99 กระบวนการของทฤษฎีการเรียนการสอนให้เกดิ ความซาบซึ้งในศลิ ปะ (Art Appreciation) ของโยฮันเซน มี 3 ขน้ั ตอน ซ่งึ เปน็ กระบวนการข้ันเตรียมการเสีย 2 ขั้นตอน ซ่ึงจะนาไปสู่ข้ันประสบการณ์ ด้านความซาบซ้งึ ในศิลปะ จะเหน็ วา่ ทฤษฎีศิลปศึกษา บางส่วนคล้ายคลึงกันแม้จะมีคานิยามศัพท์ต่างกันไปบ้างหรือ กระบวนการข้นั ตอนตา่ งกันไปบ้างก็ตาม ความคลา้ ยคลึงยงั ขา้ มไปสมั พนั ธก์ ับทฤษฎศี ลิ ปะอกี ดว้ ย ทฤษฎที างดา้ นศิลปะ ทฤษฎีการเรยี นการสอนท่บี รู ณาการระหว่างสนุ ทรยี ภาพและการวจิ ารณ์ การพดู ถึงศลิ ปะในเชิงคุณภาพหรือความรู้สึก (สุนทรียภาพ) กับการพูดถึงศิลปะในเชิงปริมาณ หรือการคดิ อย่างมีหลกั เกณฑ์ (ศิลปวิจารณ์) ต่างกันตรงท่ีการพูดถึงศิลปะในเชิงสุนทรีย์น้ัน เป็นการแสดง ทางภูมิปัญญา ถึงความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของผลงานนั้นๆ (Ostensible) ในขณะท่ีการพูดถึง ศลิ ปะในเชงิ วิจารณน์ ัน้ ไมอ่ ยู่ในลกั ษณะน้ี แต่เปน็ การพดู ท่อี าศัยหลักการหรือทฤษฎีรองรับ ความรู้ใน เชิงวิจารณ์น้ัน เมเชีย อธิบายว่า เป็นความรู้ท่ีมิใช่ความรู้พ้ืนฐาน (Non-basic Knowing) ในขณะที่ ความรู้เชิงสนุ ทรยี ์เปน็ ความรู้พื้นฐาน (Basic Knowing) โดยมิต้องอาศัยความผิดถูกหรือความเชื่อใด มาสนับสนุน ทฤษฎีการวิจารณ์อย่างสุนทรีย์ (Aesthetic Criticism) ของ ราล์ฟ สมิธ (Ralph A. Smith, 1968) ประกอบไปดว้ ยขน้ั ตอนใหญ่ๆ 4 ข้นั คอื ขน้ั ท่ี 1 การบรรยาย (Description) ข้นั ที่ 2 การวิเคราะห์ (Analysis) ขั้นที่ 3 การตีความ (Interpretation) ขัน้ ท่ี 4 การประเมินผล (Evaluation) ข้นั ตอนแรก การบรรยาย เป็นการแจกแจงถึงศัพท์ที่ระบุถึงช่ือ ประเภทหรือคุณสมบัติที่สร้างข้ึน ในผลงานศลิ ปะ เชน่ ผลงานศลิ ปะน้นั คืออะไร เป็นวัตถุหรือใช้วัสดุอะไร หรือกลวิธีประเภทใด ข้อมูล ข้ันน้ีเป็นข้อมูลที่เช่ือมโยงกับประวัติศาสตร์ เช่น ระบุว่า “เป็นภาพสามพับในสมัยยุคกลางของทวีปยุโรป ทาจากไม้แกะสลัก” ข้ันท่ีสอง การวิเคราะห์ เป็นการสารวจถึงรายละเอียดของคุณสมบัติในผลงาน จะมีการพดู ถงึ ส่วนประกอบทางทัศน์ (Visual Elements) เชน่ เสน้ สี รปู รา่ ง รูปทรง พื้นผิว แสง-เงา ขน้ั ตอนน้จี ะตา่ งจากข้นั ตอนแรก ตรงที่ในข้ันนี้จะใช้คานามหรือคุณศัพท์ในการบรรยาย คุณสมบัติที่ พดู ถงึ ควรเปน็ คณุ สมบัตใิ นประเด็นเชิงสุนทรียภาพ เช่น สีทส่ี อดคลอ้ งกลมกลืนกนั รูปร่างที่ “บอบบาง” หรอื “สง่างาม” และสิง่ ที่สมธิ แนะให้ใช้ในเชิงสุนทรีย์คือใช้การอุปมาอุปไมย เช่น “เส้นสายที่บิดเกร็ง”
