ตข องน้ําหนกั ปลา การใหอ าหารควร สงั เกตวา ปลากนิ อาหารหมดหรอื ไมแ ละคอ ยปรบั เพม่ิ หรอื ลดอาหาร 6. อตั ราการเปลย่ี นอาหารเปน เนอ้ื อตั ราการแลกอาหารเปน เนอ้ื ปลาบทู เ่ี ลย้ี งดว ยปลาเปด อยูระหวาง 7.3-12.2 : 1 7. การจดั การ การเลย้ี งปลาบใู นกระชงั ควรมกี ารจดั การดา นการทําความสะอาด การดูแล รกั ษาและการคดั ขนาด 7.1 การทําความสะอาด ควรใชแ ปรงขดั ภายในกระชงั ใหต ะไครน ้ําตะกอนทต่ี ดิ ตาม ตะไครน ้ําและตวั กระชงั ออก รวมทัง้ เศษอาหารเพราะเปนแหลง หมักหมมและกอใหเกิดเชอ้ื โรค หลัง ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 15 จากปลาบูเอาดานขางตัวไปถูกกับดานขางกระชังหรือพ้ืนกระชังอาจทําใหตัวเปนแผลและเชื้อโรคตาม ตะกอนหรอื ตะไครน ้ําเขา ตวั ปลาทางแผลได กรณที ม่ี ตี ะกอนทบั ถมในกระชงั มาก ควรใชพ ลว่ั แซะตะกอนออก หรอื ใชเ ครอ่ื งสบู น้ําดว ย ไ ฟ ฟ  า แ บ บ จุ  ม ฉี ด ไ ล  ต ะ ก อ น เ ก ษ ต ร ก ร บ า ง ร า ย นิ ย ม ใ ช  ด  า ง ทั บ ทิ ม ห  อ ด  ว ย ผ  า ถู ต า ม ภ า ย ใ น ก ร ะ ชั ง เพอื่ ฆา เชอื้ 7.2 การคดั ขนาด การเลย้ี งปลาบตู อ งทําการคดั ขนาดปลาบอ ย ๆ ครง้ั ปกตเิ ดอื นละ ครง้ั หรอื อยา งนอ ย 2 เดอื นตอ ครง้ั เนอ่ื งจากปลาบเู ปน ปลากนิ เนอ้ื และมนี สิ ยั กา วรา ว ปลาตัวใหญจะ คอยไลไ มใ หป ลาตวั เลก็ ไดม โี อกาสเขา มากนิ อาหารทําใหป ลาตวั เลก็ ผอมลง พฤตกิ รรมกา วรา วนเ้ี กดิ ขน้ึ ในลกู ปลาบตู วั เลก็ เหมอื นกนั คอื ถา ลกู ปลามขี นาดตา งกนั มากกจ็ ะกนิ กนั เองแตใ นปลาบขู นาดใหญจ ะมี พฤตกิ รรมกดั กนั เองและไลก นั ไปมา การคดั ขนาดปลาบทู ําใหป ลามขี นาดโตเทา กนั สม่ําเสมอเตบิ โตเรว็ และเพม่ิ ผลผลติ อกี ดว ย 7.3 การปอ งกันโรค ผเู ลย้ี งควรหมน่ั ดแู ลสขุ ภาพของปลาบอู ยเู สมอ ตรวจดูกระชังภายในให อยใู นสภาพดแี ละควรถอื หลกั ปอ งกนั ไมใ หเ กดิ โรคมากกวา ทป่ี ลอ ยใหปลาเปน แลว ทําการรักษาทีหลัง 8. อตั รารอด อตั ราการรอดตายในการเลย้ี งปลาบขู น้ึ อยกู บั ปจ จยั ความแขง็ แรงของพนั ธปุ ลา คณุ ภาพนา้ํ ในแหลง น้ํา ความสามารถ ความชํานาญในการเลย้ี งและสภาพสง่ิ แวดลอ ม 9. อตั ราการเจรญิ เตบิ โต อตั ราการเจรญิ เตบิ โตของปลาบขู น้ึ กบั ปจ จยั หลายประการ อาทิ อตั ราปลอ ย คณุ ภาพและปรมิ าณอาหาร คณุ สมบตั นิ ้ํา ฯลฯ จากการเลย้ี งปลาบทู แ่ี มน ้ํานา น จ. นครสวรรค พบวา อตั ราปลอ ย ตารางเมตรละ 32 ตวั ใชเ วลาเลย้ี ง 7 เดอื นจะใหผ ลผลติ สงู สดุ 10. ผลผลติ ผลผลติ การเลย้ี งปลาบใู นกระชงั ไมไ ผข นาด 10 ลกู บาศกเ มตร อตั ราการ ปลอ ยปลา 915 ตวั น้าํ หนกั เฉลย่ี 224 กรัม ใชเ วลาเลย้ี ง 5.3 เดอื น ไดน ้ําหนกั เฉลย่ี 435 กรัม สวน กระชงั ไมจ รงิ ขนาด 15 ลกู บาศกเ มตร อตั ราการปลอ ยอาหาร 1,500 ตวั น้าํ หนกั เฉลย่ี 184 กรัม ใชเ วลาเลย้ี ง 8.5 เดอื น ไดน ้ําหนกั เฉลย่ี 422 กรัม ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 16 การเลี้ยงปลาบูถามีการเอาใจใสการเล้ียงปลามีประสบการณความชํ านาญและสภาพ แวดลอ มดี ปลาไมเ ปน โรคกจ็ ะใหผลผลิตตอ หนวยพน้ื ที่สงู ขายไดร าคาแพงและมกี ําไรสงู โรคพยาธิและการปอ งกนั เกษตรกรผเู ลย้ี งปลาบสู ว นใหญม คี วามวติ กเรอ่ื งโรคทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ดงั นน้ั การปอ งกนั โรคไวก อ นจงึ เปนทางเดียวที่จะไมทําใหป ลาบเู ปน โรค ซง่ึ ผเู ลย้ี งตอ งคอยเอาใจใสด แู ลสขุ ภาพของปลาบู การจัดการ ทด่ี ที ําใหป ลามสี ขุ ภาพสมบรู ณแ ขง็ แรง อกี ทง้ั ตอ งหมน่ั สงั เกตสภาพแวดลอ มโดยรอบของกระชงั เชน คณุ ภาพน้ําทางตน น้ํา อาการเปน โรคของปลาในธรรมชาติ สาํ หรับโรคพยาธิที่พบในปลาบู แบงเปน 6 ประเภท คอื 1. พยาธภิ ายนอก 1.1 พยาธภิ ายนอกทม่ี องเหน็ ดว ยตาเปลา ไดแก - หนอนสมอ พบมากตามซอกเกลด็ ครบี และในชอ งปาก พยาธพิ วกนจ้ี ะดดู เลอื ดปลา ทาํ ใหป ลาออ นแอ - เออกาซลิ สั ดดู เลอื ดตามเหงอื กปลา ถา เกาะนาน ๆ ทําใหเ หงอื กกรอ น กอใหเกิด ปญหากับระบบหายใจ - โกลซเิ ดยี เปน ตวั ออ นของหอย 2 ฝา เกาะตามซเ่ี หงอื ก ทาํ ใหล ดพน้ื ทใ่ี นการแลก เปลย่ี นออกซเิ จน 1.2 พยาธภิ ายนอกทไ่ี มส ามารถมองเหน็ ไดด ว ยตาเปลา ไดแก ทริกโคไดนา ฮีนีกูยา อพี สิ ไทลิส ชโิ ลโดเนลลา แดคไทโรจัยลัส อาการปลาบทู ม่ี พี ยาธเิ หลา นค้ี อื ลอยหวั เกลด็ หลดุ เหงือกซีด บางครง้ั พบจดุ ขาว ๆ ประปรายทั่วไป 2. พยาธภิ ายใน ไดแก พยาธิตัวกลม พยาธิหัวหนาม ทาํ ใหป ลาผอม ไมก นิ อาหาร 3. เชื้อรา ไดแก แซปโปรเลกเนีย ขน้ึ เปน กระจกุ มแี ขนงมากมายบรเิ วณผวิ หนงั ของลําตวั เชอ้ื นจ้ี ะฝง ลกึ เขา ไปในเนอ้ื เยอ่ื ทําใหเกลด็ หลดุ เกดิ บาดแผล ปลาออ นแอ 4. เชอ้ื บกั เตรี ไดแก แอโรโมแนสไฮโดรฟล า คอรีนีแบคทีเรียม สเตรปโตเรคอคคสั อาการท่ี พบคอื ทองบวม ตาโปน แผลตามลําตวั เกดิ น้ําเหลอื งในชอ งทอ ง ไตบวม เปน ตน สําหรับเชื้อ แอโรโมแนส ไฮโดรฟล า เปน ตวั ทก่ี อ ใหเ กดิ โรคในปลาบมู ากกวา ชนดิ อน่ื ๆ 5. มะเร็งตอมนํ้าเหลอื ง ปลาทป่ี ว ยเปน โรคน้ี หากสงั เกตจะพบวาบรเิ วณแผน ปด เหงือกเร่มิ กาง ออกเนอ่ื งจากโคนครบี หบู วมพองขน้ึ มาคลา ยกบั กอ นเนอ้ื พองออก โดยเฉพาะดา นหนา โคนครบี ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 17 กอนมะเร็งดังกลาวจะเติบโตมีขนาดใหญทําใหแผนปดเหงือกกางออกมากและมะเร็งลุกลามถึงแผนปด เหงอื ก กระดกู เหงอื กบนครบี หูและบริเวณสว นหัว โรคนย้ี งั ไมม วี ธิ กี ารรกั ษา 6. โรคตับไต ปลาทเ่ี ปน โรคนไ้ี มม คี วามผดิ ปกตติ ามลกั ษณะภายนอก พบวาเหงือกซีดกวาปกติ เนอ่ื งจากเลอื ดจาง ตบั ไตใหญม สี เี หลอื งออ น มา มมขี นาดใหญแ ละเลอื ดออก สาเหตขุ องโรคมากจาก การไดร บั อาหารไมถ กู สว น การปอ งกนั รกั ษา การปอ งกนั ไมใ หป ลาเปน โรคเปน วธิ ที ด่ี ที ส่ี ดุ ซง่ึ ขน้ึ กบั สภาพแวดลอ ม และ ความเอาใจใสข องเกษตรกรผเู ลย้ี งปลา การรกั ษาปลาเปน โรค 1. การกําจดั พยาธภิ ายนอก สามารถกําจดั ดว ยสารเคมี ใชฟ อรม าลนิ 25-50 พีพีเอ็ม แชวัน ละ 2 ครง้ั ตดิ ตอ กนั 2-3 วัน หรือนําปลาไปแชฟ อรม าลนิ 250 พีพีเอ็ม นาน 1 ชั่วโมง หรือใชก รด เกลเซยี ลอะซติ คิ 1 ตอ 2,000 แช 30 นาที หรือใชดางทับทิม 3-5 พีพเี อม็ แชตลอดไป แตถาใช ความเขม ขน 10 พีพีเอ็ม แช 30 นาที สว นเมทธลี นี บลู ใชฆาโปรโตซัวไดดีโดยเฉพาะโรคอิ๊กโดย เตรยี มสารละลายเมทธลี นี บลู 1 กรัม ตอ น้ํารอ น 100 ซี.ซี. เกบ็ ในขวดกนั แสง ใชส ารละลายทเ่ี ตรยี ม ไว 1 ซี.ซี ตอ น้ํา 5 ลติ ร แชนาน 1 วัน ทําซํ้าทุก ๆ 2 วัน จนหาย สว นโปรโตซวั ชนดิ อน่ื ๆ ใช 3 ซี.ซี. ตอ น้ํา 10 ลติ ร แชต ลอด 2. กําจดั พยาธภิ ายใน ควรใชยาถายพยาธิ เชน ดเี วอรม นิ ผสมในอาหาร 0.1-0.2 เปอรเ ซน็ ต ของน้ําหนกั อาหาร 3 วนั ตดิ ตอ กนั 3. การกําจดั เชอ้ื รา ใชม าลาไคท ก รนี 1-5 สว นตอ น้ําลา นสว นแช 1 ชั่วโมง 3 ครง้ั ตดิ ตอ กนั 4. การกําจดั เชอ้ื บกั เตรี การรักษากระทําไดผ ลตอ เมอ่ื ปลาบตู ดิ เชอ้ื ระยะเรม่ิ แรก แตถา ปลอยไว นานการรกั ษาจะไมค อ ยไดผ ลสําหรบั บคั เตรสี ว นใหญใชย าปฏิชวี นะ เชน ซลั ฟาเมอราซนิ 200 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ําหนกั ปลา 1 กิโลกรัม ผสมอาหารใหก นิ ตดิ ตอ กนั 14 วัน อิริโทรมัยซิน 10 กโิ ลกรมั ตอ นา้ํ หนกั ปลา 100 กิโลกรัม ผสมอาหารใหก นิ ตดิ ตอ กนั 14 วัน คลอแรมฟน คิ อล 5-10 กโิ ลกรมั ตอ อาหารปลา 10 กิโลกรัม ตดิ ตอ กนั 5-10 วัน สาํ หรบั คลอแรมฟน คิ อล ถา ใชฉ ดี ควรใช 10-30 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ําหนกั ปลา 1 กิโลกรัม วนั ละ 1 ครง้ั 3 วัน การรวบรวมลกู ปลา เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการจบั หรอื รวบรวมปลาบใู นธรรมชาตมิ อี ยหู ลายชนิดดงั น้ี 1. ขา ย เปน เครอ่ื งมอื ทําการประมงทน่ี ยิ มใชก นั มากทส่ี ดุ ขนาดของขา ยทน่ี ยิ มใชม คี วามยาว 150-180 เมตร ลกึ 1.5 เมตร ชอ งตา 2-14 เซนตเิ มตร ใชข า ยประมาณ 4 ผนื ตอ ชาวประมง หนง่ึ ราย 2. เบด็ ราว เปน เครอ่ื งมอื ทําการประมงที่พบกันทั่วไป ขนาดตวั เบด็ ตง้ั แตเ บอร 01-05 เบอร 8 และเบอร 20-24 เบด็ ราว 1 เสน มตี วั เบด็ 20-50 ตวั ชาวประมงบางรายใชเ บด็ ประเภท ไมม เี งย่ี ง ทําใหป ลาบทู จ่ี บั ไดบ าดเจบ็ นอ ยมาก 3. สวงิ เปน เครอ่ื งมอื ขนาดเลก็ ใชช อ นสตั วน ้ําขนาดเลก็ ซง่ึ จะไดป รมิ าณนอ ยในการทําการ ประมงแตล ะครง้ั 4. ลอบ เปน เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชป ระกอบเครอ่ื งกน้ั เชน เฝอ กกน้ั แลว ใชล อบวางดกั วธิ นี ป้ี ลาบจู ะ บอบชํ้าหรอื บาดเจบ็ นอ ยที่สดุ ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 18 5. กร่ํา เปน การนํากง่ิ ไมแ หง มาสมุ กนั เปน กองขนาดใหญต ามแหลง น้ําปลอ ยทง้ิ ไวใ หป ลาเขา มา อาศยั อยู หลงั จากนน้ั ใชอ วนลอ มแลว เอากง่ิ ไมแ หง ออกเพอ่ื จบั ปลา 6. แห เปน เครอ่ื งมอื จบั สตั วน ้ําพน้ื บา น ขนาดแหทน่ี ยิ มใชค วามยาว 5-9 ศอก (2.5-4.5 เมตร) ขนาดชอ งตา 1.5-6.0 เซนตเิ มตร ซงึ่ นยิ มใชทําการประมงในชว งฤดนู ้ําลดบรเิ วณแหลง น้ําทน่ี ้ํา แหง 7. ยอยก เปน เครอ่ื งมอื จบั ปลาทน่ี ยิ มใชใ นจงั หวดั อบุ ลราชธานเี ปน ยอขนาดใหญติดอยูกับแพ ลอยตามกระแสน้ํา ใชว างจมลงในแหลง น้ําเปน เวลานาน ๆ หรอื ใชแ สงไฟลอ ปลาในเวลากลางคนื แลว ยกยอขน้ึ เพอ่ื จบั ปลา วธิ นี ป้ี ลาบจู ะบอบช้ํานอ ย การตลาด ปจ จบุ นั ปลาบนู บั วนั มรี าคาแพงขน้ึ เนอ่ื งจากพนั ธปุ ลาทน่ี ําไปเลี้ยงหายากและสภาพแวดลอม เปลย่ี นไปแตค วามนยิ มบรโิ ภคปลาบมู ปี รมิ าณสงู ขน้ึ โดยสง เปน สนิ คา ออกไปยงั ประเทศฮอ งกง สงิ คโปรแ ละมาเลเซยี ซง่ึ ผบู รโิ ภคเชอ่ื วา มคี ณุ คา ทางอาหารสงู ทําใหร า งกายแขง็ แรงและเพม่ิ พลงั ในสมยั กอ นนน้ั มกี ารเลย้ี งปลาบใู นกระชงั กนั มาก เชน จงั หวดั นครสวรรค อทุ ยั ธานี ชัยนาท สงิ หบ รุ ี อา งทอง พระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี ตอ มาการเลย้ี งปลาบปู ระสบปญ หาปลาเปน โรคและ ตายมาก จํานวนผเู ลย้ี งและผลผลติ ลดลง ราคาปลาจงึ สงู ขน้ึ ตามกลไกตลาด ราคาและผลตอบแทน ราคาพนั ธปุ ลาบทู เ่ี กษตรกรซอ้ื มาเลย้ี งในกระชงั ตง้ั แตป  2525-2537 ราคากโิ ลกรมั ละ 30-160 บาท สว นราคาปลาบเู พอ่ื บรโิ ภคมรี าคาตง้ั แต 200-350 บาทตอกิโลกรมั การขนสง ลําเลยี ง การขนสงลําเลยี งเรม่ิ ตง้ั แตก ารขนสง ลกู พนั ธปุ ลาบขู นาดเลก็ 1-2 นิ้วไปยงั ผูเ ลีย้ ง และการลําเลียง ปลาบขู นาดตลาดไปยงั กลมุ ผบู รโิ ภค วธิ กี ารลําเลยี งมี 2 วิธี 1. การลําเลยี งโดยใชถ งุ พลาสตกิ อดั ออกซเิ จน เหมาะสําหรบั ใชล ําเลยี งลกู ปลาบขู นาดเลก็ 1-2 นว้ิ และปลาบขู นาด 50-250 กรัม วธิ นี เ้ี ปน การลําเลยี งที่เหมาะสมทีส่ ดุ ไมทําใหป ลาบอบช้ํา ปกตใิ ชถ งุ พลาสตขิ นาด 20 x 30 เซนตเิ มตร ใสน ้ําสงู ประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร ถงุ ปลาแตล ะถงุ สามารถบรรจลุ กู ปลาขนาด 1-2 นว้ิ จํานวน 500-700 ตวั เมอ่ื ใสพ นั ธปุ ลาแลว อดั ดว ยออกซเิ จน บรสิ ุทธิ์รัดปากถุง สาํ หรบั พนั ธปุ ลาทจ่ี บั ไดจ ากธรรมชาตคิ วรบรรจถุ งุ ละ 5 - 20 ตวั แลว แตข นาดพนั ธุ ปลา ปรมิ าณน้ําในถงุ พลาสตกิ ลําเลยี งไมค วรใสม ากนกั เนอ่ื งจากปลาบมู นี สิ ยั ไมค อ ยเคลอ่ื นไหว เหมอื นปลาชนดิ อน่ื การใสน ้ํามากทาํ ใหม วลน้ําในถงุ มกี ารโยนตวั ไปมามากทําใหปลาถูกกระแทกไปมา บอบชํ้ามากขน้ึ สําหรับการลําเลียงพันธุปลาจากธรรมชาติไปเลี้ยงในกระชงั ควรบรรจุถุงพลาสตกิ อดั ออกซิเจน ดกี วา งลําเลยี งดว ยถาดสงั กะสี 2. การลําเลยี งโดยใชถ าดสงั กะสี เหมาะสําหรบั ใชล ําเลยี งปลาบขู นาดตลาดไปขายพอ คา คน กลางหรอื ภตั ตาคาร ขนาดถาดลําเลยี งมคี วามกวา ง 45 เซนตเิ มตร ยาว 70 เซนตเิ มตร สูง 9 เซนตเิ มตร ดา นขา งตามความยาวของถาดมรี กู ลมขนาด 1.5-2.0 เซนตเิ มตร เรยี งเปน แถวเดย่ี ว สวน ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 19 ดา นกวางมีหูหิ้วทั้ง 2 ขา ง ถาดทําดว ยสงั กะสแี ละมฝี าครอบถาด ภายในมแี ผน สงั กะสกี น้ั กลาง แบง ออกเปน 2 ชอ ง วธิ กี ารลําเลยี ง นาํ ปลาบมู าวางเรยี งกนั เปน แถวเพยี งชน้ั เดยี วจนเตม็ ถาดแลว เอาน้ําพรมใหทั่ว และใสน ํ้าพอทว มทอ งปลาเลก็ นอ ยจากนน้ั ปด ฝา ถา ปลามจี ํานวนมากกล็ ําเลยี งถาดขน้ึ รดซอ นเปน ชน้ั ๆ วธิ นี เ้ี หมาะสําหรบั ขนปลาบขู นาดตลาดไปขายเพราะขนไดค รง้ั ละจํานวนมาก ประกอบกบั ปลาบเู ปน ปลาที่อดทนมากพอสมควรเมื่อลําเลียงไปถึงปลายทางแลวถูกนําไปพักในบอปูนแสดงไวใหผูบริโภคได เลอื กซอ้ื หรอื ใสภ าชนะอน่ื ปลาบกู ย็ งั สามารถมชี วี ติ อยไู ดน านพอสมควร การใชป ระโยชน ปลาบสู ามารถเลย้ี งรวมกบั ปลาอน่ื เพอ่ื เปน ตวั ควบคมุ ประชากรปลา เชน การปลอ ยปลาบใู น บอ ปลานลิ เพอ่ื ควบคมุ ประชากรปลานลิ ไมใ หม มี ากเกนิ ไป มฉิ ะนน้ั ปลานลิ จะเตบิ โตชา และไมไ ดข นาด ตามทต่ี อ งการ ทง้ั ยงั ไดผ ลผลติ ปลาบเู ปน รายไดเ สรมิ อกี ทางหนง่ึ ปลาบยู งั สามารถเลย้ี งเปน ปลาสวย งามได เชน ปลาบทู อง แตสวนใหญ ปลาบทู รายนยิ มเลย้ี งเพอ่ื การบรโิ ภคเพราะมเี นอ้ื ขาวสะอาดนมุ อรอ ย รสชาตดิ สี ามารถนําไปแปรรปู เปน อาหารไดห ลายชนดิ ซง่ึ ชาวจนี นยิ มบรโิ ภคโดยมคี วามเชอ่ื วา กนิ แลว ชวยบํารงุ กําลงั รา งกายใหแ ขง็ แรง และตอ งบรโิ ภคปลาบเู ปน ๆ สด ๆ ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 20 การแปรรูปปลาบู ปลาบนู ง่ึ บว ย สว นประกอบ ปลาบขู นาด 400-500 กรัม 1 ตวั คน่ึ ฉา ย 2 ตน บว ยดอง 3 ลกู กระเทียมดอง 3 หัว ผกั กาดขาว 1 หัว ซอี ว๊ิ ขาว 3 ชอ นโตะ วธิ ที ํา 1. นาํ ปลาบมู าขอดเกลด็ ดงึ เหงอื กออกแลว ลา งใหส ะอาด 2. นาํ ปลาบลู งในถาดทป่ี ดู ว ยผกั กาดขาว ใสก ระเทียมดองท่หี น่ั เปน แวน บว ยดอง และคึ่น ฉายที่หั่นเปนทอน ราดซอี ว๊ิ ขาวลงบนตวั ปลานําไปนง่ึ ใหส กุ ประมาณ 15-20 นาที ยกลงรบั ประทาน ได นํ้าจม้ิ : โขลกกระเทียม 5 กลบี พรกิ ขห้ี นู 5 เมด็ ใหล ะเอยี ดเตมิ มะนาวน้ําปลาและน้ําตาลเลก็ นอ ย ปรงุ รสตามตอ งการ ปลาบนู ง่ึ แปซ ะ สว นประกอบ ปลาบขู นาด 400-500 กรัม 1 ตวั ผกั กาดขาว 1 หัว ขงิ หน่ั ฝอย 1 ขดี พริกแดงหั่นฝอย 1 ขดี พริกไทย 1 ชอนชา ซอี ว๊ิ ขาว 3 ชอ นโตะ นา้ํ ปลา 2 ชอ นโตะ เตาเจี้ยว 1 ชอ นโตะ วธิ ที ํา 1. นาํ ปลาบมู าขอดเกลด็ ดงึ เหงอื กออกใหห มดแลว ลา งใหส ะอาด 2. นาํ ปลาบวู างบนถาดทป่ี ดู ว ยผกั กาดขาว แลวนําสว นประกอบตา ง ๆ ราดบนตวั ปลา นําไป นง่ึ ใหส กุ ประมาณ 15-20 นาที ยกลงรบั ประทานได นํ้าจม้ิ : โขลกพรกิ ข้หี นูและกระเทียมพอแตกเติมน้ําปลา น้าํ ตาล ปรงุ รสตามใจชอบ ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 21 