Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม

ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม

Description: สำนักงาน ก.พ. ในฐานะองค์การกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ และได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนในการเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคลในระบบราชการ

Search

Read the Text Version

4.2 จ�ำนวน และรายช่ือกระทรวงพร้อมทตี่ ิดตอ่ 4.2.1 รายช่อื กระทรวง จ�ำนวน 12 กระทรวง การบริหารการปกครองของบรูไนมีทั้งการบริหารส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาค และส่วนท้องถิน่ ในส่วนกลางสุลตา่ นได้มอบหมายให้รฐั มนตรี รบั ผดิ ชอบงานตา่ งๆ และมรี ฐั มนตรชี ว่ ยเปน็ ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรใี นการบรหิ าร ภารกิจต่างๆ ที่ได้มอบหมายตามกระทรวงนั้นๆ โดยมีปลัดกระทรวง แตล่ ะกระทรวงเปน็ หวั หนา้ ของขา้ ราชการประจ�ำในกระทรวง กระทรวง ต่างๆ ที่ดูแลรับผิดชอบภารกิจในการบริหารประเทศ มีจ�ำนวนทั้งหมด คือ 1 ส�ำนกั นายกรัฐมนตรี  และ12 กระทรวง ดงั ต่อไปน้ี [9] 1. ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ภายใต้การก�ำกับและควบคุมดูแลของ สุลต่านฮจั ญี ฮสั ซะนลั โบลเกยี ะห์ สามารถแบ่งงานออกเป็นหนว่ ยงาน ต่างๆ ดงั น้ี 1) ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ 2) ส�ำนักงานรกั ษาความมั่นคงภายใน 3) ส�ำนกั งานปราบปรามการคอรัปชัน่ 4) ส�ำนกั งานการตรวจสอบบัญชี 5) คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น 6) หน่วยงานราชการพลเรือน 7) หนว่ ยงานบรกิ ารด้านบริหารจัดการ 8) หน่วยงานวทิ ยุ โทรทัศนแ์ หง่ บรูไน 9) หนว่ ยงานข้อมลู ขา่ วสาร 10) สภาองคมนตรี 433*100 rgl±a*/ v*sa

2. กระทรวงการตา่ งประเทศ มีหน่วยงานในสังกดั ดงั น้ี 1) กรมอาเซียน 2) กรมองคก์ ารระหว่างประเทศ 3) กรมเศรษฐกจิ หลายฝ่าย 4) กรมวางแผนนโยบาย 5) กรมการเมือง 1 6) กรมการเมอื ง 2 7) กรมกิจการกงสลุ และสนธสิ ัญญา 8) กรมการ APEC 9) กรมการบรหิ าร 3. กระทรวงศกึ ษาธิการ มหี น่วยงานในสงั กดั ดงั นี้ 1) กรมการโรงเรยี น 2) กรมวางแผนพัฒนาและวจิ ยั 3) กรมการศึกษาเทคนิค 4) กรมการบรหิ ารและบรกิ าร 5) กรมนเิ ทศการศกึ ษา 6) กรมพัฒนาหลกั สตู ร 7) กรมหลกั สตู รร่วม 8) กรมการสอบ นอกจากนี้ยงั มีหนว่ ยงานอิสระอีก 5 หน่วย คือ 1) หนว่ ยดูแลรักษาอาคารและการวางแผน 2) หนว่ ยความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศและประชาสมั พันธ์ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 101

3) หน่วยการศกึ ษาพิเศษแหง่ ชาติ 4) หนว่ ยเลขานุการมาตรฐานแหง่ ชาติ 5) ศนู ยค์ วามรว่ มมอื ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม 4. กระทรวงการคลัง มหี น่วยงานในสงั กัด ดังน้ี 1) กรมคลัง 2) กรมตัวแทนการลงทุนของบรูไน 3) กรมศลุ กากรและภาษภี ายใน 4) กรมพฒั นาและวางแผนเศรษฐกิจ 5) กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและราชพัสดุ 6) กรมกองทุนเพอ่ื ลกู จา้ ง 5. กระทรวงมหาดไทย ขอบเขตงานของกระทรวงมหาดไทย มี หนว่ ยงานในสังกัด ดังนี้ 1) ส�ำนกั งานเขต/อ�ำเภอ 2) ส�ำนกั งานเทศบาล 3) ส�ำนักงานรกั ษาความปลอดภยั และความมัน่ คง 4) ส�ำนกั งานแรงงาน 5) ส�ำนกั งานเรอื นจ�ำ 6) ส�ำนกั งานตรวจคนเขา้ เมอื งและทะเบยี นประชากร 7) ส�ำนักงานชง่ั ตวง วัด 8) หน่วยดับเพลิง u102 r$ * sr

6. กระทรวงวฒั นธรรม เยาวชน และการกฬี า มหี นว่ ยงานในสงั กดั ดังน้ี 1) กรมเยาวชนและการกฬี า 2) กรมพิพธิ ภัณฑ์ 3) กรมประวตั ศิ าสตร์ 4) สถาบนั ภาษาและหนงั สือ 5) ส�ำนักงานบรกิ ารสังคม 7. กระทรวงอตุ สาหกรรมและทรพั ยากรธรรมชาติ มหี นว่ ยงานใน สงั กัด ดงั น้ี 1) กรมการเกษตร 2) กรมป่าไม้ 3) กรมประมง 4) ส�ำนกั งานการพัฒนาอตุ สาหกรรมบรไู น 8. กระทรวงการพฒั นา มหี นว่ ยงานในสงั กดั ดงั นี้ 1) กรมการไฟฟ้า 2) กรมการพัฒนาการเคหะ 3) กรมประชาสงเคราะห์ 4) กรมวางแผนเมอื งและชนบท 5) กรมทดี่ ิน 6) กรมการส�ำรวจ ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 103

9. กระทรวงสาธารณสุข มีเพียงกรมยาและสุขภาพเท่านั้น เป้า หมายของกระทรวงสาธารณสขุ คอื การพฒั นาสขุ ภาพชวี ติ ของประชาชน และรกั ษาสขุ ภาพใหป้ ระชาชนมอี ายยุ นื ยาว กระทรวงนย้ี งั มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในเรอื่ งดังตอ่ ไปนี้ 1) ดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยไม่ค�ำนึงถึงศาสนา เช้ือชาติ และก�ำเนดิ 2) ยกระดับมาตรฐานสขุ ภาพอนามัยของประชาชน 3) ประสานงานและร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนๆ ด้านสังคมและ สาธารณสุข 4) จดั ระบบการท�ำงานและบรหิ ารงานทมี่ คี ณุ ภาพกบั หนว่ ยงาน ของกระทรวง 5) ด�ำเนนิ นโยบายตามแนวทาง MIB 10. กระทรวงกิจการศาสนา มหี น่วยงานในสังกดั ดงั น้ี 1) ส�ำนกั งานฝ่ายบริหาร 2) ส�ำนักงานฝ่ายกจิ การมัสยิด 3) ส�ำนักงานฝ่ายชารอี ะห์ 4) หนว่ ยงานกฎหมายอสิ ลาม 5) ศูนย์เผยแผ่อิสลาม 6) ฝา่ ยประสานงานและพัฒนาการเอกลกั ษณอ์ สิ ลาม 7) ส�ำนักงานกจิ การฮจั ญ์ 8) ศาลชารีอะห์ u104 r$ * sr

11. กระทรวงกลาโหม แบง่ งานออกเป็น 1) กองทพั บรูไน 2) กองทหารกรุ ขา่ คอื ทหารรกั ษาการเปน็ องคร์ กั ษ์ มปี ระมาณ 2,200 คน อกี สว่ นเปน็ ทหารกรุ ขา่ ขององั กฤษ ท�ำหนา้ ทด่ี แู ลกจิ การนำ�้ มนั และแก๊สธรรมชาติที่ซีเรียมีประมาณ 1,000 คน 12. กระทรวงคมนาคม มหี นว่ ยงานในสังกัด ดังนี้ 1) กรมการขนส่งทางบก 2) กรมการบินพลเรอื น 3) กรมไปรษณยี ์โทรเลข 4) กรมส่อื สารทางไกล 5) กรมเจ้าทา่ 6) กรมการทะเล 13. กระทรวงยตุ ธิ รรม แบง่ ออกเป็น 3 กรม คือ 1) กฎหมาย 2) ศาล 3) การพิมพ์ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 105

4.2.2 รายชือ่ กระทรวงพรอ้ มท่ตี ดิ ต่อ [10] กระทรวง I ข้อมูลตดิ ตอ่ ICU ที่อย่ ู Jalan Perdana Menteri Bandar Seri Begawan BB3913 ส�ำนักนายกรฐั มนตรี Brunei Darussalam (Prime Minister’s office) โทรศพั ท์ 2224645, 2223626, 2224684, 2224796 อเี มล [email protected] M3F ท่อี ยู่ Bandar Seri Begawan BB3910 Brunei Darussalam (MiกnรisะtทryรวoงfกFารinคaลnังce) โโททรรสศาพั รท ์ 667733--22338830993949 ทีอ่ ยู่ Timbalan Menteri Pertahanan / Dato Paduka Haji Mustappa bin Haji SiratGarisson Bolkiah Berakas BB3510 *8* Brunei Darussalam โทรศพั ท์ 673-2381133, 673-2386000 กระทรวงกลาโหม โทรสาร 673-2380101, 2382398, 2380050 (Ministry of Defence) กระทรวงมหาดไทย ทอี่ ยู่ Bandar Seri Begawan BS8610 (Ministry of Home Affairs) Brunei Darussalam โทรศพั ท์ 673-2223225 โทรสาร 673-2383934 fa106 , * sr art m

กระทรวง ขอ้ มูลติดตอ่ กระทรวงการตา่ งประเทศ ที่อยู่ Subok Bandar Seri Begawan และการคา้ BD2710 Brunei Darussalam โทรศัพท์ 673–2262177, 2261293 (AMfifnaiisrtsryAnodf FTorarediegn) โทรสาร 673–2261100, 2262904 £ โททอ่ี รยศู่ ัพ ท ์ 6B7e3ra-2ka3s81B1B333510 Brunei Darussalam โทรสาร 673-2380101, 2382398, 'igDi 2380050 ทีอ่ ยู่ Jalan Besar Menteri, Bandar Seri (MinกiรsะtrทyรoวงfศEึกdษuาcธaิกtาioรns) Begawan BB3910, Brunei Darussalam โทรศัพท์ 673-2381687 o โทรสาร 673-2381012 mipr กระทรวงอตุ สาหกรรม และทรัพยากรหลกั (Ministry of Industry and Primary Resources) tffc/ ที่อยู่ Bandar Seri Begawan BB3910 Brunei Darussalam Mrastry of Health. โทรศัพท์ 673-2381640 Brunei Darussalam โทรสาร 673-2381440 กระทรวงสาธารณสขุ (Ministry of Health) ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม 107

