Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถั่วเขียวผิวดำ พันธุ์พิษณุโลก 2

ถั่วเขียวผิวดำ พันธุ์พิษณุโลก 2

Description: ถั่วเขียวผิวดำ พันธุ์พิษณุโลก 2.

Search

Read the Text Version

!!ลักษณะดเี ดน แผน ปลวิ เผยแพรท ่ี 178 !!แหลงปลูก !!ฤดปู ลกู กรมสงเสริมการเกษตร !!ลักษณะประจาํ พนั ธุ !!วิธกี ารปลกู อตั ราการปลกู เรียบเรียงโดย : พจนีย นาครี กั ษ, เฉลมิ พล ไหลรงุ เรอื ง !!การดแู ลรกั ษา ศูนยวิจัยพืชไรชัยนาท กรมวิชาการเกษตร !!แมลงศตั รทู ส่ี าํ คัญ !!การเกบ็ เกย่ี ว จัดทําโดย : เกตอุ ร ทองเครือ กองเกษตรสมั พนั ธ !!การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พนั ธุ เผยแพรโดย : กองเกษตรสมั พนั ธ กรมสง เสรมิ การเกษตร !!แหลง เมลด็ พนั ธุ จัดทําเอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สโ ดย : สํานกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ถวั่ เขียวผิวดาํ พันธุพิษณุโลก 2 (ชอ่ื เดมิ พ.ี ไอ. 288603) เปนสายพันธุที่ไดรับจากแหลงรวบ รวมพันธุของศูนยวิจัยและพัฒนาพืชผักแหงเอเชียเมื่อป พ.ศ. 2520 มถี น่ิ กาํ เนดิ ในประเทศอนิ เดยี หลัง จากการคัดเลือกหลายช่ัวจนไดสายพันธุดีแลวจึงนําเขาประเมินผลผลิตตามขั้นตอนตางๆจนถึงทดสอบ ในไรเกษตรกรในแหลงปลูกถั่วเขียวผิวดําหลายทองท่ี พบวาเปนพันธุที่มีลักษณะดีและไดรับการ พิจารณารบั รองใหเ ปน พนั ธแุ นะนาํ จากกรมวชิ าการเกษตรเมอ่ื ป พ.ศ. 2533 เปน ตน มา ลกั ษณะดเี ดน ถว่ั เขยี วผิวดําพันธุพิษณุโลก 2 1. ขนาดเมลด็ ใหญ 2. ทรงตน โปรง ตง้ั ตรง ไมเ ลอ้ื ย 3. อายุเก็บเกี่ยวสั้น 4. ผลผลติ สงู เมอ่ื ปลกู ในฤดแู ลง 5. ฝกไมแ ตกงาย แหลงปลูก แหลงปลกู ถวั่ เขยี วผิวดําพนั ธอุ น่ื ๆ ที่สําคญั และเปน แหลง ปลกู ถว่ั เขยี วผวิ ดําพันธุพิษณุโลก 2 ไดแก นครสวรรคเ พชรบรู ณ อทุ ยั ธานี ลพบรุ ี กําแพงเพชร พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย และอตุ รดติ ถ

ถวั่ เขียวผิวดาํ พนั ธพุ ษิ ณโุ ลก 2 2 ฤดปู ลกู ชวงปลกู ท่เี หมาะสม คอื ฤดูแลง ควรปลกู ในชว งระหวา ง 1-15 มกราคม (หลงั เก็บเก่ียวขาว) ฤดูฝน ควรปลกู ในชว งระหวา ง 1-30 สงิ หาคม (หลังเก็บเกี่ยวขาวโพด) ลกั ษณะประจาํ พันธุ เปรียบเทียบลกั ษณะตางๆ ระหวางพันธุพิษณุโลก 2 กับ พนั ธอุ ทู อง 2 ลักษณะ พนั ธุพิษณุโลก 2 พนั ธอุ ทู อง 2 ขนาดใบ ปานกลาง ใหญ การลม ปานกลาง มาก อายดุ อกบาน (วัน) 39 33 ลักษณะ พนั ธุพิษณุโลก 2 พนั ธอุ ทู อง 2 อายเุ กบ็ เกย่ี ว (วัน) 77 86 ความสูง (ซม.) 57 72 เมลด็ ตอ ฝก 7 7 นน. 1,000 เมล็ด (กรมั ) 50 44 - ฤดแู ลง (ม.ค.) ผลผลติ (กก./ไร) 171 - ฤดฝู น (ส.ค.) 190 238 229 แปง องคป ระกอบทางเคมขี องเมล็ด (% ตอนํ้าหนัก) 40 โปรตีน 43 26.6 เยอ่ื ใย 24.8 5.8 นา้ํ ตาล 4.0 4.0 5.4 วธิ ปี ลกู และอตั ราปลกู - โรยเปนแถว ระยะแถว 50 ซม. จาํ นวน 20 ตน ตอ แถว ยาว 1 เมตร จะไดจาํ นวน 64,000 ตน /ไร - หวาน ใชเ มลด็ พนั ธใุ นอตั รา 5-7 กก./ไร - การปลูกในนาตามหลงั ขา ว ตอ งใหน า้ํ จนถงึ เรม่ิ มฝี ก แก หรือประมาณ 2 เดอื น และควรมรี อ ง สาํ หรบั ระบายนา้ํ

