Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแพทย์แผนจีนในประเทศไทย

การแพทย์แผนจีนในประเทศไทย

Description: การแพทย์แผนจีนในประเทศไทย.

Search

Read the Text Version

การแพทยแผนจนี ในประเทศไทย Page 1 1

Page 2 2 สถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต การแพทยแผนจนี ในประเทศไทย ที่ปรึกษา นพ.นรา นาควัฒนานกุ ูล อธบิ ดกี รมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก บรรณาธิการ เยน็ จติ ร เตชะดํารงสิน จรสั ต้งั อรา มวงศ เจา ของลิขสทิ ธิ์ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข ออกแบบ เยน็ จติ ร เตชะดาํ รงสิน อทุ ัย โสธนะพันธุ ปก นายแพทยสมชยั โกวิทเจริญกุล พิมพครั้งท่ี 1 สิงหาคม 2550 จาํ นวน 1,500 เลม พมิ พครง้ั ที่ 2 มีนาคม 2552 จาํ นวน 1,000 เลม พมิ พท ่ี รานพุมทอง 10/2 ซอยวังหลัง ถนนอรุณอัมรินทร เขตบางกอกนอย กรุงเทพ ฯ 10700 ขอ มูลบรรณานุกรมของหอสมดุ แหงชาติ เย็นจิตร เตชะดาํ รงสิน การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย—กรุงเทพมหานคร รา นพุมทอง, 2552. 111 หนา กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลือก ISBN 978-974-8062-73-0

การแพทยแผนจนี ในประเทศไทย Page 3 สารบญั 3 คํานาํ หนา ประวัตกิ ารแพทยแผนจีน ก วิธกี ารรักษาโรคของแพทยจ ีน 1 43 - วธิ ีขบั เหงือ่ 43 - วิธีทาํ ใหอาเจียน 44 - วธิ รี ะบาย 44 - วิธีประสาน 46 - วิธใี หค วามอบอุน 46 - วิธลี ดความรอน 47 - วธิ ีบาํ รงุ 48 - วธิ ีทําใหส ลาย 49 การตรวจชพี จรของแพทยจนี 51 การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย 83 - ความเปน มา 83 - ปจจุบัน 85 - สถาบนั การแพทยไทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต 86 - อนาคตการแพทยแผนจีนในประเทศไทย 103

Page 4 4 สถาบนั การแพทยไทย-จีน เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต คํานํา การแพทยแ ผนจนี (Traditional Chinese Medicine) ไดเ ขา มามี บทบาทรวมกบั การแพทยแ ผนปจ จบุ นั และการแพทยแ ผนไทยในการดแู ล สุขภาพของคนไทยเปน เวลานานแลว โดยเขา มาพรอมคนจีนที่อพยพเขา มาในประเทศไทยตง้ั แตย ุคกรุงสุโขทัย การแพทยแ ผนจีนมีการดแู ลรกั ษา สุขภาพ 2 สว น คือ สว นของการปองกันและสวนของการรักษาโรค ในสวน ของการปองกนั การแพทยแ ผนจีนจะเนนสขุ ภาพจติ และกายทแ่ี ข็งแรง หลกี เลี่ยงความแปรปรวนของสภาพอากาศ นอกจากน้ยี ังมกี ารปองกนั เมอื่ เกิดโรคแลว เพ่อื ไมใหโรคลุกลามไปสูอวยั วะอืน่ ในสวนของการ รกั ษา จะมีการรกั ษาโรคหรือสาเหตทุ ่ีแทจรงิ ของอวยั วะนั้น ๆ หรือรกั ษา อาการของโรคอยางใดอยางหนึง่ หรอื รักษาท้งั สองอยา งไปพรอ มกัน โดย มวี ธิ ีทีใ่ ชร กั ษา เชน อายุรกรรม (การแมะ) การฝงเข็ม-รมยา การนวด จีน (ทยุ หนา) เปนตน เมือ่ กลา วถงึ การแพทยแ ผนจนี นอยคนนักท่จี ะไมร จู ักนายแพทย ชวลติ สนั ติกิจรงุ เรือง ทา นเปนเสาหลกั ของการแพทยแ ผนจนี ในประเทศ ไทย ทานไดทมุ เทความรูความสามารถ แรงกาย และแรงใจ พฒั นางาน ดานการแพทยแ ผนจีนอยางเปนระบบและตอ เนื่อง เรมิ่ จากการจัดฝกอบรม หลักสูตรการฝงเขม็ 3 เดือน สําหรับแพทยแผนปจ จบุ นั โดยรว มกับ มหาวทิ ยาลัยการแพทยแผนจีนเซ่ียงไฮ ซึ่งเปนหน่งึ ในมหาวทิ ยาลัยชนั้ แนวหนาของสาธารณรัฐประชาชนจนี และเปนศูนยฝกอบรมท่ีองคการ อนามัยโลกใหการรับรอง และเพ่ือใหการประกอบวชิ าชีพดานศาสตร