กระทรวง ขอ้ มลู ติดต่อ กรเยะาทวรชวนงวแัฒละนกธฬี รารม ที่อยู่ Simpang 336-17, Jalan Kebangsaan, (MYoinuitshtryanodf CSpuoltrutsre) , Bandar Seri Begawan BA1210 Brunei Darussalam โทรศัพท์ 673–2382911, 238905, 2380693 โ ท ร ส า ร 2637830–2637830652, 2380653, -• กระทรวงศาสนา ท่ีอยู่ Jalan Besar Menteri, Bandar Seri (Ministry of Religious Affairs) Begawaan BB3910, Brunei Darussalam โทรศัพท์ 673-2382525 กระทรวงการพัฒนา ทอี่ ยู่ Berakas, Bandar Seri (Ministry of Development) Begawan BB3510 Brunei Darussalam โทรศัพท์ 673-2383222 -• W( ท ่ีอ ยู ่ Jalan Besar Menteri, Bandar Seri Begawaan BB3910, กระทรวงคมนาคม Brunei Darussalam (Ministry of Communications) โทรศพั ท์ 673-2383838 -• m 108 *\"f5 . * ®r

4 .3 หอจ�าลำนเักซวยี หนนรขอื า้ ครุณาชลกกั าษรณทว่ั ะปหรละักเใทนศกพารรอ้เขมา้ คสณุ ู่ปลรักะชษาณคะม 4.3.1  จ�ำนวนขา้ ราชการทวั่ ประเทศ จ�ำนวนขา้ ราชการพลเรอื นทัง้ ประเทศมีประมาณ 48,761 คน ส่วน ใหญ่มีการศึกษาสูง และสามารถส่ือสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างด ี รัฐบาลมีนโยบายท่ีจะให้ข้าราชการพลเรือนได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 100 ชั่วโมงต่อปี มาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2555 ซ่งึ ข้าราชการต้องท�ำหนา้ ที่ใน การใหบ้ รกิ ารกับประชากรในประเทศ ตามหนว่ ยงานภาครฐั ที่ถกู แบง่ ออกเป็น 12 กระทรวง 113 แผนก ในช่วงระยะหลังมกี ารบรหิ ารงานใน หน่วยงานภาครัฐหลากหลายแบบ และน�ำระบบการบริหารจัดการเข้า มาช่วยในการบริหารงานราชการ  มีการน�ำหลักการเปล่ียนแปลง กระบวนทัศน์ กระบวนการคิด ทัศนคติ และวัฒนธรรมในการท�ำงาน มาสรา้ งใหเ้ กดิ ความโปรง่ ใส ความกระตอื รอื รน้ ความตน่ื ตวั ความรบั ผดิ ชอบ ใหเ้ กดิ ประสิทธิผลแกห่ นว่ ยงานราชการ สร้างจริยธรรมให้เกดิ แก่ ขา้ ราชการ ควบคไู่ ปกบั การบรหิ ารราชการทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ล และพฒั นาทกั ษะ ขดี ความสามารถของขา้ ราชการในการสง่ มอบสนิ คา้   และบรกิ ารทสี่ รา้ ง ความพึงพอใจให้กับประชากรบรไู นที่มารับบรกิ าร[9] ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 109

ตารางที่ 4  จ�ำนวนขา้ ราชการตามแตล่ ะกระทรวง กระทรวง จ�ำนวนข้าราชการ ส�ำนักนายกรฐั มนตรี 6,287 กระทรวงมหาดไทย 4,643 กระทรวงการคลงั 1,864 กระทรวงการตา่ งประเทศ 842 กระทรวงคมนาคม 1,727 กระทรวงวัฒนธรรมเยาวชนและกฬี า 1,895 กระทรวงศกึ ษาธิการ 12,769 กระทรวงอตุ สาหกรรม 1,746 กระทรวงสาธารณสขุ 6,035 กระทรวงศาสนา 3,750 กระทรวงกลาโหม 2,265 กระทรวงการพัฒนา 4,938 สรุปจ�ำนวน 48,761 ที่มา: ฝ่ายบรกิ ารสาธารณะ หรอื JPA 2012 m 110 f5 . *

ข้าราชการบรูไนแบ่งออกเปน็ 5 ระดับ ดงั นี้ ระดับ 1 จะเป็นระดับของข้าราชการท่ีเป็นผู้บริหารสูงสุด (Top Management) ไดแ้ ก่ ปลัดกระทรวง รองปลดั กระทรวง ผู้อ�ำนวยการ รองผอู้ �ำนวยการ (ระดับบน) ผชู้ ่วยผ้อู �ำนวยการ (ระดับบน) ฯลฯ ระดบั 2  จะเปน็ ผบู้ รหิ ารระดบั กลาง (Middle Management) ไดแ้ ก่ ผจู้ ัดการอาวุโส วิศวกร ผเู้ ชี่ยวชาญ บคุ ลากรทางการศึกษา ฯลฯ ระดบั 3 เป็นผู้บริหารระดับล่าง  (Lower  Management)  ได้แก่ ผู้บริหารระดบั กลาง หวั หน้า ผูเ้ ชยี วชาญทางเทคนิค ฯลฯ ระดับ 4 เป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ (Operational)  ได้แก่ พนกั งานเสมยี น ช่างเทคนคิ ฯลฯ ระดับ 5 ผู้ช่วยระดับปฏบิ ตั ิการ ไดแ้ ก่ ผู้ช่วยส�ำนักงาน คนขับรถ นกั การ ฯลฯ Division 1 ผูบรหิ ารระดบั สูง Division 2 ผบู รหิ ารระดบั กลาง Division 3 ผบู ริหารระดบั ลา ง Division 4 ผูดำเนินงาน Division 5 ผชู วยดำเนนิ งาน ภาพที่ 13 โครงสรา้ งข้าราชการพลเรอื นบรไู น พ.ศ. 2552 ทมี่ า: ACCSM 2009 ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 111

4.3.2 คุณลักษณะหลกั ของขา้ ราชการ 4.3.2   คุณลกั ษณะหลกั ของขา้ ราชการ 4.3.2.1 สมรรถนะส�ำหรับข้าราชการพลเรอื นบรูไน สมรรถนะส�ำหรับข้าราชการพลเรือนบรูไนนั้นเป็นเร่ืองท่ีคณะ กรรมการข้าราชการพลเรือนและกระทรวงต่างๆให้ความส�ำคัญที่การ พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นองคก์ รตอ้ งมอี ยา่ งครบครนั   จงึ มกี ระบวนการ ทใี่ ชก้ ารตรวจสอบตง้ั แตร่ ปู แบบการบรกิ าร  หลกั สตู รและโปรแกรม การฝกึ อบรม การทดสอบและการประเมนิ ผลการท�ำงาน ซงึ่ แตล่ ะขน้ั ตอน ยังมีกระบวนการพจิ ารณา ประเมนิ ตรวจสอบแล้วย้อนกลบั คณะพกกลรรรเะรมทือกรนาวรงข(Pแา SลรCาะช) การ ขาสรถาชาบ(กCันาSรพIพ)ฒั ลนเราือน ขาครณาชะ(กกPารSรรCพม)ลกเารรอื น (ขPSาครCณา)ชะแกกลาระรรกพมรลกะเาทรรอืรวนง การรปู บแรบิกบาร »หกลาโปักรฝสรแกูตอกรบรแมรลมะ การทดสอบ ระบกบารปทรำะงเมานินผล กาอราพชฒั ีพนา หลกั สูตรการ หลักสตู ร การประเมินผล ฝก อบรม การฝก อบรม ผลตอบแทน TNA การทดสอบ กาอราพชัฒพึ นา ควกาาคมรวพสาาฒัมมรนาู ารถ การฝกอบรม การประเมนิ ผล การประเมนิ ผล J t ผูเขารว ม การรบั รอง tT ขอมูลปอนกลับ ภาพที่ 14 รูปแบบการจัดการตามสมรรถนะ ท่มี า: ACCSM 2009 mi*-112 Ars *\" * s

ส่วนในด้านพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์หรือคนสามารถแบ่งเป็น 3 ด้าน ดังน้ี 1. สมรรถนะด้านคน ประกอบด้วย 1.1 การพฒั นาผอู้ น่ื (Developing Others) เพอื่ การพฒั นาและ ขยายขีดความสามารถของผู้อ่ืน 1.2 การตดิ ตอ่ สอื่ สาร (Communication) มที กั ษะความสามารถ ในการตดิ ต่อประสานงานทัง้ ภายในและภายนอกองค์การ 1.3 การสรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละเครอื ขา่ ย (Relationship Build- ing and Networking) 1.4 การจัดการทมี (Managing Teams) 2. สมรรถนะดา้ นตนเอง เปน็ การพฒั นาสมรรถนะดา้ นความรู้ ความ เขา้ ใจ ทัศนคติ ทักษะการคิด และการใช้สมอง ประกอบดว้ ย 2.1 คา่ นยิ ม (Value) เปน็ สง่ิ ทดี่ ี ทพี่ งึ กระท�ำ เหน็ คณุ คา่ จงึ อยาก แสดงพฤตกิ รรมนน้ั ๆ ท�ำใหอ้ งคก์ ารหรอื บคุ คลสามารถแสดงบทบาทและ ผลงานได้อย่างโดดเด่นแตกต่างกว่าองค์การ หรือบุคคลอื่น หรือ พฤตกิ รรมทอี่ งคก์ ารคาดหวงั /ปรารถนาใหบ้ คุ ลากรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ หรอื ทิศทาง เป้าหมายท่ีองค์การต้องการบรรลุเพื่อสร้างความแตกต่างหรือ โดดเด่นกวา่ องคก์ ารค่แู ข่ง 2.2 ความสามารถในการคิด (Thinking Capabilities) เชน่ การ คิดวเิ คราะห์ การคดิ ในเชงิ ภาพองค์รวม และการคิดเชิงระบบ ฯลฯ 2.3 การจัดการตนเอง (Managing Self) ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 113

SELF •Values Self Effectiveness •Thinking Capabilities PEOPLE •Managing Self Effective interaction, support, •Managing Teams shared work & •Relationship Building and communication within the Networking . team and with other team •Communication RjijH MiHMi*] •Developing Others •Vision and Strategy •Public Sector Acumen •Policy •Leadership •Management Capabilities •Managing Resources 3. สมรรถนะประจ�ำกลุ่มงาน และภารกิจงาน คือ สมรรถนะท่ี ก�ำหนดเฉพาะส�ำหรับกลุ่มภารกิจ เพื่อสนับสนุนให้ข้าราชการแสดง พฤติกรรมทเ่ี หมาะสมแกห่ น้าท่ี และส่งเสริมให้ขา้ ราชการปฏิบัติภารกิจ ในหนา้ ทใ่ี หด้ ยี ง่ิ ขึ้น โดยสมรรถนะประจ�ำกลุ่มภารกิจงาน ประกอบด้วย 3.1 การก�ำหนดระบบสมรรถนะนั้น ต้องก�ำหนดจากวิสัยทัศน์ (Vision) และยทุ ธศาสตร์ (Strategy) 3.2 ความฉลาด เฉยี บแหลมในงานภาครฐั (Public Sector Acumen) 3.3 นโยบาย (Policy) 3.4 ภาวะผู้นํา (Leadership) เปน็ ความสามารถด้านอทิ ธพิ ลต่อ บคุ คลในกลมุ่ เพอ่ื นําไปสคู่ วามสําเรจ็ ตามเปา้ หมาย ใชก้ ระบวนการสง่ั การ การมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ผอู้ น่ื การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ โดยถา่ ยทอดแนวคดิ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ 3.5 ความสามารถในการจดั การ (Managerial Capabilities) 3.6 การจดั การทรพั ยากร (Managing Resources) IT114

4.3.2.2 ประเด็นท้าทายในการพัฒนาข้าราชการปัจจุบนั ความสอดประสานของนโยบายตา่ งๆดา้ นทรพั ยากรมนษุ ยก์ บั เปา้ หมาย การพัฒนาแห่งชาติบรูไนถือเป็นสิ่งส�ำคัญมาก กลยุทธ์ในการพัฒนา ขา้ ราชการบรไู นจากวสิ ยั ทศั นบ์ รไู นทง้ั 8 ขอ้ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งการศกึ ษา เศรษฐกิจ ความมนั่ คง และการพัฒนาดา้ นต่างๆ ของประเทศนัน้ ก็เปน็ สง่ิ ทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ มมุ มองในการพฒั นาบรไู นอยา่ งชดั เจน ดงั นนั้ นโยบาย ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ยจ์ งึ ตอ้ งเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกบั นโยบายการบรหิ าร ประเทศ ส�ำหรับบทบาทในด้านกลยทุ ธ์ของการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ ในกระทรวงและแผนกต่างๆ นั้น ควรจะมีการท�ำให้บรรลุผลส�ำเร็จใน ทกุ ๆ กระทรวง และทุกๆ แผนก สว่ นเรอ่ื งการวางแผนการฝกึ อบรมระยะยาวนน้ั ตง้ั อยบู่ นแผนกลยทุ ธ์ ขององค์การ ซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวนหน่วยงานที่มีความก้าวหน้าด้านการ พัฒนาขดี ความสามารถของมนุษยจ์ ะข้นึ อยู่กับแผนกลยทุ ธ์ขององค์การ และในบางครั้งก็มีการฝึกอบรมที่ไม่เก่ียวข้องกับความต้องการของ กระทรวงและหน่วยงาน ความทา้ ทายอกี ประการหนง่ึ ของการจดั การฝกึ อบรมและการพฒั นา ท่ีมีการส่งมอบกันอยู่ในปัจจุบันนั้น ส่วนมากจะข้ึนอยู่กับความต้องการ และลกั ษณะงานเฉพาะกจิ ซง่ึ ยงั มขี อ้ บกพรอ่ งในการวางแผนและการจดั ล�ำดบั ความส�ำคญั ในเร่อื งชนิดการฝกึ อบรมว่า การฝกึ อบรมไหนควรท�ำ ก่อนหรือหลัง เพราะบางหลักสูตรนับว่ามีอิทธิพลต่อคุณภาพของ ข้าราชการ และประเด็นการประเมินความจ�ำเป็นในการฝึกอบรมก็ถือ เป็นประเดน็ ทีส่ �ำคัญและท้าทายส�ำหรับนกั ทรพั ยากรมนุษย์ เพราะเปน็ กระบวนการทคี่ วรท�ำอยา่ งรอบคอบและระมดั ระวงั เนอื่ งจากระดบั ความ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 115

จ�ำเป็นในการฝึกอบรมของข้าราชการแต่ละคนไม่เท่ากัน ส�ำหรับหน่วย งานทร่ี บั ผดิ ชอบในเรอื่ งนคี้ อื สถาบนั พฒั นาขา้ ราชการพลเรอื น ทต่ี อ้ งรบั ผิดชอบดแู ลจนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการฝึกอบรม คือ การประเมนิ ซ่ึง เป็นการวัดผลส�ำเร็จของการฝึกอบรม โดยน�ำผลการประเมินไปใช้ ประโยชน์อย่างเต็มท่ีหลังจากการส่งมอบการฝึกอบรม ซึ่งสถาบัน ขา้ ราชการพลเรอื น (CSI) ตอ้ งด�ำเนนิ การประเมนิ ผลกระทบส�ำหรบั แตล่ ะ หลักสูตรการฝกึ อบรมท่ีจะด�ำเนนิ การในประเทศหรอื ภูมิภาค ซ่งึ ท�ำให้ เกดิ มปี ระเดน็ ทา้ ทายใหมก่ ค็ อื ผลการประเมนิ จากการฝกึ อบรมถกู น�ำมา ใช้น้อยที่สุดส�ำหรับการพัฒนาบุคลากร เช่น เร่ืองการเชื่อมโยงการ ประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลไม่ได้ถูกเช่ือมโยงซึ่งกันและกัน เป็นตน้ (The 9th ASEAN & JAPAN High Level officials Meeting on Caring Societies, 2011) 4.3.3 คณุ ลักษณะหลกั ของขา้ ราชการในการเขา้ สปู่ ระชาคม อาเซยี น เนื่องจากบรูไนเป็นประเทศที่มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิ- ราชย์ ทพ่ี ระมหากษตั รยิ ท์ รงท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ ทงั้ สลุ ตา่ น และนายกรฐั มนตรี รับหน้าท่ีในการบริหารประเทศ ท�ำให้อ�ำนาจสิทธิขาดในการบริหาร ประเทศอยูท่ ี่สลุ ตา่ น อีกท้งั บริษทั ตา่ งชาติท่เี ข้ามาลงทุนกม็ กั เขา้ มารว่ ม บรหิ ารกบั รฐั บาลบรไู นทงั้ สนิ้ ดงั นน้ั หนว่ ยงานภาครฐั จงึ นบั วา่ เปน็ หวั หอก ในการพฒั นาประเทศ บรูไนจึงให้ความส�ำคญั กับการบริหารงานภาครฐั 433*116 rgl±a*/ v*sa

และพัฒนาขา้ ราชการเปน็ อย่างมาก เห็นได้จากการพยายามแยกหนา้ ท่ี ในการบรหิ ารงานเปน็ หนว่ ยงานยอ่ ยเพม่ิ เตมิ อกี หลายหนว่ ยงาน ทมี่ หี นา้ ทดี่ แู ลทง้ั การบรหิ ารกระทรวง ทบวง กรมตา่ งๆ และยงั มหี นว่ ยงานเฉพาะ ส�ำหรับดูแลข้าราชการพลเรือนให้มีการพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน ราชการพลเรือน (Public Service Department) หรือ JPA (Jabatan Perkhidmatan Awam) คือหน่วยงานสาธารณะที่ก�ำหนดการด�ำเนิน การที่เหมาะสมในการบริหารทรัพยากรบุคคลและนโยบายการพัฒนา ทรพั ยากรมนษุ ยข์ องภาครฐั หรอื จะเปน็ สถาบนั ขา้ ราชการพลเรอื น (CSI) ทมี่ หี นา้ ทจี่ ดั โปรแกรมการฝกึ อบรมเพอื่ เพมิ่ พนู ทกั ษะความสามารถของ ข้าราชการให้มปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ข้ึน อกี ท้ังรฐั บาลยังสง่ เสริมใหม้ ีการ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั สงู โดยรฐั บาลเปน็ ผอู้ อกคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ใหท้ ง้ั หมด เพราะถอื วา่ อยใู่ นโปรแกรมการฝกึ อบรมของขา้ ราชการทวั่ ไป ดว้ ย ในแตล่ ะปจี งึ มเี ยาวชนรนุ่ ใหมข่ องบรไู นทจี่ บการศกึ ษาแลว้ ตอ้ งการ จะเป็นข้าราชการมากมาย [13] ดงั นน้ั การพฒั นาขา้ ราชการของประเทศบรไู นเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ของข้าราชการในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และเพ่ือให้บรรลุ วตั ถปุ ระสงคข์ องวสิ ยั ทศั นบ์ รไู น พ.ศ. 2578 (Brunei Vision (Wawasan 2035) สามารถแบง่ การจัดหลักสูตรฝกึ อบรม (Competency- based Training) ออกเป็น 11 ขอ้ ดงั นี้ 1) การพัฒนานโยบาย (Policy Development) 2) การวางแผนกลยทุ ธแ์ ละการบรหิ ารจดั การ (Strategic Planning and Management) 3) คุณภาพภาวะผนู้ �ำ (Leadership Quality) ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 117

Vÿ.j5l’> — II •ArL I( - %i£» « '•- : lund mn |K || rÿi >'3 ®UQom.q ££ iW V. « J£ §*& < r i. A ,I II m wm. : 4) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ (Management Development) 5) เครอ่ื งมือการบริหารจดั การ (Management Tools) 6) ทกั ษะการส่ือสาร (Communication Skills) 7) การสร้างทีมงาน (Team Building) 8) การพัฒนาตนเอง (Self-Development) 9) กฎระเบียบ (Rules and Regulations) 10) การจัดการด้านการเงินและทรัพยากรอ่นื ๆ (Management of Financial and other Resources) 11) เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information and Com- munication Technology-ICT) 118 vS % -

5 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละ กระทรวง และหนว่ ยงานหลกั ที่รบั ผิดชอบ งานทีเ่ กี่ยวกบั ASEAN ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 119

5.1 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละกระทรวง การบรหิ ารการปกครองของบรไู นในภารกจิ การบรหิ ารประเทศ โดย ความรบั ผิดชอบหลกั ของหน่วยงานและกระทรวงทงั้ 12 กระทรวง ซง่ึ สามารถแสดงภารกิจและยุทธศาสตรไ์ ด้ดังตอ่ ไปน[้ี 17] 1. ส�ำนักนายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Office) มีภารกิจและยทุ ธศาสตร์ทีส่ �ำคัญในการสนบั สนนุ นายกรัฐมนตรี ดังนี้ ภารกจิ ส�ำนักนายกรฐั มนตรี (PMO) มภี ารกิจในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี 1) วางนโยบายซงึ่ แสดงออกถงึ ความเปน็ ผชู้ �ำนาญการแบบมอื อาชพี และมีประสทิ ธิภาพ เพอ่ื เออ้ื ตอ่ กระบวนการก�ำหนดนโยบายตา่ งๆ 2) แสดงความเป็นผู้น�ำในการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพต่อทุก กระทรวงและหน่วยงาน 3) ประสานงานและอ�ำนวยความสะดวกระหวา่ งหนว่ ยงานราชการ พลเรอื นตา่ งๆ กับหน่วยงานภาคเอกชนและชุมชนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4) ใหข้ อ้ มลู ทม่ี คี ณุ ภาพและการบรกิ ารทแ่ี สดงถงึ ความเปน็ มอื อาชพี แก่ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียส�ำคัญในส�ำนักนายกรฐั มนตรี วิสยั ทัศน์ ด�ำรงความเปน็ ผนู้ �ำทดี่ เี ยยี่ ม และมธี รรมาภบิ าลเพอ่ื ความเจรญิ มง่ั คง่ั และความมน่ั คงแหง่ ชาติ u120 r$ * sr

Cr ft *.../ 1 พันธกิจ เพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจด้านการบริหารงานของรัฐบาลใน สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี เพอื่ ความเปน็ ผนู้ �ำทด่ี เี ยยี่ ม และมธี รรมาภบิ าลเพอื่ ความม่ันคงของชาติและการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยจะกระท�ำในบริบท ของปรชั ญาราชาธิปไตยอิสลามมลายู (MIB) ยทุ ธศาสตร ์ 1) พฒั นาคุณภาพในการก�ำหนดนโยบาย 2) วางทศิ ทาง นโยบาย และกรอบเพื่อการพฒั นาเศรษฐกิจอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ 3) สร้างการบรกิ ารประชาชนใหท้ นั สมยั 4) สรา้ งภาพลกั ษณร์ ฐั บาลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและเอาใจใสป่ ระชาชน ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม 121