100 “สีที่สง่ ความรสู้ ึกเย็นชาหมางเมนิ ” “การเคล่ือนไหวอย่างระห้อยสร้อยเศร้า” ในขั้นท่ีสาม คือ การตีความ เขากลา่ วว่า การพูดทเี่ หมาะสมในข้ันน้ี ตอ้ งพูดถึงความหมายโดยรวมของผลงานศิลปะน้ัน ซึ่งแตกต่างจาก การตีความเป็นส่วนๆ เนื่องจากการตีความมีความหมายและเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างผู้ตีความกับผลงานศิลปะ ข้ันสุดท้าย คือ การประเมินผล สมิธ แนะว่า เป็นข้ันสรุปหาความดีงาม ของผลงานศิลปะ ซ่ึงการประเมินน้ันมีรากฐานมาจากคุณภาพทางสุนทรีย์ของงานนั้น เป็นเอกภาพ ของผลงาน ความเข้มข้น ความลึกซึ้ง ประการใดประการหน่ึงหรือหลายๆ ประการผสมผสานกัน (มะลฉิ ัตร เอือ้ อานันท,์ 2545: 72-74) ทฤษฎกี ารเรียนการสอนศิลปวจิ ารณ์ ศิลปวิจารณ์น้ันมักมีการเข้ากันผิดว่า เป็นกระบวนการค้นหาความผิดพลาดหรือหาข้อบกพร่อง ของผลงานศิลปะ แต่ พาร์ โยฮันเซน (Johansen, 1978) กล่าวว่า เป็นเรื่องตรงกันข้าม การวิจารณ์ ผลงานศิลปะ จะเปน็ การยกย่องว่าทาไมผลงานศลิ ปะนั้นจึงได้รบั การชน่ื ชม ศลิ ปวิจารณ์จึงจะควรเป็น วลีที่หมายถึง กระบวนการบรรยาย ตีความ และตัดสินคุณภาพต่างๆ ที่มีอยู่ในผลงานศิลปะน้ันๆ การวจิ ารณศ์ ิลปะเป็นการแสดงออกทางถ้อยคา ภาษาทใ่ี ชม้ กั จะแสดงออกเพ่ือส่ือความหมายว่า เรารู้ อะไรบา้ งเก่ยี วกบั ผลงานศลิ ปะในเชิงทฤษฎี ทฤษฎีศิลปะวิเคราะห์ (Critical Theory) ของเอดม้นด์ เบิร์ก เฟล์ดแมน (Edmund Burke Feldman, 1972) เฟล์ดแมน แถลงถึงทฤษฎีศิลปะวิเคราะห์ว่า มุ่งท่ีจะสร้างหลักการในการตีความและการประเมิน ผลงานทางศิลปะ จุดมุ่งหมายสาคัญ คือ ความเข้าใจ (Understanding) และความชื่นชม (Delight) ในงานศลิ ปะ ความเขา้ ใจ หมายถึง บุคคลที่ได้รับการฝึกฝน ให้มีความเข้าใจในศิลปะสามารถ “อ่านข้อมูล” ต่างๆ ทางศิลปะออก ข้อมูลเหล่านี้ มีประโยชน์เพราะเป็นกลไกท่ีจะเข้าไปสู่การวิเคราะห์และการตัดสิน ผลงานศิลปะ ข้อมูลด้านคุณภาพของศิลปะซ่ึงไม่เกี่ยวข้องกับเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และความเก่าแก่ ส่วนความช่ืนชมนั้น เฟล์ดแมนอธิบายว่า เมื่อบุคคลบังเกิดความเข้าใจในผลงาน ศิลปะน้นั ๆ ย่อมบังเกดิ ความพงึ พอใจ ชืน่ ชมศลิ ปะตามมาดว้ ย หนทางการวเิ คราะหง์ านศิลปะ แบง่ เป็นส่ขี น้ั ดงั นี้ ขัน้ ท่ี 1 การบรรยาย (Description) ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์โครงสร้าง (Formal Analysis) ขัน้ ที่ 3 การตคี วาม (Interpretation) ข้ันท่ี 4 การประเมินผลหรือการตัดสนิ (Evaluation or Judgment)