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 5 5 การแพทยแผนจีนสามารถกระทําไดโดยถูกกฎหมายของประเทศไทย ทา น เปน ผมู สี ว นสาํ คญั ชว ยผลักดนั จนมีการสอบประเมนิ ความรขู องแพทยจีน ทงั้ ทศี่ ึกษาจากโรงเรียนแพทยแผนจีนในสาธารณรัฐประชาชนจีน และศึกษา จากบรรพบรุ ุษใหไดรับอนญุ าตทําการประกอบโรคศิลปะไดโดยถูกตองจน เปน ผลสาํ เร็จ ทาํ ใหคนไทยสามารถไดรบั ประโยชนจ ากองคความรูดาน ศาสตรการแพทยแ ผนจีน เพอื่ ใหศ าสตรการแพทยแผนจนี ซง่ึ มพี ัฒนาการสบื ตอ กันมาหลาย พนั ป มกี ารสงเสริมและดูแลมาตรฐานอยางเปนระบบในประเทศไทย ทา นมสี ว นสาํ คญั ในการใหก าํ เนดิ โรงเรียนแพทยแผนจีนมาตรฐานถงึ สอง แหง คือ มหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลิมพระเกียรติ และมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ จนั ทรเกษม ในอนาคตอันใกลน ้ีจะมมี หาวทิ ยาลัยท่มี ีหลกั สูตรการแพทย แผนจีนแหงใหมขึ้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ซ่ึงทําใหผ ูสนใจศาสตร แขนงนส้ี ามารถเลือกศึกษาไดใ นประเทศไทยโดยไมจําเปน ตองไปศกึ ษา ในสาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้ทา นยังมบี ทบาทสําคญั ในการกอ ตัง้ สถาบันการแพทยไ ทย-จีน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต ขึ้นในกรมพัฒนา การแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก ฯลฯ สถาบันการแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวันออกเฉียงใต กรมพัฒนา การแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกเล็งเห็นความสําคัญของการ รวบรวมและบนั ทกึ ขอมลู ตาง ๆ เหลานี้ไวใชประโยชน เพ่ือใหคนรุนหลัง สามารถสานตองานดา นการแพทยแผนจนี ไดอยางตอเนื่อง และเปน ประโยชนตอ วงการแพทยและการสาธารณสุขของไทย จงึ ไดจดั พมิ พเ ปน หนงั สือขนาดพกพาเลมนี้ขน้ึ โดยเน้ือหาในหนังสือประกอบดว ย ประวัติ

Page 6 6 สถาบนั การแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวันออกเฉียงใต การแพทยแผนจนี วิธีการรักษาโรคของแพทยจ ีน การตรวจชพี จรของ แพทยจ นี และการแพทยแผนจีนในประเทศไทย สถาบันการแพทยไ ทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต หวังเปนอยา งยิ่งวา หนังสือเลมน้ีจะเปนประโยชน ตอแพทยแผนจนี บุคลากรทางการแพทย และผูสนใจทวั่ ไป บรรณาธิการ มีนาคม 2552

