Leadership for Transcendence คอื การไดร้ บั การพกั ผอ่ นและการไดม้ เี วลาคณุ ภาพกบั ครอบครวั และอกี ฝง่ั หนงึ่ คอื ความตอ้ งการทไ่ี ม่ไดร้ บั การตอบสนองซ่งึ ได้แก่ การได้พบเครอื ขา่ ยใหม่ ๆ และการใชช้ วี ติ ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ คนอนื่ ความตอ้ งการทงั้ สองประการหลงั นี้ จะได้รับการตอบสนองน้อยลงหากวิกรัมใช้ชีวิตชา้ ลง วกิ รมั กลา่ ววา่ หากเราทำ� แบบฝกึ หดั นอี้ ยา่ งละเอยี ดและจรงิ จงั เราอาจพบ ความเชอ่ื และความตอ้ งการได้อกี หลายขัว้ สมี ากลา่ วเสรมิ ว่าภาพของขอบไม่ จ�ำเป็นต้องเป็นเส้นตรง แล้วแต่เราว่าจะนึกถึงสัญลักษณ์ใด อาจเป็นต้นไม้ หรือส่ิงใด ๆ ก็ตามทีผ่ ดุ ขน้ึ มาในใจ หลังจากกิจกรรมเสร็จสิ้น สีมากล่าวว่าเธอได้ลงมือท�ำแบบฝึกหัดน้ีเช่น เดียวกับผู้เข้าอบรม และได้เห็นขอบใหม่ ๆ ของตนเองโผล่ข้ึนมาทุกครั้ง ท่ีได้ท�ำกจิ กรรมนี้ ความเชอื่ และความตอ้ งการทเี่ ธอคน้ พบทงั้ สองฝง่ั มกั นำ� พา สงิ่ ใหม่ ๆ เข้ามาให้ชีวิตเสมอ คำ� ถามทท่ี า้ ทายสำ� หรบั เธอคอื ท�ำอย่างไรจึงจะ โอบอุ้มความเชื่อและความต้องการท้ังสองฝั่งในเวลาเดียวกันได้ มิเช่นน้ันเรา อาจจะตกไปอยู่ท่ีฝั่งใดฝั่งหนึ่งมากจนเกินไปและท�ำให้อีกฝั่งหน่ึงถูกละเลย และสีมาตั้งถามแก่ผู้เข้าอบรมว่า “มีวิธีใดบ้างที่เราจะโอบอุ้มข้ัวตรงข้ามของ เราท้ังสองฝ่งั ได้?” ซ่ึงผ้เู ขา้ อบรมบางส่วนไดต้ อบคำ� ถามนี้ไวว้ า่ “การจะโอบอุ้มข้ัวตรงข้ามได้ เราต้องท�ำความเข้าใจว่า แท้ที่จริงแล้ว ทงั้ สองฝงั่ เปน็ เรอื่ งเดยี วกนั ” “หาจุดร่วมเพ่ือใชเ้ ป็นตัวดงึ ดูดใหข้ ว้ั ตรงข้ามไปด้วยกัน” “เราต้องเท่าทันเสียงเรียกร้องของความต้องการหรือความเชื่อฝั่งหน่ึง แต่ในขณะเดียวกันก็รับรู้ว่ามีอีกฝั่งหนึ่งอยู่ด้วย เพ่ือเก็บขุมพลังงานให้ได้ ทั้งสองฝ่งั ” สมี ากลา่ วเสรมิ วา่ การรวมพลงั ของทง้ั สองฝง่ั เพื่อใหย้ นื บนขอบได้ เปน็ สง่ิ สำ� คัญ “อาจทดลองตัดความต้องการหรือความเช่ือฝั่งใดฝั่งหน่ึงออกไป แล้ว พิจารณาดูว่าการใช้ชีวิตที่ฝั่งเดียวจะรู้สึกอย่างไร ซ่ึงอาจท�ำให้เราพบว่าเรา ตัดอันใดอันหนึ่งออกไปไม่ได้” สีมากล่าวเสริมว่าส่ิงน้ีคล้ายกับการที่เรา 51
ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น แบง่ แยกเสีย้ วส่วนใดในตนเองออกไปไมไ่ ด้ เพราะเสยี้ วสว่ นทัง้ หลายล้วนเป็น ส่วนหนง่ึ ของเรา สมี ากลา่ วตอ่ ไปวา่ “ฉนั อยากแบง่ ปนั เกย่ี วกบั ทกั ษะบางอยา่ งทค่ี ณุ สามารถ เรยี นรเู้ พิ่มเติมเพ่ือดแู ลขั้วตรงข้ามของคณุ ได้ ฉนั เคยเล่นละครแบบฉับพลัน การที่ฉันอยู่บนเวทีแล้วต้องพูดไปเร่ือย ๆ โดยไม่ได้เตรียมตัวมาก่อน ท�ำให้ ฉันได้เรียนรู้ว่า ถ้าเราบอกค�ำว่า ใช่ กับชีวิต เรื่องราวจะสามารถด�ำเนินไป ต่อได้เร่อื ย ๆ แต่บนเวทมี เี พื่อน ๆ และคนอน่ื ๆ ด้วย ถ้ามคี นพดู วา่ คำ� วา่ ไม่ หรือมีค�ำท่ีเก่ียวกับค�ำว่า ไม่ ผุดข้ึนมา เรื่องก็จะจบลง เพราะเห็นไม่ตรงกัน และเกดิ การขัดแย้งกันขึ้นมา ดังน้นั ทักษะหนึ่งทีจ่ ะท�ำใหเ้ ราสามารถโอบอุม้ ขว้ั ตรงขา้ มทงั้ สองฝง่ั ได้ คอื การพดู คำ� วา่ ใช่ กบั คำ� วา่ และ ในการเดนิ บนขอบ เปน็ การโอบอมุ้ ความตอ้ งการและความเชือ่ ทัง้ สองดา้ น” หลังจากน้ัน สีมาให้ผู้เข้าร่วมล้อมวงท�ำกิจกรรมการเล่นละครฉับพลัน แบบตอ่ เนอ่ื ง โดยใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มแตล่ ะคนคดิ ประโยคบอกเลา่ ทมี่ คี ำ� วา่ “ใช”่ กบั คำ� วา่ “และ” อยใู่ นประโยค รวมถงึ มเี นอื้ หาเกย่ี วกบั สง่ิ ทต่ี นเองอยากใหเ้ กดิ ขนึ้ ซ่ึงอาจเปน็ ประโยคท่ปี ระหลาดหรือหลดุ โลกกไ็ ด้ เมื่อกิจกรรมการเล่นละครฉับพลันจบลง วิกรัมสรุปสาระของการใช้ ค�ำว่า “ใช”่ กบั “และ” ไวว้ า่ “ความเช่ือเป็นสง่ิ สำ� คญั มากในการเดนิ บนขอบ เราต้องเช่ือว่าการเดินบนขอบเป็นไปได้ เราไม่สามารถเดินบนขอบด้วย ความเชอ่ื วา่ เราทำ� ไมไ่ ด้” ทักษะการก้าวเดินบนขอบ ตอนที่ 2 : ตัวกวนท่ีสร้างสรรค์ ทักษะที่สองในการเดินบนขอบคือ ตัวกวนที่สร้างสรรค์ วิกรัมกล่าวว่า “ทกั ษะตัวกวนทีส่ รา้ งสรรคเ์ กย่ี วพันกับคำ� สองค�ำมีความหมายขัดแยง้ กัน คือ ค�ำว่า Creative ซ่ึงหมายถึงการสร้าง และค�ำว่า Destruction ซ่ึงหมายถึง การท�ำลาย ทักษะตัวกวนท่ีสร้างสรรค์น้ีเป็นการน�ำพลังของความสร้างสรรค์ 52
Leadership for Transcendence มาท�ำลายแบบแผนเดิมท่ีคนเรามีหรือเป็น อีกนัยหนึ่งคือการเติบโตที่พ้นไป จากพิธีกรรม แบบแผน และความคิดความเช่ือเดิม ๆ การสร้างตัวกวน ท่ีสร้างสรรค์เป็นศิลปะของการสร้างแรงสะเทือนท่ีเป็นบวก ทักษะนี้เป็น การเขยา่ สงิ่ ทไี่ มม่ ปี ระโยชนห์ ลดุ ออกไป เหลอื เพยี งแตส่ งิ่ ทจ่ี ะชว่ ยทำ� ใหเ้ ราอยู่ รอดบนขอบเทา่ นั้น ในขณะที่เราเริ่มการก่อกวนแบบแผนเดิม ๆ เราจะเจอแรงต้านใน การเดนิ บนขอบ และทันทีท่ีเราเจอแรงตา้ นบางอยา่ ง เราอาจรูส้ กึ วา่ ทนไมไ่ ด้ แตค่ วามรสู้ กึ เชน่ นเี้ ปน็ ธรรมชาตทิ คี่ นเรามกั จะเปน็ แมแ้ ตใ่ นรา่ งกายของคนเรา เม่ือมีสิ่งแปลกปลอมเข้ามา ระบบภูมิคุ้มกันของเราจะปะทะกับสิ่งท่ี แปลกปลอมนน้ั ตวั ความคดิ ของคนเรากเ็ ชน่ เดยี วกนั มนั มกั ตอ่ ตา้ นหรอื กำ� จดั สิ่งใหม่ที่เข้ามาและพยายามจะรักษาความคิดความเช่ือเดิมของเราเอาไว้” วิกรัมสาธิตการฝึกทักษะการสร้างตัวกวนที่สร้างสรรค์โดยใช้ท�ำงานกับ ฐานกาย ซ่ึงเป็นการเดินด้วยความเนิบช้าและนิ่งเงียบเพ่ือท�ำให้เกิด ความเชอื่ มโยงระหว่างกายกับจติ วกิ รมั แบ่งหอ้ งออกเป็นสองฝ่งั โดยก�ำหนด ใหฝ้ ่งั หนง่ึ เป็นพ้ืนที่ของสง่ิ ทเี่ รารอู้ ยูแ่ ล้ว และอีกฝ่ังเปน็ พน้ื ท่ขี องสง่ิ ที่เราไมร่ ู้ วิกรัมให้ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการสร้างตัวกวนว่า “ให้เราหยิบยกขอบ ของเราข้นึ มา แล้วกา้ วเท้าออกไปและพูดถอ้ ยค�ำออกมาในแต่ละกา้ ว ถอ้ ยคำ� เหล่านี้เป็น ตัวกวน ระบบเดิม ซึ่งได้จากการด�ำรงอยู่บนพ้ืนท่ีท่ีรู้หรือพื้นที่ ที่ไม่รู้ของแต่ละคน จุดส�ำคัญคือต้องก้าวแต่ละก้าวด้วยความต้ังใจ และเร่ิม เดินจากจุดที่เราเป็นอยู่ในปัจจุบันบนขอบของเรา เราอาจเร่ิมเดินจากฝั่ง ความเชอื่ เกา่ (พน้ื ทที่ ร่ี )ู้ ไปสพู่ น้ื ทค่ี วามเชอื่ ใหม่ (พนื้ ทที่ ไี่ มร่ )ู้ และในขณะทเ่ี ดนิ ไป ขา้ งหน้าแต่ละก้าวจะเป็นเหมอื นการค่อย ๆ ทำ� ลายความเช่ือเดมิ ทง้ิ ไป ทัง้ นี้ เราไม่ตอ้ งพยายามคดิ เพยี งแค่ค่อยก้าวไปเรื่อย ๆ จนกวา่ จะถงึ จุดทเ่ี รารู้สกึ ว่าพอใจและอยากหยุดเดิน ซง่ึ จะเป็นพน้ื ที่ใดก็ได้ แต่ถา้ หากเรายงั รูส้ กึ วา่ ตน ยังคงอยู่ในพ้ืนท่ีฝั่งที่รู้ ก็ให้เดินอยู่เฉพาะพื้นที่นั้น เม่ือพร้อมแล้วจึงค่อยเดิน ไปในฝัง่ ทีไ่ ม่รู้” 53
ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น วิกรัมอธบิ ายข้นั ตอนในการฝกึ ทกั ษะตัวกวนที่สร้างสรรคไ์ วด้ ังนี้ ขั้นตอนแรก ยืน ณ จุดเร่ิมต้น แล้วพูดความเชื่อเก่าออกมา ซึ่งเป็น ความเช่ือท่ีเราต้องการจะเปลี่ยน ถ้อยค�ำท่ีพูดออกมาจะเป็นค�ำท่ีกวนระบบ หรือความเชื่อเดิม อย่างไรก็ตาม กระบวนการนี้เป็นเพียงการกวนหรือเขย่า ความเช่ือเดิม มิใช่การลบความเช่ือออก ถึงแม้ว่าในท้ายท่ีสุดความเช่ือน้ีจะ เปลีย่ นสภาพไปเองก็ตาม แต่ในข้ันแรกเราเพียงแตก่ วนความเชอ่ื นเ้ี ท่านน้ั ขน้ั ตอนทสี่ อง เคลอื่ นรา่ งกายไปขา้ งหนา้ เมอ่ื กา้ วเทา้ ออกไปถงึ อกี จดุ หนงึ่ ก็ให้พูดความเชื่อใหม่ท่ีเป็นตัวกวนระบบหรือแบบแผนเดิมท่ีเรามี ณ จุดท่ี ยนื ใหม่ ขนั้ ตอนทสี่ าม ถา้ หากเราสมั ผสั รบั รไู้ ดถ้ งึ แรงตา้ นทเ่ี กดิ ขนึ้ ขอใหเ้ ราเคลอื่ น หรือเดินไปตรงจุดใดก็ได้ ที่จะท�ำให้เราสามารถขยับไปได้อีกก้าว โดยท่ีเรา ไม่ไปต่อต้านแรงต้านที่เกิดข้ึน เราเพียงแต่ยอมรับแรงต้านเท่าน้ัน ท�ำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระท่ังเราสามารถก้าวไปถึงจุดท่ีความเช่ือใหม่ เข้มแข็งมากขึ้น แล้วเปิดรับพลังงานบวกจากฝั่งท่ีเราไม่รู้ เข้ามาสร้าง ความเข้มแข็งให้กับความเช่ือใหม่ของเรา และเราจะทราบได้เองว่าควรจะ หยุดเดินเมื่อใด และเม่ือไปถึงจุดสุดท้ายที่ต้องการหยุดเดิน ให้เรากลับหลัง หนั ไปมองจดุ เรมิ่ ตน้ แลว้ ประกาศความเชอื่ ใหมท่ เี่ ราไดม้ าออกไป หลงั จากนนั้ บันทึกส่ิงท่ีผุดขึ้นมาระหว่างการเดินให้ซึมซับเข้าไปภายในตนเอง” ต่อมาวิกรัมสาธิตกระบวนการสร้างตัวกวน โดยน�ำขอบของเขาใน เรอื่ งการใชช้ ีวิตใหช้ ้าลงมาเปน็ ตัวอย่าง (เดนิ หน้า) (ใหค้ �ำหรือความคิดปรากฏออกมาเอง) “เร็วและดี” (เดินหน้า) “เร็วและดีบางครั้ง” (ถอยหลัง) “ผมชอบทีต่ ัวเองเร็วและยุ่งตลอดเวลา” (เดินหน้า) “ผมเหนอื่ ยและกำ� ลงั หาวิถีใหมใ่ นการมชี ีวติ ” 54