5) บงั คับใช้กฎหมายและบริหารงานอย่างยตุ ธิ รรม 6) เพม่ิ ความสามารถของชาตบิ า้ นเมอื งในการตอ่ สกู้ บั อาชญากรรม 7) เพิ่มความสามารถของชาติบ้านเมืองในการบริหารจัดการวิกฤต แห่งชาติ และปัญหาด้านความม่ันคงรูปแบบใหม่ 2. กระทรวงการคลงั ภารกิจ ตามขอ้ ก�ำหนดในมาตรา 80 ของรฐั ธรรมนญู แหง่ สาธารณรฐั เนการา บรไู น ดารุสซาลาม รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั มหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ ในการควบคุมและบริหารการเงินของประชาชนในบรูไน โดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบในการตรวจสอบ ควบคมุ และก�ำหนด ทิศทางในทุกๆ ดา้ นเก่ยี วกับเรอื่ งการเงินต่างๆ ของบรไู น เชน่ กองทุน รวม บัญชี รายไดร้ วม บญั ชีเงินกู้รวม ซึ่งรวมถึงการเตรยี มบญั ชรี ายรับ รายจา่ ยรายปีของบญั ชตี ่างๆ ดังกลา่ วด้วย ในการด�ำเนินงาน รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลังมอี �ำนาจในการ แทงหน้ีสูญหรือลงบัญชีตัวเลขเป็นศูนย์ท่ีเกิดจากหน้ีเสีย เช่น เงิน สาธารณะทสี่ ญู เสยี ไปหรอื ขาดทนุ   มลู คา่ ของเงนิ ทส่ี ญู เสยี จากอตั รา แลกเปลยี่ น  และท�ำใหม้ ลู คา่ ของรา้ นคา้ ทขี่ ายสนิ คา้   และบรกิ ารตกรนุ่ ไม่เป็นที่ต้องการแล้ว  รายงานเป็นหน้ีสูญหรือหนี้เสีย และมีอ�ำนาจใน การท�ำใหร้ ายได้ หนส้ี ิน และเงินทีจ่ า่ ยเกินทีเ่ กิดขึ้นแล้ว และไมส่ ามารถ กกู้ ลบั คนื ไดก้ ลายเปน็ ศนู ยห์ รอื หนท้ี ถี่ กู ตดั ทง้ิ ไป  โดยตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสมเดจ็ พระราชาธิบดี Yang Di-Pertuan แหง่ บรไู น u122 r$ * sr

วสิ ัยทศั น์ สร้างระบบการเงนิ ทีม่ น่ั คงและยดื หยุ่นง่ายตอ่ การเปล่ยี นแปลง พันธกจิ จัดการระบบการเงินและทรัพยากรของชาติให้มีประสิทธิภาพและ เกิดประโยชน์สูงสดุ 3. กระทรวงกลาโหม ภารกิจ 1) รกั ษาอธปิ ไตย ความสงบสขุ และความมนั่ คงของชาติ โดยเฉพาะ อย่างย่ิง คือ การรักษาความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ และรักษา ความเปน็ ปึกแผ่น พฒั นาการ และความสามคั คใี นชาติ 2) เสรมิ สร้างความสมั พันธ์ทางการทหารระหว่างกองทพั บรูไนและ กองทพั ในประเทศต่างๆ ในภมู ภิ าค  และทัว่ โลก  เพ่อื สร้างความเขา้ ใจ อันดีและความม่ันคงระหว่างกันอันเป็นประโยชน์ต่อรัฐบาลบรูไนและ รัฐบาลประเทศต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นประโยชน์ต่อกองทัพของ ประเทศตา่ งๆ 3) สร้างความสามารถในการแข่งขันอย่างมีประสิทธิภาพระหว่าง บุคลากร RBAF เมื่อตอ้ งเผชญิ กับปญั หาท้าทาย 4) เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของเจ้าหน้าท่ีทางการทหาร และเจ้าหน้าท่ีพลเรือน เพ่ือท�ำให้สามารถเป็นก�ำลังในการเปลี่ยนแปลง เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ เก่ียวกับสภาพแวดล้อมภายในกระทรวง กลาโหม ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 123

5) ให้การสนบั สนุนและความร่วมมือแกห่ น่วยงานอ่นื ๆ ของรัฐบาล ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบของตนอกี ดว้ ย วิสยั ทัศน์ เพ่ือสร้างกองทัพท่ีเข้มแข็ง สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถจดั การทรพั ยากรได้อย่างมีประสิทธภิ าพ พนั ธกิจ พิทักษ์อธปิ ไตยของชาติ ความสามคั คภี ายในชาติ รกั ษารฐั ธรรมนูญ และปรัชญาราชาธิปไตยอิสลามมลายู (MIB) เพ่ือให้เกิดผลบังคับใช้ได้ จรงิ 4. กระทรวงมหาดไทย ภารกิจ กระทรวงมหาดไทยของบรูไนมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลด้าน แรงงานและกจิ การตรวจคนเขา้ เมอื ง ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั ภารกจิ ดา้ นแรงงาน และการกงสุลของสถานเอกอคั รราชทูตโดยตรง 5. กระทรวงการต่างประเทศและการค้า ภารกิจ กระทรวงการตา่ งประเทศไดเ้ รม่ิ กอ่ ตงั้ ขนึ้ อยา่ งเปน็ ทางการ เมอื่ วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2527 โดยเจ้าชายโมฮาเหม็ด โบลเกียะห์ (Prince Mohamed  Bolkiah)  รับการแตง่ ตง้ั เปน็ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง การตา่ งประเทศของประเทศบรไู น  ดารสุ ซาลาม  ความรบั ผดิ ชอบใน การจดั การกจิ การภายนอกของบรไู นสามภารกจิ ในต่างประเทศ  คอื u124 r$ * sr

คณะกรรมาธกิ ารในกวั ลาลัมเปอร์ ลอนดอน และสิงคโปร์ ภารกจิ ทั้งหมดน้ี ไดร้ บั การปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ คณะกรรมการระดบั สงู ใน พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) 6. กระทรวงอตุ สาหกรรม ภารกิจ 1. เพ่มิ มูลค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศ (GDP) และรายได้ ของรฐั 2. เพิ่มการมีส่วนร่วมและประสิทธิผลของผู้ประกอบการท้องถิ่น เพื่อสร้างชมุ ชนทางธรุ กจิ ทีย่ งั่ ยืน 3. ชว่ ยสร้างโอกาสในการจ้างงาน 4. อ�ำนวยความสะดวกและพฒั นาอตุ สาหกรรมและทรพั ยากรหลกั ส�ำหรับตลาดท้องถิน่ และเพ่ือการส่งออก 5. ปรบั ปรงุ บรรยากาศการลงทนุ และความนา่ ดงึ ดูดของประเทศ 6. สร้างเจ้าหน้าที่กระทรวงอุตสาหกรรมเชิงรุก ซึ่งมีความกระตือ- รือรน้ และมีคณุ ภาพในการเป็นผนู้ �ำ วิสยั ทศั น์ บรไู นมเี ศรษฐกจิ ทมี่ คี วามหลากหลาย มกี ารแขง่ ขนั และมคี วามยงั่ ยนื พนั ธกจิ เรง่ สรา้ งความหลากหลายทางเศรษฐกจิ ทยี่ ง่ั ยนื ดว้ ยการอ�ำนวยความ สะดวก และพัฒนาการค้าอุตสาหกรรมท่ีมีความสามารถในการแข่งขัน และผปู้ ระกอบการซง่ึ กระตอื รนื รน้ ทจ่ี ะเรยี นรแู้ ละปรบั เปลยี่ นใหม้ คี วาม เข้มแข็ง ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 125

7. กระทรวงวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ ● ก�ำหนดและด�ำเนินนโยบายตามแนวทางสังคมแห่งชาติในกีฬา วัฒนธรรมส�ำหรับเด็กและเยาวชน ● สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นท่ี การจัดสวัสดิการสังคม วัฒนธรรมและกฬี าส�ำหรับเด็กและเยาวชน ● มคี วามร่วมมอื กับเครอื ขา่ ยในทกุ พื้นที่ ● เพิ่มการรับรู้ของประชาชน ค่านิยม และจิตวิญญาณของอาสา สมัคร ● เสรมิ สร้างศกั ยภาพหน่วยงานทุกระดับของสังคมด้านวฒั นธรรม นกั กฬี าส�ำหรบั เยาวชนและบริการชมุ ชน ● สนบั สนนุ การมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งหนว่ ยงานทกุ ระดบั ของสงั คม ทกุ สาขา ● เสริมสร้างศักยภาพของเยาวชนผ่านการฝึกอบรม และความ สามารถในการสร้างตนเอง เพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ดา้ นกีฬาและความเปน็ เลศิ 8. กระทรวงสาธารณสขุ วสิ ัยทศั น์ กระทรวงสาธารณสุขมุ่งมั่นท่ีจะเป็นองค์การด้านการให้บริการ สาธารณสุขท่ีมีช่ือเสียงอย่างสูง สามารถเทียบกับองค์การด้านการให้ บริการสาธารณสุขที่ดีท่ีสุดในภูมิภาค และเป็นองค์การซ่ึงสามารถให้ คุณภาพชีวิตท่ีดีแก่พลเมืองและผู้พ�ำนักอาศัยในประเทศทุกคนด้วยการ u126 r$ * sr

ช่วยใหผ้ คู้ นสามารถสร้างประโยชน์แก่สังคม เศรษฐกจิ และจติ ใจตลอด ชวี ติ พนั ธกจิ ภารกจิ ของกระทรวงสาธารณสขุ คอื การปรบั ปรงุ สขุ ภาพและความ เป็นอยู่ของผู้คนในบรูไนผ่านระบบการดูแลสุขภาพท่ีครอบคลุม มี คุณภาพสูง มีประสิทธิภาพ ราคาไม่แพง และเป็นธรรม ซ่ึงทุกคนใน ประเทศสามารถเขา้ ถึงได้ 9. กระทรวงคมนาคม ภารกิจ การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้ กิจกรรมส่ือสารแบบพลวัต (Dynamic) ท่ีเอื้อต่อสิ่งแวดล้อม เพ่ือรองรับการเป็นศูนย์กลางการจัดต้ังและการ พัฒนาท่ีมีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืนและปลอดภัย สามารถเข้าถึงการ รักษาความปลอดภัยในการส่ือสารเพ่ือที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการ แข่งขนั ระดบั ชาติ วสิ ยั ทศั น์ ความเป็นเลิศในการสื่อสารเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน แห่งชาติ พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 127

5.2 หนว่ ยงานหลกั ทรี่ บั ผดิ ชอบงานทเี่ กยี่ วกบั ASEAN ประเทศบรูไนไดเ้ ข้าเป็นสมาชิกล�ำดบั ที่ 6 เมือ่ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2527 การเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนของประเทศบรูไนนั้น มีปัจจัยที่ สนบั สนุนแยกได้เปน็ 2 ประการ คือ[4] 1) ด้านความมั่นคงและเศรษฐกจิ แมบ้ รไู นจะเปน็ ประเทศทม่ี คี วามมง่ั คงั่ ทางเศรษฐกจิ แตเ่ มอ่ื พจิ ารณา ในแง่การพัฒนาโครงสร้างทางเศรษฐกิจ อาจกล่าวได้ว่าการท่ีบรูไนเข้า ร่วมสมาคมอาเซียนจะยังประโยชน์ให้แก่บรูไนเป็นอย่างมาก เพราะ ประเทศสมาชกิ อาเซยี นอน่ื ๆ มคี วามพรอ้ มในเรอ่ื งเศรษฐกจิ สงู กวา่ บรไู น ส�ำหรบั ดา้ นการเมอื งและความมงั่ คงนนั้ บรไู นมคี วามมนั่ ใจในระดบั หนงึ่ วา่ หลกั การเกย่ี วกบั การไมแ่ ทรกแซงกจิ การภายใน (Non-interference) ของอาเซียน จะเป็นเครื่องค้�ำประกันเสถียรภาพของบรูไนจากการ แทรกแซงของประเทศเพอ่ื นบา้ นอยา่ งมาเลเซียและอนิ โดนีเซยี ได้ £\" du m 128 f5 . *

2) ดา้ นสถานภาพในเวทกี ารเมอื งระหว่างประเทศ ถือเป็นการยกฐานะของประเทศในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้วยเหตุท่ีบรูไนเป็นรัฐขนาดเล็กและเพ่ิงได้รับเอกราชใหม่ จึงมีความ จ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเสรมิ สรา้ งสถานภาพและความเชอ่ื ถอื ขน้ึ ในเวทกี ารเมอื ง ระหวา่ งประเทศ และการเข้าร่วมกับอาเซียนน้ันก็นา่ จะเปน็ หนทางหน่งึ ท่ีจะเพิ่มบทบาทและชื่อเสียงของบรูไนให้เป็นที่รู้จักในวงการเมือง ระหว่างประเทศได้อยา่ งกวา้ งขวาง 5.2.1 บทบาทของบรูไนในอาเซยี น ความม่ันคงทางเศรษฐกิจของบรูไน ท่ีเคยให้ความช่วยเหลือมิตร ประเทศอาเซียนในชว่ งมวี ิกฤตทิ างเศรษฐกจิ และช่วยรกั ษาเสถยี รภาพ ทางการเงนิ ของภมู ภิ าคโดยเขา้ ไปลงทนุ ในประเทศในอาเซยี น  อยา่ ง การลงทนุ รว่ มกนั ระหวา่ งไทย-บรไู น โดยรฐั บาลบรไู นให้ Brunei Investment Agency (BIA)  มาลงรว่ มทนุ กบั กองทนุ บ�ำเหนจ็ บ�ำนาญขา้ ราชการ (กบข.) ทง้ั ไดจ้ ดั ตงั้ กองทนุ รว่ มลงทนุ  (Matching Fund) ในชอ่ื “กองทนุ ไทยทว”ี ซง่ึ ในปจั จบุ นั เปน็ ระยะทส่ี องจงึ เรยี กวา่ การลงทนุ ไทยทวี 2 มอี ายกุ องทนุ ยาว 10 ปี นอกจากบทบาททางเศรษฐกจิ ในแลว้   บทบาททต่ี อ้ งพดู ถงึ คอื บทบาท ของประธานอาเซยี น พ.ศ. 2556-2557 ทเี่ พงิ่ หมดวาระลง ประเทศบรไู น ได้จัดการประชุมร่วมถึง 400 คร้ังซึ่งรวมถึงการพบปะผู้น�ำอาเซียน ใน การประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นครง้ั ท่ี 22 ระหวา่ งวนั ที่ 24-25 เมษายน 2556 ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม 129

การประชมุ สดุ ยอดอาเซียนคร้งั ท่ี 23 ระหว่างวันท่ี 9-10 ตลุ าคม 2556 การประชมุ ภมู ภิ าคอาเซยี นกบั ประเทศในเอเชยี แปซฟิ กิ   ซงึ่ มรี ฐั มนตรี ต่างประเทศ 27 ประเทศเข้ารว่ มประชุมในเดอื นมถิ ุนายน และที่ส�ำคญั คอื การประชมุ สดุ ยอดผนู้ �ำเอเชยี ตะวนั ออกมี 18 ประเทศสมาชกิ ในเอเชยี ตะวนั ออกท่รี วมถงึ รฐั มนตรตี ่างประเทศสหรัฐอเมริกาเขา้ ร่วมดว้ ย จากการประชมุ คร้งั ที่ 23 นม้ี ีประเด็นทส่ี �ำคญั ท่ีต้องกล่าวถงึ คอื 1.ประเด็นทางสังคม ท่ีประเทศบรูไนได้ชูค�ำขวัญ “Our People, Our Future Together” หรอื “ประชาชนของเรา อนาคตรว่ มกนั ของเรา” ซงึ่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความมงุ่ มน่ั  ตง้ั ใจทจี่ ะใหป้ ระเทศสมาชกิ อาเซยี นใน การสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ทงั้ ดา้ นการเมอื ง  ความมนั่ คง  เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม โดยขยายบทบาทให้ประชาชนเขา้ มสี ว่ นร่วมใน การด�ำเนนิ งานดว้ ยกนั  ซงึ่ จะเปน็ หลกั ประกนั ความกา้ วหนา้  และความมน่ั คง แห่งการพฒั นาภูมภิ าครว่ มกนั 2. การประชุมครั้งน้ี ประเทศบรูไนได้ด�ำเนินนโยบายที่เรียกว่า “ทางการทูตเพ่ือการป้องกัน” หรือ defense diplomacy โดยสร้าง บรรยากาศทเ่ี ปน็ กลาง[22a] แสดงบทบาททเ่ี ปน็ กลาง ซง่ึ วาระทจี่ ดั การประชมุ น้ี Murray Heibert และ Jeremiah O Magpile นกั วชิ าการจาก Center for Strategic and International Studies[22b] ใหค้ วามเหน็ ถงึ ความส�ำคญั ที่ท้าทายในหลายๆดา้ น ประการแรก คือน�ำปัญหากรณีพิพาทเกี่ยวกับ หมเู่ กาะในทะเลจีนใต้มาสู่ทีป่ ระชมุ ประการทสี่ อง คอื การกระตนุ้ ให้ ประเทศกลุ่มสมาชิก เร่งนโยบายให้บรรลุเป้าหมายของประชาคม u130 r$ * sr

เศรษฐกจิ อาเซยี นใน พ.ศ. 2558 และประการทสี่ ามคอื การใหท้ งั้ จนี และ สหรัฐอเมริกา คงการมีส่วนร่วมในการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit - EAS) จากบทบาทข้างต้น สื่อสารมวลชนจากต่างประเทศ[22c] ได้ยกย่อง สมเดจ็ พระราชาธบิ ดวี า่ เปน็ ผนู้ �ำทท่ี �ำใหบ้ รรยากาศ  การประชมุ ผนู้ �ำ สุดยอดอาเซยี นผา่ นไปอย่างราบรน่ื ดว้ ยพระองคไ์ ด้เสดจ็ ไปเย่ียมเยียน ประเทศสมาชิกที่ส�ำคัญของการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit - EAS) เพือ่ ท�ำความร้จู ัก ท�ำความเขา้ ใจผ้นู �ำเหลา่ นนั้ ซง่ึ ท�ำใหเ้ กดิ ผลดใี นการประชุมร่วมกันและเป็นผลดีตอ่ ประชาคมอาเซียน หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ ASEAN คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ซ่ึงสามารถตดิ ต่อได้ ดงั นี้ โทรศพั ท ์ +673 2261291 / 2 / 3 / 4 / 5 / 6 โทรสาร +673 2261997 อเี มล [email protected] 5.2.2 บทบาทและหนา้ ที่ ● เปน็ ศนู ย์รวมเรอ่ื งราวตา่ งๆ เก่ียวกับอาเซยี นแหง่ ชาติ ● เปน็ พ้ืนทเ่ี กบ็ ขอ้ มูลระดบั ชาติเกี่ยวกับอาเซียนในทุกเรอื่ ง ● ประสานงานการด�ำเนินงานตามมติของอาเซียนในระดบั ชาติ ● ประสานงาน  และสนับสนุนการเตรียมการจัดประชุมอาเซียน แห่งชาติ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม 131

● สง่ เสรมิ เอกลกั ษณข์ องอาเซยี น และตระหนกั ในความเปน็ อาเซยี น ระดับชาติ ● มีส่วนร่วมในการประชุมท่ีเก่ียวข้องกับอาเซียน ได้แก่ การ ประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น สภาความรว่ มมอื อาเซยี น (ACC) การประชมุ ดา้ น การเมอื งและความมนั่ คงประชาคมอาเซยี น (APSC) การประชมุ รฐั มนตรี ตา่ งประเทศอาเซยี น (AMM) การประชมุ รฐั มนตรี (PMC) เอเชยี ตะวนั ออก ซัมมิท (EAS) ประชุมระดบั ภมู ภิ าคอาเซียน (ARF) การประชมุ รว่ มกนั เพอื่ เตรียมความพร้อม (JPM) และการประชมุ เจา้ หน้าทอ่ี าวุโสอาเซียน (SOM) ● มีส่วนร่วมในการประชุมอาเซียนกับคู่เจรจา และการประชุมกับ หนว่ ยงานในระดับภูมภิ าคและระหว่างประเทศอน่ื ๆ ● ประสานงานกบั หนว่ ยงานชน้ั น�ำระดบั ชาตทิ เี่ กย่ี วขอ้ ง และปฏบิ ตั ิ ภารกจิ ถาวรส�ำหรบั อาเซยี น ซง่ึ เปน็ ภารกจิ เกย่ี วกบั เรอื่ งราวอาเซยี นตา่ งๆ ของบรู ไนในกรงุ จากาตาร์ ● ร่วมงานอยา่ งใกลช้ ิดกบั ส�ำนักเลขาธิการอาเซยี นในกรงุ จากาตาร์ และตัวแทนของประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ ๆ u132 r$ * sr

6 ระบบการพฒั นาขา้ ราชการ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 133

6.1 ภาพรวมของการพัฒนาข้าราชการ ข้าราชการพลเรือนในประเทศบรูไนถือได้ว่าเป็นเครื่องมือท่ีส�ำคัญ ของรฐั บาลในการบรหิ ารประเทศทง้ั ในดา้ นการพฒั นาประเทศ และการ ให้บริการประชาชน โดยเน้นไปที่ความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน ซ่ึง สมเดจ็ สลุ ต่าน Mu'izzaddin Waddaulah ของสุลต่านและผปู้ กครอง สูงสุด (Yang Di-Pertuan) แห่งบรูไนดารุสซาลามบรูไนได้กล่าวถึง บทบาทของขา้ ราชการพลเรอื นไวใ้ นชว่ งปี ค.ศ. 1984 ว่า [24] \"บรไู นจะตอ้ งเปน็ เอกราชตลอดกาล เปน็ ประชาธปิ ไตยและเปน็ มลายู เสรี มุสลิมในระบอบกษัตริย์ตามค�ำสอนของศาสนาอิสลามตาม Ahlis Sunnah Waljemaah และอยบู่ นพน้ื ฐานของหลกั การของเสรภี าพความ ไวว้ างใจและความยตุ ธิ รรมและการแสวงหา........ ความสงบสขุ และความ ปลอดภยั สวสั ดกิ ารและความสุขของประชาชนของเรา.......\" จากพระราชด�ำรัสของสมเด็จพระราชาธิบดี ทรงย�้ำให้เห็นถึงความ ส�ำคญั ของขา้ ราชการอนั เปน็ กลไกของการขบั เคลอ่ื นประเทศ ขา้ ราชการ เป็นผู้ช่วยและผู้ปฏิบัติในการน�ำแผนนโยบายสู่การปฏิบัติ ฯลฯ ข้าราชการในบรูไนจึงเป็นก�ำลังส�ำคัญท่ีรัฐบาลบรูไนดูแลอย่างใกล้ชิด และด้วยปรชั ญาการปกครอง MIB มลายู อิสลามและพระมหากษัตรยิ ์ ท่ี อ ง ค ์ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ร า ช า ธิ บ ดี ท ร ง เ ป ็ น ทั้ ง ป ร ะ มุ ข ภ า ย ใ ต ้ ร ะ บ บ สมบูรณาญาสิทธิราช และพระองค์ยังด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมและรัฐมนตรีคลังจึงท�ำให้เห็นภาพของ ศนู ยก์ ลางอ�ำนาจในการตดั สอนใจส�ำคญั ในการผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การพฒั นา ในทุกๆด้าน โดยเฉพาะข้าราชการพลเรือนน้ันรัฐบาลมีนโยบายท่ีให้ u134 r$ * sr

r~ 4-4 / ki r' m f TO rfPTi ขา้ ราชการพลเรอื นไดร้ บั การพฒั นาในดา้ นตา่ งๆไมน่ อ้ ยกวา่ 100 ชวั่ โมง ต่อปี ในด้านนโยบายส�ำหรับข้าราชการพลเรือนน้ัน รัฐบาลได้ก�ำหนดให้ ส�ำนกั นายกรฐั มนตรี (the Prime Minister’s Office) รฐั มนตรกี ระทรวง คลงั (the Ministry of Finance) และคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (the Public Service Commission) หรอื SPA – Suruhanjaya Perkh- idmatan Awam เป็นหน่วยงานหลักในการรับผิดชอบท่ีดูภาพรวม ข้าราชการพลเรือนทง้ั หมด ซงึ่ คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (the Public Service Commission: PSC ) หรือ SPA เป็นหนว่ ยงานอิสระที่ ท�ำหน้าที่ สรรหา คัดเลือกบุคคลที่จะเข้ามารับราชการ และท�ำหน้าที่ ถวายค�ำแนะน�ำตอ่ องคส์ มเดจ็ ราชาธบิ ดใี น การแตง่ ตงั้ โยกยา้ ย เลอื่ นขนั้ ควบคุมวินัยขา้ ราชการ ยกเวน้ ทหาร ต�ำรวจและหนว่ ยราชทณั ฑ์ นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานที่ท�ำงานสนับสนุน สนองนโยบายส�ำนัก นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกระทรวงคลังและคณะกรรมการข้าราชการ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม 135

พลเรือน ได้แก่ 1. หนว่ ยงานราชการพลเรอื น (Public Service Department: PSD) หรอื (JPA – Jabatan Perkhidmatan Awam) 2. หน่วยงานบรกิ ารด้านการจดั การ (Management Services De- partment: MSD)  3. สถาบนั พฒั นาขา้ ราชการพลเรอื น (Civil Service Institute: CSI) หรือ (IPA – Institut Perkhidmatan Awam) 4. Jawatan Kuasa Tanggagaji และ Syarat-Syarat Perkhidtan (JTG) 5. Jawatan Kuasa Pembaharuan Perkhidmatan Awam (JPPA) นอกจาก 5 หน่วยงานทส่ี นับสนุนนโยบายและการท�ำงานของส�ำนัก นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกระทรวงคลังและคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือนแล้ว ยังมีสถาบันการศึกษาอย่างมหาวิทยาลัยบรูไน (UBD: Universiti Brunei Darussalam) ท่ีรับผิดชอบในการบรหิ าร สถาบัน เพ่อื การสรา้ งผนู้ �ำนวตั กรรม และความก้าวหน้า(Institute for Leader- ship, Innovation and Advancement – ILIA) และศูนยน์ วัตกรรมวธิ ี การบรหิ ารจดั การภาครัฐสมยั ใหม่ (e-Government Innovation Centre) ซง่ึ หนว่ ยงานตา่ งๆ ทก่ี ลา่ วมาตา่ งไดร้ บั การสนบั สนนุ จากรฐั บาลอยา่ งเตม็ ที่ ทั้งได้รับโอกาสในการอบรมดูงานจากพันธมิตรในการพัฒนาข้าราชการ ร่วมกับวิทยาลัยข้าราชการพลเรือน (Civil Service College) ของ ประเทศสงิ คโปร์ และ INTAN ของประเทศมาเลเซยี [12] ฯลฯ ในส่วนความส�ำคัญของขา้ ราชการน้ี นาย Dato Paduka Hj Abdul Wahab Juned รัฐมนตรชี ่วยว่าการส�ำนกั นายกรัฐมนตรี [25] ไดก้ ล่าวถงึ u136 r$ * sr

การปฏริ ปู ระบบราชการในบรไู น ในงานพธิ เี ปดิ โครงการพฒั นาผบู้ รหิ าร ส�ำหรบั ข้าราชการอาวโุ ส คร้ังท่ี 20 เมือ่ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2557 วา่ “ระบบราชการไมค่ วรอยใู่ นสภาพเดมิ เปน็ ระยะเวลานานๆ” จากค�ำกลา่ ว นจ้ี ะเหน็ ไดว้ า่ วสิ ยั ทศั นข์ องระบบราชการของประเทศบรไู น ทส่ี ง่ เสรมิ ให้ มกี ารพฒั นาอยอู่ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยยงั ไดก้ ลา่ วอกี วา่ “การเมอื ง การพฒั นา ทางเศรษฐกิจ และการศึกษา มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของการให้ บริการ” โดยกล่าวเพิ่มเติมว่า \"นี่เป็นหน่ึงในงานที่ใหญ่ท่ีสุดของเราใน ฐานะราชการพลเรือน เพ่ือให้แน่ใจว่านโยบายสาธารณะไม่ได้ล�ำเอียง แต่ก่อให้เกิดก้าวหน้ามากข้ึน\" จากค�ำกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า ระบบ ราชการของบรไู นใหค้ วามส�ำคญั ต่อความเสมอภาคในการใหบ้ รกิ าร ท่ีดีแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียม ทั้งน้ีท้ังน้ันก็ต้องมีการพัฒนาระบบท่ีดี ใหม้ คี วามทนั สมยั ตอ่ ทง้ั เศรษฐกจิ   การศกึ ษา  การเมอื งทมี่ กี ารพฒั นา อยู่อย่างต่อเนอ่ื ง 6.2 กลยทุ ธ์การพฒั นาข้าราชการ กลยุทธ์ในการพฒั นาทรัพยากรมนุษยข์ องหน่วยงานภาครัฐบรูไน [9] 1) รวบรวมนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท้งั หมดแลว้ น�ำมาวางแผนให้ครอบคลุมทุกๆ กระทรวง ทุกๆ แผน และ น�ำนโยบายไปปฏิบตั ิจรงิ เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพของ ข้าราชการในระยะยาว ขณะเดียวกนั ก็ท�ำใหน้ โยบายตา่ งๆ เชื่อมโยงกับ การเลอื่ นขนั้ เลอื่ นต�ำแหนง่ รายบคุ คล และการประเมนิ ผลงานรายบคุ คล ผูกติดกับกลยุทธ์การพัฒนาท่ีจ�ำเป็น  ซ่ึงจะช่วยในการปิดช่องว่างและ จุดอ่อนรายบคุ คล ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 137

2) พัฒนาผู้เช่ียวชาญและบุคลากรผู้ท่ีสามารถขับเคลื่อนกลยุทธ์ใน ดา้ นการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ โดยเพิม่ บทบาทให้ผ้เู ช่ียวชาญมหี นา้ ท่ี มากกวา่ การจดั การเรอ่ื งการฝกึ อบรมแกข่ า้ ราชการเพยี งอยา่ งเดยี ว แตเ่ ปดิ โอกาสให้ผู้เช่ียวชาญเป็นตัวแทนของหน่วยงานด้านทรัพยากรมนุษย์ ส�ำหรับประเทศชาติ  โดยผู้เชี่ยวชาญจะต้องมุ่งเป้าความรับผิดชอบใน การท�ำงานไปทก่ี ารท�ำงานหลกั ของการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ โดยเนน้ ในเร่ืองของความช�ำนาญด้านท่ีแตกต่างจากนักทรัพยากรมนุษย์คนอ่ืน คอื เน้นทก่ี ารปรับโครงสร้างองค์การ 3) จัดผู้เช่ียวชาญด้านทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นส่วนหน่ึงของทีม วางแผนกลยุทธ์ ผู้เช่ียวชาญไม่ควรมีส่วนกับหน่วยปฏิบัติการ แต่ผู้ เชย่ี วชาญควรเปน็ คคู่ ดิ เชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic Partner)  หรอื เปน็ เสมอื น หนุ้ สว่ นกลยทุ ธก์ บั การท�ำงานหนา้ ทสี่ �ำคญั ๆ ขององคก์ าร เชน่ การวางแนว ทางการพัฒนาหน่วยงานภาครัฐ การวางแผนกลยุทธ์ขององค์การที่จะ ต้องวางแผนให้สอดคลอ้ งกับกลยุทธก์ ารพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ 4) ใช้ระบบการอบรมท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาคนให้เกิดความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ตอบสนองให้เกิดการท�ำงานเพ่ือบรรลุตามสมรรถนะ (Competency) ทีก่ �ำหนดไว ้ โดยมกี ารติดตามวัดผลและการประเมนิ ผล การปฏบิ ตั ิ หรอื ทเี่ รยี กวา่  การฝกึ อบรมบนฐานสมรรถนะ (Competency -based  Training)  และใชก้ ารวเิ คราะหค์ วามจ�ำเปน็ ในการฝกึ อบรม  (Training Needs Analysis) หรือที่เรียกย่อๆ ว่า TNA เพ่ือวิเคราะห์ ประสทิ ธภิ าพการฝกึ อบรม เพอื่ ชว่ ยในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ าร ท�ำให้ผลการปฏิบัติงานของข้าราชการดีเลิศ และข้าราชการแต่ละคนมี การพฒั นาความรคู้ วามสามารถของแต่ละบุคคลเอง การวเิ คราะห์ TNA u138 r$ * sr

ยังช่วยให้หน่วยงานได้ผลประโยชน์สูงสุด และมีการพัฒนารูปแบบการ ท�ำงาน 5) ใช้เทคโนโลยีเพ่ิมประสิทธิภาพในการท�ำงาน เช่น การท�ำ  e-Learning กบั ข้าราชการ เพราะรัฐบาลใหค้ วามส�ำคญั กบั เร่ืองนี้มาก เหน็ ไดจ้ ากแผนพฒั นาแหง่ ชาตฉิ บบั ป ี พ.ศ. 2550-2555 ทล่ี งทนุ ใชเ้ งนิ กบั การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ให้เป็น e-Government ถึง 1.1 พนั ล้านบรูไนดอลล่าร์ ประเทศบรูไนดารุสซาลามได้พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management Systems-HRMS) ของสว่ นราชการ ทกุ สว่ น โดยใชโ้ ปรแกรมสารสนเทศดา้ นระบบการบรหิ ารจดั การพนกั งาน ของรฐั (Government Employee Management System: GEMS) เข้ามาช่วย ซึ่งเป็นโครงการที่ทันสมัยและได้รับการสนับสนุนจาก ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี โดยมอบหนา้ ท่ีใหห้ นว่ ยงานราชการ พลเรอื น (Public Service Department-PSD)  ซง่ึ เปน็ หนว่ ยงานทก่ี �ำกบั ดแู ลและใชร้ ะบบน ี้ เพอ่ื การบรหิ ารขอ้ มลู ขา้ ราชการพลเรอื นของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการเพ่ิมศักยภาพการบริหารก�ำลังคน ภาครฐั   สนบั สนนุ การวางแผนและการจดั การองคก์ าร การบรหิ ารแผนการ สืบทอดต�ำแหน่ง และการบริหารทรพั ยากรบุคคลของรฐั บาล หนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบหลักของ GEMS คอื การบรหิ ารจัดการขอ้ มลู ก�ำลงั คนภาครฐั (HR Data Management) ปจั จบุ นั มขี อ้ มลู ก�ำลงั คนภาค ราชการพลเรอื นมากกวา่ 56,000 ราย ทงั้ ทเี่ ปน็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล การรบั สมัคร รวมทั้งการบรหิ ารจัดการข้อมลู ก�ำลังคนในดา้ นอน่ื ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 139

GEMS ใชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ ารเปน็ Windows-based System สว่ นฐาน ขอ้ มูลใช้ Platform Oracle 9.0 มีลกั ษณะการท�ำงานบน Web-based Application ซง่ึ จ�ำเปน็ ตอ้ ง Log in โดยใช้ Username และ Password ระบบจะด�ำเนนิ การ back up ขอ้ มลู อยา่ งสมำ่� เสมอ สว่ นฐานขอ้ มลู หรอื Data Recovery Site จะตดิ ต้ังไว้คนละอาคาร รวมทงั้ สิน้ 3 Sever เพื่อ ความปลอดภยั ของขอ้ มลู และเพอื่ การบรหิ ารความเสย่ี ง (Risk Manage- ment) การปรบั แก้ข้อมูลบคุ คลของ GEMS สามารถด�ำเนนิ การได้ 2 รปู แบบ คอื 1) ขา้ ราชการ เปน็ ผแู้ กไ้ ขขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง หากขอ้ มลู นนั้ เปน็ ขอ้ มลู ส่วนบุคคล อาทิ หมายเลขโทรศัพท์ ทอ่ี ยู่ หรือไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2) ผมู้ หี นา้ ทบ่ี รหิ ารขอ้ มลู ก�ำลงั คน หรอื Administrator เปน็ ผแู้ กไ้ ข หรอื เพมิ่ เติมขอ้ มูล หากขอ้ มูลนน้ั เกี่ยวขอ้ งกับการบริหารก�ำลังคนและ/ หรอื ขอ้ มลู ทจี่ �ำเปน็ ตอ้ งมกี ารตรวจสอบความถกู ตอ้ งกอ่ นทจี่ ะน�ำเขา้ ฐาน ข้อมูล อาทิ วฒุ กิ ารศึกษา การเล่อื นขั้นเงินเดือน การแต่งตั้ง เป็นต้น [12] นอกจากนยี้ งั มตี วั อยา่ งทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ รฐั บาลบรไู นเอาจรงิ เอาจงั กบั การพัฒนาคนในสาขาอาชีพตา่ งๆ เช่น ระบบการพัฒนาคณุ ภาพวชิ าชีพทันตแพทย์บรไู น บรไู นมีระบบการพฒั นาคุณภาพวิชาชีพ (Continuing Profession- al Development-CPD) ทนั ตแพทยบ์ รูไนทุกคนตอ้ งเกบ็ คะแนน CPD และต้องได้คะแนน CPD อยา่ งน้อยปีละ 30 คะแนน (เขา้ ฟงั วชิ าการ 1 คร้ังได้ 1 คะแนน) และคะแนนจะสามารถเก็บได้จากการท�ำกิจกรรม พัฒนาวิชาการ ทันตแพทยท์ กุ คนตอ้ งให้การรักษาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ u140 r$ * sr

I D I l( 7f ISHIHUr Pt«h»«*MA»AN IJKR 176 | *• 2  วนั   เพอ่ื รกั ษาสถานะใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรมในเรอื่ ง ก�ำลงั คนดา้ นทนั ตสาธารณสขุ บรไู นมองวา่ การผลติ ทนั ตแพทยม์ รี าคาสงู หาคนเข้ามาท�ำงานและท�ำให้คงอยู่ในระบบได้ยาก จึงเห็นว่าการผลิต บคุ ลากรทม่ี ีความสามารถครบ ไดแ้ ก่ เป็นท้ัง Dental Hygienist และ Dental Therapist ในคนเดยี วกนั จะมคี วามคมุ้ คา่ กวา่ ทง้ั นเี้ พอื่ ใหบ้ รกิ าร ปฐมภูมิ บรกิ ารในเด็ก และการให้ทันตสุขศกึ ษา นอกจากนย้ี ังเนน้ เรือ่ ง การอบรมเพม่ิ พนู ความรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ งแกบ่ คุ ลากรเหลา่ น้ี เพ่ือคงไว้ซึง่ มาตรฐานการใหบ้ ริการอกี ดว้ ย การให้บริการทันตกรรมนอกจากบุคลากรท่ีมีคุณภาพแล้ว ยังต้อง อาศัยเคร่ืองมือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ในสภาพพร้อมให้บริการอยู่เสมอ ประเทศบรูไนมีหน่วยงานวิศวกรโดยเฉพาะท่ีให้การดูแลเครื่องมือ ทางการแพทย์ต่างๆ เพื่อให้พร้อมใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพอยู่เสมอ หน่วยงานนี้จะให้การดูแลหน่วยท�ำฟันทุกหน่วยให้ท�ำงานได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ คอยเปล่ยี นครุภณั ฑ์ เครอ่ื งมอื เม่อื หมดอายหุ รอื ลา้ สมยั ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 141

มีคณะกรรมการท่ีมีหน้าที่ก�ำหนด และตรวจสอบเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ทุก ชนิ้ ใหท้ �ำงานได้อยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ สว่ นดา้ นความปลอดภยั และสขุ ภาพของผใู้ หบ้ รกิ ารกม็ กี ารดแู ลอยา่ ง ครบถว้ น ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งการควบคมุ การตดิ เชอื้ ในคลนิ กิ การก�ำจดั ขยะ การป้องกันรังสี ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อมในคลินิกให้เอ้ือต่อการ ท�ำงาน  และส่งเสริมสุขภาพของผู้ท�ำงานบรูไนให้มีมาตรฐานในเร่ือง เหล่านี้ทงั้ หมด มกี ารพิมพ์เป็นคูม่ ือและตอ้ งมกี ารปรับปรุงทกุ 2 ปีเพอ่ื ให้ ทนั สมยั อยเู่ สมอ และตอ้ งมกี ารตรวจประเมนิ เพอ่ื ใหม้ กี ารด�ำเนนิ การตาม มาตรฐานเหลา่ นอ้ี ยา่ งเครง่ ครดั โดยราคาคา่ บรกิ ารส�ำหรบั ประชากรชาว บรไู นคดิ คา่ ลงทะเบยี นเพยี ง 1 ดอลลารเ์ ทา่ นน้ั (ประมาณ 25 บาท) หรอื หากเป็นข้าราชการบรูไนต้องเสียค่าลงทะเบียน 3 ดอลลาร์ (ประมาณ 75 บาท) ท้งั นจี้ ะไดร้ ับบริการทุกอยา่ งฟรี แต่หากไมใ่ ช่ชาวบรูไนจะต้อง เสียค่าลงทะเบยี น 5 ดอลลาร์ (ประมาณ 125 บาท) เชน่ ถอนฟนั คดุ จะ ตอ้ งจ่ายถึง 50 ดอลลาร์ (ประมาณ 1,250 บาท) ขณะทช่ี าวบรไู นและ ข้าราชการบรไู นจะไดร้ ับบรกิ ารนี้ฟรี แมบ้ รูไนจะมีการด�ำเนินการในมิติ ของคณุ ภาพครบถว้ นทกุ ดา้ นเชน่ น้ี แตก่ ย็ งั มดี า้ นทที่ า้ ทายใหป้ รบั ปรงุ อยู่ อีกหลายประการด้วยกัน อันได้แก่ เร่ืองความขาดแคลนทันตบุคลากร ทนั ตแพทยบ์ รูไนตอ้ งท�ำงานในหลายหนา้ ท่ี การหาก�ำลงั คนใหมๆ่ และ การคงก�ำลงั คนเกา่ ใหอ้ ยใู่ นระบบยงั เปน็ ปญั หา การมสี ถานทจ่ี �ำกดั ท�ำให้ การขยายบริการท�ำได้ยาก การทีป่ ระชาชนมีความตอ้ งการบริการอย่าง มาก และการจดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เครอื่ งใชท้ างทนั ตกรรมทต่ี อ้ ง สงั่ จากต่างประเทศ นอกจากน้งี านดา้ นการปอ้ งกนั ยังไม่เพยี งพอ เหลา่ น้ี ลว้ นเปน็ ความท้าทายของงานทนั ตสาธารณสุขบรูไนทงั้ สิน้ u142 r$ * sr

6.3 หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบดา้ นการพัฒนาข้าราชการ ส�ำหรับหน่วยงานส�ำคัญที่ดูแลรับผิดชอบการพัฒนาข้าราชการ พลเรือนมีหลายหนว่ ยงาน ซ่ึงท�ำหน้าต่างกนั ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1. หนว่ ยงานราชการพลเรือน (Public Service Department: PSD) หรอื (JPA–Jabatan Perkhidmatan Awam) เปน็ หนว่ ยงานก�ำหนด นโยบายและด�ำเนินงาน ด้านการบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย ์ 2. หนว่ ยงานบรกิ ารด้านการจัดการ (Management Services Department: MSD) เป็นหน่วยงานที่ท�ำงานด้านการพัฒนาและวิจัย เพอ่ื ชว่ ยใหร้ ฐั บาล ใหบ้ รกิ ารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลทดี่ ขี นึ้ โดย ท�ำหนา้ ทเ่ี หมอื นทป่ี รกึ ษา ใหค้ �ำแนะน�ำเกย่ี วกบั การปรบั ปรงุ คณุ ภาพการ ใหบ้ รกิ าร 3. สถาบนั พฒั นาขา้ ราชการพลเรอื น (Civil Service Institute: CSI) หรอื (IPA – Institut Perkhidmatan Awam) ท�ำหน้าท่ีฝึกอบรม ข้าราชการ ทั้งในดา้ นความรทู้ ักษะและภาวะผนู้ �ำ 4. Jawatan Kuasa Tanggagaji และ Syarat-Syarat Perkhidtan (JTG)  เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการทบทวนเงนิ เดอื น  โครงสรา้ งเงนิ เดอื น รปู แบบการบริการ และขอ้ บังคบั ราชการ 5. Jawatan Kuasa Pembaharuan Perkhidmatan Awam (JPPA) เป็นผู้รับผิดชอบความทันสมัยของภาครัฐ ซึ่งรวมถึงการปรับ โครงสรา้ งและทบทวนความทนั สมยั ของการเปลยี่ นแปลงของหนว่ ยงาน ภาครฐั และขา้ ราชการพลเรอื น นอกจากนย้ี งั มมี หาวทิ ยาลยั บรไู น (UBD : Universiti Brunei Darus- salam) ทเ่ี ปน็ ผกู้ �ำกบั ดแู ลสถาบนั เพอ่ื การสรา้ งผนู้ �ำนวตั กรรม และความ ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 143

กา้ วหนา้ (Institute for Leadership, Innovation and Advancement – ILIA) และศนู ยน์ วตั กรรมวธิ กี ารบรหิ ารจดั การภาครฐั สมยั ใหม่ (e-Gov- ernment Innovation Centre) ซึง่ ท้ัง 2 หนว่ ยงานนีม้ ีบทบาทรว่ มใน การพฒั นาขา้ ราชการไปในทศิ ทางทร่ี ฐั บาลตอ้ งการ  โดยเฉพาะตามวสิ ยั ทศั นบ์ รไู น พ.ศ. 2578 (WAWASAN 2035)  ซงึ่ แผนพฒั นาประเทศระยะ ยาว ทมี่ งุ่ เนน้ การรกั ษาความเจรญิ รงุ่ เรอื งของประเทศใหส้ ามารถด�ำเนนิ ไดอ้ ย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยมงุ่ เนน้ 3 ประเดน็ ส�ำคัญ ดังนี้ 1) การสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนในชาตมิ กี ารศกึ ษาและทกั ษะทดี่ ี สามารถ ประสบความส�ำเรจ็ ในชวี ติ 2) การสง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนใหอ้ ยใู่ นอนั ดบั ตน้ ของโลก (ติดอนั ดบั หนง่ึ ในสิบ) ด้วยการจัดหาทอ่ี ยอู่ าศัยทเ่ี หมาะสม มมี าตรฐาน การใช้ชวี ิตท่ดี ี และรกั ษาส่งิ แวดล้อม เปน็ ตน้ 3) การพฒั นาระบบเศรษฐกจิ ใหม้ คี วามยงั่ ยนื สรา้ งระบบเศรษฐกจิ ใหเ้ กดิ การขยายตวั เพมิ่ โอกาสทางธรุ กจิ (ประชาชนมรี ายไดต้ อ่ หวั ตอ่ คน ติดอนั ดบั หนงึ่ ในสบิ ของโลก) จากวสิ ยั ทศั นข์ า้ งตน้ รฐั บาลบรไู นไดม้ อบภาระหนา้ ทใี่ หท้ กุ หนว่ ยงาน ไดร้ ว่ มกนั ท�ำงาน และทกุ หนว่ ยงานตา่ งมบี ทบาททต่ี า่ งกนั ซงึ่ บทบาทใน ภาคปฏบิ ตั นิ ี้ มหี นว่ ยงานทนี่ า่ สนใจดงั นค้ี อื   1. สถาบนั ขา้ ราชการพลเรอื น (Civil Service Institute – CSI)  2. สถาบนั เพอ่ื การสรา้ งผนู้ �ำ นวตั กรรม และความก้าวหน้า (Institute for Leadership, Innovation and Advancement–ILIA) และ 3. ศนู ยน์ วตั กรรมวธิ กี ารบรหิ ารจดั การภาค รฐั สมัยใหม่ (e-Government Innovation Centre) ซง่ึ ท้งั 3 หนว่ ย งานมบี ทบาทหนา้ ท่ีดังน้ี [12] u144 r$ * sr

1. สถาบนั ขา้ ราชการพลเรอื น (Civil Service Institute -CSI) [12] หรือเรียกช่ือตามภาษาท้องถิ่นว่า The Institut Perkhidmatan Awam – IPA สถาบนั นเ้ี ป็นหน่วยงาน การฝกึ อบรม (Training) การให้ค�ำปรกึ ษา แนะน�ำ (Consultation) การท�ำวิจัยในบริบทท่ีเกี่ยวข้อง (Research) ซง่ึ ภาคปฏบิ ตั ทิ ผ่ี า่ นมามบี ทบาทหลกั ในการฝกึ อบรมขา้ ราชการพลเรอื น ของประเทศ ท�ำหนา้ ทใ่ี นการด�ำเนนิ การฝกึ อบรม รวมทงั้ การใหค้ �ำปรกึ ษา แนะน�ำ ออกแบบ และจดั หลกั สตู รฝกึ อบรมตา่ งๆ ทสี่ �ำคญั ไดส้ รา้ งคณุ คา่ รว่ ม ในเรอื่ ง -  ความซือ่ สตั ย์สจุ รติ (Integrity) -  ความเปน็ มอื อาชพี (Professional) ความมคี ณุ ภาพ (Quality) -  ความมุง่ เนน้ ที่ลกู ค้าหรือผรู้ บั บรกิ าร (Customer Focused) ซ่ึงบทบาทที่มากข้ึนที่มองแนวการตลาด(Market Oriented) ท�ำให้ สถาบนั ขา้ ราชการพลเรอื น (Civil Service Institute) หรือ IPA มีการ ปรับรูปแบบการบริหารและการด�ำเนินงานใหม่  โดยเพิ่มความส�ำคัญ เกย่ี วกบั การตลาดและลกู ค้า (Marketing Perspective / Customer Oriented) มากข้นึ   สนบั สนนุ ความตอ้ งการของลกู ค้าหรือผู้รับบริการ ในบรบิ ททีเ่ กยี่ วข้อง  เชน่ การฝกึ อบรม การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ หรือ การท�ำวิจัยท่ีสนองความต้องการของลูกค้ามากข้ึน จึงมีการยกระดับ ความส�ำคญั ของหนว่ ยงานวจิ ยั ใหม้ ากขนึ้ ตามไปดว้ ย โดยวางกลยทุ ธก์ าร ด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบ สมเหตุสมผล และสามารถน�ำไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพบนพื้นฐานความจ�ำเป็นและตอบสนองความต้องการของ กลมุ่ ลกู คา้ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี อกี ทงั้ สถาบนั ขา้ ราชการพลเรอื น (CSI)  มแี ผนที่ จะด�ำเนนิ การปรบั ภาพลกั ษณอ์ งคก์ าร เพอื่ การสรา้ งภาพลกั ษณท์ ชี่ ดั เจน และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์องค์การอย่างย่ังยืนและต่อเนื่อง จึงจัด ท�ำหลักสูตรรองรบั ในการฝึกอบรมต่างๆ มีดังนี้ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 145

ตารางท่ี 5 หลักสูตรท่ีใช้ฝกึ อบรม CNoou. rosef 23 Clusters 24 พฒั นาภาวะผูน้ �ำ 28 (Leadership Development-LD) 85 การวิเคราะหอ์ งคก์ ารและการพฒั นา 17 (Organizational Analysis and Development) 177 การสอื่ สารและการบรกิ ารลกู คา้ (Communication and Customer Service) การบรหิ ารจดั การและการก�ำกับดูแล (Management and Supervisory) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Communication Technology ) Total ส�ำหรับหลักสูตรท่ีเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) การ พฒั นาทกั ษะ (Skill  Development)  มจี �ำนวนทง้ั สนิ้ 17 หลกั สตู ร ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าสถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน (CSI) ให้ความ ส�ำคญั กบั การฝกึ อบรมขา้ ราชการยคุ ใหมใ่ หม้ คี วามเชย่ี วชาญ  และเขา้ สู่ ยุคสารสนเทศอยา่ งจรงิ จงั A %146 f * *ÿ i i **•

> :\\ \\ \\ i1 * i 1>- / J I t I I' fw. rt* 7 ip ' :, fc'* 5u ภาพท่ี 15 สถาบนั เพ่อื การสรา้ งผนู้ �ำ นวัตกรรม และความก้าวหน้าภารกิจ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม 147

ขร2นอชกทโเะ้า5โปบปัดาาบรย5ใรเร็นรงาบจ8บนพแมกชผนอรากฒัขานู้กจยะยเิรร้าลา�ะนยด่ิงำมเรรทก็เปขาะังาปรพที่มหกึ้น็นเชะิดวลีปรลลดกผลหอเกซัร่ามูา้นราลนะวส่ึงรือค�ทักสไสำิกยตูนน ด่ีบสถิทสุคร( เ้ตL(ูตราผ์ธกใCหอิeบกหรน้ภิูง่ Sรกaาันม�าIำ(ือeรdย)แพT่ขใข-ห้�eำลa้าeใLไ้าอนrl้มะรด-eesรLยาดอีค้เahnารชe่า�นวriชำt่งงnaกpเาานขกชriAามคnnยนิาัดรPcเตgiรชาพกเnciจpหย่ียาegลแนeตรรวlเบโeรถืออlชัวดiบือrึงnยหใายaนกนคา่ญeนtตางกร i)(o่แวัง้เรCบาปเยnลรใปรSวหน็วงะพIงา้Pา)ม้รคเจหขัฒนrะทวรไoม้าบอดาน้ังgสาม่ืนบ้(ใใาrูย่Fยหหaสๆขuไุโคm้ค้ค�ว้ดาอำlสคววว้lรยย)าาา่าัาญเู่นSเร มรมชพใใcส้ียีสสกนนอื่aสนก��าปกำlสำถวเคeครทีารา่าัญดพ)ัญรา้ ศบเ้ว.ฝงกซสกศไันยใึกดับึ่งน้ับ.ห้ ้

นอกจากการมขี า้ ราชการพลเรอื นเปน็ กลมุ่ เปา้ หมายหลกั แลว้ สถาบนั ข้าราชการพลเรือนยังให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) กบั หนว่ ยงาน NGOs อกี ดว้ ย เนอ่ื งจากเปน็ นโยบายในการเปดิ ประตู (Open-Door) เพอ่ื เชอ่ื มสมั พนั ธก์ บั หนว่ ยงานดงั กลา่ ว และเปน็ นโยบาย ท่ใี ห้โอกาสในการเรยี นร้โู ดยไม่ยดึ ติดกรอบความคดิ อีกท้ัง NGOs ไมไ่ ด้ รบั การสนับสนนุ โดยตรง (ด้วยงบประมาณ) จากรัฐบาล  ดงั น้นั รฐั บาล จงึ ตอ้ งใหก้ ารสนบั สนนุ และรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมดว้ ยการเพม่ิ นโยบาย ดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ หเ้ ปน็ หนงึ่ ในเปา้ หมายของ WAWASAN 2035  ทเี่ ปิดให้ทกุ องค์การได้รบั การพฒั นาทมี่ าจากรัฐบาล ซง่ึ สถาบนั ขา้ ราชการพลเรือน (Civil Service Institute – CSI) หรือ IPA  ได้ตอบสนองนโยบาย โดยได้ก�ำหนดและด�ำเนินการจัดโปรแกรม การฝึกอบรมท่ีหลากหลายส�ำหรับการพัฒนาทักษะความรู้และคุณภาพ ความเป็นผู้น�ำของราชการ  เพื่อความสมบูรณใ์ นการบริหารภาครัฐ จากบทบาทขา้ งต้น จึงกล่าวได้วา่ สถาบันขา้ ราชการพลเรือน (CSI) เปน็ แกนส�ำคัญของประเทศในการขับเคลือ่ นความเปล่ยี นแปลง โดยยึด หลักวิสัยทัศน์บรูไน พ.ศ. 2578 (WAWASAN 2035) และเป็นผู้สร้าง ข้าราชการพลเรือนยุคใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพในการสนับสนุนการพัฒนา ประเทศ รวมทง้ั ไดเ้ พิม่ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ยข์ องประเทศ และ ปลูกฝังวฒั นธรรมการท�ำงานเชิงบวกให้แกข่ า้ ราชการและพนักงานรัฐ 2. สถาบนั เพื่อการสร้างผนู้ �ำ นวัตกรรม และความกา้ วหน้า  (Institute for Leadership,  Innovation and Advancement -ILIA) [12] สถาบันนี้เป็นส่วนหน่ึงของมหาวิทยาลัยบรูไน (UBD: Universiti u148 r$ * sr