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 7 7 ประวัติการแพทยแผนจนี การแพทยจ นี มีประวตั ิความเปน มายาวนานหลายพันปพ ัฒนาการ ของการแพทยแผนจีนแบงตามยุคตาง ๆ ในประวตั ิศาสตรจ ีนไดเปน 7 ยุค ดังนี้ 1. ยุคโบราณ 2. ยคุ ราชวงศเ ซ่ีย ถงึ ยคุ ชนุ ชวิ 3. ยคุ กอกาํ เนิดทฤษฎกี ารแพทยจ ีน 4. ยคุ ราชวงศฉิน ราชวงศใตกับเหนือ ราชวงศส ุย ราชวงศถงั และ ยุคหา ราชวงศ 5. ยุคราชวงศซง ถงึ ราชวงศหมิง 6. ยุคพัฒนาการแพทยและเวชปฏบิ ตั ิแผนใหมใ นชว งยุคราชวงศ หมงิ ราชวงศชิง กอ นสงครามฝน 7. ยคุ ปจ จบุ นั เหตุการณส ําคัญ ๆ ในแตละยคุ มีดงั น้ี 1. ยคุ โบราณ (古代 Ancient Age) เปน ยคุ เรม่ิ ตน ของการเกษตรกรรม เหตุการณในยคุ น้ีปรากฎอยู ในตาํ นานและหลักฐานทางโบราณคดี ซ่ึงทีส่ ําคัญคือ - ฝูซี (伏羲 Fu Xi) ประดิษฐเ ข็มหนิ 9 เลม อายุ 4,000-5,500 ป ซง่ึ อาจใชเพือ่ การรักษาโดยวิธีฝง เขม็ มีผเู ช่ือวาฝูซมี กี ารริเริ่มประดษิ ฐ ตัวอกั ษรภาพขน้ึ ใชดว ย - เสนิ หนง (神农 Shen Nong) เริ่มนําสมุนไพรมาใชรกั ษาโรค

Page 8 8 สถาบันการแพทยไ ทย-จนี เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต - จักรพรรดหิ วงต้ี (黄帝 Huang Di) เปน ผรู ิเริม่ รวมกับแพทย ในราชสาํ นัก ถกปญ หาวิชาความรทู างการแพทย วิธรี ักษา รวมทัง้ การ เขยี นใบสั่งยา เพือ่ รางบนั ทึกเปน ตาํ ราแพทย 2. ยุคราชวงศเ ซีย่ (夏代 Xia Dynasty) ถงึ ยคุ ชุนชิว (春秋 Chunqiu) (2,100-476 ป กอนครสิ ตศักราช) ตามหลักฐานทางโบราณคดี คนจีนรจู ักทําเหลาตั้งแตก ลางยคุ หิน ใหม ในยุควัฒนธรรมหยางเสา (仰韶 Yang Shao) ราว 4,000-10,000 ปมาแลว การรจู ักการทําเหลามีผลตอการแพทย คอื การนํามาใชในการ ทํายา โดยเฉพาะยาดองเหลาตาง ๆ ในยุคน้เี ร่มิ มีการทาํ ยาตมโดยมีการ ผลติ ภาชนะสาํ หรับตม ยา ยาตม เปนจดุ เดนของการแพทยแ ผนจีน เพราะ มีประโยชนสําคัญ 4 ประการ คือ - สะดวกตอการรบั ประทาน และทาํ ใหด ูดซึมงาย - เพ่มิ สรรพคุณ ลดพษิ และผลขา งเคียง - สะดวกในการปรับขนาดตวั ยาตา ง ๆ - ทาํ ใหการนาํ แรธาตตุ าง ๆ มาประกอบยาไดง า ยข้นึ การรจู กั ทาํ ยาตม ทําใหก ารแพทยจ ีนพัฒนาแนวทางการใชย าผสม มาอยางตอเนอ่ื ง อิทธิพลของพอมดหมอผเี ร่ิมเสื่อมลงต้ังแตยุคนี้ ดงั จะ เห็นไดจากในยคุ ชุนชิว พอ มดหมอผถี ูกจัดใหอ ยูในฝายพธิ กี รรม (Minister in Charge of Protocol) ในขณะที่แพทยขน้ึ ตออัครมหาเสนาบดี (Prime Minister) ในสมัยราชวงศโ จว (周代 Zhou Dynasty) แพทยหลวงในยุค น้นั แบงเปน 4 ประเภท คือ โภชนากร แพทยท่วั ไป ศัลยแพทย และ