101 ขนั้ ตอน การบรรยายนน้ั ผ้วู จิ ารณผ์ ลงานศลิ ปะจะสารวจสว่ นประกอบทางทัศน์ต่างๆ ที่ปรากฏ แก่สายตาในทันทีทันใด หลังจากน้ันจึงพิจารณากลวิธีในผลงานศิลปะน้ันๆ ของศิลปิน ในข้ันวิเคราะห์ โครงสร้าง ผู้วิจารณ์จะสารวจถึงองค์ประกอบ เช่น ความสมดุล ความสอดคล้อง ความขัดแย้ง ความเคล่ือนไหวหรือจังหวะลีลา ฯลฯ เป็นพื้นฐานและข้ันต่อไป ในขั้นตีความ ผู้วิจารณ์จะพูดถึง ความหมายของผลงานศิลปะที่มีต่อตน ในข้ันน้ีผู้วิเคราะห์ อาจจะหาข้อสันนิษฐานมาสนับสนุนแนวคิด หรือหลักการทท่ี าใหผ้ วู้ ิจารณ์มคี วามคิดเหน็ เชน่ น้ัน ในข้ันการประเมินผลหรือการตัดสินผลงานศิลปะ เป็นขั้นท่ีต้องมีการสอบสวนถึงเจตนา และผลที่เกิดจากผลงานชิ้นน้ัน โดยเปรียบเทียบกับผลงาน ศลิ ปะชิ้นอ่นื ท่เี หมอื นหรือคล้ายคลงึ กนั เฟล์ดแมน เนน้ วา่ การตดั สนิ ผลงานศิลปะอย่างมีสุนทรียภาพน้ัน จะต้องมเี หตุผลและใช้หลกั เกณฑ์อยา่ งมีคุณธรรม และเขายอมรับนับถือการวิเคราะห์ในลักษณะท่ีเรียกว่า แบบไร้มายา (Naive) คือ วิเคราะห์วิจารณ์ผลงานนั้นอย่างจริงใจ โดยไม่คานึงถึงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ความเก่าแกข่ องผลงานหรือชื่อเสียงของศลิ ปิน (มิฉัตร เอื้ออานันท์, 2545: 78-80) ทฤษฎีเหตุผลในการวิเคราะห์อย่างมีจุดมุ่งหมาย (Objective Critical Reasons) ของ มอนโร เบียสลีย์ (Monroe C. Beardley) เบยี สลยี ์ แจงว่า เหตุผลแห่งการวิเคราะห์งานศิลปะแบ่ออกเป็น 3 ประเภท คือ เหตุผลของ การสร้างงาน (Genetic Reasons) เหตุผลตามความรู้สึก (Affective Reasons) และเหตุผลอย่างมี จุดหมาย (Objective Reasons) เหตุผลการสร้างงาน (Genetic Reasons) คอื เหตผุ ลทีเ่ กิดขึ้นกอ่ นหน้างานนนั้ ๆ ต้นเหตุของ การเกิดการสร้างงานศิลปะ เบียสลีย์ เห็นว่าการหาเหตุผลในลักษณะนี้ไม่เหมาะสม เพราะเป็นการยาก ท่ีวิเคราะห์ความต้ังใจ ความต้องการในการสร้างงานศิลปะของศิลปินที่ได้จากการดูเพียงงานศิลปะ เทา่ นน้ั ส่วนการให้เหตุผลตามความรู้สึก (Affective Reasons) เขาชี้แจงว่า ถ้าประเมินงานศิลปะ ตามความรูส้ กึ ของผูด้ วู า่ มีความรสู้ กึ เช่นไรตอ่ ศลิ ปะ ยอ่ มไมเ่ ปน็ การสมควร แตอ่ ารมณ์ความรู้สึกในที่น้ี ควรต้องเป็นความรู้สึกที่ผลงานศิลปะน้ันก่อให้เกิดข้ึน