ปลาบนู ง่ึ ซอี ว๊ิ สว นประกอบ ปลาบขู นาด 400-500 กรัม 1 ตวั ผกั กาดขาว 1 หัว ซอี ว๊ิ ขาว 3 ชอ นโตะ คน่ึ ฉา ย 3 ตน วธิ ที ํา 1. นาํ ปลาบมู าขอดเกลด็ ดงึ เหงอื กออกใหห มดลา งใหส ะอาด 2. นาํ ปลาบวู างบนถาดทป่ี ดู ว ยผกั กาดขาว ราดซอี ว๊ิ ขาวใหท ว่ั ตวั ปลา และโรยหนาดวยคึ่น ฉายทห่ี น่ั เปน ทอ น นําไปนง่ึ ในน้ําเดอื ดจดั ประมาณ 20 นาที สกุ ยกมารับประทานได นํ้าจม้ิ : โขลกกระเทียม 5 กลบี พรกิ ขห้ี นู 5 เมด็ ใหล ะเอยี ดใสข งิ หน่ั เปน เสน เลก็ ๆ ลงไป เตมิ เตาเจี้ยวและนํ้าตาลเลก็ นอ ย ปรงุ รสตามใจชอบ ตํ มยําปลาบูกรอบ สว นประกอบ ปลาบขู นาด 400-500 กรัม 1 ตวั ตะไคร 1 ตน ขา ออ นหน่ั ละเอยี ด 1 ขดี มะเขอื เทศหน่ั เปน ซกี 2 ลกู ใบมะกรดู 3 ใบ เห็ดฟางหั่น 1 ขดี พริกขี้หนูแหงเผา มะนาว นา้ํ ปลา ผักชีฝอย วธิ ที ํา 1. นาํ ปลาบขู อดเกลด็ ควักไสแ ละเหงอื กออกใหห มด ลา งใหส ะอาดหน่ั เปน ชน้ิ ๆ แลวนําไป ทอดใหกรอบ 2. ตง้ั นา้ํ ใหเ ดอื ด ทบุ ตะไครแ ลว หน่ั เปน ทอ นใสล งในหมอ พรอ มขา ออ น ใหน ้ําเดอื ดอกี สกั พกั ใสเห็ดฟางหั่น ตม เหด็ ฟางพอสกุ ใสป ลาบทู อดกรอบลงไปตามดว ยมะเขอื เทศหน่ั เปน ซกี ปรงุ รสดว ย น้าํ ปลา มะนาว และพริกขี้หนูแหงเผาโขลกใหแตกตามความพอใจแลวโรยดวยผักชีฝอย ยกลงรบั ประทานได ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 22 คําแนะนํา การปอ งกนั สตั วน ้ําจากภยั ธรรมชาติ “ภัยธรรมชาติ” หมายถึง อนั ตรายจากสง่ิ ทเ่ี กดิ มแี ละเปน อยตู ามธรรมดา ของสง่ิ นน้ั ๆ โดยมไิ ด มกี ารปรงุ แตง อาทิ อุทกภัย และฝนแลง เปน ตน กรมประมง จงึ ขอเสนอแนวทางปอ งกนั หรอื ลดความ สญู เสียและความเสียหายแกเกษตรกรผูเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าจากการประสบภาวะฝนแลง ฝนตน ฤดแู ละอทุ ก ภัย ดงั น้ี ภาวะฝนแลง ภาวะฝนแลงและฝนท้ิงชวงทํ าใหปริมาณน้ํ ามีนอยท้ังในแหลงน้ํ าธรรมชาติและแหลงน้ํ าชล ประทานซง่ึ เปน แหลง น้ําสําคญั ทใ่ี ชใ นการเพาะเลย้ี งสตั วน ้ําและเกดิ ผลกระทบตอ การประมง ตลอดจน สภาพแวดลอ มไมเ หมาะสมตอ การแพรข ยายพนั ธแุ ละการเจรญิ เตบิ โตของสัตวน ้ํา โดยมวี ธิ กี ารปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. ควบคมุ การใชน ้ําและรกั ษาปรมิ าณน้ําในทเ่ี ลย้ี งสตั วน ้ําใหม กี ารสญู เสยี นอ ย เชน การร่ัวซึม การกาํ จัดวัชพืช 2. ทํารม เงาใหส ตั วน ้ําเขา พกั และปอ งกนั การระเหยน้ําบางสว