Leadership for Transcendence (ถอยหลงั ) “ช้าจะท�ำใหเ้ กดิ อันตราย” วิกรมั ใหข้ อ้ สงั เกตว่า ในขณะทว่ี กิ รมั กา้ วไปข้างหนา้ แต่มีช่วงทเ่ี ขาถอยมา ขา้ งหลงั ดว้ ยเพราะเจอแรงตา้ น ซงึ่ เขาไมพ่ ยายามขดั ขนื แรงตา้ นเหลา่ น้ี แตจ่ ะ พยายามระบใุ หไ้ ดว้ ่ามีความเชอ่ื ใดหรอื สงิ่ ใดก�ำลังตา้ นเขาอยู่ (เดินหนา้ ) “ช้าคอื เร็ว” (ถอยหลัง) “แล้วถ้าผมช้าไม่เปน็ ผมจะแพไ้ หม” (เดินหนา้ ) “ชา้ คอื มีพลงั ” (วิกรัมกล่าวว่า “ถึงแม้ว่าจะเจอแรงต้าน แต่ผมก็เปิดรับพลังจากพื้นที่ ทไ่ี ม่รู้จกั ให้เข้ามาได)้ (เดินหนา้ ) “ชา้ แต่บางครัง้ กเ็ รว็ ไดด้ ้วย” (เดินหนา้ ) “ฉันสามารถเลอื กชา้ หรือเร็วได้ตามท่ีปรารถนา” วิกรัมกล่าวว่า เมื่อก้าวไปอยู่ในจุดต่อไปแล้วอาจลองตรวจสอบสภาพ ร่างกายตนเองว่าเป็นอย่างไร ถ้ารู้สึกว่าไม่มีแรงต้านหรือดึงกลับแล้ว อาจ ลองกระโดดไปข้างหน้า โดยขยับร่างกายก่อน แล้วจึงค่อยระบุสิ่งท่ีเกิดขึ้น เรากระโดดเพื่อทดลองดูว่าจะสามารถทะลุทะลวงความเช่ือเก่าไปได้ไหม ถา้ เชอ่ื วา่ ทะลุทะลวงได้กเ็ ดนิ ต่อ (กระโดดไปขา้ งหนา้ ) ช้าคือฉลาด ช้าคือมีพลงั (เดนิ หนา้ ) ช้าคอื ขเ้ี ลน่ เมื่อมาถึงจุดที่วิกรัมต้องการหยุดเดิน เขาก็มองย้อนกลับไป แล้วพูด ความเชื่อใหม่กับตัวตนเดิมของตัวเองว่า “การช้าคือการเล่น” “หมายถึง ผมสามารถเล่นกับความช้าและเร็วได้ดว้ ย” หลังจากนั้น วิกรัมขออาสาสมัครหน่ึงท่านมาทดลองท�ำกระบวนการ ดงั กล่าว 55
ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น (อาสาสมัครระบคุ วามเชื่อเดมิ ทตี่ ้องการเปลยี่ น) “งานสำ� คญั กว่าความสมั พันธ”์ (ก้าวไปขา้ งหนา้ และระบุความเชอ่ื ใหม)่ (เดนิ หนา้ ) “ความสมั พันธ์ท�ำให้ฉนั มีชีวติ ” (ถอยหลงั ) “ความสมั พันธท์ ำ� ให้เราไปไม่ถึงเปา้ หมาย” (เดินหนา้ ) “แตค่ วามรกั ชว่ ยผลกั ดันให้ชวี ติ เราไปขา้ งหน้า” (เรม่ิ เช้ือเชิญพลงั งานจากดา้ นทไ่ี ม่ร้เู ข้ามา) (อาสาสมคั รหยุดเดินและหันกลับไปมองความเชือ่ เดิม) “สามารถหาสมดุลของสองอย่างนไ้ี ด”้ วิกรัมแนะน�ำให้เติมสรรพนามค�ำว่า “ฉัน” เข้าไปในประโยค เพ่ือดูว่ามี แรงตา้ นไหม ถา้ หากมีก็ให้ยอมรับแรงตา้ นนั้น “ฉนั สามารถหาสมดุลของสองอยา่ งนไ้ี ด้” หลังจากนั้น อาสาสมัครได้สะท้อนประสบการณ์การฝึกสร้างตัวกวนท่ี สร้างสรรค์วา่ “เร่ิมแรกเรามีชุดความเชื่อเดมิ อยู่ เม่ือกา้ วเทา้ แรกออกไป จะมี ค�ำผุดขึ้นมาในหัวเองโดยไม่ต้องพยายามคิด เม่ือถามตัวเองว่าอยากเดินหน้า หรือถอยหลัง ร่างกายจะเคลื่อนไปเองโดยอัตโนมัติ และเราเพียงแต่สังเกต ความรู้สึกของตนเองว่าอยากจะไปทศิ ทางใด” วิกรัมกล่าวว่า “บางคนอาจเคล่ือนไปข้างหน้าได้ไม่ยาก แต่บางคนอาจ เจอแรงตา้ นอย่างมาก ดงั นน้ั เราจึงต้องฝึกเลน่ กบั พลงั งานทตี่ ้านเราด้วย (ฝ่ังท่ี รู)้ ในขณะเดียวกนั ก็เปดิ รบั พลังงานจากฝ่งั ทีเ่ ราไมร่ ู้ดว้ ย ในหนงั สอื ภูมิคุม้ กนั ต้านการเปลยี่ นแปลง (Immunity to Change: How to Overcome It and Unlock the Potential in Yourself and Your Organization) ของโรเบริ ์ต คแี กน (Robert Kegan) ไดแ้ นะน�ำวิธีจดั การกบั แรงตา้ นในการเปล่ยี นแปลง 56
Leadership for Transcendence ผู้เขา้ รว่ มฝึกท�ำงานกับความเชอื่ ของตนเอง ในแบบฝึกหดั ตวั กวนทสี่ รา้ งสรรค์ 57
ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น คอื ใหเ้ ข้าไปรบั รคู้ วามรูส้ ึกทเี่ กดิ ขึ้นจากความเชอื่ ใหม่ สิ่งนม้ี ิใช่การฝึกคิดใหม่ แต่เป็นการฝึกท่ีจะลองรู้สึกกับความคิดใหม่ ซึ่งวิธีการท่ีได้ผลอย่างหนึ่งคือ การใช้ร่างกายเข้าไปสัมผัสและรู้สึกถึงความเช่ือใหม่จนกระทั่งถึงจุดที่เรารู้สึก เตม็ เปีย่ มอย่างแทจ้ รงิ ” ตอ่ มาวกิ รมั ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มจบั คกู่ นั ทำ� กจิ กรรมตวั กวนทสี่ รา้ งสรรค์ และกลา่ ว ก่อนเริ่มท�ำกิจกรรมว่า “ไม่ต้องกังวลว่าจะออกมาไม่ดี เพราะทางที่เดินไป บนขอบนน้ั ไมไ่ ดร้ าบเรยี บ เราจงึ ตอ้ งอนญุ าตใหต้ วั เองมะงมุ มะงาหราเลก็ นอ้ ย แล้วจึงค่อยเข้าไปสัมผัสถึงความรู้สึกของความเชื่อใหม่” และเมื่อผู้เข้าร่วม ทำ� กิจกรรมเสรจ็ สน้ิ แลว้ ได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์ในระหวา่ งทท่ี ำ� กจิ กรรม ไว้ดังน้ี ผู้เข้าร่วม : ตอนเริ่มก้าวเดิน เราใช้กายน�ำทางไปก่อนและใช้ความรู้สึก ของการไม่อยากอยู่จุดเดิมเป็นพลังในการก้าวออกไป ระหว่างท่ีก้าวไปใน แต่ละจุดได้เห็นพลังงานที่ออกมา เราก้าวแบบเฉียงๆ เพราะเราเองยังไม่ มั่นคงจึงไม่ก้าวแบบตรง ๆ ค�ำพูดที่พูดออกมาในแต่ละจุดไม่ได้คิดมาก่อน คล้ายเป็นญาณทัศนะซ่ึงไหลออกมาเอง และในจังหวะท่ีรู้สึกถึงแรงต้าน เราก็ถอยไปในจุดที่เราอยากกลับไป แต่เมื่อถามค�ำถามกับตัวเองแล้วได้แต่ ค�ำตอบเดมิ ๆ จึงทดลองกา้ วไปขา้ งหน้าใหม่ไมใ่ ห้ซำ�้ พน้ื ท่ีเดิม และพบว่าจดุ น้ันไม่มีแรงต้าน เม่ือตอบค�ำถามก็พบว่าสิ่งท่ีเราพูดออกมาน้ันเป็นส่ิงใหม่ ความสร้างสรรค์ที่เกิดข้ึนน้ีอาจมาจากการท่ีเราพยายามใช้การเดินในทิศทาง ใหม่ เมื่อก้าวไปมาสักระยะเราก็ทดลองก้าวให้ไกลข้ึนไปอีก พอก้าวไปใน ขั้นที่สาม คำ� ตอบกไ็ หลพรง่ั พรูออกมาจากพลังของความต้องการทีอ่ ยูภ่ ายใน ตวั เอง และคน้ พบวา่ หนทางทเ่ี ราจะกา้ วไปมเี รอื่ งนา่ ตน่ื เตน้ รออยู่ และไดบ้ นั ทกึ ความรสู้ กึ หรอื ความเชอ่ื ใหมเ่ ขา้ ไปภายในตนเองทำ� ใหร้ สู้ กึ วา่ ความเชอื่ ใหมน่ น้ั สามารถเกิดขน้ึ ได้จรงิ ๆ ผู้เข้าร่วม : สัมผัสได้ถึงความรู้สึกท่ีเกิดขึ้นในแต่ละจุดที่เราขยับไป เวลา ที่เราเข้าไปรับรู้ความรู้สึกตรงน้ันอย่างแท้จริง มันช่วยให้เราเปล่ียนมุมมองที่ 58
Leadership for Transcendence มีต่อความเช่ือเดิม หรือท�ำให้สามารถนิยามความเช่ือเดิมเสียใหม่ ท�ำให้เรา สามารถโอบรับความเชื่อเดิมเข้ามาในตัวเรา และเปิดพื้นท่ีให้ความเป็นไปได้ ใหม่ ๆ เข้ามาในชวี ิตเรามากข้ึน ผู้เข้าร่วม : เม่ือเดินไปถึงจุดสุดท้ายแล้วมองกลับไป รู้สึกว่าเรายอมรับ ความเช่ือทั้งตรงจุดเริ่มต้น (ความเชื่อเก่า) และจุดสิ้นสุด (ความเช่ือใหม่) เพราะตระหนักว่าความเช่ือเก่าน้ันมีประโยชน์ตรงที่เป็นแรงผลักให้เกิด ความเชื่อใหม่ขึ้นอีกคร้ัง ผู้เข้าร่วม : วิธีการหนึ่งท่ีได้ค้นพบในการพาตัวเองไปถึงความเชื่อใหม่ ก็คือ การพาเด็กน้อยภายในตัวเราที่เจ็บปวดไปด้วย เพราะเด็กน้อยในตัวเรา ที่ได้รับความเจ็บปวดจากประสบการณ์ในอดีตนั้นเป็นต้นตอของความเชื่อ เก่า เราในปัจจุบันจะไปถึงความเช่ือใหม่ไม่ได้ ถ้าเราไม่ดูแลและโอบอุ้มเด็ก นอ้ ยไปดว้ ย ผู้เข้าร่วม : ตระหนักว่าการคิดใคร่ครวญภายในท�ำให้เกิดการเรียนรู้ได้ และกระบวนการทเี่ ดินไปในแต่ละจุดท�ำใหเ้ กดิ ภาวะที่นา่ สนใจ เพราะปัญญา ทเี่ กิดขึน้ แตล่ ะจุดเปน็ การผสมผสานกนั ระหวา่ งความรแู้ ละความไม่รู้ ค�ำตอบ ทพ่ี ดู ออกมาเปน็ ปญั ญาญาณหรอื ญาณทศั นะซงึ่ มที ง้ั ความรเู้ กา่ กบั ความรใู้ หม่ และเปน็ ค�ำตอบทเ่ี ชื่อมโยงกับตัวเราอย่างแท้จรงิ ณ ขณะนั้น ถงึ แม้ว่าจะเป็น ความรเู้ ดมิ กต็ าม นอกจากนี้ ทา่ ทใี นการประกาศความเชอื่ การมองกลบั ไปยงั ตวั ตนของเราเอง สมุ้ เสยี งทเ่ี ราพดู ลว้ นมผี ลตอ่ การรบั รคู้ วามเชอื่ ใหม่ และเปน็ แรงสำ� คัญในการผลกั ดนั ความเช่ือใหมท่ เ่ี ราพบ ผู้เข้าร่วม : พบว่ามีแรงต่อต้านบางอย่าง เมื่อก้าวได้เพียงแค่สองก้าว กร็ สู้ กึ ตดิ ขดั อยกู่ บั ท่ี ทง้ั ความรสู้ กึ ขา้ งในและรา่ งกายกเ็ คลอื่ นไปขา้ งหนา้ ไมไ่ ด้ ติดอยู่ตรงนั้นสักพักแล้วคู่ของเราก็ชวนให้กลับเข้าไปส�ำรวจภายในตนเองว่า เกดิ อะไรข้นึ พอทุกอย่างเร่ิมคลายตัวลงแลว้ กพ็ บวา่ มีเร่ืองราวในอดตี ท่เี รายงั ตอ้ งจดั การอยู่ แตเ่ ราก็ไดก้ ้าวออกมาบ้างแลว้ เมอ่ื ลองประกาศส่ิงท่ีเราอยาก จะเปล่ยี นแปลง กร็ ู้สกึ เบาสบายข้ึน 59
ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น สีมา : การที่เรารับฟังเสียงของความรู้สึกหรือส่ิงท่ีเกิดในร่างกายแล้วให้ คณุ คา่ กบั ส่งิ เหลา่ นั้น เปน็ จดุ ส�ำคญั ของการเดนิ บนขอบ วิกรัม : เสียงทด่ี ึงเรากลบั มาอาจหมายถงึ การชวนให้เราไดไ้ ว้อาลยั ทท่ี ีเ่ รา อยใู่ หม้ ากพอ ก่อนท่เี ราจะเดนิ ไปขา้ งหน้าได้ เราอาจตอ้ งยอมรบั ความเสียใจ หรอื ใหเ้ วลากับการปลอ่ ยวาง ซ่ึงเป็นสงิ่ ทม่ี ีคณุ ค่าอยา่ งมาก ทักษะการก้าวเดินบนขอบ ตอนที่ 3 : การหลอมรวมเหตุผลเข้ากับญาณทัศนะ ในการฝึกทักษะแรกของการเดินบนขอบ ผู้เข้าร่วมได้หัดเดินบนขอบ ด้วยความตระหนักรู้ถึงคุณค่าของข้ัวตรงข้าม หลังจากนั้นในทักษะท่ีสอง ผู้เข้าร่วมได้ฝึกสร้างตัวกวนท่ีสร้างสรรค์เพ่ือให้ได้ความเช่ือใหม่ในการเดิน บนขอบ และเม่ือได้ความเช่ือใหม่มาแล้ว โจทย์ที่ต้องหาค�ำตอบต่อไปก็คือ เราจะดูแลรักษาความเชื่อใหม่ท่ีได้มาอย่างไรเพื่อให้ความเช่ือใหม่เกิดผลเป็น รปู ธรรม? ทกั ษะทสี่ าม คอื “การหลอมรวมเหตผุ ลเขา้ กบั ญาณทศั นะ” สามารถชว่ ย ให้เราตอบค�ำถามข้างต้นได้ เพราะทักษะที่สามนี้เป็นทักษะการหลอมรวม เหตุผลและญาณทัศนะเข้าด้วยกันเพ่ือใช้ค้นหาว่ามีสิ่งใดหรือการกระท�ำ ใดบ้างทสี่ ามารถมาสนบั สนุนความเชื่อใหม่ของเรา วิกรัมอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตรรกะเหตุผลและญาณทัศนะ ว่า “ไอน์สไตน์เคยกล่าวไว้ว่าเหตุผลและจินตนาการต้องไปด้วยกัน แต่ใน โลกทุกวันนี้ เรามักให้ตรรกะเหตุผลเป็นนาย และให้ญาณทัศนะเป็นบ่าว แตแ่ ทท้ จ่ี รงิ แลว้ ทงั้ สองสงิ่ ควรเปน็ คหู่ หู รอื เปน็ สงิ่ ทสี่ นบั สนนุ กนั ผทู้ เ่ี คยเรยี นรู้ เก่ียวกับญาณทัศนะมาบ้างอาจทราบว่าความคิดท่ีได้จากญาณทัศนะที่ ปราศจากเหตุผลน้ันเป็นเพียงความคิดท่ีฟุ้งซ่าน ไม่มีรากของความจริง ในขณะเดียวกัน เหตุผลทีป่ ราศจากญาณทัศนะจะไมเ่ ชอ่ื มตอ่ เข้ากบั พลงั ชีวิต หรือร่างกายเราไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ เช่นกนั ” 60
Leadership for Transcendence วิกรัมกล่าวว่าทักษะการหลอมรวมเหตุผลเข้ากับญาณทัศนะนี้สามารถ น�ำไปใช้ได้ในหลายบริบท แต่กรณีนี้จะใช้เพื่อการฝึกเดินข้ามขอบ ถึงแม้ว่า ผู้เข้าร่วมบางท่านยังไม่พบความเช่ือใหม่จากการฝึกทักษะที่สอง (ตัวกวนท่ี สรา้ งสรรค)์ แตใ่ นทกั ษะทสี่ ามน้ี การหลอมรวมญาณทศั นะกบั เหตผุ ลสามารถ ชว่ ยในการค้นหาความเชื่อใหมไ่ ด้เช่นกัน การฝกึ ทักษะหลอมรวมเหตผุ ลเขา้ กบั ญาณทศั นะมีอยู่สามขนั้ ตอน ขน้ั ตอนแรก คือ การคน้ หาญาณทัศนะโดยใช้จนิ ตนาการและความร้สู ึก เพ่อื ใหไ้ ดท้ างเลอื กตา่ ง ๆ ของการกระทำ� ท่ีจะสนบั สนนุ หรอื ท�ำได้ในการเดนิ บนขอบ ขน้ั ทส่ี อง คอื การนำ� เหตผุ ลมาวเิ คราะหส์ งิ่ ทญ่ี าณทศั นะมอบให้ ออกมา เปน็ ทางเลอื กของการกระทำ� ทีส่ ามารถวัดผลได้และปฏิบตั ิไดจ้ ริง ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ย คอื การเดนิ ขน้ึ ขอบ เปน็ การลงมอื กระทำ� ในสงิ่ ทไ่ี ดเ้ ลอื ก จากท�ำงานกับญาณทัศนะและตรรกะเหตุผลมาแล้ว วิกรัมได้ให้ผู้เข้าอบรม ฝึกปฏิบตั ิข้นั ตอนแรกและข้ันตอนทส่ี อง ดงั น้ี ขั้นตอนของการค้นหาญาณทัศนะ การฝึกค้นหาญาณทัศนะในทักษะท่ีสามน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อส�ำรวจว่า ส่ิงใดท่ีเราสามารถท�ำได้บ้างในการขยาย ต่อยอด หรือรักษาความเช่ือใหม่ ก่อนท่จี ะนำ� เหตุผลเขา้ มาหลอมรวมกบั ญาณทัศนะในขั้นตอนที่สอง วิกรมั กล่าวว่าการเปิดรบั ญาณทศั นะ มที ้ังหมด 3 ข้นั ตอน ได้แก่ ขน้ั ของการหยง่ั ราก เปน็ การทำ� ใหต้ วั เองใหน้ งิ่ และมน่ั คง อยใู่ นความสงบ เงียบและผ่อนคลาย ข้ันการเปิดรับญาณทัศนะ เม่ือเราสร้างสนามพลังท่ีห่อหุ้มดูแลเรา และ อยู่ในภาวะท่ีพร้อมเปิดรับญาณทัศนะแล้ว ก็ให้เข้าไปสัมผัสรับรู้ญาณทัศนะ ทเ่ี ข้ามาในลกั ษณะต่าง ๆ เชน่ ภาพ ค�ำ เสยี ง ความรู้สึก ฯลฯ 61
ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น ข้ันการกล่าวญาณทศั นะ เม่อื เราสัมผสั ถงึ ญาณทัศนะแลว้ เรากล่าวสาร ท่ไี ดร้ บั นนั้ ออกไปให้แกผ่ รู้ ับญาณทัศนะอย่างไมต่ ดั สินและไม่ปดิ บงั วิกรัมชวนให้ผู้เข้าร่วมที่เคยมีประสบการณ์ในการฝึกรับรู้ญาณทัศนะ มาก่อน ไปจับกลุ่มกับผู้เข้าร่วมท่ียังไม่เคยฝึก เพื่อแบ่งปันประสบการณ์ ในการนำ� ขนั้ ตอนดงั กลา่ วไปใช้ หลงั จากนนั้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ฝกึ คน้ หาญาณทศั นะ ตามข้ันตอนดังกล่าว ซึ่งผู้เข้าร่วมแต่ละท่านจะผลัดกันเป็นผู้รับญาณทัศนะ โดยนำ� ความเชอื่ ของตนขนึ้ มาเปน็ ประเดน็ ในการรบั ญาณทศั นะของคนทเ่ี หลอื ในกล่มุ เมื่อผู้รับญาณทัศนะระบุความเช่ือใหม่ของตนเองออกมาให้คนในกลุ่ม ทราบแล้ว คนในกลุ่มจึงปฏิบัติตามข้ันตอนข้างต้น เพ่ือเปิดรับญาณทัศนะ และค้นหาว่าการกระท�ำใดที่จะช่วยให้ความเช่ือใหม่ของผู้รับญาณทัศนะ เปน็ จรงิ ในขณะเดยี วกนั ผรู้ บั ญาณทศั นะกเ็ ขา้ ไปสมั ผสั ญาณทศั นะดว้ ยตนเอง เชน่ กนั และเมอ่ื ทกุ คนในกลุ่มเปิดรับญาณทศั นะเสรจ็ สิน้ แลว้ ให้แบ่งปันหรือ บอกญาณทัศนะท่ีได้รับให้แก่ผู้รับญาณทัศนะทราบ ทั้งน้ี กระบวนการกลุ่ม จะท�ำให้ผู้รับญาณทัศนะได้ค�ำตอบที่หลากหลายข้ึน เพราะได้รับญาณทัศนะ ทง้ั จากตนเองและคนในกล่มุ ส่วนคนท่ีเหลือในกลุ่มซึ่งเป็นผู้ให้ญาณทัศนะ ก็ควรท�ำกิจกรรมน้ีด้วย ความรักและต้ังใจทำ� อยา่ งเต็มที่ เพราะถอื เปน็ การฝึกใหท้ านเปน็ ญาณทัศนะ เพ่ือไปช่วยหล่อเลยี้ งความเชอื่ ใหม่ของผูร้ บั ญาณทัศนะ สว่ นผรู้ ับญาณทศั นะ เมอ่ื ไดร้ บั ญาณทศั นะจากกลมุ่ แลว้ หากไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั สงิ่ ทผี่ ใู้ หญ้ าณทศั นะหรอื คนในกลมุ่ บอก กเ็ พียงแต่เปิดใจรับรู้ไว้เท่าน้ัน 62
Leadership for Transcendence ไอน์สไตนเ์ คยกลา่ วไวว้ า่ เหตผุ ลและจินตนาการต้องไปด้วยกัน แตใ่ นโลกทุกวันนี้ เรามกั ใหต้ รรกะเหตผุ ลเป็นนาย และใหญ้ าณทศั นะเป็นบ่าว แต่แทท้ จี่ รงิ แล้วท้งั สองสิง่ ควรเป็นคู่หู หรอื เป็นสิง่ ทส่ี นับสนนุ กนั ขั้นตอนการน�ำเหตุผลมาวิเคราะห์ส่ิงที่ญาณทัศนะมอบให้ ในข้ันตอนแรก เม่ือเราเข้าไปค้นหาญาณทัศนะ เราได้รับข้อมูลหรือ สิ่งท่ีญาณทัศนะของตนเองและผู้อื่นมอบให้ ซึ่งได้แก่ทางเลือกต่าง ๆ ของ การกระท�ำที่จะส่งเสริมความเชื่อของเราในการเดินบนขอบ และในขั้นตอน ที่สองนี้ เป็นการใช้งานสมองซีกซ้ายในส่วนของตรรกะเหตุผลเพ่ือวิเคราะห์ ข้อมูลท่ีญาณทัศนะมอบให้แล้วกลั่นกรองหรือเลือกค�ำแนะน�ำท่ีได้จาก ญาณทัศนะ โดยอาจตง้ั คำ� ถามกบั ตนเองวา่ อะไรคือการกระทำ� สามอยา่ งที่จะ ท�ำใหเ้ ราเปล่ียนแปลง หรอื ท่ีจะน�ำกลบั ไปใช้ในการเดินบนขอบ วิกรัมยกตัวอย่างการน�ำเหตุผลมาวิเคราะห์สิ่งท่ีญาณทัศนะมอบให้ โดยยกกรณีขอบของเขาเองที่ต้องการใช้ชีวิตช้าลง “ผมกลับมาน่ังอยู่กับตนเองและพบว่ามีข้อความสามประการผุด ขึ้นมา ข้อความแรกคือ เธอต้องกลับมาดูแลสุขภาพตัวเอง พอได้ยิน ข้อความน้ี ผมใช้สมองซีกซ้ายเข้ามาท�ำงาน โดยถามตนเองว่า การกระท�ำ 63
ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น อะไรบ้างท่ีเปน็ การดแู ลสขุ ภาพ ซง่ึ ไดค้ ำ� ตอบออกมา คอื ทานอาหารทดี่ ี นอน หลับดี อยู่ในส่ิงแวดล้อมที่ดี การอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่ดี คือ การใช้เวลาอยู่ที่ เมืองมมุ ไบใหน้ อ้ ยลง เนือ่ งจากเมอื งมุมไบเปน็ เมอื งทว่ี ุ่นวาย จึงอาจแบง่ เวลา โดยอยู่มมุ ไบสิบวัน และอีกสองวนั ไปอยกู่ ับธรรมชาติ ขอ้ ความทส่ี อง คอื หาคหู่ ใู หม่ ๆ ในการเดนิ บนขอบ หรอื หาเวลาเผอ่ื ใหค้ น ทเี่ ขา้ มาหาสามารถพดู คยุ ได้ ทำ� ใหม้ บี ทสนทนาใหม่ ๆ ทนี่ า่ สนใจ และขอ้ ความ ทส่ี าม คอื ทำ� งานกบั ลกู คา้ หรอื องคก์ รทผ่ี มรสู้ กึ วา่ พลงั งานชวี ติ ของผมสอดคลอ้ ง กับคนหรือองค์กรนั้น เมื่อพิจารณาเป็นการกระท�ำแล้ว คือ การรู้จักปฏิเสธ ลูกค้าหรือองค์กรทีม่ คี ล่นื ไมต่ รงกับผม พฤติกรรมท่ีผมเลือก คือ พฤติกรรมใหม่หรือการเปล่ียนแปลงท่ี สามารถลงมือกระท�ำได้จริงและวัได้ การที่ผมยังท�ำงานอยู่แต่สามารถให้มี เวลาเพ่ิมข้ึนให้กับกิจกรรมอื่น ๆ ระมัดระวังใส่ใจในการเลือกงานที่จะเข้ามา นั้นท�ำได้จริง ส่วนการวางแผนว่าจะอยู่สิบวันอยู่ท่ีมุมไบ และสองวันออกไป นอกเมืองก็วัดได้ รวมถึงสามารถวัดการนอนที่ดีและกินอาหารท่ีดีว่าเป็น อย่างไร” หลงั จากนนั้ วกิ รมั ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มอบรมใชเ้ วลาอยใู่ นความเงยี บและนำ� ตรรกะ เหตุผลมาวิเคราะห์ข้อความหรือญาณทัศนะที่ผู้เข้าร่วมในกลุ่มได้ให้ไว้ใน กิจกรรมก่อนหน้า และพิจารณาอย่างเป็นเหตุเป็นผลว่าค�ำแนะน�ำเหล่านี้ เหมาะสมกับขอบของตนหรือไม่อย่างไร และจะเปล่ียนเป็นการกระท�ำที่เป็น รปู ธรรมหรอื ปฏบิ ัติไดจ้ ริงอยา่ งไร 64
การอบรมวนั ที่ 3 ทักษะในการเดนิ บนขอบ และการเดนิ บนขอบใน ชีวติ ประจ�ำวนั ในการอบรมวันที่สาม วิกรัมได้พาผู้เข้าอบรมฝึกทักษะการเดินบนขอบ ประการที่ 4 คอื “การฟงั เสยี งของววิ ัฒนาการ” ซง่ึ จะชว่ ยใหผ้ เู้ ข้ารว่ มตดั สิน ใจเลอื กหนทางในการเดนิ บนขอบไดอ้ ยา่ งสอดคลอ้ งกบั ตวั ตนและเปา้ ประสงค์ ของชีวิตมากขึ้น และในช่วงสุดท้ายของการอบรม วิกรัมชวนผู้เข้าร่วม ใคร่ครวญเกี่ยวกับแนวทางการน�ำทักษะการเดินบนขอบไปใช้ในชีวิตประจ�ำ วันอย่างมีประสทิ ธิภาพและมีความต่อเนอ่ื ง ทักษะการเดินบนขอบ ตอนที่ 4 : การฟงั เสียงของวิวัฒนาการ “การฟังเสียงของวิวัฒนาการ” เป็นกระบวนการค้นหาและส�ำรวจว่า กระท�ำบนขอบของเราสอดคล้องกับเป้าประสงค์และตัวตนของเราอย่างไร เพื่อน�ำพาตนเองไปสู่การเติบโต อิสรภาพ และการกลับเข้าสู่ตัวตนที่จริงแท้ วกิ รมั กลา่ ววา่ “ววิ ฒั นาการมอี ยใู่ นทกุ เสย้ี วสว่ นของสง่ิ มชี วี ติ การเดนิ บนขอบที่ เช่ือมโยงกับวิวัฒนาการจะน�ำพาเรากลับเข้าไปสู่ธรรมชาติหรือตัวตนจริงแท้ 67
ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น ของเรา และในขณะเดยี วกนั กส็ อดคลอ้ งกบั การกระทำ� ตา่ ง ๆ ของเราทใ่ี หแ้ กโ่ ลก การก้าวเดินบนขอบโดยฟังเสียงวิวัฒนาการเช่นน้ี เป็นการก้าวเดินบนขอบที่ เต็มไปดว้ ยเป้าประสงค์ ทำ� ใหม้ สี ่งิ ใหม่ ๆ ผดุ บังเกิดขึ้นมา และของขวญั ท่ไี ด้ รบั จากการฟงั เสยี งววิ ฒั นาการคอื การเปลย่ี นแปลงและเตบิ โตภายในของเรา” ผู้เข้าร่วมท่านหนึ่งถามวิกรัมว่า การเดินบนขอบเช่ือมโยงอย่างไรกับ การค้นเปา้ ประสงคข์ องชวี ติ คนเรา วกิ รมั กล่าววา่ “แท้ทจี่ รงิ แล้ว การเดนิ บน ขอบกับเป้าประสงค์อาจจะเช่ือมหรือไม่เชื่อมกันก็ได้ คนเราอาจเดินบนขอบ เพ่ือให้ชีวิตต่ืนเต้นมีสีสัน หรือเพื่อเติบโตข้ึนจากความกลัวของตัวเอง หรือเดินบนขอบเพื่อมอบบางส่ิงบางอย่างให้แก่โลกก็ได้ และหากเราเดิน บนขอบด้วยเป้าประสงค์ในการมอบบางส่ิงแก่ผู้อ่ืนหรือโลก การกระท�ำ เช่นนี้อาจน�ำพาส่ิงท่ีย่ิงใหญ่กว่าตัวเราให้มาเชื่อมโยงกับเราได้ และเราจะได้ รับปัญญาจากจักรวาลมาช่วยในการเดินบนขอบของเรา ดังแนวความคิด ทางปรัชญาตะวันออกในประเทศไทย จีน อินเดีย หรือศาสตร์ต่าง ๆ เช่น ไอคิโด มวยจีน หรือโยคะ ท่ีเชื่อว่า การด�ำรงอยู่กับความเคล่ือนไหวรอบตัว ให้ได้น้ัน ไม่ว่าจะเป็นปราณหรือพลังงานของชีวิต เราไม่ควรต้านพลังนั้น แตเ่ ราควรหลอมรวมกบั พลงั งานหรอื จกั รวาลรอบ ๆ ตวั เราใหเ้ ปน็ เนอื้ เดยี วกนั กับเรา หากเรายอ้ นกลบั ไปตง้ั แต่ทักษะแรกของการเดินบนขอบ คอื การโอบอมุ้ ขั้วตรงข้าม ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ว่ามีขั้วความต้องการสองฝั่งที่ต้องเอาใจใส่ หลังจากนั้น ในทักษะท่ีสอง ผู้เข้าอบรมได้ฝึกสร้างตัวป่วนที่สร้างสรรค์ ขึ้นมาเพ่ือค้นหาความเช่ือใหม่ในการเดินบนขอบ เมื่อได้ความเช่ือใหม่แล้ว ในทักษะที่สาม ผู้เข้าร่วมได้ค้นพบการกระท�ำท่ีส่งเสริมความเช่ือใหม่ด้วย การหลอมรวมญาณทัศนะเข้ากับความคิดแบบเหตุผล ซึ่งการกระท�ำ ท่ผี า่ นการเลือกมานัน้ เป็นการกระท�ำทว่ี ดั ได้และปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ ทั้งสามทักษะนี้ช่วยให้ผู้เข้าร่วมเป็นอิสระจากตนเอง ไม่ยึดติดกับอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต และพร้อมส�ำหรับการฝึกฝนทักษะท่ีส่ี ซึ่งก็คือ “การฟัง 68
Leadership for Transcendence เสียงวิวฒั นาการ” เพราะการทีเ่ ราไม่มคี วามกังวลหรือความกลัว จะทำ� ให้เรา ได้ยนิ เสียงววิ ฒั นาการทเ่ี ขา้ มาไดช้ ดั เจนข้ึน ในทกั ษะทสี่ าม ผู้เขา้ ร่วมได้เลอื ก การกระท�ำในการเดินบนขอบมาแล้ว การฟังเสียงวิวัฒนาการในทักษะท่ีสี่ จะชว่ ยใหเ้ ราทราบวา่ การกระทำ� ทเี่ ราเลอื กมานน้ั สอดคลอ้ งหรอื ไมอ่ ยา่ งไรกบั เปา้ ประสงค์ บริบทรอบข้าง และตัวตนที่จริงแทข้ องเรา สีมากล่าวว่า การฟังเสียงวิวัฒนาการเปรียบเหมือนการว่ายน้�ำในแม่น้�ำ เรามีทางเลือกว่าจะว่ายตามกระแสหรือทวนกระแส การท่ีเราฟังเสียง วิวัฒนาการท่ีเข้ามาจะท�ำให้เราตระหนักว่าการกระท�ำใด ๆ ที่เราเลือกท�ำ บนขอบสอดคล้องกับเป้าประสงค์ในชีวิตของเราหรือไม่ ถ้าหากว่าสอดคล้อง การเดินบนขอบจะท�ำได้สบายขึ้น เปรียบเหมือนการท่ีเราว่ายน�้ำในทิศทางท่ี กระแสนำ�้ ที่ไหลไป แต่ถ้าหากการกระท�ำของเราไมส่ อดคลอ้ งกับเปา้ ประสงค์ ก็เปรยี บเหมอื นการพยายามว่ายนำ้� ทวนกระแส ท�ำให้เราตอ้ งใช้พลังงานมาก ในการทำ� ส่ิงนัน้ ๆ วิกรัมกล่าวว่า “เรื่องของวิวัฒนาการเปรียบเทียบได้กับแนวคิดสนาม แม่เหลก็ ไฟฟา้ และชีววทิ ยาที่กลา่ วถึงเอนโทรปี (Entropy) ซงึ่ เป็นสนามพลัง ท่ที �ำให้สิง่ ต่าง ๆ ไม่ติดกัน ในการฝึกทกั ษะการเดนิ บนขอบทกั ษะท่สี อง คอื ตวั กวนทสี่ รา้ งสรรค์ เมอ่ื เรากา้ วไปขา้ งหนา้ แลว้ มบี างอยา่ งทตี่ า้ นหรอื ดงึ เราให้ กลบั มาดา้ นหลัง แสดงวา่ กฎของเอนโทรปกี ำ� ลงั ท�ำงานอยู่ แรงดงึ ไปดา้ นหลัง น้ีอาจเป็นอารมณ์ที่มีความกลัวท�ำให้เราต้องหยุด ส่วนอีกแรงหนึ่งเป็นแรงท่ี ท�ำให้เราเกิดวิวัฒนาการ ท�ำให้เราเติบโตข้ึนและน�ำพาเราไปข้างหน้าและอยู่ ในวงจรใหม่ของชีวิต มีความคิดและความรู้สึกใหม่ ๆ ถ้าหากขอบของเรามี แรงของววิ ฒั นาการ ขอบนัน้ จะกวา้ งขน้ึ เรอื่ ย ๆ และสุดท้ายจะไมเ่ หลือขอบ แตอ่ ยา่ งใด แตก่ ลบั มาเปน็ เราทจ่ี รงิ แท้ และสงิ่ ใหมจ่ ะกลบั กลายเปน็ ธรรมชาติ หรอื สว่ นหนึ่งของตัวเราเอง ยกตัวอย่างเช่น ขอบของผมคือการใช้ชีวิตให้ช้าลง แต่ในภาวะปัจจุบัน ผมอาจหลุดกลบั ไปเป็นตัวตนเดมิ ทใ่ี ช้ชวี ิตอย่างรวดเรว็ อย่บู อ่ ย ๆ แตถ่ า้ หาก 69
ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น ผมฝึกฝนต่อไปเรื่อย ๆ การใช้ชีวิตช้าลงจะกลายเป็นธรรมชาติของผม มากข้ึนและจะไม่ใช่ขอบของผมอีกต่อไป แต่จะกลายเป็นส่วนหน่ึงในตัวตน ของผม แต่การจะท�ำเช่นนั้นได้ ผมต้องน�ำตัวเองหลุดออกจากแรงดึงหรือ เอนโทรปกี อ่ น ดว้ ยการนง่ิ ฟงั เสยี งภายในตนเอง แลว้ พลงั งานของววิ ฒั นาการ จงึ จะแทรกเข้ามาได้ วิวัฒนาการมิใช่การถูกบังคับให้เปล่ียนแปลง มนุษย์เราได้รับของขวัญ ให้สามารถคิดได้ เพราะฉะน้ันวิวัฒนาการคือทางเลือกและเป็นเสียงเรียก ภายใน การท่เี ราฟงั เสียงวิวฒั นาการ คอื การกลับมาฟงั เสยี งภายในตัวเราเอง วา่ ชวี ติ กำ� ลงั รอ้ งเรยี กอะไรจากเรา และเราเปน็ ผเู้ ลอื กเองวา่ จะกระทำ� ตามเสยี ง นัน้ เพอ่ื ใหช้ ีวิตของเราเกิดความจริงแทภ้ ายในหรือไม”่ ผเู้ ขา้ รว่ มทา่ นหนง่ึ ถามวกิ รมั เกย่ี วกบั การรบั ฟงั เสยี งจากภายในวา่ “จำ� เปน็ ต้องมีกิจกรรมบางอย่างท่ีไปก่อกวน ชักน�ำ โน้มน้าว (Induce) เพ่ือให้เสียง ภายในออกมาหรือไม่ หรอื ปลอ่ ยให้กระแสความคิดไหลออกมาเอง?” วกิ รมั ตอบว่า สมองของเรามักยดึ ติดกบั สิง่ ทชี่ อบ การสร้างสงิ่ ทไ่ี ปก่อกวนเล็กน้อย จะทำ� ให้เราหลดุ ออกมาจากสงิ่ ท่เี รายึดติดอยู่ สิง่ ท่ีคนเรายึดตดิ มักเป็นสิง่ ท่ีเกิดขึน้ ในอดตี ไมว่ า่ จะเป็นความเจบ็ ปวด หรือความสุข คนเราไม่อยากทงิ้ ท้ังสองอยา่ งไป สงิ่ นีค้ ือการท่ีเอนโทรปี ยึดเราไวไ้ ม่ให้เราเดินหนา้ ต่อ 70
Leadership for Transcendence แบบฝึกทักษะการฟงั เสียงววิ ฒั นาการ วิกรัมกล่าวเสริมเกี่ยวกับเร่ืองวิวัฒนาการว่า “บางครั้งการท�ำให้ วิวัฒนาการเผยแสดงออกมา เปรียบเหมือนการตามดูความเคล่ือนไหวว่า เดือนนี้เทรนด์แฟช่ันเป็นอย่างไร และท�ำให้เรายึดติดว่าเดือนน้ีแต่งตัวแนว แฟช่ันน้ีเท่านั้น เมื่อมีเสียงบางเสียงมาเคาะเรียกจึงท�ำให้เราไม่ได้ยินเสียงนั้น เพราะเรายดึ ตดิ กบั บางจดุ ของววิ ฒั นาการมากเกนิ ไป สง่ิ สำ� คญั คอื เราตอ้ งกลบั ไปตระหนกั รตู้ รงจดุ ทเ่ี รายดึ ตดิ และเปน็ อสิ ระจากสงิ่ ทเ่ี รากระทำ� ในขณะทเ่ี รา ก�ำลังฟังเสียงวิวัฒนาการ เราจะได้ยินเสียงชีวิตของตนเองและมองชีวิตต่าง ไปจากเดิม วิวัฒนาการไมใ่ ชก่ ารเปลีย่ นแปลงของสิ่งรอบขา้ งเรา หากแต่เปน็ ววิ ฒั นาการภายในที่ผุดบังเกิดขนึ้ มาเอง และท�ำใหเ้ รามีทกั ษะท่สี ามารถสร้าง การเปล่ียนแปลงภายนอกได้ สิ่งนี้คือความทรงพลังของการฟังเสียง วิวัฒนาการ” เสียงของโลก ตวั ตนในอนาคต และเสียงของเดก็ วิกรัมกล่าวว่าเสียงของวิวัฒนาการมี 3 รูปแบบ คือ เสียงของโลก ตวั ตนในอนาคต และเสยี งของเดก็ เสยี งของววิ ฒั นาการแตล่ ะรปู แบบมเี สยี งที่ หลากหลาย เช่น เสียงของเด็ก อาจไม่ได้เชื่อมโยงกับลูกเท่าน้ัน แต่อาจเป็น เยาวชนรุ่นต่อไปซ่ึงไม่ใช่ลูกหรือหลานแท้ ๆ ของเรา หรือเป็นเสียงของเรา ในวยั เดก็ กไ็ ด้ สว่ นเสยี งของโลกอาจเปน็ การเชอื่ มโยงกบั ธรรมชาติ หรอื ตวั ตน ของคนรนุ่ กอ่ น เช่น ผอู้ าวโุ สหรอื บรรพบุรษุ ของเราก็ได้ วกิ รมั สาธติ การฟงั เสยี งววิ ฒั นาการโดยขออาสาสมคั รหนงึ่ ทา่ นมาเปน็ ผฟู้ งั เสียงววิ ัฒนาการ วิกรัมอธบิ ายขัน้ ตอนการฟงั เสียงววิ ฒั นาการวา่ “เร่ิมจากการสมมุติพ้ืนท่ีวงกลมตรงหน้าของเรา แบ่งวงกลมออกเป็น สองด้าน ดา้ นแรกคือคร่ึงวงกลมที่ยังไมส่ มบูรณ์ เป็นครึ่งวงกลมของอดีตหรือ 71
ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น สง่ิ เกา่ ส่วนอีกดา้ นหนึง่ คอื ครึง่ วงกลมของความเปน็ ไปไดใ้ หม่ ๆ ท่ีจะใหอ้ าสา สมคั รเขา้ มาเตมิ เต็ม เราจะฟังเสียงท้ังสามรูปแบบ คือ เสียงจากตัวตนแห่งอนาคต เสียงของ โลก และเสยี งของเด็ก ซ่ึงการฟังเสยี งแตล่ ะเสยี งจะอยใู่ นตำ� แหนง่ ท่ีต่างกนั ไป ในแตล่ ะจดุ ท่ีเราเลอื กยืน พื้นท่ตี รงกลางคือจุดของเสียงจากปัจจบุ ัน ณ ขอบ ของอาสาสมัคร ขั้นตอนแรก ให้อาสาสมัครระบุขอบของตนเองท่ีอยากให้มีวิวัฒนาการ และระบุการกระท�ำท่ีจะน�ำมาเช่ือมโยงกับเสียงของวิวัฒนาการ หลังจากน้ัน ให้อาสาสมัครก้าวสู่พ้ืนท่ีปัจจุบันบนขอบของอาสาสมัคร แล้วให้อาสาสมัคร เลือกจุดท่ีต้องการไปขึ้นมาจุดหนึ่ง แล้วเคลื่อนกายไปยังจุดท่ีสมมุติไว้ (เสียง ของโลก เสยี งตัวตนในอนาคต และเสยี งของเดก็ ) เมอื่ เขา้ ไปยนื ตรงจดุ ทเ่ี ลอื กแลว้ ใหเ้ ขา้ ไปสมั ผสั หรอื รบั รวู้ า่ มเี สยี งใดทก่ี ำ� ลงั สื่อสารกับตัวเรา แล้วพูดสิ่งที่เสียงนั้นส่ือสารกับเราออกมา รวมถึงระบุเฉดสี ท่ีสอดคล้องกับคล่ืนพลังงานตรงน้ัน เพ่ือให้สามารถจดจ�ำความรู้สึกหรือ พลังงาน ณ จดุ ทย่ี ืนได้ เมื่อท�ำขั้นตอนครบในจุดหนึ่งแล้วกลับไปยืนตรงกลางอีกคร้ัง แล้วท�ำ เหมอื นเดมิ ในจดุ ใหมจ่ นครบสามจดุ หลอมรวมสที รี่ ะบใุ นแตล่ ะจดุ เขา้ ดว้ ยกนั เมอื่ กลบั ไปยนื ตรงกลางแต่ละคร้งั ” หลังจากน้ันวิกรัมสาธิตกระบวนการฟังเสียงวิวัฒนาการกับอาสาสมัคร ท่านหน่งึ ระบุขอบของตนเอง และการกระท�ำที่จะน�ำมาเชื่อมโยงกับเสียงของ วิวัฒนาการ อาสาสมัคร : ขอบของผมคือการใช้ชีวิตในแบบของตนเอง เป็นชวี ติ ทใ่ี ช้ สญั ชาตญาณ ซงึ่ อาจเปน็ การหยดุ ทำ� งานสกั หนง่ึ ถงึ สองเดอื น และการสามารถ เลือกท�ำงานท่สี อดคลอ้ งกับเสียงภายในของตนเอง 72