เช่น “งานจิตรกรรมนี้ดูเศร้า “มิใช่” ฉันรู้สึก เศรา้ เม่อื ดจู ติ รกรรมน้ี” ตวั ศลิ ปะเปน็ ศนู ยก์ ลางความรสู้ ึกไมใ่ ชผ่ ดู้ ู เบียสลีย์ อธบิ ายวา่ เหตุผลลักษณะน้ีเป็นเหตุผลท่ีสัมพันธ์กับการประเมินอย่ามีสุนทรียภาพ การบรรยายหรอื การตคี วามคณุ สมบัตขิ องงานศิลปะ เป็นวิธีการท่ีเหมาะสม ที่จะเอาไปใช้ในการ “ตัดสิน” งานศิลปะอย่ามีสุนทรียภาพ การให้เหตุผลในการวิเคราะห์อย่างมีจุดมุ่งหมายน้ัน อาจใช้หลักเกณฑ์ โดยยึดหลกั สองหลกั คอื 1. หลกั เกณฑ์ทั่วไป (General Canons) 2. หลักเกณฑ์เฉพาะ (Specific Canons)
102 หลกั เกณฑ์ทั่วไป (General Canons) ใชไ้ ด้กับงานศลิ ปะทัว่ ๆ ไปแบง่ เป็นสามหลกั คอื 1. หลักของเอกภาพ (Canons of Unity) คือ การบรรยายและตีความงานศิลปะว่าช้ินนั้น สร้างข้ึนอย่างมีระบบสอดคล้องกับรูปแบบโครงสร้างของมันหรือไม่ เกณฑ์น้ีส่ิงท่ีต้องพิจารณา คือ ความสมั พนั ธ์ (Coherence) และความครบถว้ น (Completeness) ในผงานน้ัน 2. หลักของความลึกล้า (Canons of Complexity) ได้แก่ การบรรยายและตีความงาน ศิลปะนน้ั สร้างขน้ึ ดว้ ยความมานะพยายาม ประกอบดว้ ย จินตนาการหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 3. หลักของความเข้มข้น (Canon of Intensity) ได้แก่ การบรรยายและตีความงานศิลปะ ในแง่ท่ีว่า งานชิ้นน้ันเต็มไปด้วยพลังหรืออ่อนหวานอ่อนโยนหรือกร้าวหรือเศร้าสะเทือนใจ และให้ เหตผุ ลวา่ ทาไมจึงเห็นเชน่ นนั้ หลกั เกณฑ์เฉพาะ (Specific Canons) ใช้พจิ ารณางานศิลปะเฉพาะอย่าง เช่น งานศิลปะที่มี คุณสมบัติ “พกิ ล” ไปจากศิลปะท่ัวไป เช่น ภาพหญิงสาวของ เดอคูนนิ่ง (De Kooning) เป็นงานศิลปะ ท่ี “แหกคอก” กฎเกณฑ์ท่ัวไป คือ กฎเกณฑ์ของสัดส่วน กฎเกณฑ์ความสัมพันธ์ระหว่างรูปและพ้ืน แตม่ ีคณุ สมบัตทิ ีด่ ีในแง่อื่น งานศลิ ปะเหลา่ น้ไี มส่ ามารถยดึ หลกั เกณฑ์รว่ มกบั ศิลปะชื้นอื่นๆ และไม่สามารถ ใชห้ ลักเกณฑอ์ ันใดอนั หน่งึ ร่วมกนั เพราะแตล่ ะชิน้ ก็ “พิกล” แตกต่างกันออกไป เบียสลีย์สร้างระบบประเมินผลงานสุนทรีย์ทุกๆ ประเภท ไม่ว่าจะเป็นทัศนศิลป์ ดนตรี วรรณกรรมหรือศิลปะการแสดง ทฤษฎีของเขาเป็นทฤษฎีในแขนงศิลปะวิจารณ์ (Art Criticism) ทเ่ี บียสลยี ์เสนอไปสองหลกั เกณฑ์ที่จะใชก้ ับงานศิลปะท่วั ๆ ไป หรอื ใช้กบั งานศลิ ปะเฉพาะชิ้น สาหรับงานศลิ ปะทัว่ ๆ ไปน้นั เบยี สลีย์แนะใหใ้ ชห้ ลกั การพิจารณา 3 ด้าน คือ ประการแรก พิจารณาถงึ ความเป็นเอกภาพของผลงานสนุ ทรยี ์ ในการพิจารณาความเป็นเอกภาพผู้ประเมินจะต้อง แจกแจงบรรยายสว่ นที่เปน็ คณุ สมบตั ิทีด่ คี รบถ้วนหรอื ไม่ ประการที่สอง ท่ีจะต้องพิจารณา คือ ความลึกล้า ความลึกซึ้งของผลงานผู้ประเมินต้องแจกแจงคุณสมบัติส่วนประกอบของผลงานและต้องดูความเช่ือมโยง ของส่วนประกอบวา่ มันบง่ บอกถึงความพยายามความใสใ่ จ ทัง้ แง่ความคิดและวิธีทางปฏิบัติที่ปรากฎ ในผลงานน้ัน รวมทั้งจินตนาการของผู้สร้างงานว่า ลึกลา้ เหมาะสมกับผลงานน้ันๆ ประการท่ีสาม ผู้ประเมินต้องพิจารณาถงึ ความเขม้ ขน้ ในสว่ นประกอบของผลงานพิจารณาดูว่า เมื่อโยงส่วนประกอบ เข้าด้วยกันแล้วมีความเข้มข้นเพียงใด ให้งานนั้นเต็มไปด้วยพลังกร้าวหรือแกร่งหรือสงบเยือกเย็น สดใส มีชีวิตชีวาหรอื โศกสลดสะเทือนใจ ส่วนประกอบต่างๆ เหล่านี้ คอื สว่ นยอ่ ยท่ที าให้เกิดผลงาน เช่น ในทัศนศิลป์คือ เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว เป็นต้น ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้ บางตัวเป็นแนวทางร่วมกันกับศิลปะแขนงอ่ืนๆ ในด้าน หลกั ของหลักเกณฑเ์ ฉพาะนั้น เบียสลชี่ แี้ จงว่า ศิลปะบางชิ้นสร้างข้ึนในลักษณะ “แหกคอก” กฎเกณฑ์ ท่ัวๆ ไปเบียสลีย์ระบุว่าเป็นคุณสมบัติที่ “พิกล” (Defected) เช่น คุณสมบัติด้านสัดส่วนระหว่างรูป และพ้ืนทเ่ี หมาะสมของงานจิตรกรรมภาพคนเหมอื นของแอนดูไวเอท ทาใหผ้ ลงานดูดีในขณะเดียวกัน ก็ “แหกกฎ” และการผดิ หลักเกณฑข์ องสัดส่วนทาใหง้ านของ เดอ คูนน่ิง ดูดี คุณสมบัติพิเศษเหล่าน้ี ต้องไดร้ บั การพจิ ารณาไม่ใชต่ ามหลักเกณฑท์ ัว่ ไปของศิลปะ (มะลิฉตั ร เอ้ืออานนั ท์, มปป.: 62-65)
103 โดยสรปุ ระหว่างทฤษฎีศิลปศึกษาและทฤษฎศี ลิ ปะนนั้ จะเห็นว่า ทฤษฎีศิลปศึกษามุ่งเน้นไป ท่ผี ู้เรียนในดา้ นกระบวนการการรู้คิด เพราะมีโครงสร้างทางการศึกษาเข้ามามีส่วนประกอบ และมุ่ง ผลให้เกิดกบั ผ้เู รียน และมโี ครงสร้างเนอ้ื หาทางศิลปะ 4 ด้าน และมองว่าหากผู้เรียน มีทักษะการปฏิบัติ อย่างสนุ ทรีย์ แลว้ ผูเ้ รียนอาจจะเลอื กไปเป็นนักปฏบิ ตั ิศลิ ปะหรือเดนิ ทางในสายศิลปินได้ ส่วนทฤษฎีศิลปะนั้น ให้ความสนใจไปทผี่ ลงานศิลปะมากกว่ากระบวนการเรียนการสอน โดยเน้ือหาแลว้ มคี วามต้องการให้ผู้เรียน มีทักษะปฏิบัติมากกว่า ซ่ึงจะต้องมีความลึกซึ้งในด้านวัสดุและวิธีการ เพ่ือจะนาไปสู่การวิจารณ์ ความม่งุ หมายหลักในด้านน้ี คือ มีทกั ษะปฏบิ ัติอยา่ งสนุ ทรีย์ และหรอื มหี ลักเกณฑ์ด้านศิลปวิจารณ์
104 บรรณานกุ รม กาจร สนุ พงษศ์ ร.ี (2553). ประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะอนิ เดีย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จรญู โกมุทรตั นานนท์. (2539). ศลิ ปะคืออะไร. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อแกรมมี่. จานงค์ ทองประเสรฐิ . (2539). ปรชั ญาประยกุ ต์. กรงุ เทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี.่ ปุณรัตน์ พชิ ญไพบูลย์. (2547). ศึลปศกึ ษา: จากทฤษฎีสกู่ ารสรา้ งสรรค.์ กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . พจนา จันทรสนั ต.ิ (2530). วถิ ีแหง่ เต๋า. พิมพ์คร้ังท่ี 10. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. พระมหารังสนั ต์ กิตตปิ ัญโญ. (2553). การศึกษาวิเคราะหส์ ุนทรยี ศาสตร์ในพุทธปรชั ญาเถรวาท. วิทยานพิ นธ์ปริญญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าปรชั ญา มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระมหาอดุ ม ปญั ญาโภ. (2547). การศึกษาวเิ คราะห์พุทธศลิ ปเ์ ชงิ สนุ ทรยี ศาสตร์. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญา พุทธศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั มะลิฉตั ร เอ้ืออานันท์. (2545). ศลิ ปศึกษา แนวปฏิรปู ฯ. กรุงเทพฯ: ศนู ยต์ าราและเอกสารทางวชิ าการ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . _______. เอกสารประกอบการสอน ทฤษฎคี วามรูแ้ ละศิลปศกึ ษา. มปป. วทิ ย์ วิศทเวทย์. (2540). ปรัชญา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชย.์ ส.ศิวรกั ษ์. (2545). ปรชั ญาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: มลู นิธเิ ดก็ . สชุ าติ สุทธิ. (2544). สนุ ทรียภาพของชีวิต. กรงุ เทพฯ: โครงการจัดตงั้ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏสวนดสุ ติ . สุเชาวน์ พลอยชมุ . ปญั หาสนุ ทรียศาสตร.์ กรงุ เทพฯ: มปป. อารี สทุ ธพิ นั ธุ์. (2532). เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าปฏิบัติการทศั นศิลป์ชั้นสูง. กรุงเทพฯ: ภาควชิ าศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒประสานมิตร. _______. (2535). 60 ปี อารี สทุ ธพิ นั ธุ์. กรงุ เทพฯ: ภาพพมิ พ์. ส.ศวิ รกั ษ์. (2545). จานงค์ ทองประเสรฐิ . (2544). วิทย์ วศิ ทเวทย์. (2540)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106