ถวั่ เขียวผิวดาํ พนั ธพุ ษิ ณโุ ลก 2 3 การดแู ลรกั ษา วัชพืชทาํ ใหผ ลผลติ ลดถงึ 40% จงึ ควรมกี ารกําจัดวัชพืช ถา ปลกู เปน แถว ควรมีการดายหญา 1-2 ครง้ั หรอื ใชส ารเคมปี ระเภทกอ นงอก เชน แอสโซหรือดูอัล พน คมุ หลงั จากปลกู สําหรับการหวาน อัตราตํ่า (5 กก./ไร) ควรพน สารเคมคี มุ ดว ยเชน กนั แตถ า หวา นหนาอาจไมต อ งใชส ารเคมกี ไ็ ด แมลงศตั รทู ส่ี ําคญั 1. หนอนแมลงวันเจาะลําตน เร่ิมทําลายตง้ั แตถ ว่ั เขยี วมใี บจรงิ คแู รก ตวั หนอนจะไชชอนและ กัดกินภายในลาํ ตน ในแหลง ทป่ี ลกู เปน ประจําควรปลกู ถว่ั เขยี วใหเ รว็ ทส่ี ดุ เพอ่ื หลกี เลย่ี งการระบาดการ ปองกันกําจดั ดว ยสารเคมกี ําจดั แมลงควรพน ดวยสารประเภทดดู ซมึ เชน คารโบซัลแฟน 20% อตั รา 50 ซีซ/ี น้าํ 20 ลติ ร หนอนแมลงวันเจาะลาํ ตน 2. หนอนเจาะดอกและฝก เปน แมลงทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ ของถว่ั เขยี วผวิ มนั และผวิ ดาํ ในปจ จบุ นั ทําให ผลผลิตเสียหายเกอื บ100% ตวั หนอนไชชอนเขา ไปกดั กนิ ภายในดอกและฝก ทําใหเ ปน อปุ สรรคตอ การ ปองกัน ฉะน้ันในแหลง ทม่ี แี มลงศตั รนู ร้ี ะบาดอยเู ปน ประจาํ ควรหมน่ั ดแู ลถว่ั อยเู สมอโดยเฉพาะในระยะ ออกดอกหากพบการทาํ ลายเฉลย่ี มากกวา 1 ดอกตอ ถว่ั 1 ตน ควรพน ดว ยโมโนโครโตฟอส 56% อตั รา 40-50 ซีซ/ี น้าํ 20 ลติ ร หรอื ไซฮาโลทรนิ แอล 5% อตั รา 10 ซีซี ตอ นา้ํ 20 ลติ ร การเกบ็ เกย่ี ว ควรเก็บเกี่ยวเมื่อมีฝกแก 90% ซง่ึ ถว่ั จะมอี ายปุ ระมาณ 77-80 วัน ไมค วรทง้ิ ไวใ นแปลงนาน จะทาํ ใหคุณภาพตํ่าและตดิ เชอ้ื ราซง่ึ เมอ่ื นําไปเพาะเปน ถว่ั งอกแลว ทําใหถ ว่ั งอกเนา การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พนั ธุ สามารถเกบ็ เมลด็ พนั ธถุ ว่ั เขยี ว พิษณุโลก 2 ไวใ นหอ งทม่ี อี ณุ หภมู ปิ กตไิ ดน านถงึ 10 เดอื น โดย ความงอกไมเ ปลย่ี นแปลง

ถวั่ เขียวผิวดาํ พนั ธพุ ษิ ณโุ ลก 2 4 แหลงเมล็ดพันธุ ศูนยวิจัยพืชไรชัยนาท ตู ปณ. 9 จ.ชัยนาท 17000 โทร. (056) 411857 สถานที ดลองพชื ไรพ ษิ ณโุ ลก อ.วงั ทอง จ.พิษณุโลก 65130 โทร. (055) 311368 สถานที ดลองพชื ไรศ รสี ําโรง อ.ศรสี าํ โรง จ.สุโขทัย 64120 โทร. (055) 681384 ศูนยขยายพันธุพืชตางๆ ของกรมสง เสรมิ การเกษตร ศนู ยขยายพันธุพืชที่ 4 จ. ชัยนาท โทร. (056) 411356 ศนู ยขยายพันธุพืชที่ 1 จ.พิษณุโลก โทร. (055) 311618 ศนู ยขยายพันธุพืชที่ 15 จ. นครสวรรค โทร. (056) 221766 จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร