หนอนเจาะสมอฝ้าย ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ภาพ : กรมวิชาการเกษตร หนอนเจาะสมอฝา้ ย Heliothis armigera Hubner. ทำ� ลายผลพริก ภาพ : กรมวชิ าการเกษตร 49โรค-แมลงศตั รผู ัก และการปอ้ งกันก�ำจัด รปู ร่างลักษณะ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นฟองเด่ียวๆ ไข่ สีขาวนวล หนอนมีหลายสี เช่น สีน้�ำตาล สีเขียว คล้ายหนอนกระทู้หอม แต่มีขนข้างล�ำตัว ดักแด้ มีสีน�้ำตาลไหม้ ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนปีกคู่หน้า สีน้�ำตาลปนเขียว หรือแดง ปีกคู่หลังมีแถบสีน้�ำตาล ปลายปีกพาดต่อกับคู่หน้า สีของปีกคู่หน้าเข้มกว่า คูห่ ลัง
พืชอาหาร พืชตระกูลกะหล่�ำ พืชตระกูลถ่ัว กระเจ๊ียบเขียว พริก มะเขือ มะเขือเทศ พชื ตระกลู แตง หน่อไม้ฝรงั่ ฯลฯ ลกั ษณะการทำ� ลาย ตัวหนอนท�ำลายดอกและผลมากกว่าใบ โดยเจาะกินผลพริก มะเขือ มะเขือเทศ ส่วนในถ่ัวฝักยาวจะเจาะเข้าไปในฝักแล้วกินเมล็ดอ่อน ใบอ่อน และดอกอ่อน ในพืชตระกูลแตง จะกินเกสรของดอกมากกวา่ ส่วนอนื่ ๆ การปอ้ งกันและกำ� จดั 1. พ่นด้วยเช้ือบีที โดยเฉพาะในระยะทีใ่ กล้เกบ็ เกย่ี ว อตั ราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 2. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น แลมป์ดาไซฮาโลทริน เดลทาเมทริน ไซฟลูทริน- เพอร์เมทรนิ สปินโนแซด คลอรฟ์ ลูอาซรู อน อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 50โรค-แมลงศัตรผู กั และการปอ้ งกันก�ำจดั กรมส่งเสริมการเกษตร
หนอนแมลงวนั เจาะต้นถ่วั ชอ่ื วิทยาศาสตร์ หนอนแมลงวันเจาะตน้ ถั่ว 51โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกนั กำ� จัด Melanagromyza sojae Zehntner Ophiomyi phaseoli Tryon กรมส่งเสริมการเกษตร รปู รา่ งลกั ษณะ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงวันขนาดเล็ก ล�ำตัวสีเทาด�ำ ปีกใส พบระบาดในแปลงปลูกถั่วเหลืองได้ในทุกฤดูเพศเมียวางไข่ ในเน้ือเยื่อใบอ่อนด้านใต้ใบ หรือส่วนที่อ่อนนุ่มหรือวางไข่ ท่ีใบจริงคู่แรกและใบประกอบขอ้ ที่ 2 บริเวณใกลก้ บั กา้ นใบ พืชอาหาร ถวั่ เหลือง และพชื ตระกูลถ่วั
ลักษณะการท�ำลาย เม่ือฟักออกเป็นตัว หนอนจะชอนไชไปตามเส้นใบผ่านล�ำต้นไปอาศัยกัดกินเนื้อเยื่อ ท่ีล�ำต้นมีทั้งชนิดท่ีกัดกินอยู่ภายในล�ำต้นบริเวณกลางล�ำต้นหรือเรียกว่า “หนอนแมลงวัน เจาะล�ำต้นถ่ัว” Melanagromyza sojae และชนิดท่ีท�ำลายอยู่ใต้ผิวเปลือกบริเวณโคนต้น หรือเรียกว่า “หนอนแมลงวันเจาะโคนต้นถั่ว” Ophiomyi phaseoli ถ้าท�ำลายในระยะแรก ของการเจริญเติบโตของถ่ัวเหลืองจะท�ำให้ต้นตายแต่ถ้าท�ำลายในระยะต้นโตจะท�ำให้ ตน้ แคระแกร็น ข้อโป่ง ปลอ้ งสั้นและผลผลิตลดลง การป้องกันและก�ำจัด 1. คลกุ เมลด็ ดว้ ยสารก�ำจัดแมลง เช่น อมิ ิดาโคลพรดิ อตั ราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 2. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น ไตรอะโซฟอส เมทามิโดฟอส อัตราตามค�ำแนะน�ำ ในฉลาก 52โรค-แมลงศตั รูผัก และการป้องกันก�ำจดั กรมสง่ เสริมการเกษตร
หนอนใยผัก ตวั หนอน ตวั เตม็ วัย ช่ือวิทยาศาสตร์ 53โรค-แมลงศัตรูผกั และการปอ้ งกันก�ำจดั Plutella xylostella กรมสง่ เสรมิ การเกษตร รปู รา่ งลกั ษณะ เป็นแมลงศัตรูพืชผักตระกูลกะหล�่ำ หนอนมีสี เขยี วออ่ น ลำ� ตวั ยาว หวั แหลมทา้ ยปา้ น มปี มุ่ ยนื่ ออกมาเปน็ 2 แฉก กัดกินใบจนเป็นรูพรุน เมื่อถูกตัวหนอนจะดิ้นและ ชักใยท้ิงตัวลงดิน ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก สีน�้ำตาล เมื่อหุบปีกจะเห็นลายสีขาวบนหลังเหมือนจ้ีเพชร เป็นทีม่ าของชื่อสามัญ “Dimond – back moth”
พชื อาหาร ลักษณะการทำ� ลาย 54โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกันก�ำจดั พืชตระกูลกะหล่�ำ เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักกาดขาว กะหลำ�่ ปลี ฯลฯ กรมส่งเสรมิ การเกษตร ลกั ษณะการท�ำลาย ตัวเต็มวัยวางไข่เป็นฟองเด่ียว หรือติดกัน 2 – 3 ฟอง หนอนท่ีฟักออกกดั กินใบบริเวณระหว่างเสน้ เวน จนเปน็ รูพรนุ การป้องกันและกำ� จดั 1. ใชก้ บั ดกั กาวเหนยี วสีเหลอื ง อัตรา 80 กบั ดกั ตอ่ ไร่ 2. พ่นดว้ ยเช้ือบที ี อัตราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 3. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น สปินโนแซด แลมด์ดา- ไซฮาโลทรนิ ฟิโปรนลิ อัตราตามคำ� แนะนำ� ในฉลาก
หนอนคืบกะหล�่ำ หนอนคบื กะหล�่ำ 55โรค-แมลงศตั รผู ัก และการปอ้ งกนั ก�ำจัด ช่อื วิทยาศาสตร์ กรมส่งเสริมการเกษตร Trichoplusia ni Hubner. รูปรา่ งลกั ษณะ ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อวางไข่เป็นฟองเด่ียวๆ สีขาวนวลหรือ เหลืองอ่อนตามใต้ใบลักษณะคล้ายฝาชีตรงกลางมีรอยบุ๋ม หนอน ท่ีโตเต็มท่ีมีสีเขียวอ่อน ความยาว 2.5 - 3.5 เซนติเมตร หัวเล็ก ล�ำตัวแบ่งออกเป็นปล้องชัดเจนและมีขนปกคลุมกระจายท่ัวไป ใกล้ๆ กับสันหลังล�ำตัวมีแถบสีขาว 2 แถบขนานกันเคล่ือนตัว โดยการงอตวั และคบื ไปหนา้ พืชอาหาร พชื ตระกูลกะหล�่ำ
ลักษณะการทำ� ลาย ในระยะแรกตัวหนอนจะกัดกินท่ีผิวใบ เม่ือตัวหนอนโตข้ึนจะกัดกินใบทำ� ให้เป็นรอยแหว่ง เหลือแต่ก้านใบ และการทำ� ลายเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว การปอ้ งกนั และกำ� จัด 1. กับดักกาวเหนียวสีเหลืองจ�ำนวน 80 กับดักต่อไร่ สามารถลดการใช้สารก�ำจัดแมลง มากกวา่ 50 เปอรเ์ ซ็นต์ 2. การใช้ศัตรูธรรมชาติควบคุม เช่น แตนเบียนไข่ Trichogramma sp. แตนเบียน Apanteles sp. 3. พ่นด้วยเชือ้ บีที อัตราตามคำ� แนะนำ� ในฉลาก 3. การใช้โรงเรอื นตาขา่ ยไนลอ่ น หรือรจู้ ักทั่วๆ ไปวา่ ผักกางม้งุ พบว่า สามารถป้องกนั แมลง ศตั รพู วกหนอนผเี สอ้ื ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4. พน่ ด้วยสารกำ� จดั แมลง ฟโิ ปรนลิ อะบาเมก็ ติน และคารโ์ บซลั แฟน อตั ราตามคำ� แนะน�ำ ในฉลาก 56โรค-แมลงศัตรูผกั และการปอ้ งกนั ก�ำจดั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
โรค-แมลงศตั รผู กั และการป้องกันก�ำจัด ท่ปี รึกษา นายโอฬาร พทิ ักษ ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร นายน�ำชยั พรหมมชี ยั รองอธิบดีกรมสง่ เสริมการเกษตร ฝ่ายบริหาร นายไพรัช หวงั ด ี รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝา่ ยวชิ าการ นายสรุ พล จารุพงศ ์ รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝา่ ยส่งเสริมและฝึกอบรม นางสกุ ัญญา อธิปอนนั ต ์ ผอู้ �ำนวยการส�ำนักพฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี นายประสงค์ ประไพตระกูล ผู้อ�ำนวยการกองสง่ เสรมิ การอารักขาพืชและจดั การดินปยุ๋ นางศภุ ลกั ษณ์ กลบั นว่ ม ผ้อู �ำนวยการกลุ่มสง่ เสริมการวนิ ิจฉยั ศัตรพู ชื นายกติ ตศิ ักด์ิ จันทสงั ข ์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาด ผูเ้ รยี บเรยี ง/ข้อมลู นางสาวจฬุ าภรณ์ นกสกลุ นกั วิชาการเกษตรชำ� นาญการ นางสาวเบญจมาภรณ์ ลิ้มประเสรฐิ นกั วชิ าการเกษตรปฏิบัติการ นายสามารถ ศรีวลิ ยั นักวิชาการเกษตรปฏบิ ตั กิ าร นางสาวกฤตยา ทองนวล นักวิชาการเกษตร กองส่งเสริมการอารกั ขาพชื และจดั การดนิ ปุย๋ จัดทำ� นางอมรทพิ ย์ ภิรมย์บรู ณ ์ ผู้อ�ำนวยการกลุม่ พฒั นาสอ่ื สง่ เสรมิ การเกษตร นางสาวอำ� ไพพงษ์ เกาะเทยี น นักวชิ าการเผยแพรช่ ำ� นาญการ กลุ่มพฒั นาสือ่ สง่ เสริมการเกษตร สำ� นักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี พมิ พ์คร้ังที่ 2 ปี 2557 (ฉบบั ปรบั ปรุงปี 2555) จ�ำนวน 5,000 เลม่ พิมพท์ ่ี โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั
Search