Leadership for Transcendence (สีที่สอดคล้องกับพลงั งานในพืน้ ท่ีตรงจดุ น้ี คือ สนี �้ำเงนิ ) ก้าวไปยืนต�ำแหน่งเสียงของเด็ก และรับฟังเสียงของเด็ก อาสาสมัคร : มีความรู้สึกหลากหลาย อยากจะบอกพ่อว่า เวลาพ่อ ไมอ่ ยู่บ้าน รู้สึกเบอ่ื คดิ ถงึ อยากเล่นด้วย แตพ่ วกเราไมเ่ ป็นไร ไมต่ ้องเป็นหว่ ง (สีทส่ี อดคล้องกบั พลังงานในพ้นื ทตี่ รงจุดน้ี คือ สแี ดง) วกิ รมั : ไดย้ นิ เหมอื นเปน็ เสียงของครอบครวั และชมุ ชนของคุณ หรอื เสยี ง ของคนท่ีเฝ้าคอยเรากลับบ้าน ขอเชิญให้คุณอยู่กับตัวเอง สัมผัสความรู้สึก กอ่ นจะกลบั ไปยงั จดุ เรม่ิ ตน้ ถา้ เราเชอ่ื มโยงกบั พลงั งานอาจสมั ผสั ไดว้ า่ พลงั งาน ที่เราได้รับ จะต่างกันระหว่างจุดนี้กับจุดเดิม ณ ตรงกลางวง เม่ือกลับมายัง จุดของตัวตนปัจจุบันแลว้ ใหเ้ ดินตอ่ ไปยังต�ำแหนง่ เสยี งของโลก ก้าวไปยืนในต�ำแหน่งเสียงของโลก และรับฟังเสียงของโลก อาสาสมคั ร : อยากใหไ้ วว้ างใจและรสู้ กึ มน่ั คง อยากใหใ้ ชช้ วี ติ ใหเ้ ตม็ ทแี่ ละ มคี ณุ คา่ โลกมั่งค่งั และพรอ้ มทีจ่ ะใหเ้ รา โลกเหมอื นสนามเด็กเล่น อยา่ ใช้ชวี ติ อย่างคับแคบ จํากัดตัวเอง คุณไม่ได้เกิดมาเพียงแค่เป็นคนดีหรือคนท่ีสังคม ยอมรับ น่ันไม่ใช่เป้าหมายของวิวัฒนาการ ศักยภาพของจักรวาล ไม่ใช่แค่ โลกที่อยู่ในตัวคุณและมนุษย์ทุกคน ถ้าคุณคอยแต่กังวลว่าจะอยู่รอดไหม คนจะรักจะชอบเราไหม ชีวิตคุณก็จะไม่ไปไหนเลย ซ่ึงแม้จะไม่ได้ผิดอะไร แตอ่ าจไมใ่ ช่สิง่ ทีฉ่ นั (เสยี งของโลก) วางแผนไว้ให้กบั คุณ (อาสาสมัคร) (สีท่สี อดคล้องกับพลังงานในจดุ นี้ คอื สีม่วง) วิกรมั : เดินกลับไปยังจุดของตวั ตนในปัจจุบนั อีกคร้ัง ขณะนสี้ นี �้ำเงินของ คณุ จะมสี แี ดงและสมี ว่ งรวมอยดู่ ว้ ย ตอ่ ไปใหเ้ ดนิ ไปสเู่ สยี งหรอื ตวั ตนในอนาคต ก้าวไปยืนต�ำแหน่งเสียงของตัวตนในอนาคต และรับฟังเสียงของตัว ตนในอนาคต อาสาสมัคร : รู้สึกสบายและข�ำ ต้ังแต่ตอนที่นายตัดสินใจไม่ท�ำงาน 73
ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น การสาธติ แบบฝึกหัด ทกั ษะการฟงั เสยี งของวิวฒั นาการ 74
Leadership for Transcendence สองสามเดือน ชีวิตดีข้ึนมากเลย ท�ำไมเพ่ิงคิดได้ น่าจะท�ำตั้งนานแล้ว นกึ วา่ นายจะตายแลว้ ตอนนน้ั เพอ่ื น ๆ ของนายตายไปหลายคนจากโรคมะเรง็ ความดัน เบาหวาน นายตัดสินใจได้ดีมาก นายโชคดีที่ไม่ต้องท�ำงานประจ�ำ นายมที ีมงานท่ีเก่ง มคี รอบครัวทีด่ ี แต่นายมักเอาส่งิ ต่าง ๆ แบกใสห่ ัวตวั เอง ไว้ ทำ� ใหไ้ มไ่ ด้ท�ำในสง่ิ ท่อี ยากท�ำ ถ้านายได้ท�ำส่ิงท่ีอยากท�ำจะมีความสุขมาก เพราะครอบครัว เพื่อนฝูง ทุกคนรอบตัวของนายได้ประโยชน์ไปด้วย นายอาจสร้างงานใหม่ ไม่ต้อง ทำ� งานเดมิ หรอื ถา้ อยากเปน็ นกั ดนตรตี ามบาร์ ไปออกกำ� ลงั กาย หรอื ถา้ อยาก พาลูกชายไปอยู่ตามประเทศต่าง ๆ ก็ลงมือท�ำเลย แล้วนายจะค้นพบว่ามี อีกหลายสง่ิ ท่ียงั ไม่ร.ู้ ..” (สีทีส่ อดคล้องกับพลงั งานในจดุ น้ี คือ สีเขยี ว) วิกรัม : เดินกลับไปยังจุดของตัวตนในปัจจุบัน ให้เวลาในการหลอมรวม ทกุ ๆ สเี ขา้ มาอย่ใู นตนเอง หลงั จากเสรจ็ สนิ้ การสาธติ ทกั ษะการฟงั เสยี งของววิ ฒั นาการ อาสาสมคั ร ได้แบ่งปันประสบการณ์ไว้ว่า “ไม่คิดว่าจะรู้สึกสั่นไหวขนาดน้ี แต่เป็น ความรู้สึกที่ดี สิ่งหนึ่งท่ีสังเกตได้ คือ เมื่อยืนอยู่ตรงกลางแล้วต้องเลือกเดิน ไปยังเสียงต่าง ๆ ก็ทราบได้ทันทีว่าเสียงรูปแบบใดท่ีท�ำให้ส่ันไหว จึงเลือก เดินไปทางเสียงของเด็กก่อน ตอนแรกไม่อยากพูดออกมาเพราะเต็มไปด้วย ความรู้สกึ เสียงที่ออกมาดเู หมือนเปน็ เสียงของเดก็ ๆ ก�ำลังบ่น แตท่ จ่ี รงิ แล้ว แตไ่ มใ่ ช่ เขาสนบั สนนุ เราดว้ ยซำ้� แตผ่ มอาจไมไ่ ดพ้ ดู หมด มเี สยี งทบ่ี อกวา่ ดแี ลว้ ทพ่ี อ่ เดนิ ทาง เพราะพวกเราอยากเดนิ ไปทางไปกบั พอ่ ดว้ ย อยากจะรจู้ กั เพอื่ นๆ ทีพ่ ่อรู้จกั ซ่งึ เสียงน้ที �ำให้ใจเราเปดิ ออก นอกจากนี้ ได้เรียนรู้ว่าเราไม่ต้องคิดล่วงหน้าว่าจุดไหนจะพูดว่าอะไร เราเพียงแค่ก้าวออกไปก่อน ในแต่ละจุด แล้วเสียงภายในของเราจะค่อย ๆ ออกมาเอง เพียงแค่ต้องให้เวลากับมันมากพอและยินยอมให้อารมณ์ขึ้นมา แล้วปล่อยออกไป การที่มีช่วงให้อยู่ในความเงียบนั้นมีประโยชน์มาก รวมถึง 75
ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น การใหส้ ะทอ้ น หลงั จากพดู ในแตล่ ะจดุ กท็ ำ� ใหต้ ระหนกั วา่ ความรสู้ กึ ความคดิ ค�ำพูดของเด็ก หรอื ตวั ตนจดุ อืน่ ๆ นั้นมคี วามหมายอย่างไรกบั เรา และสมั ผัส เสยี งน้ันไดอ้ ย่างชดั เจนข้ึน” วกิ รมั กลา่ ววา่ เมอ่ื เขา้ ไปยนื แตล่ ะพนื้ ท่ี เรามกั ประหลาดใจกบั เสยี งทเ่ี ขา้ มา แมเ้ ราคดิ ไวล้ ว่ งหนา้ วา่ ตวั ตนในแตล่ ะจดุ จะสอ่ื สารกบั เราวา่ อะไร แตเ่ มอ่ื เขา้ ไป ยืนในพื้นที่นั้นแล้ว เราอาจค้นพบสิ่งใหม่หรือเสียงท่ีไม่เคยรับรู้มาก่อน สิ่งท่ี ควรปฏิบัติระหว่างท่ีเข้าไปสัมผัสกับตัวตนหรือรับฟังเสียงในแต่ละจุด คือให้ เราอยู่กับปัจจุบันขณะ ไม่ปิดกั้นเสียงใด ๆ ปล่อยให้ความคิดและค�ำพูดไหล ออกมาตามธรรมชาติ ในช่วงบ่ายของการอบรมวันสุดท้าย วิกรัมให้ผู้เข้าร่วมแต่ละท่านจับคู่ ผลัดกันท�ำกิจกรรมการฟังเสียงวิวัฒนาการ โดยผู้เข้าร่วมบางท่านได้แบ่งปัน หลงั จากท�ำกจิ กรรมไวว้ ่า ผเู้ ขา้ รว่ ม : พอทำ� กจิ กรรมแลว้ รสู้ กึ วา่ สงิ่ ทเี่ ราตอ้ งการจะทำ� นนั้ มคี วามเปน็ ไปได้มากข้นึ และอยากจะท�ำมันดว้ ยตวั เราจริง ๆ ณ ขณะท่ีทำ� กระบวนการ ผมใหแ้ มเ่ ปน็ ตวั แทนของเสยี งโลก เปน็ สงิ่ ทพี่ ยายามหลบเลยี่ งและไมอ่ ยากฟงั มานาน พอนึกถงึ ว่าทา่ นจะบอกอะไรกับเรา แล้วเราพูดส่ิงนั้นออกมากน็ ้�ำตา ไหลเลย ร้สู กึ ว่าไดร้ บั ฟังเสียงทหี่ ลบซอ่ นอยู่จริง ๆ กจิ กรรมนีท้ ำ� ใหเ้ ราค้นพบ คุณคา่ ในท่ที ่เี ราจะกา้ วไปวา่ มีคุณคา่ อยา่ งไร ควรคา่ ที่เราจะเดินไปอยา่ งไร ผู้เข้าร่วม : เราไดร้ บั ฟังเสยี งท่ีเราไมเ่ คยสนใจท่จี ะฟงั และเกดิ ความรู้สึก ที่สั่นไหวอย่างมากในบางจุดท่ีส่งแรงสะเทือนมาให้เรา ถือเป็นประสบการณ์ ท่ีดีมากท่ีได้ฟังเสียงท้ังจากตัวเราในวัยเด็ก จากโลกที่มีต่อเรา และเสียงของ ตวั เราเองในอนาคต การไดย้ นิ เสยี งเหลา่ นี้ จะทำ� ใหเ้ รามคี วามชดั เจนและเขา้ ใจ ในสง่ิ ทเี่ ราทำ� งานกับมันอยู่ และทำ� ให้เราเคล่อื นตอ่ ไปได้บนขอบ ผู้เข้ารว่ ม : มคี �ำถามเกิดข้นึ ระหว่างท�ำกระบวนการ คอื ถ้าเราเลือกเดิน ไปยงั จดุ ทเี่ ป็นเสียงของเด็กกับเสยี งของโลก กอ่ นทจี่ ะเดนิ ไปในจุดที่เปน็ เสียง ของตวั ตนในอนาคต จะดีกว่าหรือไม?่ ” 76
Leadership for Transcendence วิกรัม : ถ้าให้ตอบอย่างซ่ือสัตย์คือไม่ทราบครับ ถ้าใช้เหตุผลอธิบายใน เร่ืองน้ีอาจเป็นว่าถ้าเราเดินไปในจุดของตัวตนในอนาคตหลังจากเสียงของ โลกและเด็ก อาจจะท�ำให้ตัวตนในอนาคตได้ยินสองเสียงน้ีก่อนและเกิด การหลอมรวมเข้ากับตัวตนในอนาคตได้ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม แต่ละขอบจะมี ความเป็นปัจเจกของเขาอยู่ เพราะฉะนั้น ให้เชื่อม่ันในปัญญาและแรงดึงดูด ว่าเสียงของวิวัฒนาการรูปแบบใดเรียกหาเราก่อน ปัญญาตรงนั้นมากกว่า สมองของผมจะตอบได้ เพราะเป็นปัญญาจากสิ่งท่ีใหญ่กว่า วิวัฒนาการ เกิดจากการที่จิตใต้ส�ำนึกหรือจิตไร้ส�ำนึกของบุคคลที่ค่อยๆ โผล่ขึ้นมาสู่ จติ สำ� นกึ ดงั นน้ั ผทู้ เ่ี ปน็ โคช้ ควรทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ เพยี งกระบวนกรหรอื ผสู้ นบั สนนุ ใหบ้ คุ คลนน้ั ๆ เดนิ ไปยงั พนื้ ทต่ี า่ ง ๆ ของเสยี งววิ ฒั นาการดว้ ยตวั เขาเอง แทนที่ โค้ชจะสงั่ การใหเ้ ดนิ ไปในจดุ ตา่ ง ๆ ผู้เข้าร่วม : ถ้าเรากลับไปท่ีบ้านแล้วเจอพ้ืนท่ีที่มีพลังและสามารถ เช่ือมโยงได้ เราจะสามารถท�ำกระบวนการนเี้ องคนเดยี วได้ไหม? วกิ รมั : ทำ� เองไดแ้ นน่ อน ยง่ิ ถา้ เราทำ� ในพนื้ ทที่ เี่ ราเคยทำ� สมาธหิ รอื ภาวนา เพราะการท�ำกิจกรรมน้ี ความสงบเงียบจะช่วยท�ำให้การฟังเสียงวิวัฒนาการ มีพลงั มากขนึ้ นอกจากนี้ สีท่เี ราระบุในแต่ละจุดของเสยี งววิ ัฒนาการ จะเปน็ ด่ังสมอทอดลงไปท�ำให้เราสามารถเชื่อมโยงหรือหยิบจับพลังงานในแต่ละจุด มาใช้ได้ดีขึ้นและเข้ามาในใจเราอย่างแท้จริง และนอกจากการคิดพลังงานใน แต่ละจดุ ใหเ้ ป็นสีแลว้ เราอาจคดิ เป็นภาพไดเ้ ชน่ กัน ผู้เข้าร่วม : เป็นกิจกรรมท่ีทรงพลังมาก การเข้าไปรับรู้โดยไม่คิด ล่วงหน้า ท�ำให้เราปลดความเช่ือบางอย่างในอดีตที่เคยยึดติดได้ ตอนเดิน เข้าไปในแต่ละจุด เราไม่ได้มีภาพในใจมาก่อนว่าจะเป็นเช่นไรหรือมีบท สนทนาใด แตเ่ ราสามารถสมั ผัสหรอื รบั รไู้ ด้เอง เหมอื นเปน็ ปญั ญาญาณที่เกิด ณ ขณะน้ัน ท�ำให้เราเช่ือสนิทใจว่าเสียงจากตัวตนท้ังสามรูปแบบท่ีได้ฟังนั้น เปน็ เสียงทีจ่ ริงแท้ อกี ประเด็นหนง่ึ คอื การทมี่ โี คช้ หรือบุคคลอีกคนอย่กู บั เรา 77
ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น เพ่ือช่วยเป็นประจักษ์พยานรับรู้ส่ิงที่ก�ำลังปรากฏแก่เรานั้นมีความหมายมาก ทำ� ให้เราเขา้ ถึงปญั ญาญาณไดง้ า่ ยขนึ้ ผู้เข้าร่วม : สิ่งส�ำคัญของกระบวนการน้ี คือ หลังจากที่เรากลับมาอยู่ใน พื้นท่ีตัวตนในปัจจุบันแล้ว เราควรมีเวลาได้น�ำเสียงต่าง ๆ ท่ีได้ยินและสีที่ เราเลือกให้ตัวแทนพลังงานในแต่ละจุดมาหลอมรวมกัน และใคร่ครวญว่า ส่งิ ใดจะเกิดขึน้ กบั ตัวเรา หรอื เราควรทำ� สิง่ ใด ณ ปัจจุบัน หากกระบวนกรให้ เวลาเราใครค่ รวญหรอื สรุปขอ้ ความส�ำคญั จากเสยี งตา่ ง ๆ ของววิ ัฒนาการท่ี ไดฟ้ งั จะทำ� ใหเ้ ราเหน็ ภาพชวี ติ บนขอบชดั เจนขน้ึ คลา้ ยเปน็ การบรู ณาการมใิ ช่ แยกสว่ นเปน็ ช้ิน ๆ วิกรัม : หากเราสามารถอยู่กับปัจจุบันขณะหรือสิ่งที่เกิดข้ึนได้อย่าง เตม็ เปย่ี ม เสยี งของววิ ฒั นาการจะอยกู่ บั เราไดย้ าวนาน ผู้เข้าร่วม : หากเราเดินไปถึงจุดที่เป็นเสียงของเด็ก แล้วคิดหรือพูดแต่ เร่อื งลบหรอื สนิ้ หวังออกมา เราควรจะทำ� อย่างไร? วกิ รมั : สำ� หรบั ผฟู้ งั เสยี งววิ ฒั นาการ ขนั้ แรกใหเ้ ราลองรกั ดา้ นมดื ของเรากอ่ น หากเรามีความกลวั แทนที่เราจะได้ยนิ เสียงของววิ ัฒนาการ เราจะได้ยินเสียง ของการเอาตวั รอดแทน ววิ ฒั นาการ คอื การปลดปลอ่ ยพลงั แหง่ การเอาตวั รอด ออกไป ถา้ เราปลดปลอ่ ยออกไปมากเท่าไหร่ เราจะยิ่งได้เสียงของวิวัฒนาการ ชัดข้ึน แต่ในขณะเดียวกันเราควรให้ความรักและเคารพต่อเสียงของ การเอาชีวิตรอดด้วย บางคนยังมีความโกรธหรือความกลัวอยู่มาก ดังนั้น ขอบทบ่ี ุคคลนัน้ ๆ ตอ้ งทำ� งานก่อน อาจเป็นการเผชิญกบั ความกลัวหรอื โกรธ ก่อนท่ีจะเข้าไปฟังเสียงวิวัฒนาการ ส�ำหรับกระบวนกร เราควรฟังเสียง ภายในของคนทเ่ี ราก�ำลงั ทำ� กระบวนการดว้ ยความเคารพ รอจนเขาเปดิ ใจพดู เกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการออกมา กระบวนการฟงั เสยี งววิ ฒั นาการนไ้ี มใ่ ชก่ ารบงั คบั แตค่ อื การโอบอมุ้ จนเสียงผดุ ขึน้ มา การท่ีบุคคลหน่ึงโกรธหรือกลัวมากอาจเป็นเพราะเขาน�ำบาดแผลหรือ ความเจ็บปวดในชีวิตมาหลอมรวมเป็นตัวตนของเขาเอง เขาไม่ได้มองว่า 78
Leadership for Transcendence ผู้เข้ารว่ มแบ่งปนั ความคดิ และความรู้สึก ต่อการอบรมทผี่ ่านมาสามวนั 79
ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น บาดแผลกับตัวตนเป็นคนละอย่างกัน เพราะฉะน้ัน ในการเดินบนขอบ คนเราควรมองให้เห็นว่าตัวเราเป็นตัวตนท่ีสมบูรณ์ บาดแผลเป็นเพียงเส้ียว ส่วนหน่ึงของเรา และอาจเป็นไปได้ว่า เมื่อเราเดินไปยังพ้ืนท่ีเสียงของเด็ก เราอาจพดู ออกมาในดา้ นลบดว้ ยความโกรธหรอื กลัว แต่เมอ่ื เดนิ ไปยังจดุ ของ ตวั ตนในอนาคต เรากลบั พดู ออกมาเปน็ เสยี งใหมท่ ม่ี คี วามหวงั ทงั้ น้ี ในกระแส หลักที่คนเราใช้ชีวิตอยู่ คนเรามักมีเสียงเพ่ือการเอาตัวรอดเสียเป็นส่วนใหญ่ ดงั นั้น เราจงึ ควรฝกึ ฝนตนเองใหไ้ ดย้ นิ เสยี งของววิ ัฒนาการเปน็ ประจำ� ผู้เข้าร่วม : หากเราท�ำหน้าท่ีเป็นกระบวนกรในการฟังเสียงวิวัฒนาการ เราควรให้บุคคลที่เราท�ำงานด้วยเดินไปในสามจุดให้เสร็จก่อนแล้วจึงมาสรุป หรือท�ำความเข้าใจกับเขา หรือว่าเราควรให้เขาเดินไปฟังทีละเสียงแล้วกลับ มาพดู คยุ เปน็ ครง้ั ๆ ไป? วิกรัม : ส่ิงส�ำคัญของกระบวนการ คือ เม่อื อย่ตู รงจดุ ใดหนง่ึ ในเสยี งสาม รูปแบบแล้วให้กระบวนกรน�ำพาเขากลับมาตรงจุดปัจจุบันของเขา คือให้ไป จุดหน่ึงแล้วกลับมาก่อน เพื่อน�ำพลังส่วนนั้นมาหลอมรวมกับตัวตนปัจจุบัน ทีละจุดแทนท่ีจะท�ำทีเดียว ในการเป็นกระบวนกร เราไม่ควรส่ังให้ผู้รับ การโคช้ ไปทางทเ่ี ราตอ้ งการ แตจ่ ะใหเ้ ขาเลอื กทางเดนิ ดว้ ยตนเองและเฝา้ คอย ให้เสียงของวิวัฒนาการของเขาผุดขึน้ มาตามธรรมชาติ ดงั เรอ่ื งราวทเี่ กยี่ วกบั นำ�้ อมฤตในอนิ เดยี เมอื่ เทพกบั อสรู เรม่ิ กวนนำ�้ อมฤต ก่อนที่น้�ำอมฤตจะขึ้นมา พิษท่ีอยู่ช้ันสูงกว่าจะถูกกวนข้ึนมาก่อน น้�ำอมฤต อาจเปรียบได้กับวิวัฒนาการ และพิษเปรียบได้กับความเจ็บปวด ความเศร้า ความกลัว ในเครื่องมือภูเขาน�้ำแข็ง ช้ันแรก ๆ ของน้�ำแข็งส่วนที่อยู่ใต้น้�ำ เช่นความเจ็บปวดหรือความเศร้าที่โผล่ขึ้นมาน้ันเปรียบเหมือนพิษที่ลอยข้ึน มาก่อน ส่ิงที่เราต้องท�ำ คือ เข้าไปโอบอุ้มความเศร้าความเจ็บปวดของเรา จนกระทั่งถึงจุดหนง่ึ ทเี่ ราตระหนักรวู้ ่าไมจ่ ำ� เปน็ ต้องทำ� เชน่ น้ันอกี ตอ่ ไป 80
Leadership for Transcendence การเดนิ บนขอบในชีวติ ประจำ� วนั วกิ รมั กลา่ ววา่ สงิ่ หนง่ึ ทจ่ี ะชว่ ยในการรบั รขู้ อบของเราในชวี ติ ประจำ� วนั คอื เมื่อเรามบี ทสนทนาที่ไมล่ งตัวหรอื ขดั แยง้ กนั กบั ผู้อ่นื ให้ลองใชช้ ว่ งเวลานเ้ี ป็น โอกาสท่ีเราจะได้ฝึกเฝ้าดูขอบที่ซ่อนอยู่ในการสนทนา จากน้ันวิกรัมชวนให้ ผเู้ ขา้ รว่ มนกึ ถงึ บทสนทนาทม่ี ขี อบซงึ่ ผเู้ ขา้ รว่ มอยากใหเ้ กดิ ขน้ึ ในชว่ งสามเดอื น ขา้ งหน้า อาจเป็นบทสนทนาเก่ยี วกบั การล้างอดีต การนำ� สิ่งใหมเ่ ขา้ มา หรอื การเรียนรสู้ งิ่ ใหม่ ซ่งึ จะชว่ ยส่งเสรมิ การเดินบนขอบได้เปน็ อยา่ งดี ก่อนที่ผู้เข้าร่วมจะลงมือปฏิบัติ วิกรัมได้ยกตัวอย่างบทสนทนาที่มีขอบ โดยน�ำขอบของเขาเองในเรื่องการใช้ชีวิตให้ช้าลงมาเป็นตัวอย่าง วิกรัมและ ผู้เข้าร่วมได้ช่วยต้ังค�ำถาม โดยมีค�ำถามท่ีส�ำคัญ เช่น ชีวิตเป็นเช่นไรบ้าง เมื่อช้าลง? เราอยู่ ณ จุดไหนของขอบแล้ว? เราควรพูดคุยกับใครเพ่ือให้ ความช่วยเหลอื เราในการเดนิ บนขอบ? วกิ รมั ได้คำ� ตอบจากบทสนทนา ดังนี้ “ขอบของผมคอื การทำ� ใหช้ วี ติ ชา้ ลง บทสนทนาแบบมขี อบของผมทอี่ ยาก ให้เกดิ ในสามเดือนขา้ งหนา้ ประการแรก คอื การพูดคยุ กับตวั เอง โดยอาจท�ำ แผนภาพใหเ้ หน็ ภาพวา่ ตอนนเ้ี ราอยู่ ณ จดุ ไหน เพอ่ื ประเมนิ ตนเองวา่ เราใชช้ วี ติ ชา้ ลงแลว้ หรอื ยงั ผมอาจคอยถามคำ� ถามสำ� คญั กบั ตวั เองทกุ วนั หรอื ทกุ สามวนั ประการต่อมา คือ การพูดคุยกับคนที่ได้รับผลกระทบจากการท่ีผมเดิน บนขอบ จะท�ำให้ผมทราบว่าจะได้รับความช่วยเหลือหรือการส่งเสริมจาก บุคคลเหล่าน้ีมากน้อยอย่างไร ดังนั้น ผมอาจไปพูดคุยกับภรรยาของผมเพ่ือ ชว่ ยผมในการเดนิ บนขอบ รวมถงึ คยุ กบั ลกู คา้ ทจ่ี า่ ยใหผ้ มมากทสี่ ดุ ใหเ้ ขาชว่ ย ผมในการท�ำชีวติ ใหช้ ้าลง และผมจะพดู คุยกับทีมงานที่ผมท�ำงานดว้ ย เพราะ พวกเขายงั คุ้นเคยกบั จังหวะ 81
ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น การท�ำงานที่เร็วของผมในอดีต จึงต้องพูดคุยเพ่ือท�ำให้เกิดความเข้าใจ ใหม่” ผู้เข้าร่วมเสนอว่าวิกรัมอาจสร้างวงสนทนากับผู้คนเก่ียวกับความงาม ในการใชช้ วี ติ อยา่ งเนบิ ชา้ รวมถงึ สอื่ สารกบั แมแ่ ละญาตขิ องวกิ รมั เพอื่ สง่ เสรมิ การเดนิ บนขอบของเขา สว่ นสมี ากลา่ วเสรมิ วา่ เมอ่ื เราเขา้ ไปสนทนากบั คนทไี่ ด้ รับผลกระทบจากการเดนิ บนขอบของเรา อาจใชว้ ิธีการใหม่ ๆ ในพูดคยุ และ หาแนวทางเดนิ บนขอบท่เี กิดประโยชน์แก่ท้งั สองฝ่าย หลังจากนั้นผู้เข้าอบรมได้จับกลุ่มกันเพ่ือแลกเปล่ียนบทสนทนาท่ีมีขอบ ของตนเอง และปิดท้ายการอบรมด้วยการแบ่งปันความคิดและความรู้สึก ต่อการอบรมที่ผ่านมาสามวนั ของผเู้ ขา้ ร่วม 82
Leadership for Transcendence สรุปทา้ ยหลกั สูตร ในสามวันของการอบรมหลักสูตรภาวะการน�ำที่ ด�ำรงอยู่บนขอบ ผู้เข้าร่วมได้ทราบนิยามของการเดิน บนขอบ ตระหนักว่าการเป็นสักขีพยานในการเดิน บนขอบนั้นส�ำคัญต่อการเดินบนขอบอย่างมีทางเลือก อย่างไร รวมถึงได้เรียนรู้ทักษะต่าง ๆ ในการเดินบนขอบ ไม่ว่าจะเป็นวิธีในการโอบอุ้มข้ัวความต้องการสองฝั่งที่ อยู่บนขอบ หลังจากนั้นได้ฝึกสร้างตัวป่วนที่สร้างสรรค์ ข้ึนมาท�ำให้ได้ความเชื่อใหม่ในการเดินบนขอบ ต่อมา ผู้เข้าร่วมได้ค้นพบการกระท�ำท่ีส่งเสริมความเชื่อใหม่นั้น ดว้ ยการหลอมรวมญาณทศั นะเขา้ กบั ความคดิ แบบมตี รรกะ เหตผุ ล รวมถงึ เขา้ ไปฟงั เสยี งของววิ ฒั นาการภายในตนเอง ซง่ึ ชว่ ยใหท้ ราบวา่ การกระทำ� บนขอบทเี่ ราใชท้ ง้ั ญาณทศั นะ และเหตุผลเลือกมานั้นสอดคล้องหรือไม่อย่างไรกับตัวเรา เพื่อให้เราเดินและเติบโตไปบนขอบได้อย่างมีคุณภาพและ จริงแท้ยง่ิ ขนึ้ สุดทา้ ย ผ้เู ข้ารว่ มได้นกึ ถึงบทสนทนาทม่ี ีขอบ ในสามเดอื นขา้ งหนา้ ทจี่ ะสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การกระทำ� บนขอบ ทที่ ำ� ได้จริงในทางปฏิบตั ิ 83
หลกั สตู รท่ี 2 การนำ� ดว้ ยญาณทัศนะ (Leading with Intuitive Intelligence)
ในสังคมยุคปัจจุบัน ผู้คนส่วนใหญ่เช่ือม่ัน ในการคิดโดยใช้เหตุผลและตรรกะ แต่กลับหลงลืม ที่จะฟังเสียงญาณทัศนะภายในท่ีมีความลึกซ้ึง ย่ิงกว่า ไอน์สไตน์เป็นนักวิทยาศาสตร์คนส�ำคัญ ของโลกท่ีเชื่อมั่นในพลังของการใช้ปัญญาญาณ ที่อยู่เหนือความคิด เขาเคยกล่าวว่า “ญาณทัศนะ เป็นของขวัญอันศักด์ิสิทธิ์ ส่วนความคิดเชิงตรรกะ เป็นทาสรับใช้ผู้ซ่ือสัตย์ เราได้สร้างสังคมที่ให้ค่ากับ ทาสรับใช้มากกว่าของขวัญอันล้�ำค่า” การคิดเชิง ตรรกะสามารถเผยความจริงได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ในขณะที่ญาณทัศนะเป็นปัญญาอันต่ืนรู้ที่หลอมรวม เอาประสบการณต์ ่าง ๆ ในชวี ติ และความคิดจากทงั้ จิตส�ำนึกและจิตไร้ส�ำนึก เพ่ือประมวลผลแบบแผน (Patterns) ของขอ้ มูลทัง้ จากโลกรอบตัวเราและจาก โลกภายในอันร่มุ รวยของเราเอง ในโลกท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในศตวรรษ ท่ี 21 ผู้น�ำยุคใหม่จ�ำเป็นต้องตัดสินใจเร่ืองที่ยาก และซับซ้อนโดยมีเวลาและข้อมูลที่จ�ำกัด การตัดสิน ใจโดยพึ่งพาความคิดเชิงตรรกะจึงไม่เพียงพออีก ต่อไป การใช้ญาณทัศนะควบคู่กับการใช้เหตุและผล
จะช่วยให้ผู้น�ำยุคใหม่สามารถตัดสินใจได้อย่าง ชาญฉลาดย่ิงข้ึนและสามารถสร้างสรรค์ไอเดียใหม่ ๆ ได้ดีขึ้น ทั้งนี้ การตระหนักรู้ในตนเอง (Self- awareness) และความรู้ (Knowledge) มสี ่วนสำ� คัญ ในการใช้ญาณทัศนะได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน หลักสูตรการอบรมหัวข้อการน�ำด้วยญาณทัศนะ (Leading with Intuitive Intelligence) เป็น หลักสูตรการอบรมล�ำดับท่ีสอง ภายใต้ชุดการอบรม เชิงปฏิบัติการภาวะการน�ำเพ่ือการข้ามพ้น ใน การอบรมครั้งนี้ คุณวิกรัม ภัฏฏ์ ให้เกียรติมาเป็น วิทยากรหลักอีกครั้ง ร่วมด้วยคณะวิทยากรจาก Leadership That Works และมีล่ามสองท่าน คือ คุณณัฐฬส วังวิญญู และคุณไพลิน จิรชัยสกุล โดยตลอดสามวันของการอบรม ผู้เข้าร่วมได้ท�ำ ความเข้าใจความหมายและหลักการต่าง ๆ เก่ียวกับ ญาณทัศนะ และฝึกทักษะในการเข้าถึงญาณทัศนะ รวมถึงเรียนรู้เก่ียวกับจริยธรรมในการใช้ญาณทัศนะ เพ่ือให้น�ำญาณทัศนะไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่าง เหมาะสม
การอบรมวนั ที่ 1 ความหมายของญาณทศั นะ การเข้าถงึ ญาณทัศนะ และหลักการที่เก่ยี วกบั ญาณทัศนะ ในช่วงเช้าของการอบรมวันแรก วิกรัมได้พาผู้เข้าร่วมไปรู้จักความหมาย และความสำ� คัญของญาณทัศนะ รวมถงึ สำ� รวจความเชอ่ื ประสบการณ์ และ ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมที่มีต่อญาณทัศนะ และแนะน�ำข้อปฏิบัติพื้นฐาน ในการเข้าถึงญาณทัศนะ ต่อมาในช่วงบ่าย วิกรัมได้อธิบายหลักการส�ำคัญ ทเ่ี กย่ี วกบั ญาณทศั นะสองหลกั การแรก ไดแ้ ก่ ความเปน็ สากล (Universality) และความมชี วี ิต (Living) ซ่ึงการเรียนรู้หลกั การทีเ่ กย่ี วกับญาณทศั นะนั้นจะ ช่วยให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจและสามารถใช้ประโยชน์จากญาณทัศนะได้ในระดับ ทีล่ กึ ย่งิ ขึ้น ความสำ� คัญและความหมายของญาณทัศนะ วิกรัมเกริ่นน�ำว่า “อยากชวนให้ผู้เข้าร่วมลองคิดว่า ญาณทัศนะเป็น อย่างไร บางคนอาจจะรู้สึกว่าญาณทัศนะเป็นสิ่งพิเศษที่มีเฉพาะในคน บางกลุ่ม แต่ท่ีจริงแล้วการมีญาณทัศนะไม่ได้เป็นความพิเศษแต่อย่างใด หากแตเ่ ปน็ ธรรมชาตทิ ม่ี อี ยใู่ นภายในตวั เราแตล่ ะคน เสมอื นลมหายใจทคี่ นเรา 89
ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น หลงลืม บางคนอาจกลัวที่จะเข้าไปสัมผัสญาณทัศนะ ส่ิงที่อยากจะเชิญชวน คือให้พวกเราลองเข้าไปสมั ผสั มนั ได้อย่างเต็มเปีย่ ม ส�ำหรับผม ญาณทัศนะไม่ใช่สิ่งที่ไร้เหตุผล หากแต่เป็นประตูท่ีน�ำไปสู่ ตรรกะที่ย่ิงใหญ่ขึ้น ในสามวันที่อยู่ร่วมกัน ลองอนุญาตให้ตัวเองไปเดินอยู่ บนขอบ (Edge) ไมว่ า่ เราจะเริ่มจากจดุ ไหน บางคนอาจจะมองว่าตัวเองไม่มี ญาณทศั นะเลย บางคนอาจมญี าณทศั นะมากจนไมท่ ราบวา่ จะจดั การอยา่ งไร หรือบางคนอาจเข้าถึงญาณทัศนะแล้วแต่ยังมีความสงสัยในตนเองอยู่ ยินดี ตอ้ นรบั ทุกเสย้ี วส่วนเขา้ มาอยู่ในพืน้ ที่น้ี เพราะการเรียนรอู้ ยู่ ณ ขอบทแ่ี ต่ละ ท่านท่ีจะต้องก้าวข้ามไป มิใช่อยู่บนพื้นที่ปลอดภัยที่เราคุ้นชินอยู่แล้ว เราจะ ไดเ้ รยี นรู้จากกนั และกนั ” จากนั้น ผเู้ ขา้ อบรมไดร้ ับโจทยใ์ ห้จบั คู่สนทนากันในประเด็นตอ่ ไปน้ี • คุณเป็นใคร มาจากทีใ่ ด • ทำ� ไมจึงเข้ามาเรียนรเู้ รือ่ งญาณทัศนะ • เมือ่ นึกถึงญาณทศั นะมีค�ำใดผุดขึน้ มาในความคิดบ้าง • ความกลัวของตนเองทีเ่ กีย่ วกับญาณทัศนะคืออะไร หลงั จากผเู้ ขา้ รว่ มไดส้ นทนากนั แลว้ กก็ ลบั มาแบง่ ปนั มมุ มองและตงั้ คำ� ถาม ในวงใหญ่ 90
Leadership for Transcendence ผู้เข้ารว่ ม : เวลาทเ่ี รากังวล เราจะสามารถมญี าณทัศนะได้หรอื ไม่? วิกรมั : ในเวลาท่ีเรากงั วล เราก็อาจสามารถมญี าณทศั นะได้ แตบ่ างคร้ัง อารมณ์ท่ีเกิดขึ้นจากความกลัวอาจเข้ามาปะปนกับญาณทัศนะ ตัวอย่างเช่น การตกหลุมรักคนคนหนึ่งอย่างมาก เรารู้สึกว่าญาณทัศนะก�ำลังบอกว่าคนน้ี เปน็ คนทใี่ ชส่ ำ� หรบั เราแนน่ อน แตท่ จี่ รงิ แลว้ เขาอาจไมใ่ ชค่ นทใ่ี ช่ เนอื่ งจากเวลา คนเรามีอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งที่รุนแรง อาจเกิดการผสมระหว่างอารมณ์กับ ญาณทัศนะทแ่ี ท้ เราจึงควรจะฝกึ แยกแยะใหอ้ อกวา่ อะไรคอื ญาณทศั นะและ อะไรคอื ส่วนท่ีเป็นอารมณแ์ ทรกเข้ามา คนส่วนใหญ่มักคิดว่าญาณทัศนะของคนเราจะอยู่ตรงหน้าผาก คอ หวั ใจ และศูนยร์ วมพลงั หรอื ก๋นึ บางคนอาจจะบอกวา่ เปน็ ตาทม่ี ญี าณทัศนะ แต่แท้จริงแลว้ ญาณทัศนะมตี ลอดเส้น น่ันคือเหตุผลว่าคนเราพูดวา่ “ใช้ก๋ึน” เพราะกึ๋นของคนเรามีความฉลาด มีปัญญาญาณ ราวกับเป็นสมองที่สอง ของเรา นอกจากน้ีญาณทัศนะคือการมีพลัง คือใจ คือการมองเห็นและพูด ออกมาได้ สีมา : ส�ำหรับฉัน ความกลัวกเ็ ป็นญาณทัศนะ มบี างคร้ังท่ีฉันสัมผสั ไดว้ า่ มี บางอย่างไม่ดีเกิดขึ้น ใจของฉันจะรับรู้แล้วกลัวข้ึนมา สิ่งนี้คือญาณทัศนะ ส�ำหรบั ฉัน ผู้เข้าร่วม : ญาณทัศนะมักจะมาเวลาเราไม่ได้ต้ังใจหรือจดจ่อกับส่ิงใด สิ่งหน่ึง การต้ังใจมากเกินไปจะไปจ�ำกัดการเรียนรู้เร่ืองญาณทัศนะหรือไม่? วิกรัม : ท่ีจรงิ แล้วญาณทัศนะเป็นเรือ่ งทค่ี วร “ต้งั ใจทำ� ใหน้ อ้ ย แต่อยู่กับ ปัจจุบันขณะให้เยอะ” ถ้าเราไม่พยายามท�ำอะไรเพ่ือให้ได้มาซ่ึงญาณทัศนะ จะทำ� ใหเ้ ขา้ ถงึ ญาณทศั นะไดง้ า่ ยขน้ึ เปรยี บเหมอื นการสรา้ งมติ รภาพกบั เพอ่ื น สนิทของเรา ญาณทัศนะเป็นเสมือนเพ่ือนที่เงียบและไม่ต้องการความใส่ใจ หรือถูกมองเห็นมาก แต่อยู่ตรงน้ันเพ่ือเราตลอดเวลา บางคร้ังเม่ือเราตกอยู่ ในอันตรายเพ่ือนคนนี้จะมาเตือนภัย หรือบางคร้ังเมื่อมีโอกาสท่ีดีรอเราอยู่ เพอ่ื นกส็ ่งสัญญาณบอกใหเ้ ราไขว่ควา้ โอกาสนเี้ อาไว้ 91
ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น ผู้เข้าอบรมจับค่ทู ำ� ความรู้จกั และสนทนา เกีย่ วกบั ความกลวั ของตนเองทเี่ กยี่ วกบั ญาณทัศนะ 92
Leadership for Transcendence อธิษฐาน์ : อยากขอบคุณคนท่ีจับคู่ด้วย ท�ำให้เราจ�ำได้ว่าท�ำไมจึงเลือก ท�ำเร่ืองญาณทัศนะ อาจารย์บอกว่าตัวเองสอนวิศวะ เราสงสัยว่าท�ำไมจึง มาเข้าร่วม อาจารย์บอกว่าเพราะข้อมูลท่ีมีอยู่ท้ังหมด ไม่ได้ช่วยให้ตัดสินใจ เกี่ยวกับโลกท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ ต้องอาศัยบางอย่างข้างในท่ีช่วย ท�ำให้เราเห็นหรือตัดสินใจบ้างเรื่องที่เราไม่รู้ได้ ญาณทัศนะจึงเป็นหน่ึงใน สิ่งส�ำคัญที่ผนู้ ำ� ต้องมี เพราะผนู้ ำ� ต้องตัดสินใจตลอดเวลา วิกรัม : สถาบันที่ท�ำการอบรมและวิจัยเก่ียวภาวะผู้น�ำแห่งหนึ่งใน สงิ คโปรไ์ ดก้ ลา่ ววา่ คณุ สมบตั ทิ ผ่ี นู้ ำ� ในศตวรรษท่ี 21 ควรมคี อื ญาณทศั นะและ ความรู้เนื้อรู้ตัว เน่ืองจากผู้น�ำไม่สามารถรู้ค�ำตอบที่ชัดเจนได้ทั้งหมด บางครั้งค�ำตอบอยู่ตรงหน้าแต่เราไม่รู้วิธีในการหยิบมาใช้ ค�ำตอบที่ได้จาก ญาณทัศนะอาจดูเหมือนไม่มีตรรกะเอาเสียเลย แต่แท้จริงแล้วมีตรรกะท่ี ยิ่งใหญ่และลึกซ้ึงซ่อนอยู่ เพียงแต่เราอาจจะไม่สามารถอธิบายออกมาเป็น คำ� พูดในเชิงเหตผุ ลไดเ้ ทา่ นั้น ประสบการณ์ในการเขา้ ถึงญาณทัศนะ ในช่วงถัดไปของการอบรม วิกรัมได้ให้ผู้เข้าอบรมจับกลุ่มพูดคุยเกี่ยวกับ ประสบการณ์คร้ังแรกที่เคยสัมผัสญาณทัศนะว่าเกิดข้ึนเม่ือใด เกิดอะไร ขึ้นบ้าง ปฏิกิริยาของตนเองและคนรอบข้างเป็นเช่นไร โดยผู้เข้าร่วมได้ แบง่ ปนั ในวงใหญ่ ดงั นี้ ผู้เข้าร่วม : “ญาณทัศนะเกิดข้ึนมาเอง ไม่ได้ต้ังใจคิด แต่แวบขึ้นมาว่า ตอ้ งเปน็ อยา่ งนี”้ “ญาณทัศนะเป็นเสียงท่ีมาจากภายในเมื่อเราได้สัมผัสกับตัวตนของเรา ข้างใน” “ญาณทศั นะเปน็ ทงั้ ของขวญั และคำ� สาป เปน็ ของขวญั เพราะทำ� ใหเ้ ราเหน็ ชวี ติ ทง้ั ชวี ติ ตอ่ หนา้ ตอ่ ตาเราวา่ เกดิ มาทำ� ไม ตอ้ งทำ� อะไร ทผ่ี า่ นมาทำ� ไมถงึ พา เรามาถึงจดุ นี้ ไดป้ ลดลอ็ กบางอยา่ ง คลายความกังวล ความสงสัย ท�ำให้เรา 93
ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น ใชช้ วี ติ ราบรนื่ ขนึ้ แตข่ ณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ คำ� สาป ในแงท่ ว่ี า่ บางครง้ั ญาณทศั นะ ท�ำให้เรารู้ว่าจะมีเร่ืองร้ายเกิดข้ึน เราพยายามที่จะหยุดย้ัง เปลี่ยนแปลง สถานการณ์ แต่ท�ำไม่ได้ ท้ายที่สุดแล้วก็เกิดข้ึนอยู่ดี แล้วจะรู้ไปท�ำไม แต่บางคร้ังเรารู้ แล้วเราเลือกจะเพิกเฉย พอเกิดสิ่งท่ีไม่ดีหรือสิ่งท่ีเราไม่ชอบ ภายหลัง เราจะมาน่ังคิดวา่ แล้วท�ำไมตอนน้นั เราไมเ่ ช่อื มัน” วิกรัม : ญาณทัศนะคือท้ังหมดท่ีเรากล่าวมา หากลองจินตนาการว่า มีเส้นทางเส้นหน่ึงข้างหน้าเรา เส้นทางน้ีคือตัวแทนของการเดินทางเข้าถึง ญาณทัศนะ ตรงจุดท่ีผมยืนอยู่เสมือนจุดเริ่มต้นของการเข้าถึงญาณทัศนะ ณ จดุ นผี้ มไดร้ บั สญั ญาณบางอยา่ งสง่ เขา้ มาหาเหมอื นเดมิ ตลอดเวลา เชน่ มคี น ถงึ สามคนมาแนะน�ำวา่ คณุ ต้องลองส่ิงน้ี เข้ามาผลดั กันส่งข้อความเดยี วกันใน เวลาใกลเ้ คยี งกนั ราวกบั ชวี ติ หรอื จกั รวาลกำ� ลงั มาเคาะประตบู า้ นเรา เหตกุ ารณ์ แบบนี้จะเกดิ บ่อยข้ึนหากเรายังไมฟ่ ังเสยี งภายในหรอื ญาณทัศนะของตนเอง เมื่อเราเดินตามเส้นทางไปข้างหน้าอีกนิดหน่ึง ญาณทัศนะอาจโผล่ มาเสมือนความคิด หรือลางสังหรณ์ สามารถสัมผัสถึงบางสิ่งบางอย่าง ท่ีจะเกิดข้ึน เมื่อเราเดินทางต่อไปอีก เราจะเริ่มสัมผัสญาณทัศนะของ เราได้มากข้ึน รับข้อความที่ญาณทัศนะส่งมาได้ชัดเจนข้ึน สามารถ รับรู้ข้อมูล เห็น ได้ยิน หรือรับรู้ความรู้สึกที่เม่ือก่อนเราไม่สามารถรับรู้ได้ อย่างชัดเจน การรับรู้นี้อาจอยู่เหนือกาลเวลาและสถานท่ี คล้ายกับเสียง ภายใน หรอื ทกั ษะบางอยา่ งทเี่ ราสามารถเขา้ ไปสมั ผสั จติ ไรส้ ำ� นกึ หรอื จติ สงู สง่ เบื้องบนได้ ทั้งหมดที่กล่าวมาคือญาณทัศนะ ขึ้นอยู่กับว่าเราเลือกยืนจุดไหนตรง เส้นดังกล่าว เราจะเลือกทั้งชีวิตของเราอยู่ตรงจุดเร่ิมต้นก็ได้ ซ่ึงเป็นจุดที่มี สญั ญาณจากภายนอกเข้ามาหาเราเร่ือย ๆ แลว้ เราจะประหลาดใจตลอดเวลา วา่ สญั ญาณมาอีกแล้ว หรือรสู้ ึกว่าเปน็ เร่ืองวเิ ศษ เหมอื นมีเวทมนตบ์ างอย่าง หรือเราเลือกท่ีจะก้าวออกจากจุดเริ่มต้นเดินไปตามเส้นทางแห่งการเข้าถึง 94
Leadership for Transcendence ผู้เข้าอบรมจับกลุม่ แบง่ ปนั ประสบการณค์ ร้ังแรก ทเี่ คยไดส้ มั ผัสกับญาณทัศนะ 95
ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น ญาณทัศนะ ตระหนักรู้กับเร่ืองนี้ แล้วค่อย ๆ ฝึกฝนจนมีทักษะท่ีสามารถ ใช้ญาณทศั นะไดอ้ ย่างรเู้ นื้อรตู้ วั เราจะเลือกเดินทางไปไกลแค่ไหน ข้ึนอยู่กับตอนเร่ิมต้นท่ีเราได้รับรู้ ญาณทัศนะ แล้วมีคนบอกว่าถูกหรือผิด ยกตัวอย่างตอนที่ผมเป็นเด็ก ผมรู้สึกว่าผมสามารถรับรู้ข้อมูลท่ีคนอ่ืนมองไม่เห็น แต่ไม่กล้าไปเล่าให้ ใครฟัง ถ้าผมเลือกไปเล่าให้พ่อกับแม่ พ่อแม่อาจมองว่าผมผิดปกติ หรือให้ เอาข้อมูลมาพิสูจน์ แต่ผมไม่มีข้อมูลชัดเจนขนาดน้ัน และด้วยความเป็นเด็ก จึงไม่รู้ว่าจะเล่าเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับญาณทัศนะให้สอดคล้องตามตรรกะ ผู้ใหญ่ได้อย่างไร อีกท้ังความรักของพ่อแม่ก็ส�ำคัญกับผมมาก ผมจึงเลือกท่ี จะย้ายตัวเองจากจุดที่สามารถรับรู้ถึงญาณทัศนะได้เอง ไปอยู่ตรงจุดเริ่มต้น ของเส้นทาง เพือ่ ใหเ้ ป็นลกู ทดี่ ีของพ่อแม่ ในปัจจุบันวัฒนธรรมของท้ังโลกตะวันออกและตะวันตกให้คุณค่ากับ ความคิดที่มีเหตุผลตรรกะ ท�ำให้คนส่วนใหญ่มองข้ามการใช้ญาณทัศนะที่ บริสุทธิ์มาตั้งแต่เร่ิมต้น และอาจส่งผลให้คนเราไม่ได้พัฒนาความสามารถ การเข้าถึงญาณทัศนะ แต่เมื่อเราเกิดความตระหนักรู้เร่ืองนี้แล้ว จะเป็น จุดท่ีเราเลือกได้ว่าจะยืนอยู่ตรงไหนบนเส้นทาง ถ้าเรารู้สึกมีความสุขกับ การเชื่อมต่อกับญาณทัศนะก็จงด�ำเนินชีวิตอย่างมีญาณทัศนะ ท�ำให้มัน เป็นการเดินทางและเป็นวินัยในการด�ำรงชีวิตท่ีเราต้องปฏิบัติทั้งชีวิต เพราะเราเลือกแล้ว ถูกต้องเลยที่คุณบอกว่ามันเป็นทั้งของขวัญและ ค�ำสาป ข้ึนอยู่กับว่าเราเลือกจะใช้ญาณทัศนะของเราอย่างไร 96
Leadership for Transcendence ข้อปฏบิ ัตพิ ้ื นฐานในการเข้าถึงญาณทัศนะ วิกรัมแนะน�ำการปฏิบัติ 2 ประการ ซ่ึงเป็นการฝึกเบื้องต้นเพ่ือเข้าไป สัมผัสญาณทัศนะหรือรับข้อมูลจากญาณทัศนะเข้ามา พื้นฐาน 2 ประการน้ี มีความสำ� คญั ในการฝึกปฏบิ ัตเิ พ่อื เขา้ ถึงญาณทศั นะไดอ้ ย่างมั่นคง ขอ้ ปฏบิ ตั ปิ ระการทห่ี นงึ่ : การขออนญุ าตเขา้ ถงึ ญาณทศั นะ เมื่อใดที่เราต้องการเข้าไปเช่ือมโยงหรือให้ญาณทัศนะกับบุคคลอีก บุคคลหน่ึง เราควรขออนุญาตเข้าถึงญาณทัศนะเสียก่อน การก้าวล�้ำ เข้าไปในเขตของคนอ่ืนโดยปราศจากการขออนุญาตนั้นไม่ใช่สิ่งท่ีพึงปฏิบัติ เพราะการท�ำเช่นน้ีคล้ายการไปหยิบฉวยหรือขโมยมา การที่เราขออนุญาต แล้วบุคคลผู้น้ันอนุญาต ท�ำให้เกิดการยินยอมเปิดพื้นท่ีภายในให้เข้าถึงได้ และเช้ือเชิญให้เข้ามาส�ำรวจ จึงท�ำให้เราเข้าถึงข้อมูลที่ย่ิงใหญ่กว่าการท่ีเรา ล่วงล้�ำเข้าไปโดยไม่ขออนุญาต เปรียบเสมือนการไปเย่ียมเยียนบ้าน เพื่อน โดยเพ่ือนเปิดรับด้วยความยินดี และมอบบางอย่างให้แก่เรา กลับมา การขออนุญาตจึงเป็นการรับบางอย่างเข้ามามากกว่าการเข้าไป เอาบางสิ่งจากผู้อ่ืน การท�ำงานกับญาณทัศนะไม่ใช่วิธีการหย่อนเบ็ดเพ่ือ ให้ให้ปลามากินเหยื่อ แต่คือการรอคอยอย่างสงบน่ิงแล้วญาณทัศนะ จะเผยปรากฏขึน้ มาเอง การขออนญุ าตเพอื่ เขา้ ถึงญาณทศั นะเป็นการฝึกกา้ วแรกทส่ี �ำคญั เราควร ขออนุญาตท้ังผู้อ่ืนและตนเองด้วย ทุกครั้งก่อนจะเริ่มท�ำงานญาณทัศนะ เราควรกลับเข้ามาท�ำงานภายใน โดยตระหนักรู้ถึงสภาวะภายในของเรา หรือพลังงานงานภายในของเราว่าเป็นอย่างไร เราพร้อมจะรับญาณทัศนะ 97
ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น เข้ามาแล้วหรือไม่ ส่ิงส�ำคัญอีกประการคือ การส�ำรวจเจตนา (Purpose) ของเราวา่ เราจะเขา้ ไปรบั ญาณทศั นะเพอ่ื อะไร มเี ปา้ ประสงคท์ เี่ ปน็ กศุ ลหรอื ไม่ การตระหนักร้ภู ายในตนเอง เปน็ สิ่งที่ขาดไมไ่ ด้ในการทำ� งานกบั ญาณทศั นะ ขอ้ ปฏบิ ตั ปิ ระการทส่ี อง : การชำ� ระลา้ งและการทำ� ให้ กระจา่ งใส (cleansing & clearing) หลงั จากทเ่ี ราทำ� งานญาณทศั นะเรยี บรอ้ ยแลว้ เราควรกลบั มาอยกู่ บั ตนเอง มีสติรู้เน้ือรู้ตัว แล้วปลดปล่อยพลังส่วนเกินท่ีไม่ใช่ของเราออกไปเพื่อปลด ตนเองจากคนทเ่ี ราเช่ือมโยงดว้ ย ตามดา้ นซ้ายของแผนภาพดา้ นลา่ ง 98
Leadership for Transcendence จากนั้น วิกรัมให้ผู้เข้าอบรมฝึกการกลับมารู้เน้ือรู้ตัว โดยกล่าวน�ำ กระบวนการดงั นี้ “การกลับมารู้เนื้อรู้ตัวท�ำได้หลายวิธี ส�ำหรับผมจะถนัดการยืน โดยเร่ิม จากการยนื ในจดุ ทเ่ี รารสู้ กึ สมดลุ กบั แรงโนม้ ถว่ งของโลก บางคนอาจจะเรมิ่ จาก การหลบั ตาเพื่อชว่ ยใหก้ ลบั มาอย่กู บั ตนเองและสามารถโฟกัสได้ หลังจากน้ันให้รับรู้ความม่ันคงของฝ่าเท้าท้ังสองข้าง เข้าไปรับรู้ ประสบการณ์ท่ีเท้าสัมผัสพ้ืน หากรู้สึกว่ามีพลังงานไหลวนไปมาแล้วเรา อยากจะปลดปล่อย ก็สามารถสะบัดเท้าเอาพลังงานออกเพื่อให้เรา กลับมาม่ันคงได้ จากนั้นเราจะยืนหยัดม่ันคงภายในผ่านเท้าทั้งสองข้างและนิ้วเท้าของเรา แล้วอนุญาตให้พลังงานนี้เลื่อนไหลออกไปจากตัวเราสู่พ้ืนดิน ลองสัมผัสว่า มีพลังงานใดไหลจากตัวเราออกไปทางเท้าหรือนิ้วมือของเรา เราจะลองอยู่ ในภาวะนี้สักครึ่งนาทีในความเงียบ หากสัมผัสถึงพลังงานไม่ได้นั้นไม่เป็นไร อาจใช้วิธีจินตนาการว่ามีพลังงานบางอย่างไหลออกไปจากตัวเรา เหมือนเรา เป็นปล๊ักไฟท่เี ชอ่ื มต่อกับพ้ืน แล้วอนุญาตให้พลังงานของเราไหลผา่ นไปท่ีพื้น แบบฝึกหัดนี้เป็นการฝึกกลับมาอยู่กับตนเองอย่างง่ายท่ีสามารถท�ำได้ทุกครั้ง เมือ่ เราเร่มิ เรยี นร้แู ละฝึกฝนการเขา้ ถงึ ญาณทัศนะ” กลา่ วโดยสรปุ ขอ้ ปฏบิ ตั พิ น้ื ฐานในการเขา้ ถงึ ญาณทศั นะคอื การขออนญุ าต บุคคลที่เราจะท�ำงานญาณทัศนะด้วยก่อนจะเริ่มการเข้าถึงญาณทัศนะ และ การช�ำระล้างให้ตนเองให้กลับมากระจ่างใส (Cleansing and Clearing) หลงั จากจบการท�ำงานกับญาณทัศนะแลว้ หลกั การทเ่ี กีย่ วกบั ญาณทัศนะ (Principles of Intuitive Intelligence) วกิ รมั ไดอ้ ธบิ ายถงึ หลกั การสำ� คญั ทเ่ี กย่ี วกบั ญาณทศั นะ ทง้ั หมด 6 หลกั การ ไดแ้ ก่ ความเป็นสากล (Universality) ความมีชวี ิต (Living) การส่ันสะเทือน 99
ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น (Vibrational) การหลอมรวมญาณทัศนะกับเหตุผล (Integrative) การลื่นไหล (Flow) และการสะท้อน (Reflective) โดยเนื้อหาต่อจากน้ี จะเป็นการสรุปค�ำอธิบายของวิกรัมถึงหลักการท่ีเกี่ยวกับญาณทัศนะโดย ไลเ่ รยี งไปทลี ะหลกั การ และสอดแทรกแนวทางการทำ� งานกบั ญาณทศั นะหรอื ข้ันตอนการเขา้ ถึงญาณทัศนะ รวมถงึ ขอ้ คิดเหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ มอบรมทอ่ี าจเปน็ ประโยชนใ์ นการท�ำความเข้าใจญาณทศั นะไปด้วย หลักการทห่ี น่ึง ความเป็นสากล (Universality) วกิ รมั อธบิ ายหลกั การความเปน็ สากลไวว้ า่ “ญาณทศั นะนนั้ มอี ยใู่ นทกุ ๆ ที่ และคนเราทุกคนต่างก็มีญาณทัศนะและสามารถเข้าถึงญาณทัศนะได้ ความสามารถนม้ี ไิ ดม้ อี ย่แู คใ่ นบคุ คลที่เราคดิ วา่ เขาพเิ ศษ หลายคร้ังในชีวติ คน เราอาจได้รับญาณทัศนะจากผ้ทู ี่ไมไ่ ดค้ ิดวา่ ตนเองมญี าณทศั นะ แต่ขอ้ ความที่ บคุ คลเหลา่ นนั้ สง่ ใหเ้ รากลบั เปน็ จรงิ อยา่ งมาก ดงั นนั้ คนเราตา่ งเกดิ มาพรอ้ มกบั ความสามารถในการเขา้ ถงึ หรอื ใชญ้ าทศั นะ แตญ่ าณทศั นะกลายเปน็ ขมุ ทรพั ย์ ที่สูญหายไปเนื่องจากสังคมและการเล้ียงดู เราจึงซ่อนความสามารถนี้เอาไว้” แบบฝึกหดั การเขา้ ถงึ ความเป็นสากล วิกรัมให้ผู้เข้าร่วมอบรมลองจินตนาการว่าญาณทัศนะเป็นขุมทรัพย์ ที่ซ่อนอยู่ และให้ลองออกล่าขุมทรัพย์ โดยให้ตอบค�ำถามที่ว่า “จาก ประสบการณ์ในชีวิต ญาณทัศนะมาจากทางไหนหรือเคยค้นพบ ญาณทัศนะในท่ีแห่งใดบ้าง?” หลังจากน้ันให้แบ่งปันค�ำตอบของตนเอง ในกลุ่มย่อย โดยเร่ืองราวท่ีแบ่งปันไม่จ�ำเป็นต้องเป็นประสบการณ์ท่ี เคยรับญาณทัศนะในท่ีท่ีพิเศษ หรือรับจากผู้ท่ีมีความสามารถในการใช้ ญาณทัศนะเท่าน้ัน แต่อาจอยู่ในที่ท่ีธรรมดาที่สุดหรือมาจากคนที่ธรรมดา ที่สุดก็ได้ 100
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208