น 3. ลดปรมิ าณการใหอ าหารสตั วน ้ําทีม่ ากเกนิ ความจําเปนจะทําใหน ้ําเสยี 4. เพม่ิ ปรมิ าณออกซเิ จนโดยใชเ ครอ่ื งสบู น้ําจากกน บอ พน ใหส มั ผสั อากาศแลว ไหลคนื ลงบอ 5. ปรบั สภาพดนิ และคณุ สมบตั ขิ องน้ํา เชน น้าํ ลกึ 1 เมตร ใสป นู ขาว 50 กก./ไร ถา พน้ื บอ ตะไครห รอื แกส มากเกนิ ไปควรใสเ กลอื 50 กก./ไร เพื่อปรับสภาพผิวดินใหดีขึ้น 6. จบั สัตวนํ้าทไ่ี ดข นาดขน้ึ จําหนา ยหรือบรโิ ภคในเวลาเชา หรอื เยน็ เพอ่ื ลดปรมิ าณสตั วน ้ําใน บอ 7. ตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องน้ําจากภายนอกที่จะสูบเขาบอเลี้ยง เชน พบวา มตี ะกอนและแรธ าตุ ตา ง ๆ เขม ขน ควรงดการสบู น้ําเขา บอ 8. งดเวน การรบกวนสตั วน ้ําเพราะการตกใจจะทําใหส ตั วน ้ําสญู เสยี พลงั งานและอาจตายได 9. งดเวน การขนยา ยสตั วน ้ําโดยเดด็ ขาด หากจําเปน ตอ งทําอยา งระมดั ระวงั 10. แจง ความเสยี หายตามแบบฟอรม กรมประมง เพอ่ื การขอรบั ความชว ยเหลอื อยา งถกู ตอ ง และรวดเรว็ ภาวะฝนตน ฤดู การเตรยี มการรบั ภาวะฝนตน ฤดู เกษตรกรผเู พาะเลย้ี งสตั วน ้ําควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ไมค วรสบู น้ําฝนแรกเขา บอ เพราะน้ําจะพัดพาสิง่ สกปรกจากผวิ ดนิ ลงสูแ หลงนํ้าธรรมชาติ ควรปลอ ยใหน ้ํามปี รมิ าณเพม่ิ ขน้ึ จึงนําน้าํ ไปใชใ นการเพาะเลย้ี งสตั วน ้ํา 2. ควรสบู น้ําในบอ ใหส มั ผสั อากาศจะชว ยเพม่ิ ปรมิ าณออกซเิ จนและปอ งกนั การแบง ชน้ั ของน้าํ 3. ปอ งกนั การไหลของน้ําฝนทจ่ี ะชะลา งแรธ าตแุ ละสารเคมจี ากผวิ ดนิ ลงสบู อ ซง่ึ อาจเปน อนั ตรายตอ สตั วน ้ําได 4. งดการรบกวน การจบั และขนยา ยสตั วน ้ํา ควรรอจนกวา คณุ สมบตั ขิ องน้ํามสี ภาพดเี ปน ปกติ 5. งดจบั สตั วน ้ําเพอ่ื การอนรุ กั ษ เนอ่ื งจากสตั วน ้ําจะผสมพนั ธหุ ลงั จากฝนตกใหม ๆ ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลาบู 23 ภาวะอทุ กภยั การปองกันสัตวนํ้าสูญหายจากภาวะอุทกภัยควรปฏิบัติตามสภาวะการณกอนเกิดภาวะอุทกภัย คอื ใหจ บั สตั วน ้ําทไ่ี ดข นาดตลาดตอ งการออกจําหนา ย กอ นชว งมรสมุ ในฤดฝู น พรอ มทง้ั สรา งกระชงั ไนลอน กระชงั เนอ้ื อวน บอ ซเี มนต หรอื ขงึ อวนไนลอน เพอ่ื กกั ขงั สตั วน ้ํา “สัตวนํ้าจะปลอดภยั ใหปองกันหมั่นดูแล” ๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ จดั ทําเอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร