Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม

ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม

Description: สำนักงาน ก.พ. ในฐานะองค์การกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ และได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนในการเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคลในระบบราชการ

Search

Read the Text Version

การรังสรรคน์ วตั กรรม และการเรียนการสอนด้าน วิทยาศาสตร์ - การบรู ณาการการสอนดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) ใน หลกั สูตรต่างๆ - การพัฒนาการคิดวเิ คราะหแ์ ละความคดิ สรา้ งสรรค์ - การศกึ ษาส�ำหรบั เดก็ ปฐมวยั - การศึกษาตลอดชวี ติ และการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 1.1.11 ระบบกฎหมาย ระบบกฎหมายของประเทศบรูไนมีรากฐานมาจากระบบกฎหมาย จารีตประเพณขี องประเทศอังกฤษ (English Common Laws) ระบบ การศาลขององั กฤษเปน็ ระบบอสิ ระ มอี �ำนาจในการตดั สนิ คดอี ยา่ งเตม็ ท่ี แม้ว่าประเทศบรูไนได้รับเอกราชจากอังกฤษแล้วก็ตาม บรูไนยังคงใช้ ระบบกฎหมายของอังกฤษอยู่ แต่ส�ำหรับชาวมุสลิมมีหลายกรณีที่ใช้ กฎหมายอิสลาม (Islamic Shari’a Law หรือ Islsmic Shri’ah Law) แทน และไม่ยอมรับเขตอ�ำนาจโดยบังคับของศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศ (ICJ)[3] รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม มอี �ำนาจหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบดแู ลเกย่ี ว กับระบบกฎหมาย ในขณะท่ีประธานท่ีปรึกษากฎหมายรัฐธรมนูญและ กฎหมายอน่ื ๆ ด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานศาลสูงสุด อ�ำนาจในการตดั สนิ คดี อยูท่ ่ศี าลสงู สดุ คอื ศาลฎีกา ศาลชน้ั กลางหรอื ศาลอทุ ธรณ์ และศาลช้ัน ต้นดังน้ี 433*50 rgl±a*/ v*sa

1) ศาลชน้ั ตน้ (Subordinate Court) ซง่ึ ประกอบดว้ ย ศาลแขวง (Magistrate Courts) และศาลเยาวชน (Juvenile Courts) โดยศาล แขวงถกู ควบคุมโดยพระราชบญั ญัตศิ าลชน้ั ตน้ (Subordinate Courts Acts) คดสี ว่ นใหญถ่ กู พจิ ารณาในศาลแขวง ซงึ่ มที อี่ ยใู่ น 4 เขต คอื บรไู น ดารุสซาลาม  บนั ดาร์ เสรี เบกาวนั   คัวลาเบอไลต์ ตูตง  และ เตม็ บูรง เขตอํานาจศาลแขวงพจิ ารณาทง้ั คดแี พง่ และคดอี าญา  ซงึ่ ไมอ่ ยใู่ นเขต อํานาจของศาลชนั้ กลางและศาลฎกี า ศาลเยาวชนตง้ั อยู่ใน 4 เขต ได้แก่ บนั ดารเ์ สรี เบกาวัน ตตู ง คัวลาเบอไลต์ และ เตม็ บรู ง โดยศาลเยาวชน จะพจิ ารณาคดใี น 3 ประเภทใหญๆ่ ไดแ้ ก่ การกระทําความผดิ อาญา โดย เยาวชนอายไุ มถ่ ึง 18 ปี เยาวชนซึ่งไมอ่ ยู่ในการดูแลของผ้ปู กครอง และ เยาวชนท่ตี อ้ งการการดูแลและค้มุ ครองเป็นพเิ ศษ 2) ศาลชน้ั กลาง (Intermediate Court) ตง้ั โดยพระราชบญั ญตั ิ ศาลชน้ั กลาง (Intermediate Court Act) ซงึ่ รบั พจิ ารณาทงั้ คดแี พง่ และ คดอี าญา โดยในคดอี าญาจะรบั พจิ ารณาคดอี าญาทรี่ ะวางโทษไมเ่ กนิ 20 ปี ศาลชั้นกลางไมม่ อี ํานาจพจิ ารณาคดีที่มโี ทษประหารชีวิต สําหรับคดี แพง่ ศาลช้ันกลางสามารถรับพิจารณาคดีทมี่ ที ุนทรัพย์ไม่เกนิ 300,000 ดอลลา่ รบ์ รู ไน และคดที มี่ กี ารรอ้ งเรยี กเงนิ ในจ�ำนวนเงนิ มากกวา่ 15,000 ดอลลาร์บรูไนแต่ไมเ่ กนิ 60,000 ดอลลารบ์ รไู น นอกจากนผ้ี ้พู ิพากษา ช้ันกลางยังท�ำหน้าที่เป็นผู้ดูแลจัดการ การเข้าสมัครเป็นทนายความ (Advocate)และทนายให้ค�ำปรกึ ษา (Solicitor)คําตดั สนิ ทีอ่ อกโดยศาล ชน้ั กลางสามารถอทุ ธรณไ์ ปยงั ศาลอทุ ธรณไ์ ด้ 3) ศาลฎกี า (Supreme Court)  ซง่ึ ประกอบดว้ ย ศาลสงู (High Court) และศาลอทุ ธรณ์ (Court of Appeal) ผพู้ พิ ากษาหวั หนา้ ศาล ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 51

และผู้พิพากษาของศาลสูงรับพิจารณาคดีทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา โดย ไมจ่ ํากดั เขตอํานาจศาล  รวมทงั้ รบั อทุ ธรณค์ ดแี พง่ และคดอี าญาจาก ศาลแขวง ในการพจิ ารณาคด ี ศาลอทุ ธรณไ์ มม่ อี �ำนาจในการพจิ ารณาตดั สนิ คดี ที่มีบทลงโทษประหารชีวิต หรือจ�ำคุกเกินกว่า 20 ปี ท้ังมีหน้าที่รับ พจิ ารณาคดแี พง่ หรอื คดอี าญาจากศาลชนั้ กลาง ซง่ึ ในกรณที ศี่ าลอทุ ธรณ์ เปน็ ศาลสงู สดุ หรอื ศาลสดุ ทา้ ยของการตดั สนิ คดที างอาญา องคค์ ณะศาล ต้องประกอบด้วย ประธานหวั หน้าคณะและผ้พู ิพากษาอกี สองคน สว่ น คดีทางแพ่งในกรณีท่ีทุกฝ่ายยินยอมพร้อมใจสามารถอุทธรณ์ต่อคณะ กรรมาธกิ ารกฎหมายแหง่ คณะองค์มนตรใี นลอนดอน (Privy Council) นอกจากน้ี ประเทศบรไู นมปี ระชากรส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาอสิ ลาม จึงมีการใช้กฎหมายอิสลาม ซึ่งข้ึนอยู่กับกรมกฎหมายอิสลาม กรมน้ีมี หน่วยงานย่อยอกี 4 หนว่ ยงาน คือ 1. แผนกมฟุ ตี มมี ฟุ ตเี ปน็ หวั หนา้ สงู สดุ ดา้ นกจิ กรรมศาสนาอสิ ลาม เป็นผปู้ ระกาศตัวช้ีขาดหรือวินิจฉยั ปญั หาต่างๆ ท่เี กิดข้นึ ในสงั คมมุสลิม ซึ่งปกติแล้วจะมีประเด็นส�ำคัญๆ ที่ถูกถามโดยหน่วยงานต่างๆ ของ รฐั บาล มฟุ ตเี ปน็ ประธานคณะกรรมการศาลและประธานคณะกรรมการ ดา้ นกฎหมาย (Legal Committee) นอกจากนัน้ มฟุ ตยี ังด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นสมาชกิ ของสภาศาสนาอสิ ลามอกี ด้วย 2. แผนกหัวหน้าผู้พิพากษา (กอฎี) แผนกน้ีมีผู้พิพากษาเป็น ประธาน มีอ�ำนาจหนา้ ทีด่ ูแลศาลศาสนา 2 แห่ง คอื u52 r$ * sr

1) ศาลผพู้ พิ ากษา  มอี �ำนาจหนา้ ทใ่ี นการตดั สนิ คดคี วามทวั่ ราชอาณาจักร 2) ศาลผูพ้ ิพากษาประจ�ำเขต มอี �ำนาจเฉพาะในเขตใดเขตหนง่ึ เท่านั้น ฝ่ายน้ียังมีหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการสมรสและการหย่าร้าง อกี ด้วย 3. แผนกศาลศาสนา (ศาลชะรีอะฮ.์ ) มอี �ำนาจหนา้ ที่ในการให้ค�ำ ปรึกษาแก่สมเด็จพระราชาธิบดีในเร่ืองท่ีเก่ียวกับกิจการมุสลิม สภาน้ีมี คณะกรรมการทเ่ี ปน็ หลักอยู่ 2 ฝ่าย คอื 1) คณะกรรมการกฎหมายที่มีหน้าท่ีฟัตวา (วินิจฉัย) ปัญหา ตา่ งๆ ซงึ่ เกย่ี วกบั ศาสนาอสิ ลาม ค�ำวนิ จิ ฉยั ทไี่ ดป้ ระกาศออกมาจะกลาย เปน็ กฎหมายทนั ที ซึ่งมสุ ลิมทุกคนต้องเคารพและปฏบิ ตั ติ าม 2) คณะกรรมการศาล เป็นศาลท่ีรับค�ำร้องหรือข้อร้องเรียน ตา่ งๆ และยงั เปน็ แหลง่ อา้ งองิ ทางกฎหมายส�ำหรบั คดตี า่ งๆ ทปี่ รากฎขน้ึ ในราชอาณาจกั ร นอกจากน้ัน แผนกศาลศาสนายังมีหน้าที่รับผิดชอบให้ความช่วย เหลอื แกค่ นจน คนท�ำงานเพอื่ ศาสนา รายไดห้ ลักของแผนกศาลศาสนา นไี้ ดจ้ ากคา่ ธรรมเนยี มตา่ งๆ จากคา่ ปรบั ในศาลศาสนาหรอื ศาลชารอี ะฮ.์ ก�ำไรจากธนาคาร และซะกาตประเภทต่างๆ 4. แผนกสืบสวน มีอ�ำนาจหน้าท่ีด้านการตรวจสอบ สืบสวนข้อ เรียกร้อง และด�ำเนินการจับกุมผู้กระท�ำผิด มีเจ้าหน้าท่ีอยู่ทั่วประเทศ มากกวา่ 70 ท่าน [1] ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 53

1.1.12 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งไทยกบั บรไู น ไทยสถาปนาความสัมพันธท์ างการทตู กบั บรูไนเม่อื วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) เมอ่ื บรไู นเปน็ เอกราชและเขา้ เปน็ สมาชกิ อาเซยี น ซ่ึงท้ังสองประเทศมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาโดยตลอด โดยเฉพาะใน ระดบั ราชวงศ์ มกี ารแลกเปลยี่ นการเยอื นในระดบั ราชวงศ์ ผนู้ �ำระดบั สงู ของรัฐบาล และผู้น�ำระดับสูงของกองทัพอยู่เสมอ ท้ังสองประเทศยังมี ทศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ กนั ไมเ่ คยมคี วามบาดหมางทางประวตั ศิ าสตร์ และมกั เปน็ พันธมติ รในเรอ่ื งตา่ งๆ ทง้ั ในกรอบอาเซียนและกรอบสหประชาชาติ ได้ มีการหารือเกี่ยวกับการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่าง ทง้ั สองประเทศในดา้ นต่างๆ ได้แก่ การทหาร การคา้ การลงทนุ การ ประมง แรงงาน การท่องเท่ียว และวัฒนธรรม โดยไทยประสบความ ส�ำเรจ็ ในการโนม้ นา้ วใหบ้ รไู นใหค้ วามส�ำคญั กบั การลงทนุ ในอตุ สาหกรรม อาหารฮาลาล และร่วมมือกันจัดต้งั ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยขนึ้ เมือ่ วนั ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2546 มีการจดั ตง้ั กองทุนรว่ ม (Matching Fund) “กองทนุ ไทยทวที ุน” ระหวา่ ง Brunei Investment Agency กับกองทนุ บ�ำเหนจ็ บ�ำนาญขา้ ราชการ มีบรษิ ัทไทยท่ีลงทนุ ในบรไู น คือ บรษิ ัท Brunei Construction ซึง่ เป็นบริษัทรับเหมาก่อสร้างท่ีถือหุ้นระหว่างชาวไทยกับชาวบรูไนตาม กฎหมายบรูไนที่ก�ำหนดการท�ำกิจการต่างๆ จะต้องมีชาวบรูไนเป็นหุ้น สว่ นอยดู่ ว้ ย ส�ำหรบั ธรุ กจิ ไทยในบรไู น สว่ นใหญจ่ ะเปน็ รา้ นขายของ รา้ น อาหาร รา้ นตัดเสื้อ และอู่ซอ่ มรถ 54 rgl±a*/ v*sa

ปัจจุบันมีแรงงานไทยในบรูไนมีประมาณ 8,000 คน (พ.ศ. 2550) โดยส่วนใหญเ่ ป็นแรงงานไรฝ้ ีมือ ท�ำงานในกจิ การกอ่ สร้าง อุตสาหกรรม ตัดเย็บเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปเพ่ือการส่งออก นอกนั้นท�ำงานในภาคธุรกิจ บรกิ าร เชน่ หา้ งสรรพสนิ ค้า ร้านอาหาร การตกแต่งดูแลสวน ช่างซ่อม และงานในภาคเกษตรกรรม แรงงานไทยสว่ นใหญไ่ ดร้ บั การยอมรบั อยา่ ง ดีจากนักธุรกิจในบรูไน เพราะมีความซื่อสัตย์ อดทน ขยัน หม่ันเพียร และมคี วามรบั ผดิ ชอบ แมจ้ ะดอ้ ยในเรอ่ื งภาษา อยา่ งไรกด็ ยี งั มปี ญั หาอยู่ บ้าง โดยสว่ นใหญ่เป็นเรือ่ งความขัดแยง้ ระหว่างนายจ้างกบั ลูกจา้ ง อาทิ อตั ราค่าจา้ งท่ไี มส่ อดคลอ้ งกบั ความสามารถในการท�ำงาน และการขาด ความรแู้ ละความเข้าใจต่อกฎระเบียบขอ้ บังคบั ของสัญญาจา้ ง[2] 1.2 ประวัตแิ ละขอ้ มูลรัฐบาลโดยยอ่ บรูไน (Brunei) หรือ รัฐบรูไน ดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) มีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (แบบ อิสลาม)  มีรูปแบบรัฐเป็นรัฐสุลต่าน โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีทรงไว้ ซึ่งพระราชอ�ำนาจสงู สุดในการปกครองประเทศ ทรงด�ำรงฐานะประมขุ แหง่ รัฐ ประมขุ แหง่ ศาสนาอสิ ลาม และจอมทพั แหง่ บรไู น ในการบรหิ าร ประเทศ พระองค์ทรงด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นผู้แต่งตั้ง รัฐมนตรีและรัฐมนตรีช่วย รัฐบาลใช้อ�ำนาจของฝ่ายบริหารโดยผูกพัน ความรบั ผดิ ชอบตอ่ พระองค ์ รวมทง้ั ถวายความชว่ ยเหลอื   และถวาย ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 55

ค�ำแนะน�ำเกย่ี วกบั งานบรหิ ารของพระองคด์ า้ นนติ บิ ญั ญตั ิ ในดา้ นรปู แบบ การปกครองของประเทศบรไู นแยกใหเ้ ห็นไดด้ ังนี้ ● ฝา่ ยบรหิ าร สุลต่านด�ำรงต�ำแหน่งทั้งประมุขของรัฐและนายกรัฐมนตรี  นายก รฐั มนตรเี ปน็ หวั หนา้ คณะรฐั บาล สลุ ตา่ นและนายกรฐั มนตรคี นปจั จบุ นั คอื Sultan and Prime Minister Sir HASSANAL Bolkiah ด�ำรงต�ำแหนง่ ตง้ั แตว่ นั ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) คณะรัฐมนตรี (Council of Cabinet Ministers) ไดร้ บั การแต่งตั้งจากสลุ ต่านเพอ่ื ท�ำหน้าท่ีเกย่ี ว กับการบริหาร นอกจากน้ียังมีสภาศาสนา (Religious Council) ซึ่ง สุลต่านเป็นผู้แต่งต้ัง ท�ำหน้าที่ให้ค�ำปรึกษาเรื่องเก่ียวกับศาสนา สภา องคมนตรี (Privy Council) ให้ค�ำปรกึ ษาเรอ่ื งเกี่ยวกับการปกครองและ รฐั ธรรมนูญ และ Council of Succession เปน็ สภาทจ่ี ะตัดสินวา่ ใคร คือผู้สืบทอดต�ำแหนง่ คนตอ่ ไป (หากจ�ำเปน็ ) ไม่มีการเลือกต้ัง ต�ำแหนง่ สลุ ตา่ นจะสบื ทอดตามกฎมณเฑียรบาล ● ฝา่ ยนติ ิบัญญัติ การเลือกต้ังสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติบรูไนโดยตรงจาก ประชาชนครัง้ สุดทา้ ยในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) หลังจาก น้ันเป็นระบบแต่งตั้งสมาชิก ซ่ึงสภานิติบัญญัติแห่งชาติบรูไนประกอบ ดว้ ยสมาชิกไม่เกิน 45 คน ทีไ่ ดร้ ับการเลอื กต้งั จากสมเดจ็ พระราชาธบิ ดี 30 คน ส่วนอีก 15 คน เปน็ ตัวแทนในเขตการปกครองทไ่ี ด้รบั เลอื กและ แต่งตั้งโดยทางราชการ  สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติน้ี มีวาระการ u56 r$ * sr

, .JJJL r 1ImP < 4 © •vf - -r > L i ft Cÿ1 JA- v\"' ,'T E A •«s .c£ w MrlVJ V.Lv...» i•1 !=, i-:ÿ ภาพท่ี 11 สมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานลั โบลเกียะห์ ประมมขุอู ขซิ อซงัดรดฐั แนิ ลวะัดนเาดยากลระัฐหม์นตรี (Sultan and Prime Minister Sir HASSANAL Bolkiah) ด�ำรงต�ำแหนง่ 4 ป ี มสี มยั ประชมุ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตอิ ยา่ งนอ้ ยปลี ะ หนง่ึ ครงั้   และระยะเวลาระหวา่ งสมยั ประชมุ สดุ ทา้ ยกบั สมยั ประชมุ ครง้ั ถัดไปจะตอ้ งไมเ่ กิน 12 เดอื น ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 57

สมาชิกสภานิติบัญญัติสามารถเสนอร่างกฎหมาย แต่ร่างกฎหมาย ฉบับน้ันจะมีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย ต่อเมื่อสมเด็จพระราชาธิบดีทรง ให้ความยินยอม ทรงลงพระปรมาภไิ ธย และทรงประทบั ตราแผน่ ดิน ● ฝ่ายตุลาการ ศาลสงู สุด คอื ศาลฎีกา (Supreme Court) หวั หน้าคณะผพู้ ิพากษา และผพู้ พิ ากษาไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากองคส์ ลุ ตา่ น มวี าระการด�ำรงต�ำแหนง่ 3 ปี Judicial Committee of Privy Council ในกรุงลอนดอน คือ ศาลสูงสดุ ส�ำหรับการตัดสนิ คดีแพง่ (Civil Cases) ขณะทีศ่ าลชะรอี ะฮ์. (Sharia Courts) ตดั สินคดีความทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ศาสนาอสิ ลาม u58 r$ * sr

2 วิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และยทุ ธศาสตร์ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 59

บรไู นเปน็ ประเทศทพี่ งึ่ พาอตุ สาหกรรมนำ�้ มนั และกา๊ ซธรรมชาตเิ ปน็ อยา่ งมาก สะทอ้ นไดจ้ ากมลู คา่ การสง่ ออกนำ้� มนั ดบิ และกา๊ ซธรรมชาตทิ ่ี เปน็ รายไดห้ ลักของประเทศ จากข้อมลู ของ U.S. Energy Information Administration (EIA) รายงานว่า  ปรมิ าณน�้ำมนั ส�ำรองของบรไู น ในปี พ.ศ. 2555 มเี ท่ากบั 1.1 พันลา้ นบาร์เรล ลดลงกว่า รอ้ ยละ 19 และ 39 ในช่วง 20 และ 30 ปี ทผ่ี า่ นมาตามล�ำดบั   เมอ่ื พจิ ารณาปรมิ าณการบรโิ ภคนำ�้ มนั เฉลยี่ ในชว่ ง 10 ปหี ลงั สดุ (พ.ศ. 2545-2554) ของบรไู นอยทู่ ป่ี ระมาณ 14,500 บารเ์ รล ต่อวนั จากข้อมลู ดังกล่าว The Economist Newspaper คาดการณว์ ่า ปริมาณน้�ำมันดิบส�ำรองของบรูไนจะหมดลงในอีก 15 ปีข้างหน้า ตาม ด้วยกา๊ ซธรรมชาติส�ำรองท่จี ะหมดลงใน 25 ปีข้างหน้า ดงั นัน้ หากบรไู น ไมส่ ามารถพฒั นาอตุ สาหกรรมอน่ื ทไี่ มใ่ ชพ่ ลงั งาน (Non-energy-based industries and services) ข้ึนมาทดแทน ระบบเศรษฐกิจของท้ัง ประเทศจะตอ้ งตกอยใู่ นสภาวะเสยี่ งอยา่ งหลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ ปญั หาดงั กลา่ ว เป็นสงิ่ ทรี่ ัฐบาลบรไู นตระหนักมาโดยตลอด ดงั น้ัน ในชว่ งปลายเดอื นมกราคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) รัฐบาล บรูไนจึงได้ประกาศแผนพัฒนาประเทศในระยะยาวที่ชื่อว่า Wawasan Brunei 2035 หรือวิสัยทัศนบ์ รูไน พ.ศ. 2578 (Vision Brunei 2035) ตั้งเป้าหมายในการเปล่ียนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมประเทศ เพ่ือ ความเจริญอยา่ งยัง่ ยนื ของบรไู นในอนาคต โดยให้ความส�ำคัญกบั ปัจจยั พื้นฐานในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นด้านการ ศกึ ษา ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดเลก็ อตุ สาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศ อุตสาหกรรมที่ไม่ใช่พลังงาน รวมทั้งการต่อยอดอุตสาหกรรมปิโตรเคมี u60 r$ * sr

* ck If iJ i i> i /r * »- . N1 และพฒั นาเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมพลงั งานข้ันต้นและข้นั กลาง โดยบรูไนจะให้การศึกษาเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างรากฐานเพ่ือ พัฒนาประเทศ ซ่ึงจะเน้นท่ีเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโลก อีกทั้งยังเสริมสร้างความ แขง็ แกรง่ ใหธ้ รุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม เพราะธรุ กจิ เหลา่ นเ้ี ปน็ กลไก พ้ืนฐานในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศผ่านการจ้างงาน  และ การกระจายรายได้ รวมท้ังพัฒนาการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเนน้ การพฒั นาเทคโนโลยใี นการใชพ้ ลงั งานตามแนวคดิ สถาปตั ยกรรม ด้านพลังงาน (Energy Architecture) เพ่อื ความยง่ั ยนื ทางพลงั งานของ ประเทศ ซึ่งมคี ณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจบรูไน (Brunei Economic Development Board-BEDB) เปน็ ผรู้ บั แนวคดิ ไปด�ำเนนิ การ และมกี าร รว่ มมือกับสงิ คโปรใ์ นการพัฒนาอตุ สาหกรรมถลุงแร่อลูมิเนียม (Alumi- num Smelting) และพฒั นาทา่ เทยี บเรอื ตสู้ นิ คา้ (Container Terminal) ทเ่ี กาะมวั ร่า (Muara Island) ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม 61

แผนพฒั นาประเทศบรไู น (Wawasan Brunei 2035) เปน็ แผนฯ ทมี่ ี เป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงคร้ังใหญ ่ และจะท�ำให้บรไู นมีเศรษฐกิจที่ มนั่ คงดว้ ยโครงสรา้ งพนื้ ฐานทสี่ มดลุ และเผชญิ หนา้ ตอ่ ความเปลยี่ นแปลง ในเศรษฐกิจโลกได้ต่อไป โดยได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี 2.1 วิสัยทัศน์ กอ่ นการก�ำหนดวสิ ยั ทศั นแ์ หง่ บรไู น ไดม้ กี ารส�ำรวจ วเิ คราะหต์ ามภาวะ การแขง่ ขันทร่ี นุ แรงในตลาดโลก โดยเฉพาะหลงั จากท่จี นี และเวยี ดนาม ประสบความส�ำเร็จอย่างสูงในการเข้าสู่ตลาดการค้าเสรี  การเพ่ิมขีด ความสามารถในการแขง่ ขนั ของบรูไนจงึ เปน็ สง่ิ จ�ำเปน็ และหนทางหนึง่ คอื การขยายฐานการผลติ ไปตา่ งประเทศ จากการวเิ คราะหแ์ บบ SWOT ในภาพรวมถึงศักยภาพด้านการลงทุนของบรูไนในด้านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอปุ สรรค มีขอ้ สรุปดงั นี้ จดุ แขง็ ● บรูไนเป็นประเทศที่มีก�ำลังซ้ือสูงและมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ รัฐบาลพยายามท่ีจะผลักดันให้มีโครงการต่างๆ เกิดขึ้นในภาค อตุ สาหกรรมทน่ี อกเหนอื จากนำ้� มนั   โดยเฉพาะภาคการคา้ ปลกี   และ การคา้ สง่ การกอ่ สรา้ งและการคมนาคมขนสง่   โดยหวงั วา่ อตุ สาหกรรม เหลา่ นจ้ี ะมสี ่วนผลักดนั เศรษฐกิจของประเทศตอ่ ไปในอนาคต u62 r$ * sr

● รฐั บาลบรไู นส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชน  เพอื่ จะให้เกดิ การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและมนั่ คง  โดยเฉพาะตามแผนพฒั นาฉบบั ที่ 8 เนน้ การเติบโตของวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ● ประเทศบรไู นให้สทิ ธพิ ิเศษแกป่ ระเทศสมาชิกอาเซยี น ดว้ ยการ ลดอัตราภาษนี �ำเขา้ เหลอื รอ้ ยละ 0-5 จุดออ่ น ● ขั้นตอนและกระบวนการส่ังซือ้   และการขนสง่ สินค้าของบรไู น ไม่ค่อยคล่องตัว โดยเฉพาะบริษัทขนาดใหญ่ท่ีมีชาวสิงคโปร์ร่วมลงทุน อยู่ด้วย การน�ำเข้ามักจะข้ึนอยู่กับนักธุรกิจสิงคโปร์ ซ่ึงต้องมีการขนส่ง ผ่านทางสงิ คโปร์ก่อน ● ขอ้ จ�ำกดั ดา้ นการคา้ ทเ่ี ครง่ ครดั มากเกยี่ วกบั การก�ำหนดขอ้ บงั คบั ในการน�ำเข้าสินค้าประเภทอาหาร ซ่ึงจะต้องเป็นอาหารฮาลาลเท่านั้น โดยเฉพาะเนือ้ สัตว์ ไดแ้ ก่ เนอ้ื โค กระบอื แพะ แกะ และไก่ ซ่ึงอยูภ่ าย ใตค้ วามรับผิดชอบของกระทรวงศาสนา โอกาส ● รัฐบาลมีนโยบายในการสนับสนุนด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน อปุ กรณ์ และการหาตลาด รวมถงึ การให้ก้ยู มื เงินทนุ เพอ่ื การลงทนุ และ งดเว้นภาษี อุปสรรค ● เรอื บรรทกุ สนิ คา้ ไปบรูไนมสี นิ ค้าเฉพาะเทีย่ วไป แต่ไมม่ ีสนิ คา้ ใน เท่ยี วกลบั ท�ำใหต้ ้นทนุ การขนสง่ สนิ ค้าเพิม่ สงู ข้นึ ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 63

วสิ ยั ทศั นแ์ ห่งบรูไน เปน็ ผู้น�ำที่ดีเยยี่ มในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ีส�ำหรับความมั่งค่ังและ ความมัน่ คงแหง่ ชาติ พนั ธกิจ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของผู้บริหาร การตัดสนิ ใจจากรฐั บาลของสมเดจ็ - พระราชาธิบดีในการแสวงหาความเป็นผู้น�ำท่ียอดเยี่ยม และการก�ำกับ ดูแลท่ีดีส�ำหรับการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ และการพัฒนาอย่าง ย่งั ยนื ในบริบทของปรัชญาชาวมสุ ลิมมาเลย์ บทบาทและหน้าที่ เพอ่ื ให้บรรลพุ นั ธกิจ ควรด�ำเนนิ การดงั น้ี ● มีความเปน็ มอื อาชีพ และความสามารถในกระบวนการท�ำ นโยบาย ● ความมปี ระสิทธิภาพของผู้น�ำการบริหารในทุกกระทรวงและ หนว่ ยงาน ● การประสานงานทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ และการอ�ำนวยความสะดวก ระหวา่ งหน่วยงานท้งั ภาครฐั เอกชน และชมุ ชน ● การมขี ้อมูลที่มีคุณภาพ และบรกิ ารระดับมืออาชพี ของส�ำนกั นายกรฐั มนตรตี อ่ ผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ที่ส�ำคญั เมอ่ื เดือนมกราคม พ.ศ. 2551 รฐั บาลบรูไนไดป้ ระกาศแผนพฒั นา ระยะยาวออกมาเปน็ ฉบบั แรก ซง่ึ มชี อื่ วา่ “วสิ ยั ทศั นบ์ รไู นปี พ.ศ. 2578” (Wawasan 2035-Vision Brunei 2035)  เป็นวิสยั ทัศนแ์ ห่งชาต ิ โดย u64 r$ * sr

•41 ' จะใชค้ วบคกู่ บั แผนพฒั นาระยะสนั้ 5 ปี และใหค้ วามส�ำคญั กบั การพฒั นา ภาคเศรษฐกจิ อน่ื เพอื่ เปลย่ี นแปลงจากเศรษฐกจิ ทพ่ี ง่ึ พานำ้� มนั และกา๊ ซ เป็นหลักไปสู่โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่มีความหลากหลายมากข้ึน เน่ืองจากปัจจุบันภาคพลังงานมีสัดส่วนร้อยละ 94 ของรายได้ท้ังหมด ของรัฐ และคดิ เป็นสัดสว่ นรอ้ ยละ 96 ของการส่งออก ร้อยละ 74 ของ การลงทนุ และร้อยละ 69 ของ GDP ทัง้ ประเทศ วิสัยทัศนข์ องบรไู น 1) เน้นการหาวิธีการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยพึ่งพาเศรษฐกิจที่ไม่ใช่ นำ�้ มนั ทดแทน ซง่ึ ในแผนฉบบั นตี้ ง้ั เปา้ ใหบ้ รไู นสามารถขนึ้ ตดิ อนั ดบั หนง่ึ ในสิบของประเทศทมี่ ี GDP ต่อหัวสูงสดุ ในโลกภายในปี พ.ศ. 2578 จาก ปจั จบุ นั บรไู นตดิ อนั ดบั ท่ี 30 รวมทงั้ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การพฒั นาในระยะ ยาว ซ่งึ กญุ แจส�ำคญั อยทู่ ีด่ า้ นการศกึ ษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม 65

2) ให้ความส�ำคัญกับธุรกิจขนาดย่อม การลงทุนเกี่ยวกับการผลิต ปิโตรเคมีขั้นปลายน้�ำ และอุตสาหกรรมอ่ืนๆ รวมท้ังรัฐบาลเตรียมจะ พัฒนาอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียว 3) สนับสนุนอุตสาหกรรมที่ไมใ่ ชพ่ ลังงานของบรูไน อาทิ เม่อื เดือน มกราคม “อลั ควั ” ผผู้ ลติ อะลมู เิ นยี มรายใหญข่ องสหรฐั อเมรกิ าไดล้ งนาม ในบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจบรูไน (Brunei Economic Development Board : BEDB) ในการศกึ ษาความ เป็นไปไดท้ ี่จะต้ังโรงงานถลงุ อะลูมเิ นียมในบรไู น นอกจากนย้ี ังได้ลงนาม ในบนั ทกึ ความเขา้ ใจอีกฉบับเพ่อื พฒั นาธุรกจิ รายยอ่ ย 4) ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน เพราะแม้จะไม่สามารถยับย้ังให้ แหล่งพลงั งานส�ำรองหมดไปได ้ แต่กอ็ าจจะยืดเวลาให้ยาวนานออกไป โดยกระทรวงพลงั งานไดอ้ อกเตือนประชาชนให้ปรับเปลี่ยนรปู แบบการ ใช้ชีวิต และเตรียมรับสถานการณ์เมื่อถึงเวลาท่ีน้�ำมันและก๊าซหมดไป รวมถงึ ไดจ้ �ำกัดการผลติ น้ำ� มันอย่ทู ี่ 200,000 บาร์เรลต่อวนั ข้อจ�ำกัดในการบรรลวุ ิสยั ทัศน์ของบรไู น 1) แมว้ า่ รฐั บาลบรไู นจะเขา้ ใจถงึ ความจ�ำเปน็ ในการสรา้ งความมน่ั คง ทางเศรษฐกจิ ในระยะยาว แตก่ ารปฏบิ ตั ิกย็ ังคงเปน็ เรอื่ งยาก เชน่ ดา้ น การท่องเทยี่ ว ซึ่งแมบ้ รไู นจะมศี กั ยภาพในด้านการท่องเท่ียวเชงิ อนุรกั ษ์ แตก่ ารเปน็ ประเทศมสุ ลมิ แบบอนุรักษนยิ มทีเ่ ข้มงวดต่อกฎระเบยี บ ในการดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล ์ กอ็ าจสง่ ผลตอ่ ความพยายามสง่ เสรมิ การทอ่ งเที่ยวเชิงธรรมชาติ และอากาศแบบเมอื งร้อน u66 r$ * sr

2) ดา้ นสาธารณปู โภค แมบ้ รไู นจะมเี งนิ ในการพฒั นาสาธารณปู โภค และสามารถชกั ชวนนกั ลงทนุ ตา่ งชาตเิ ขา้ มาลงทนุ แตก่ ลบั ตอ้ งเผชญิ กบั การแข่งขันจากเพ่ือนบ้านที่พยายามต้ังศูนย์กลางด้านการขนส่งทางเรือ ไมว่ ่าจะเปน็ มาเลเซียทีม่ ที า่ เรอื กลาง รวมถึงท่าเรอื ของสิงคโปร์ 3) การจะปรับเปลี่ยนตัวเองมาเน้นธุรกิจอื่นที่ไม่ใช่น�้ำมัน ยังต้อง อาศัยการเปลี่ยนแปลงระบบภาษี รวมถึงเปลี่ยนแนวคิดของรัฐและ ประชาชน  ทัง้ น้ียงั ไม่นบั รวมอปุ สรรคจากการปกครองแบบรวมศนู ย์ ทสี่ ลุ ตา่ น ซงึ่ ท�ำใหไ้ มม่ แี รงกดดนั มากพอทจี่ ะเรง่ ใหเ้ กดิ การปฏริ ปู โครงสรา้ ง ทางการเมอื งเพ่อื รองรับแนวทางในอนาคต 4) การพัฒนาเกษตรกรรม เพ่ือสร้างความมั่นคงด้านอาหาร โดย รัฐบาลได้ประกาศแผนการส่งเสริมการเกษตรเม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 โดยเน้นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เพ่ือเพิ่ม ผลผลติ และการทอ่ งเทย่ี ว โดยเฉพาะในเชิงนเิ วศน์ 2.2 เปา้ หมาย บรูไนดารุสซาลามมีเป้าหมายต้องการจะเห็นการได้รับการยอมรับ จากทุกท่ีในความส�ำเร็จของผู้มีการศึกษา  และทักษะสูงมีคุณภาพชีวิต ท่ีดี เศรษฐกิจมีการเติบโตเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ีดีและอย่างย่ังยืน มคี วามจงรกั ภกั ดีต่อสลุ ต่านและประเทศบรไู น เชื่อในคุณคา่ ของศาสนา อิสลาม มีความอดทนและความสามัคคีในสังคม เพื่อตอบสนองความ ทา้ ทายและประสบความส�ำเร็จในปี พ.ศ.2578 (ค.ศ. 2035) ในพืน้ ทท่ี ่ี ส�ำคัญดังตอ่ ไปนี้ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 67

ผมู้ กี ารศึกษาและทกั ษะสูงประสบความส�ำเรจ็ สรา้ งระบบการศกึ ษาชน้ั แรกทใ่ี หโ้ อกาสส�ำหรบั ทกุ คน และทอี่ ยอู่ าศยั เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการการเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่นเดียวกับท่ีประสบความส�ำเร็จในการเล่นกีฬา และศิลปะ ความส�ำเร็จจะไดร้ ับการวัดจากมาตรฐานสากลสูงสดุ คุณภาพของชวี ติ ประชากรบรไู นไดร้ บั การดแู ลทเ่ี หมาะสมและดที ส่ี ดุ มมี าตรฐานการ ใช้ชีวติ และความม่นั คงทางการเมือง สร้างความมน่ั ใจในสภาพแวดล้อม เพอื่ สนบั สนนุ คณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ ทกุ คนในสงั คม และมงุ่ มน่ั ทจี่ ะเปน็ หน่งึ ในสิบอนั ดับแรกของประเทศในโลก เศรษฐกิจท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปในทิศทางท่ีดี และการพัฒนาอย่าง ยงั่ ยนื การใช้ชีวิตมีมาตรฐานที่สูง  มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทันกับ การเตบิ โตของประชากรบรไู น สรา้ งเศรษฐกจิ กบั การจา้ งงานทมี่ คี ณุ ภาพ ท้ังในภาครัฐและเอกชน มีโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดี  มีความสามารถใน การรองรับมาตรฐานการครองชีพที่เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง เป้าหมายคือ เพ่ือให้บรไู นมีรายได้ตอ่ หวั ตดิ อนั ดบั ใน 10 ประเทศท่ัวโลก u68 r$ * sr

2.3 ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย วสิ ัยทศั น์บรไู น พ.ศ. 2578 (Wawasan 2035) 1. ดา้ นการศึกษา เพอ่ื พัฒนาระบบการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั แผน พฒั นาประเทศในปี พ.ศ. 2552  รฐั บาลบรูไนจึงได้วางแนวทางระบบ การศกึ ษาใหม่ เรยี กว่า ระบบการศึกษาของศตวรรษท่ี 21 (The New National  Education  of  the  21st  Century - SPN 21)  ซง่ึ เปน็ ระบบการศกึ ษาแนวใหมจ่ ากประเทศฝรง่ั เศสทใ่ี หค้ วามส�ำคญั กบั ผเู้ รยี น เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความต่ืนตัวและสนใจศึกษาในวิชา แขนงตา่ งๆ โดยเฉพาะดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรม์ ากขน้ึ รวมทงั้ การบรรจหุ ลกั สตู รดา้ นศาสนา ไดแ้ ก่ การศกึ ษาระบบราชาธปิ ไตยอสิ ลาม มลายู และความร้เู ก่ียวกบั ศาสนาอิสลาม (Islamic Religious Knowl- edge-IRK) ในหลักสูตรวิชาบังคับ และเพื่อเป้าหมายที่จะเพ่ิมจ�ำนวน นกั ศึกษาในระดบั อดุ มศึกษาจากร้อยละ 13 เป็นร้อยละ 30 ภายใน 5 ปี 2. ด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างบรรยากาศการลงทุน การท่องเท่ียว และส่งเสรมิ ให้มีการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีกบั ประเทศต่างๆ เพิ่มขน้ึ อาท ิ การพฒั นาพนื้ ทดี่ า้ นนำ�้ มนั   และกา๊ ซธรรมชาตทิ ่ี Sungai Liang Industrial Park (SPARK) ซ่งึ ตงั้ อยใู่ นเมอื งกวั ลาไบล์ (Kuala Belait) การกอ่ สร้างท่าเรอื Palau Muara Besar ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 69

;f •• M\\ 0 i* ภาพท่ี 12 แสดงการขุดเจาะน�ำ้ มนั ทมี่ า: http://brunei.m00hin.in.th/?p=34 3. ด้านความม่ันคง เพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงทั้งภายในและ ระหว่างประเทศ รวมท้งั การเสริมสรา้ งสมรรถนะของบรไู นในการรบั มอื กับสถานการณฉ์ กุ เฉินต่างๆ เชน่ การฝึกปฏิบตั กิ ารชว่ ยเหลือตัวประกนั จากกรณีโจรสลัดปล้นยึดเรือสินค้า โดยกองก�ำลังต�ำรวจแห่งชาติบรูไน (Royal Brunei Police Force-RBPF) และการรบั มอื กบั สถานการณก์ าร กอ่ การรา้ ยทอี่ าจเกดิ ขน้ึ กบั นกั ทอ่ งเทย่ี วและภยั ธรรมชาติ รวมทงั้ สง่ เสรมิ บทบาททางทหารและความมน่ั คงในภมู ิภาค อาทิ การส่งกองก�ำลังเข้า สงั เกตการณก์ ารหยดุ ยงิ ระหวา่ งรฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สแ์ ละแนวรว่ มปลดปลอ่ ย อิสลามโมโร (Moro Islamic Liberation Front-MILF) ในมินดาเนา และไดร้ ว่ มกบั พนั ธกจิ เจรจาสงบศกึ   (Peace  Monitoring  Mission) ในจงั หวดั อาเจะห์ \\ 70 mA Qtt <f* »i »» i

4. ด้านการพัฒนาระบบสถาบัน เพื่อส่งเสริมธรรมภิบาลในระบบ การบริหารท้ังภาครัฐและเอกชน การพัฒนาคุณภาพการบริการ ประชาชนและป้องกันการทุจริต โดยเม่ือวันที่ 12 มกราคม 2553 ส�ำนักงานปราบปรามทุจริต (Anti–Corruption Bureau-ACB) ไดป้ รับ โครงสร้างหน่วยงานภายในเพ่ือรองรับวิสัยทัศน์และภารกิจตามแผน พฒั นา โดยมงุ่ เปา้ หมายเปน็ องคก์ ารตรวจสอบขอ้ รอ้ งเรยี นและการทจุ รติ 5. ด้านการพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เพ่ือส่งเสริม ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอันเป็นพื้นฐานส�ำคัญของการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ  บรูไนจึงปรับปรุงระบบการขออนุญาตจัดตั้ง บรษิ ทั   ซง่ึ ในอดตี การจดั ตง้ั บรษิ ทั ในบรไู นจะใชเ้ วลา 43 วนั  แตป่ จั จบุ นั ได้ ลดระยะเวลาลงเหลือเพียง 23 วัน อย่างไรก็ดีจากการจัดอันดับของ ธนาคารโลกในเรื่องความสะดวกต่อการท�ำธรุ กจิ พ.ศ. 2553 (Ease of Doing Business 2010 )  บรไู นอยู่ในล�ำดับที่ 153 ซงึ่ ลดอันดบั ลงจาก ปกี อ่ นหนา้ ทล่ี �ำดบั 149 ดงั นน้ั รฐั บาลยงั คงมคี วามพยายามทจ่ี ะปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานเพ่ือธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอย่าง ต่อเนือ่ ง 6. ดา้ นการพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน เพอ่ื เปน็ ปจั จยั สง่ เสรมิ ใหบ้ รไู น เป็นประเทศช้ันน�ำและเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ เช่น โครงการสรา้ งทา่ เรือน�้ำลกึ Palau Muara Besar ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 71

7. ด้านความมั่นคงแก่ภาคสังคม เพ่ือให้ประชาชนบรูไนทุกคนได้ รับการสนับสนุนด้านสวัสดิการเป็นอย่างดี ท้ังด้านสาธารณสุขและการ ศึกษา รัฐบาลจะยังคงมุ่งมั่นเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการแก่ ประชาชนอย่างตอ่ เนอื่ ง 8. ด้านสิง่ แวดลอ้ ม เพอ่ื อนุรกั ษส์ ภาพแวดล้อมอย่างยั่งยืน รัฐบาล จงึ มนี โยบาย Kenali Negara Kitani (KNK) หรือโปรแกรมร้จู กั ประเทศ ของคณุ   (Know  Your  Country  Programme)  เพอ่ื สง่ เสรมิ การ ท่องเท่ียวในประเทศที่ให้ความส�ำคัญกับการรักษาสภาพแวดล้อม และ สร้างจุดเด่นด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ  เพ่ือดึงดูดนักท่องเที่ยวท้ังใน และตา่ งประเทศ  เชน่ Heart of Borneo initiative (HOB) องคป์ ระกอบหลัก ● ยทุ ธศาสตรก์ ารศกึ ษา ทจ่ี ะเตรยี มเยาวชนส�ำหรบั งานและความ ส�ำเร็จในโลกทม่ี ีการแขง่ ขนั และมีความรเู้ ปน็ พน้ื ฐานเพ่ิมขึ้นเรอ่ื ยๆ ● ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ ที่จะสร้างเศรษฐกิจใหม่ให้แก่ประชากร และขยายโอกาสทางธุรกิจภายในประเทศบรูไน โดยการส่งเสริมการ ลงทนุ ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ทงั้ ดา้ นอตุ สาหกรรมนำ้� มนั และกา๊ ซ ธรรมชาติ และกลมุ่ เศรษฐกจิ นอกเหนอื จากอตุ สาหกรรมนำ�้ มนั และกา๊ ซ ธรรมชาติ ● ยทุ ธศาสตรค์ วามมน่ั คง ทจ่ี ะคมุ้ กนั ความมน่ั คงทางการเมอื ง และอ�ำนาจอธปิ ไตยของประเทศ รวมทงั้ สมรรถนะดา้ นการปอ้ งกนั   และ การฑูต สมรรถนะในการท่ีจะตอบโต้การคุกคามของโรคภัยและความ หายนะทางธรรมชาติ u72 r$ * sr

.I1t1 Iu: \\\\ 3T= ● ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบองค์การ ที่จะเสริมหลักธรรมา- ภิบาลท้ังในภาคสาธารณะและเอกชน รวมถึงการบริการสาธารณะท่ีมี คุณภาพสูง โครงสร้างการควบคุมตามกฎหมายที่ปฏิบัติได้และทันสมัย และการด�ำเนนิ การของรฐั บาลทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ลดทอนระบบราชการ ทสี่ ลบั ซับซอ้ น ● ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเศรษฐกจิ ทอ้ งถน่ิ ทจ่ี ะเสรมิ โอกาสใหแ้ ก่ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมท้ังช่วยให้ชาวบรูไนเชื้อสาย มาเลยส์ ามารถบรรลุความเปน็ ผู้น�ำทางธุรกจิ และอตุ สาหกรรม โดยการ พัฒนาความแข็งแกรง่ ด้านการแข่งขันเพิ่มมากขน้ึ ● ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐาน ท่จี ะสรา้ งความมน่ั ใจ ว่าการลงทุนจะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยผ่านความร่วมมือระหว่างภาค สาธารณะและเอกชนในการพฒั นา และคงไวซ้ ึง่ โครงสร้างพื้นฐานระดับ มาตรฐานโลก โดยใหค้ วามส�ำคญั เปน็ พเิ ศษดา้ นการศกึ ษา สุขภาพ และ อตุ สาหกรรม ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม 73

● ยทุ ธศาสตรก์ ารประกนั สงั คม ทจ่ี ะสรา้ งความมนั่ ใจวา่ ประเทศชาติ จะรุ่งเรอื ง ประชากรท้งั หมดจะได้รับการดูแลเอาใจใส่อยา่ งเหมาะสม ● ยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม ที่จะสร้างความม่ันใจว่าธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม  และแหลง่ ทอี่ ยทู่ างวฒั นธรรมจะไดร้ บั การอนรุ กั ษอ์ ยา่ ง ถูกต้องเหมาะสม ท้ังยังจะช่วยดูแลให้มีสุขภาพท่ีดีและปลอดภัย สอดคลอ้ งกบั หลักการปฏิบตั ิของนานาประเทศในระดับสงู สุด [23] u74 r$ * sr

3 ประวัติความเปน็ มาของระบบราชการ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 75

บรูไนมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของระบบราชการอันยาวนาน อย่างน้อย 600 ปีมาแล้ว ก่อนจะมีข้อตกลงเพ่ิมเติมระหว่างบรูไนและ สหราชอาณาจกั รในปี พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) ระบบราชการของบรูไน ได้รับการกลา่ วถงึ ต้งั แต่สมยั สลุ ตา่ นฮสั ซนั ท่ี 9 ทีเ่ รยี กวา่ “สลุ ต่านฮัสซนั แคนนอน” หลังจากท่ีสถาบันกษัตริย์ข้ึนถึงจุดสูงสุดของอํานาจใน ศตวรรษที่สบิ หกกต็ ามดว้ ยจดุ ถดถอยลง และตอ่ มาในศตวรรษทีส่ ิบเก้า อาณาเขตของบรูไนก็ลดน้อยลง เนื่องจากอิทธิพลของตระกูล Brooke Rajahs เจ้าผู้ครองรัฐซาราวัก การปฏิวัติบรูไน พ.ศ. 2505 (Brunei Revolt) เปน็ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ เมอื่ วนั ท่ี 8 ธนั วาคม พ.ศ. 2505 ในขณะ ที่รัฐสุลต่านบรูไนยังอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษ สมาชิกพรรค ประชาชนบรไู นซึง่ เป็นพรรคฝ่ายคา้ นในบรไู น มี เอ เอม็ อาซาฮารี เปน็ หัวหน้าพรรค พรรคนี้ได้เสียงข้างมากในการเลือกตั้งเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2505 โดยมนี โยบายตอ่ ต้านการรวมบรูไนเขา้ กับมาเลเซยี อาซาฮารี ไดเ้ รยี กรอ้ งใหม้ กี ารตงั้ รฐั บอรเ์ นยี วเหนอื   โดยรวมบรไู น  ซาราวกั   และ ซาบาห์เขา้ ดว้ ยกัน  แต่เมื่อสภานติ บิ ญั ญัติไม่จัดการประชุมตามท่ีพรรค เรียกร้อง กองทัพแห่งชาติบอร์เนียวเหนือซ่ึงเป็นกองทัพใต้ดินท่ีพรรค ประชาชนบรูไนก่อตั้งจึงลุกฮือข้ึนก่อกบฏ สุลต่านได้ขอความช่วยเหลือ ไปยงั อังกฤษ อังกฤษจึงส่งกองทหารจากสิงคโปร์มาปราบกบฏได้ส�ำเร็จ และท�ำให้สุลต่านเซอร์โอมาร์ อาลี ไซฟุดดิน ตัดสินใจไม่เข้าร่วมกับ สหพันธรัฐมาเลเซียในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2506 ทง้ั นี้ การเขา้ มาของอังกฤษใน พ.ศ. 2449  (ค.ศ. 1906)  มีสว่ น ชว่ ยรกั ษาสถาบนั กษัตริยข์ องบรูไนไว้ และเปิดโอกาสให้สถาบนั กษัตรยิ ์ ปรบั ตวั จนกลายมาเปน็ ระบบการปกครองแบบรวมอํานาจ การนําเสนอ u76 r$ * sr

การปกครองรูปแบบใหม่ท่ีให้อํานาจในการปกครองด้วยตัวเองแก่บรูไน มสี ่วนในการฟนื้ อํานาจทางการเมืองของสุลตา่ น จงึ ท�ำใหร้ ะบบราชการ ของบรูไนเร่ิมมีข้ึนต้ังแต่เวลานี้ ประเทศบรูไนซึ่งใช้ระบบสมบูรณาญา- สทิ ธริ าชยอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ การปกครองของบรไู นจากอดตี มาสปู่ จั จบุ นั เปน็ ระบบการปกครองที่เน้นศาสนาอสิ ลามเปน็ บรรทดั ฐานส�ำคญั ในการ ใช้พระราชอ�ำนาจของพระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่ เปน็ ตวั สรา้ งความเชอื่ มโยงระหวา่ งรฐั และประชาชนภายใต ้ “แนวคดิ รฐั อิสลาม” คอื รฐั ทถ่ี กู ปกครองตามบทบัญญตั ิของอิสลามโดยสมบรู ณ์ ซึ่งเป็นแนวทางหน่ึงในการสร้างความมั่งคงของรัฐและความรุ่งเรืองของ ประเทศ  (State  Formation and  Nation  Building)  และบรไู นได้ ลงนามขอ้ ตกลงกบั องั กฤษภายใตข้ อ้ ตกลง 1888 ในปี พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906)  ท้ังนี้อังกฤษยังด�ำเนินการเก่ียวกับข้าราชการพลเรือน  ยกเว้น ในกิจการที่เก่ียวข้องกับศาสนา นี่คือจุดเร่ิมต้นของข้าราชการพลเรือน บรไู นสมยั ใหม่ท่ีเป็นทรี่ จู้ กั กันในปัจจุบัน[1] 3 . 1 กกาารรปบกรคิหราอรงระบบราชการภายใต้การเมือง ประเทศบรูไนใช้ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในการบริหารราชการ อย่างแท้จริง ประเทศบรูไนเป็นประเทศท่ีเล็กมาก และปกครองด้วย ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่บรูไนไม่ได้มีสภาวะความกดดัน ทางการเมือง ความอึดอัดของสังคม หรือมีสภาพเศรษฐกิจแร้นแค้น เหมือนท่ีเห็นในบางประเทศ บรูไนเป็นรัฐขนาดเล็กแต่เป็นรัฐที่เข้มแข็ง ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 77

i \\ 4 ’ 1l i I* iI £ J* - 11-t ? r» t ffl* t *ÿ ! Mvl_S 1 r S n »ÿ¥ มั่นคง เพราะความโชคดีท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติส�ำคัญ คือ น�้ำมันและ ก๊าซธรรมชาตทิ ส่ี ง่ ออกได้จ�ำนวนมาก และสร้างรายได้มหาศาลให้บรไู น ประกอบกับการตัดสินใจที่จะไม่รวมประเทศกับมาเลเซียในอดีต ท�ำให้ ไม่ต้องแบ่งเรื่องผลประโยชน์ บวกกับมีจ�ำนวนประชากรไม่มาก ท�ำให้ สถานะประเทศงา่ ยตอ่ การบรหิ าร จงึ น�ำรายไดม้ าพฒั นาดชั นกี ารพฒั นา ทรัพยากรมนษุ ย์จนติดอนั ดบั ทีด่ ที ีส่ ดุ ในโลกร่วมกบั ประเทศในตะวันตก คอื อย่ใู นอนั ดับที่ 30 จากท่ัวโลก คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนของบรูไน คอ่ นขา้ งดี แม้ว่าจะไมไ่ ด้มีการปกครองประเทศแบบประชาธิปไตย อยา่ งไรกต็ าม การบรหิ ารประเทศบรไู นมลี กั ษณะรวมศนู ยอ์ �ำนาจ การสง่ั การ  และการตดั สนิ ใจไวท้ สี่ ว่ นกลาง  กอ่ นทจ่ี ะกระจายอ�ำนาจ งบประมาณ การบรกิ าร และทรพั ยากรลงสอู่ งคก์ ารและหนว่ ยงานตา่ งๆ ในลกั ษณะรฐั สวสั ดกิ าร เพอื่ อ�ำนวยความสะดวกใหแ้ กป่ ระชาชนในพน้ื ที่ m /©*78 fs S'\" *3

ต่างๆ ซ่ึงท�ำให้เห็นถึงระบบราชการท่ีเข้มแข็ง คือ มีการจัดสายบังคับ บญั ชาแบบบนลงลา่ งโดยสมบรู ณแ์ บบ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามโจทยส์ �ำคญั ของ รัฐบาลบรูไน คือ “ประชาชน” บนหลักคิดของศาสนาอิสลามท่ีทุกคน เทา่ เทยี มกนั รกั กนั ฉนั ทพ์ นี่ อ้ ง แมก้ ระทง่ั สลุ ตา่ นเองเมอ่ื เขา้ สมู่ สั ยดิ กต็ อ้ ง น่ังประกอบพธิ ีท่พี ื้นเช่นเดียวกับประชาชน การปกครองของบรไู นจากอดตี มาสปู่ ัจจบุ นั  เป็นระบบการปกครอง ทเ่ี นน้ ศาสนาอสิ ลามเป็นบรรทัดฐานส�ำคัญในการใชพ้ ระราชอ�ำนาจของ พระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่เป็นตัวสร้างความเชื่อม โยงระหว่างรัฐและประชาชน ภายใต้แนวคิดรัฐอิสลาม คือ รัฐท่ีถูก ปกครองตามบทบญั ญตั ขิ องอสิ ลามโดยสมบรู ณ ์ ซงึ่ เปน็ แนวทางหนงึ่ ในการสร้างความม่ังคงของรัฐและความรุ่งเรืองของประเทศ (State Formation and Nation Building) ดังน้นั การปกครอง การเมอื ง สงั คม และกฎหมายของบรไู นมีความ แนบแน่นกับหลักของศาสนาอิสลามอย่างมากเช่นกัน ซึ่งส่งผลโดยตรง ต่อชีวิตของชาวบรไู น  ทั้งนี้ ชาวบรไู นจะให้ความส�ำคัญกบั หลักศาสนา ทถี่ อื วา่ เปน็ องคป์ ระกอบประจ�ำตวั ทส่ี �ำคญั ทสี่ ดุ รองลงมาหรอื ไมห่ า่ งจาก องคป์ ระกอบแรกมากนกั คอื ครอบครวั และงานตามล�ำดบั การใช้ชวี ติ ของชาวบรไู นมคี วามสอดคลอ้ งกบั หลกั ศาสนามาก เรอื่ งของศาสนาจงึ มี ความส�ำคญั กบั รปู แบบการบรหิ ารงานราชการของรฐั ดว้ ย โดยรฐั มแี นวคดิ หลกั ส�ำคญั คอื การสรา้ งสงั คมใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ตามหลกั ศาสนาอสิ ลาม ในกรอบของกฎหมายและหลักปรัชญาของสุลต่านท่ีทรงร้ือฟื้นปรัชญา เก่าของบรไู นมาใชอ้ ยา่ งเขม้ แข็งอีกครง้ั คอื “วถิ ีชีวติ แบบมาเลย์ ศาสนา อิสลาม ยึดม่ันในระบบกษัตริย์” หรือ “MIB: Malay Islam Beraja ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 79

(Malay Islamic Monarchy)” ซง่ึ หมายถงึ บรไู นเปน็ ประเทศที่มกี ารใช้ ภาษา ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวฒั นธรรมแบบมาเลย ์ Islam หมาย ถึง เป็นรัฐอสิ ลาม ซึง่ กฎหมายและคา่ นยิ มตา่ งๆ มาจากศาสนาอสิ ลาม และ Beraja หมายถึง เป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ มี สลุ ต่านเปน็ สมเด็จพระราชาธบิ ดี ประชาชนจะต้องมีความจงรกั ภกั ดี ปรชั ญาของชาตดิ งั กลา่ วถอื เปน็ หลกั การส�ำคญั ในการบรหิ ารประเทศ ในปจั จบุ นั เชน่ ขา้ ราชการทท่ี �ำงานอยแู่ ลว้ หรอื ทตี่ อ้ งการเปน็ ขา้ ราชการ จะตอ้ งแสดงตนบนพ้ืนฐานของหลกั การ MIB  ใหป้ ระจักษแ์ จง้ แก่สังคม หากขาดองคป์ ระกอบอนั ใดอนั หนงึ่   แมจ้ ะเปน็ ชาวบรไู นกไ็ มส่ ามารถรบั ราชการไดแ้ ละเร่ืองน้ีไดร้ ับการปลูกฝังจากครอบครัว สถาบนั การศกึ ษา ในทกุ ระดบั ตงั้ แตช่ น้ั ประถมจนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี ทกุ คนจะตอ้ งไดเ้ รยี น วชิ า MIB เป็นวิชาแกนทกุ ปี เพือ่ ปลูกฝังคา่ นยิ มดังกล่าวน้ี การทบี่ รไู นเปน็ ประเทศทม่ี วี ถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรมมาเลย์ (MIB) ยงั ถกู แสดงออกบนตราสัญลักษณ์ธงชาติของบรูไน ซึ่งเป็นการผสานกันของ สญั ลกั ษณต์ า่ งๆ บนธงชาติ ประกอบดว้ ย ตราแผน่ ดนิ ทม่ี สี แี ดง ประกอบ ดว้ ย ราชธวชั (The Flag) พระกรด (The Royal Umbrella) ทัง้ สองน้ี เป็นเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ของสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไน ปีกนกที่มี 4 ขน (The Wing of Four Feathers) หมายถงึ การพทิ กั ษป์ กปอ้ งความ ยตุ ธิ รรม ความสงบ ความเจรญิ และสนั ตสิ ขุ ของชาต ิ วงเดอื นหงาย (The Crescent) เป็นสัญลกั ษณ์ของศาสนาอิสลาม และมอี กั ษรอารบิกจารึก ด้วยสีเหลือง ซ่ึงเป็นค�ำขวัญของชาติว่า “Always in Service with God’s Guidance” (นอ้ มรบั ใชต้ ามแนวทางอลั ลอฮเฺ สมอ) มอื 2 ข้าง (The Hand) หมายถึง หน้าที่ของรัฐบาลที่จะท�ำให้เกิดความมั่งคั่ง u80 r$ * sr

h ---i fluwm & Wi\\Vv\\ ii V W-- 4 Fm . BN if I* \\*L * J iflfc F l<=fc iA f II ' m on fc' I. * B1- *jKI * i im -J SB?] สันติสุข และความเจริญรุ่งเรือง และแถบแพรที่อยู่ล่างสุดจารึกอักษร อารบิกสีเหลืองเป็นช่ือประเทศว่า “Brunei Darussalam” หมายถึง “บรูไน: ดินแดนแห่งสันต”ิ   รวมท้งั การเป็นรฐั สวัสดิการ คือ ประชาชน ไม่ต้องเสียภาษีใดๆ  และได้รับบริการสาธารณะอย่างเพียงพอต่อการ ด�ำรงชวี ติ กม็ าจากหลกั ปรชั ญาผปู้ กครองทด่ี ที ม่ี าจากหลกั ศาสนาอสิ ลาม สว่ นธงชาติ ประกอบดว้ ย พื้นสเี หลือง หมายถงึ สลุ ต่าน มแี ถบสีขาวด�ำ พาดทแยงจากขอบบนด้านซ้ายผ่านกลางผืนธงมายังขอบล่างด้านขวา หมายถงึ รฐั มนตรที ถี่ วายงานรบั ใชอ้ งคส์ ลุ ตา่ น และมตี ราแผน่ ดนิ อยกู่ ลาง ผนื ธง ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 81

J*-. M 82 w* * is * •' i £ i9 /Ss / RB X x / <• / / f» / I, tv V 'ij 'II • •/ /••••V ,ÿ'H ' * i IIMUtlllll •• •/•i•/s•• 1 # 9 i 1 •/ / T' T » ••* / // / • ' If / :-5* 1 i %

3.2 คแวลาะมทสอ้ ัมงถพน่ิ นั ธ์ระหวา่ งราชการส่วนกลาง ระบบการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของบรไู นเปน็ แบบสายบงั คบั บญั ชา ตามล�ำดบั ชนั้ จากบนลงลา่ ง การด�ำเนนิ งานสว่ นหนงึ่ เปน็ การสง่ั การตาม ล�ำดับชั้นลงมา อีกส่วนหนึ่งเป็นการริเริ่มของท้องถิ่นเอง แต่ต้องได้รับ ความเหน็ ชอบจากล�ำดบั ชน้ั ทสี่ งู ขนึ้ ไป ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งราชการสว่ น กลางและทอ้ งถนิ่ คือ การก�ำกับดแู ลและการควบคมุ [5] 3.3 การตรวจสอบการปฏบิ ัตหิ น้าท ่ี รฐั บาลมหี นว่ ยงาน 3 หนว่ ยงาน อยู่ในสงั กดั ส�ำนักนายกรฐั มนตรที ี่ เก่ียวข้องกับการตรวจสอบการปฏบิ ตั ิหน้าที่ของข้าราชการ ได้แก่ 1. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (Public Service Com- mission) ท�ำหนา้ ทก่ี �ำกบั ดแู ลการแตง่ ตง้ั ต�ำแหนง่ ขา้ ราชการ และวนิ ยั ขา้ ราชการ เมอ่ื ขา้ ราชการมกี ารกระท�ำผดิ กฎระเบยี บขา้ ราชการ  หนว่ ยงานนจี้ ะ เขา้ มาตรวจสอบ  รวมทงั้ ตรวจสอบตามค�ำรอ้ งเรยี นจากประชาชนถงึ ความประพฤติของเจ้าหน้าที่รฐั 2. ส�ำนักงานตรวจเงินแผน่ ดิน  (Audit Department) ท�ำหน้าที่ในการรับค�ำร้องและตรวจสอบการใช้งบประมาณท่ีไม่ถูก ต้องตามระเบียบราชการ หรือมีการใช้งบประมาณที่ไม่เหมาะสม และ ไมม่ ีประสทิ ธภิ าพของหน่วยงานราชการต่างๆ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 83

3. ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต (Anti-Corrup- tion Bureau) ท�ำหนา้ ทต่ี รวจสอบพฤตกิ รรมอนั มชิ อบตอ่ การบรหิ ารงานของ หนว่ ยงานราชการ  มหี นา้ ทหี่ าแนวทางปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ การคอรปั ชน่ั รวมทง้ั สง่ เสรมิ กระตนุ้ และสรา้ งจติ ส�ำนกึ ในการตอ่ ตา้ นการคอรปั ชนั่ ในพนื้ ท่ีต่างๆ u84 r$ * sr

4 ภาพรวมของระบบราชการ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 85

4.1 รปัฐรบะชาลาคนมโอยาบเซายยี รนฐั บาล และนโยบายการเขา้ ส ู่ 4.1.1 รัฐบาล บรูไนปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งเป็นประเทศ เดียวในประชาคมอาเซียนท่ีปกครองโดยระบบสุลต่าน  และสุลต่าน (Sultan) เป็นผู้ปกครองสงู สุด มฐี านะเป็นสมเดจ็ พระราชาธบิ ดี (Yang Di - Pertuan  Negara)  จงึ ทรงเปน็ ประมขุ ของรฐั (Head  of  State) ทรงด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี และทรงเป็นหวั หน้ารัฐบาล (Head of Government) ด้วยต�ำแหน่งพระมหากษัตริย์บรูไนเรียกอย่างเป็น ทางการว่า สุลต่านและสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไน (His Majesty the Sultan and Yang Di-Pertuan of Brunei Darussalam) นอกจากนย้ี งั ทรงด�ำรงต�ำแหนง่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหมและ กระทรวงการคลังอีกด้วย สุลต่านและสมเด็จพระราชาธิบดีทรงมีพระ ราชอ�ำนาจแต่งต้งั คณะรฐั มนตรีทัง้ รัฐมนตรีวา่ การ (Minister) รฐั มนตรี วา่ การคนท่สี อง (Second Minister) และรฐั มนตรีชว่ ยว่าการ (Deputy Minister) ซง่ึ ในปัจจบุ ันมีรัฐมนตรีประจ�ำ 12 กระทรวง 1 ส�ำนักนายก รฐั มนตรี 433*86 rgl±a*/ v*sa

4.1.2 นโยบายรฐั บาล รัฐบาลบรูไนก�ำหนดเป้าหมายเพ่ือบรรลุถึงนโยบายการพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมอยา่ งย่ังยนื โดยวตั ถปุ ระสงคข์ องนโยบาย คอื 1. เพอื่ พฒั นาระบบการศกึ ษา และสง่ เสรมิ การศกึ ษาของประชาชน 2. เพ่ือปรบั ปรงุ คุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศ 3. เพื่อสร้างเศรษฐกจิ ท่ียง่ั ยืนและมีพลวัตร ซ่ึงนโยบาย Wawasan 2035 ทั้ง 8 ประการ[6] แสดงได้ดงั น้ี 1. ดา้ นการศึกษา เพ่ือพัฒนาระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศในปี พ.ศ. 2552 รัฐบาลบรูไนจึงได้วางแนวทางระบบการศกึ ษาใหม่ เรยี กว่า ระบบการศกึ ษาของศตวรรษท่ี 21 (The new National Education of the 21st Century-SPN 21) ซง่ึ เปน็ ระบบการศึกษาแนวใหม่จาก ประเทศฝรง่ั เศสทใ่ี หค้ วามส�ำคญั กบั ผเู้ รยี น เปน็ ศนู ยก์ ลางการเรยี นรเู้ พอื่ ให้เกิดความต่ืนตัวและสนใจศึกษาในวิชาแขนงต่างๆ โดยเฉพาะด้าน วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มากขึ้น รวมทั้งการบรรจุหลักสูตรด้าน ศาสนา ไดแ้ ก่ การศกึ ษาระบบราชาธปิ ไตยอสิ ลามมลายู และความรเู้ กย่ี ว กบั ศาสนาอสิ ลาม (Islamic Religious Knowledge-IRK) ในหลักสตู ร วชิ าบงั คบั และเพอ่ื เปา้ หมายทจี่ ะเพมิ่ จ�ำนวนนกั ศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา จากรอ้ ยละ 13 เป็นรอ้ ยละ 30 ภายใน 5 ปี ดงั น้ี ● จดั ระบบการศกึ ษาของชาติ โดยเนน้ ความส�ำคญั ของภาษามาเลย์ ในฐานะเปน็ ภาษาประจ�ำชาตทิ เี่ ปน็ ทางการ และใชภ้ าษาอนื่ ๆ ในการสอน เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาอาหรับ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม 87

● จดั ใหม้ ีการศึกษา 12 ปี แกน่ ักเรียนทุกคน ● จัดหลักสูตรแบบบูรณาการ ซ่ึงเหมาะสมและสอดคล้องกับ ข้อสอบของแตล่ ะระดบั การศกึ ษา ● จัดให้มกี ารสอนอิสลามศกึ ษาไว้ในหลกั สตู รการเรียนการสอนใน โรงเรยี น ● จัดให้มีอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกในการสอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางการส่ือสาร เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทกั ษะท่ีส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับโลกท่ีมกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ● จัดกจิ กรรมหลกั สูตรแกนหลกั (เน้นวชิ าบงั คบั ) ทสี่ อดคลอ้ งกับ ปรชั ญาการศึกษาแห่งชาตไิ วใ้ นโปรแกรมการพัฒนาตนเอง ● เปิดโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้แก่ผู้ที่มีคุณสมบัติ เหมาะสม มีประสบการณ์ และมคี วามตอ้ งการท่ีจะเรียนตอ่ ในระดบั ดงั กลา่ ว U3M 'i AV A V, > J\\ W « rÿ.u A Alt 1 i i -r>» > *5* * a 1 Hi / A883 <£ |Tÿ>

● จดั เตรยี มอปุ กรณ์ และโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางการศกึ ษา เพอ่ื ตอบ สนองความต้องการของชาติ ● พฒั นาขดี ความสามารถดา้ นสตปิ ญั ญา จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และ ร่างกายของแต่ละบุคคล เพอ่ื เปน็ รากฐานที่ส�ำคัญส�ำหรับพฒั นาสงั คม 2. ด้านเศรษฐกจิ เพ่ือสร้างบรรยากาศการลงทุน การท่องเท่ียว และส่งเสริมให้มีการ แลกเปล่ียนเทคโนโลยีกับประเทศต่างๆ เพ่ิมขึ้น อาทิ การพัฒนาพื้นที่ ดา้ นนำ�้ มนั และกา๊ ซธรรมชาตทิ ี่ Sungai Liang Industrial Park (SPARK) ซงึ่ ตง้ั อยใู่ นเมอื งควั ลาเบอไลต์ (Kuala Belait) การกอ่ สรา้ งทา่ เรอื Palau Muara Besar ปัจจุบัน รัฐบาลก�ำลังพยายามพัฒนาภาคเศรษฐกิจอ่ืน เพื่อเปลี่ยน แปลงจากเศรษฐกิจท่ีพ่ึงพาน�้ำมันและก๊าซเป็นหลักไปสู่โครงสร้างทาง เศรษฐกิจท่ีมีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่า ปรมิ าณนำ้� มนั ส�ำรองทยี่ นื ยนั แลว้ (Proven Reserve) ของบรไู นจะหมด ลงในราวปี พ.ศ. 2558 ประกอบกบั ภาวะเศรษฐกจิ ถดถอยในเอเชยี ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2543 ท�ำให้บรูไนเร่งปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ และใช้ มาตรการต่างๆ เพอื่ สรา้ งความหลากหลายทางเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ ● จัดต้ังสภาที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจ น�ำโดยเจ้าชายโมฮาเหม็ด โบลเกยี ะห์ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการต่างประเทศ โดยมีแนวทางใน การส่งเสรมิ ใหภ้ าคเอกชนมบี ทบาทมากขึ้นในการพฒั นาเศรษฐกจิ ● ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ จากเดิมที่เน้นนโยบายการให้ สวสั ดกิ าร มาเปน็ การสง่ เสรมิ การลงทนุ จากตา่ งประเทศและการแปรรปู ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 89

รัฐวิสาหกจิ โดยใหภ้ าคเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มมากขึ้น และมกี ารขยาย ฐานการจดั เกบ็ ภาษี ● ปรบั เปลย่ี นยทุ ธศาสตรก์ ารลงทนุ ในตา่ งประเทศของ BIA โดยหนั มาลงทุนในธุรกิจด้านใหม่ๆ ท่ีมีความเสี่ยงต่�ำ เช่น การซื้อหุ้นในกลุ่ม เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม หรอื ธรุ กิจสายการบิน ● ตามแผนพฒั นาประเทศฉบับท่ี 8 (The Eighth National De- velopment Plan : 8th NDP) ซง่ึ ด�ำเนินการระหว่างปี 2544-2548 รัฐบาลบรูไนได้ต้ังเป้าอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศ (GDP) ทีร่ อ้ ยละ 5-6 โดยเนน้ การสร้างสมดลุ ของงบประมาณ ใหด้ ขี น้ึ และก�ำหนดมาตรการในการพฒั นาและฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ แบบยงั่ ยนื สร้างการขยายตัวและความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรมน้�ำมันและก๊าซ รวมท้ังการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรมนุษย์ รวมท้ังอุตสาหกรรมขนาดกลางและย่อม ขยาย ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน แปรรูปรัฐวิสาหกิจบางกิจการ และสร้างความแข็งแกร่งในระบบการเงนิ และการคลัง นอกจากน้ยี ังยดึ แนวคดิ ของระบบธรรมาภิบาล (Good Governance) และม่งุ เนน้ การ เสริมสร้างความแขง็ แกรง่ ของภาคเอกชน ● ส่งเสริมการลงทุนร่วมกับต่างชาติ สนับสนุนการเปิดเสรีการค้า และสรา้ งบรรยากาศการลงทนุ ทเี่ ออ้ื อ�ำนวยความสะดวกตอ่ นกั ลงทนุ ทง้ั ภายในและตา่ งประเทศ ● พฒั นาประเทศใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ และการทอ่ งเทยี่ ว (Service Hub for Trade and Tourism-SHuTT 2003 Vision) และตงั้ เปา้ หมาย ในการเปน็ ศนู ยก์ ลางการขนถา่ ยสนิ คา้ ทสี่ �ำคญั ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก u90 r$ * sr

I1 *1 4 i r Ii J *1 4 * I lA i* 1 - — — III I t iT i *3fc£i -ÿ: a I n TF . ir T Pi เฉียงใต้ท่ีเรียกว่าพ้ืนที่เติบโตอย่างท่ัวถึงของอาเซียนตะวันออก (East ASEAN Growth Area หรอื BIMP–EAGA) ซง่ึ เปน็ ความรว่ มมอื ของบรไู น อินโดนเี ซยี มาเลเซยี และฟลิ ิปปินส์ ● สร้างความเข้มแข็งของระบบการเงิน เพ่ือฟื้นฟูเศรษฐกิจของ ประเทศ และเออื้ อ�ำนวยตอ่ โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ และสาธารณปู โภค พื้นฐาน และก�ำหนดแผนพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางด้านการเงิน ระหว่างประเทศ  (Brunei International Financial Center: BIFC) เพ่ือพัฒนาการให้บริการด้านการเงินระหว่างประเทศ กระจายความ หลากหลายทางเศรษฐกจิ และสรา้ งโอกาสในการท�ำงานใหแ้ กป่ ระชาชน ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม 91

3. ดา้ นความมน่ั คง เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความมนั่ คงทงั้ ภายในและระหวา่ งประเทศ รวมทง้ั การ เสริมสร้างสมรรถนะของบรูไนในการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ เช่น การฝึกปฏิบัติการชว่ ยเหลอื ตวั ประกันจากกรณีโจรสลดั ปล้นยึดเรือ สินค้า โดยกองก�ำลังต�ำรวจแห่งชาติบรูไน (Royal Brunei Police Force-RBPF) และการรบั มอื กบั สถานการณก์ ารกอ่ การรา้ ยทอี่ าจเกดิ ขน้ึ กับนกั ท่องเทีย่ วและภยั ธรรมชาติ รวมทัง้ สง่ เสริมบทบาททางทหารและ ความมน่ั คงในภมู ภิ าค อาทิ การสง่ กองก�ำลงั เขา้ สงั เกตการณก์ ารหยดุ ยงิ ระหว่างรัฐบาลฟิลิปปินส์ และแนวร่วมปลดปล่อยอิสลามโมโร (Moro Islamic Liberation Front-MILF) ในมินดาเนา และไดร้ ว่ มในพันธกจิ เจรจาสงบศึก (Peace Monitoring Mission) การแบ่งแยกดนิ แดนใน จังหวัอาเจะห์ ของประเทศอินโดนีเซีย ส�ำหรบั ดา้ นการป้องกนั ประเทศ ก�ำลงั หลักคอื กองทัพบรไู น (Royal Brunei Armed Forces-RBAF) มกี �ำลงั พลเพยี ง 7,000 นาย และก�ำลัง ส�ำรอง 700 นาย โดยแบง่ เปน็ กองทพั บก 4,900 นาย กองทพั เรอื 1,000 นาย และกองทัพอากาศ 1,100 นาย แต่นอกเหนอื จากนน้ั สลุ ต่านยังมี กองทหารกูรข่าสว่ นพระองค์ เรยี กวา่ Gurkha Reserve Unit (GRU) จ�ำนวน 2,500 นาย และกองทหารกูรข่าขององั กฤษ (British Gurkha) รวมก�ำลังพล 1,000 คน ประจ�ำอยู่ท่ีเมือง Seria เพ่ือดูแลรักษาความ ปลอดภยั ใหแ้ กบ่ ่อนำ้� มนั และกจิ การผลติ น�ำ้ มนั ของ Brunei Shell Pe- troleum โดยรฐั บาลบรไู นเป็นผอู้ อกคา่ ใช้จ่าย u92 r$ * sr

4. ด้านการพัฒนาระบบสถาบนั เพื่อส่งเสริมธรรมภิบาลในระบบการบริหารท้ังภาครัฐและเอกชน การพฒั นาคุณภาพการบรกิ ารประชาชนและปอ้ งกันการทจุ ริต โดยเมอ่ื วนั ท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2553 ส�ำนกั งานปราบปรามทุจริต (Anti– Cor- ruption Bureau-ACB) ได้ปรับโครงสร้างหน่วยงานภายในใหม่ เพื่อ รองรบั วสิ ยั ทศั นแ์ ละภารกจิ ตามแผนพฒั นา โดยมงุ่ เปา้ หมายเปน็ องคก์ าร ตรวจสอบข้อรอ้ งเรียนและการทจุ รติ 5. ดา้ นการพัฒนาธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม เพอื่ สง่ เสรมิ ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มอนั เปน็ พน้ื ฐานส�ำคญั ของ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ บรไู นจงึ ปรบั ปรงุ ระบบการขออนญุ าต การจดั ตง้ั บรษิ ทั ซงึ่ ในอดตี การจดั ตงั้ บรษิ ทั ในบรไู นจะใชเ้ วลา 43 วนั แต่ ปัจจบุ นั ได้ลดระยะเวลาลงเหลือเพยี ง 23 วนั   อยา่ งไรก็ดี รัฐบาลยังคง มีความพยายามที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานเพ่ือธุรกิจ ขนานกลางและขนาดยอ่ มอย่างตอ่ เน่อื ง 6. ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพอื่ เปน็ ปจั จยั สง่ เสรมิ ใหบ้ รไู นเปน็ ประเทศชน้ั น�ำและเปน็ แหลง่ ดงึ ดดู การลงทุนจากตา่ งชาติ เช่น โครงการสร้างทา่ เรอื น้�ำลึก Palau Muara Besar ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 93

7. ด้านความม่นั คงแก่ภาคสังคม เพื่อให้ประชาชนบรูไนทกุ คนได้รบั การสนับสนุนด้านสวัสดิการ เป็นอย่างดี ทั้งด้านสาธารณสุข การศึกษา รัฐบาลจะยังคงมุ่งมั่นเพื่อ พฒั นาประสทิ ธภิ าพการใหบ้ ริการแก่ประชาชนอยา่ งต่อเน่ือง 8. ด้านสิง่ แวดลอ้ ม เพื่ออนุรักษส์ ภาพแวดล้อมอยา่ งยัง่ ยนื รฐั บาลจึงมนี โยบาย Kenali Negara Kitani หรือโปรแกรมรู้จักประเทศของคุณ  (Know Your Country  Programme - KNK) เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ ซง่ึ ใหค้ วามส�ำคัญกบั การรักษาสภาพแวดลอ้ ม  และสร้างจดุ เด่นดา้ น การทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศ  เพอื่ ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทย่ี วทงั้ ในและตา่ งประเทศ เช่น Heart of Borneo initiative (HOB) 4.1.3 นโยบายตา่ งประเทศ วัตถุประสงค์หลักของนโยบายต่างประเทศบรูไน คือ  การส่งเสริม ผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การรักษาอธิปไตย อิสรภาพ และ บรู ณภาพแห่งดนิ แดน การสร้างความรงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจ สงั คม การ รักษาเอกลักษณ์ทางการเมือง วัฒนธรรม และศาสนา รวมท้ังส่งเสริม สันติภาพ ความม่ันคง ความมีเสถียรภาพ และความรุ่งเรืองในระดับ ภมู ภิ าคและระดบั โลก บรไู นใชก้ ลไกพหภุ าคที ง้ั ในระดบั ภมู ภิ าคและระดบั ระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือหลักในการด�ำเนินนโยบายต่างประเทศ เพ่ือเพ่ิมอ�ำนาจการต่อรอง เสริมสร้างความม่ันคงและผลประโยชน์ 433*94 rgl±a*/ v*sa

ทางการเมืองและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับอาเซียน (ซึ่งถือเป็น เสาหลักของนโยบายต่างประเทศบรูไน) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน เอเชีย-แปซิฟิก การประชุมเอเชีย-ยุโรป กลุ่มประเทศเครือจักรภพ องค์การการประชุมอิสลามและสหประชาชาติ ในระดับทวิภาคีบรูไน พยายามเป็นมิตรกับนานาประเทศทั้งในด้านการค้าและการลงทุนเพื่อ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และยังได้ร่วมเป็นพันธมิตรทางทหารกับ ประเทศตา่ งๆ เพื่อสรา้ งความเข้มแข็งในการปอ้ งกันประเทศ หลักการด�ำเนินนโยบายต่างประเทศของบรูไนท่ีส�ำคัญ ได้แก ่ การเคารพอธิปไตย อิสรภาพ และบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศ ต่างๆ การยอมรับในสถานภาพทเ่ี ทา่ เทยี มกันของประเทศต่างๆ การไม่ แทรกแซงกิจการภายในซ่ึงกันและกัน การแก้ไขข้อพิพาทด้วยสันติวิธี และความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพอ่ื ผลประโยชนร์ ว่ มกนั การทปี่ ระมขุ ของประเทศซงึ่ เปน็ ผนู้ �ำรฐั บาลเสดจ็ ฯ เยอื นประเทศตา่ งๆ ดว้ ยพระองค์ เองเพ่ือสร้างบทบาทของบรูไนในเวทีระหว่างประเทศ ท�ำใหบ้ รไู นไดร้ บั การยอมรับจากนานาประเทศท้ังในและนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ทั้งยังแสวงหาโอกาสทางธุรกิจในตลาดโลกอย่างต่อเน่ือง เนื่องจากบรูไนมีนโยบายต่างประเทศที่ต้องการเป็นมิตรกับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ประเทศมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมรกิ า จนี และญปี่ นุ่ ประเทศในตะวนั ออกกลาง รวมทง้ั ประเทศเพอื่ นบา้ นใกล้ ชิดในอาเซียน ท้ังมุ่งเน้นการกระชับความสัมพันธ์กับประเทศท่ีน�ำเข้า น�ำ้ มันและกา๊ ซธรรมชาติ  เชน่   จีน ให้มากขึ้น โดยรัฐบาลบรไู นคาดว่า จนี จะยงั คงมคี วามตอ้ งการพลงั งานมากขน้ึ   รวมทง้ั บรไู นจะเปน็ ทางเลอื ก ทจ่ี นี จะรว่ มเปน็ พนั ธมติ รในการส�ำรวจและพฒั นาแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 95

กับบรูไน นอกเหนือจากมาเลเซีย ขณะที่สิงคโปร์เล็งเห็นว่าบรูไนเป็น ประเทศที่น่าสนใจท่ีจะเป็นทางเลือกในการหาแหล่งพลังงานส�ำรองใน อนาคต เพม่ิ เตมิ จากการน�ำเขา้ กา๊ ซธรรมชาตจิ ากมาเลเซยี และอนิ โดนเี ซยี ปัจจุบันบรูไนสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศแบบพหุภาคีนิยม (Multilateralism) โดยเฉพาะในการด�ำเนินการของประชาคมระหว่าง ประเทศภายใตเ้ ปา้ หมายของสหสั วรรษ (Millennium Goals) และมอง ว่าปัญหาที่ประเทศต่างๆ ก�ำลังเผชิญอยู่ในโลกปัจจุบันมีความหลาก หลายมากข้ึนและส่งผลกระทบในวงกว้าง ปัญหาที่เกิดในประเทศหนึ่ง ส่งผลกระทบต่อประเทศอ่ืนๆ ด้วย ฉะน้นั การแกป้ ญั หาตา่ งๆ ซึ่งจะน�ำ ไปสู่ความมน่ั คง ความสงบสุข และความเจรญิ รงุ่ เรอื งของสงั คมระหว่าง ประเทศนั้นต้องอาศัยความร่วมมอื ของทกุ ประเทศ I'm* r>w* ns*&96 rs *\" * s

4.1.4 การเขา้ เป็นสมาชิกของอาเซยี น ประเทศบรไู นได้เขา้ เปน็ สมาชิกล�ำดบั ที่ 6 เม่อื วันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2527 การเขา้ เปน็ สมาชกิ อาเซยี นของประเทศบรไู นนนั้ มปี จั จยั สนบั สนนุ แยกไดเ้ ปน็ 2 ประการคือ [4] 1) ดา้ นความมัน่ คงและเศรษฐกิจ แมบ้ รไู นจะเปน็ ประเทศทมี่ คี วามมงั่ คง่ั ทางเศรษฐกจิ แตเ่ มอื่ พจิ ารณา ในแงก่ ารพฒั นาโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ   อาจกลา่ วไดว้ า่ การทบ่ี รไู น เข้าร่วมในสมาคมอาเซียนจะยังประโยชน์ให้แก่บรูไนเป็นอย่างมาก เพราะประเทศสมาชกิ อาเซยี นอน่ื ๆ มคี วามพรอ้ มในเรอ่ื งเศรษฐกจิ สงู กวา่ บรไู น  ส�ำหรบั ในดา้ นการเมอื งและความมงั่ คงนน้ั   บรไู นมคี วามมน่ั ใจใน ระดบั หนงึ่ ว่า  หลักการเกีย่ วกับการไม่แทรกแซงกิจการภายใน  (Non- interference) ของอาเซยี น จะเปน็ เครอื่ งคำ้� ประกนั เสถยี รภาพของบรไู น จากการแทรกแซงของประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซียและอินโดนีเซีย ได้ 2) ดา้ นสถานภาพในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ ถอื เปน็ การยกฐานะของประเทศในดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ ด้วยเหตุที่บรูไนเป็นรัฐขนาดเล็กและเพิ่งได้รับเอกราชใหม่ จึงมีความ จ�ำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งเสรมิ สรา้ งสถานภาพและความเชอื่ ถอื ขนึ้ ในเวทกี ารเมอื ง ระหว่างประเทศ และการเข้าร่วมกับอาเซียนนน้ั กน็ า่ จะเปน็ หนทางหน่งึ ที่จะเพ่ิมบทบาทและช่ือเสียงของบรูไนให้เป็นที่รู้จักกันในวงการเมือง ระหวา่ งประเทศไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 97

mi ft V -/ w r.' I* i i PS L r5 mif \\ % i i/ ท่มี า: https://www.siamintelligence.com บทบาทของบรไู นในอาเซยี น เมอื่ พจิ ารณาดา้ นผลประโยชนท์ อี่ าเซยี น จะได้รบั จากบรไู น จะพบวา่ อาเซยี นได้ผลประโยชนจ์ ากความมั่งคง่ั ทาง เศรษฐกิจที่ได้จากทรัพยากรน�้ำมันของบรูไนตามสมควร โดยในช่วง วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกจิ ในเอเชยี (พ.ศ. 2540) บรไู นไดเ้ ขา้ มาชว่ ยเหลอื ประเทศต่างๆ ในอาเซยี น  โดยได้ใหค้ วามช่วยเหลอื การแทรกแซง ตลาดการเงนิ ภายในภมู ภิ าค  ดว้ ยการระดมทนุ จากภายนอกประเทศ ในการซอ้ื เงนิ สกลุ รงิ กติ มาเลเซยี และเหรยี ญสงิ คโปร์ เพอ่ื รกั ษาเสถยี รภาพ ทางการเงนิ ของภมู ภิ าค  รวมถงึ ไดแ้ สดงเจตจ�ำนงทจ่ี ะมงุ่ เนน้ นโยบาย การลงทุนสู่ประเทศในกลุ่มอาเซียนมากขึ้น และยังได้ให้การช่วยเหลือ ประเทศอนิ โดนีเซยี ์และไทยในลักษณะการใหก้ ยู้ มื เงินเพ่ือการฟื้นตวั ทางเศรษฐกิจ  ความพยายามในการช่วยเหลือประเทศในกลุ่มอาเซียน ดงั กล่าว ไดเ้ พ่มิ บทบาทของบรไู นในอาเซียนมากขน้ึ   และเปน็ การสร้าง หลกั ประกนั ความม่งั คงใหก้ ับบรไู นอีกทาง \"11ÿ98 * <*>

เนอื่ งจากบรไู นเปน็ ประเทศเลก็ ศกั ยภาพและอ�ำนาจตอ่ รองทางการ เมอื งไมส่ งู ดงั นน้ั บรไู นจงึ มคี วามพยายามในการเสรมิ สรา้ งผลประโยชน์ ทางการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่งคงระหว่างประเทศ และมุ่งเน้น ความเปน็ ภมู ภิ าคนยิ มมากขน้ึ จากเดมิ ทม่ี กั ใหค้ วามส�ำคญั กบั ชาตติ ะวนั ตก อยา่ งองั กฤษเจา้ อาณานคิ ม ส�ำหรบั ดา้ นการเมอื ง การทอ่ี าเซยี นมจี �ำนวน สมาชิกเพ่ิมข้ึนเท่ากับเพ่ิมน้�ำเสียงของอาเซียนในเวทีการเมืองระหว่าง ประเทศให้หนักแน่นขึ้น ยิ่งกว่านั้น นอกจากบรูไนจะเป็นประเทศท่ีมี อิทธิพลทางเศรษฐกิจด้วยทรัพยากรน�้ำมันแล้ว บรูไนยังเป็นสมาชิก องค์การระหว่างประเทศที่ส�ำคัญอื่นๆ อาทิ กลุ่มประเทศเครือจักรภพ และองค์การที่ประชุมอิสลาม เป็นต้น จึงมีช่องทางที่จะโน้มน้าวให้ ประเทศสมาชกิ องคก์ ารตา่ งๆ เหลา่ นคี้ ลอ้ ยตามอาเซยี นไดไ้ มย่ ากนกั ดงั นน้ั การสมคั รเขา้ เปน็ สมาชกิ อาเซยี นของบรไู นจงึ เออ้ื อ�ำนวยประโยชนใ์ หแ้ ก่ ทงั้ บรูไนและอาเซียน บทบาทการเปน็ ประธานอาเซยี น ประเทศบรไู นไดเ้ ปน็ เจา้ ภาพจดั การ ประชมุ สดุ ยอดผู้น�ำอาเซยี นครัง้ ท่ี 7 เมอื่ วันท ่ี 5-6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2544 ท่ีเมืองบันดาร์เสรีเบกาวัน โดยผู้น�ำบรูไนได้ประนามการก่อ วนิ าศกรรมในสหรัฐอเมริกา พร้อมได้รว่ มลงนามในปฏญิ ญาการประชุม สุดยอดผู้น�ำอาเซียนว่าด้วยการป้องกันการก่อการร้ายร่วมกัน โดยเป็น ความรว่ มมอื ทงั้ ในกรอบทวภิ าคี ภมู ภิ าค และระหวา่ งประเทศ เพอ่ื ตอ่ ตา้ น การกอ่ การรา้ ยอยา่ งรอบดา้ น และเพอื่ ทจี่ ะท�ำใหภ้ มู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้เป็นภูมิภาคท่ีปลอดจากภัยคุกคาม ความร่วมมือน้ีจะน�ำมาซ่ึง สันตภิ าพ เสถยี รภาพ และความม่ันคง ถือเปน็ ปจั จยั ตอ่ การพฒั นาและ ความมัง่ ค่งั ยง่ิ ขนึ้ ในอาเซยี น ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 99