การแพทยแ ผนจนี ในประเทศไทย Page 9 9 สตั วแพทย นอกจากน้ี ยังพบเอกสารโบราณชอื่ ซานไหจ งิ (山海经 หรือ คมู ือภเู ขาและแมน้าํ ) ซึ่งเน้ือหาหลักเปนเรื่องทางภูมิศาสตร แตไดกลา วถึง ยาสมุนไพรไวร าว 120 ชนิด ทง้ั จากพืช สัตว และแรธาตุ 3. ยุคกอ กําเนดิ ทฤษฎีการแพทยจีน (中医理论体系的初建 立 Origin of Traditional Chinese Medicine Theory) จากยุคจ้ันก๋ัว (ยคุ รณรฐั 战国) ถึงยุคสามกก (三国 San Guo) (475 ป กอ นครสิ ตศ ักราช ถงึ ค.ศ. 265) เปนยคุ เร่ิมอารยธรรมสาํ คัญ ในยคุ จั้นก๋วั มีการใชว ัว ควาย ปุย และอปุ กรณท่ที าํ จากเหล็ก ในการทําเกษตรกรรม มกี ารประดษิ ฐเครื่องวัด แผนดินไหว และท่ีสําคัญคือการทาํ กระดาษ เปนยุคกาํ เนิดลัทธิขงจื่อ (孔子 Kong Zi) และลทั ธเิ ตา (道教 Dao Jiao) รวมท้ังเริ่มเสนทาง สายไหม สําหรับอารยธรรมทางการแพทย พบตําราการแพทยเ ขยี นบนผา ไหมและไมไผ จากสสุ านหมา หวางตุย (马王堆 Ma Wangdui) แหง ราชวงศฮ่นั ซ่งึ มีรายละเอยี ด คอื ตําราบนผืนผาไหม มถี ึง 10 เลม คือ - หาสิบสองโรคและตํารับยา - ตาํ รารักษาสขุ ภาพ - ตาํ รารักษาเบ็ดเตล็ด - ภาพการบรหิ ารลมหายใจ - ตําราโรคทางสูตกิ รรม

Page 10 10 สถาบนั การแพทยไ ทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต - กญุ แจชว ยยอยและเสริมสุขภาพ - ลักษณะชพี จรในผปู ว ยหนัก - การคลําชพี จร - ตาํ ราดั้งเดิมเรื่องการรมยาบนเสนลมปราณ 12 เสน บนแขนขา - ตาํ ราดง้ั เดมิ เร่ือง 12 เสนลมปราณสําหรบั รมยา หนังสือบนซกี ไมไ ผ มจี ํานวนท้ังส้ิน 200 ช้นิ มีเนื้อหาประกอบดว ย ตํารา 4 เลม คอื - สิบคาํ ถาม - ประสานอินหยาง - ตํารายาตาง ๆ และขอหา มใช - หลักการบริหารประเทศ ตาํ รา 4 เลมน้ี ประกอบดว ยตวั อักษร 4,000 ตวั สรปุ หลกั การ สําหรับสุขภาพและการรักษาโรค 4 ประการ คือ - ใหปฏบิ ตั ิตามกฎธรรมชาติ 4 ฤดูกาล และหลักยนิ หยาง โดยมี สองสิ่งทตี่ รงขา มกันในธรรมชาติคือ หญิงเปน ฝายลบ และชายเปน ฝา ย บวก - ใหความสาํ คญั กบั อาหารและการรบั ประทานใหเ ปนเวลาควบคมุ อารมณท้ังความสนุกสนานความโกรธ ความเศรา เสียใจ และความสุข - บริหารรางกายโดยชี่กง - ปรับและควบคุมกจิ กรรมทางเพศ ในยุคนี้มีคัมภรี ทางการแพทยที่สาํ คัญ 3 เลม ไดแก

การแพทยแผนจีนในประเทศไทย Page 11 11 1) คัมภรี ห วงต้เี นย จิง (黄帝内经 Huang Di Nei Jing) หรือ เนยจิง (内经 Nei Jing) แบง เปน 2 ภาค คือ ซูเวิ่น (素问 Su Wen หรือ Plain Questions หรอื คําถามงา ย ๆ) และ หลิงซู (灵枢 Ling Shu หรือ Miraculous Pivot หรอื แกนมหัศจรรย) เชื่อวา เปน ผลงาน ของปราชญห ลายคนในยุคจ้ันกวั๋ แตตัง้ ช่ือวา เปนคัมภีรหวงตเ้ี นยจิงตาม ประเพณี และเพื่อเพิม่ ความนาเชอื่ ถือของตาํ รา เน้อื หามีทั้งส้ิน 81 เรอื่ ง กลาวถงึ การเรียนวชิ าแพทย จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ หลกั พ้ืนฐานเร่ืองยิน-หยาง (阴阳 Yin Yang) และธาตทุ ัง้ หา หรือ อูส ิง (五 行 Wu Xing) คือ ไม ไฟ ดิน ทอง และนา้ํ ตลอดจนหลักธรรมชาติ 6 ประการ คือ การปองกันและการรกั ษา สาเหตุและอาการของโรค ผลของ ฤดูกาล ผลของภมู ิศาสตร ผลจากอตุ ุนิยม การฝงเข็มและการรมยา คัมภรี หวงตีเ้ นยจิง คัมภีรหวงตี้เนย จิง ภาคซเู วนิ่ นอกจากนี้ยงั กลาวถงึ หลักการวินจิ ฉัยโรค 4 ประการ คือ การ สงั เกต การฟงและการดม การถาม และการคลําและจับชพี จร

Page 12 12 สถาบนั การแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวันออกเฉียงใต ความสาํ เร็จของคัมภีรเนยจ ิง เกิดจากสาระสาํ คัญสรุปได คือ - ทฤษฎีอนิ หยาง และธาตุทง้ั หา - แนวคดิ องครวม - แนวคดิ เรอื่ งอวัยวะ เสน ทางการทํางานของอวยั วะ (Channels) และ เสนทางคขู นาน (Collaterals) ซง่ึ เปน รากฐานสาํ คญั ของวชิ าฝงเขม็ และรมยา - แนวคิดเรื่องการปอ งกนั โรค - การปฏิเสธส่ิงลี้ลับและหมอผี คมั ภรี หวงตีเ้ นย จิง ภาคหลิงซู กลาวไวช ัดเจนวาโรคเกิดจากสาเหตตุ า ง ๆ และไมมเี ลยท่ีเกิดจากเทวดา หรือภูตผี 2) คัมภีรเสินหนงเปนเฉาจิง (神农本草经 Classic of Shen Nong’s Materia Medica) หรอื ตาํ ราเภสัชวทิ ยาดั้งเดิมของเสนิ หนง มี อายุราว 1,780 ป ประกอบดว ยตาํ รา 3 เลม กลา วถึง ตวั ยา 365 ชนิด ไดแ ก พืช 252 ชนิด สตั ว 67 ชนดิ และแรธาตุ 46 ชนิด มีการแบงยา ออกเปน 3 ระดบั ตามความปลอดภัย คือ - ชนั้ ดี (Top grade) เปนยาท่มี คี วามปลอดภัยในการใช - ชน้ั ปานกลาง (Middle grade) เปน ยาที่ไมมีอันตรายหากใชอยาง ถูกตอง - ช้นั ตํ่า (Low grade) เปน ยาที่อันตรายโดยเฉพาะหากรบั ประทาน มากเกนิ ไป ตามคัมภรี เสินหนงเปน เฉา จิง ยังริเริ่มหลักทฤษฎยี าจีนโดยแบงยา ออกเปน 4 จาํ พวก (รอน เย็น อุน และกลาง) 5 รส (เปรี้ยว เคม็ เผ็ด หวาน และขม) 7 ผลลัพธ (ตวั ยาเด่ียว เสริมฤทธิ์กัน เสริมฤทธิ์ฝาย

การแพทยแผนจีนในประเทศไทย Page 13 13 เดยี ว ถูกขม ลดทอนหรือกําจัดพิษ ลดทอนฤทธิ์ และใหผลตรงขา ม) หลักการรักษาอาการฝายเย็นดว ยยารอน และรักษาอาการฝา ยรอนดว ย ยาเยน็ อยา งไรก็ตาม ในยุคราชวงศฮนั่ (汉代 Han Dynasty) ลัทธเิ ตา มอี ทิ ธพิ ลสูง ทําใหม ีการมุงแสวงหายาอายุวฒั นะมากกวาเรื่องการรกั ษา โรค ตวั ยาทีใ่ ชประกอบเปนยาอายุวัฒนะจงึ ถูกจดั เปนยาช้ันดี เสนิ หนงเปนเฉา จิง จางจงจ่งิ 3) ซางหานจา ปง ลนุ (伤寒杂病论 Treatise on Febrile and Miscellaneous Diseases) หรือตาํ ราไขแ ละโรคเบ็ดเตล็ด เขยี นโดย จางจง จิ่ง ( 张 仲 景 Zhang Zhongjing) ตอนปลายยคุ ราชวงศฮนั่ ตะวันออก (ค.ศ. 25–220) โดยรวบรวมความรูท างการแพทยใ นอดีตและ ประสบการณข องตนเอง แตงตํารา 16 เลม แยกโรคตามอาการ และ อาการแสดง ท่สี ําคัญคือ เลกิ เช่ือวา เทวดาและสิ่งศักดสิ์ ทิ ธิ์เปนตนเหตุทํา ใหเกิดโรค และบรรยายวธิ ีการรักษา 8 วธิ ี ไดแก การขับเหงื่อ การทาํ ให

Page 14 14 สถาบันการแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวันออกเฉยี งใต อาเจยี น การระบาย การประสาน การใหความอนุ การลดความรอน การ บํารุง และการสลาย ในยคุ นี้มแี พทยท่มี ชี ่ือเสยี ง ไดแ ก - เปย นเชวย่ี (扁鹊 Bian Que) หรือ ฉินเยว่ียเหริน (秦越人 Qin Yueren) เปน แพทยท ีเ่ ขียนตาํ ราแพทยไวห ลายเลม เปน ผตู อตา น ความเชอ่ื เรือ่ งหมอผีอยางแขง็ ขนั ซือหมา เชียน (Si Maqian) นกั ประวตั ิศาสตรคนสําคัญในยุคราชวงศฮั่นยกยองวา เปย นเชวย่ี เปนหมอ คนแรกทีเ่ รมิ่ วิชาจับชพี จร เปยนเชวย่ี ไดรับฉายาวา เปน หมอเทวดา (Divine Doctor) - อหี ย่ิน (伊尹 Yi Yin) หรอื ฉางกง (仓公 Cang Gong) เปน ผบู ันทึกเรื่องชีพจรไว 20 ชนิด (ปจ จบุ ันรวมได 28 ชนิด) เปนผู ริเร่มิ การบนั ทึกประวตั คิ นไข เปน ผูต อตานเรื่องยาอายุวัฒนะอยา งแข็งขัน และกลา ยอมรับความผิดพลาดในการวินจิ ฉัยและการรกั ษาโรคของตน - ฮวั ถวอ (华佗 Hua Tuo) เปน แพทยท ไ่ี ดร ับการยกยองวาเปน ศัลยแพทยผูบุกเบิก มีชีวิตอยูในยุคสามกก เปนคนที่ไมส นใจยศตาํ แหนง มุงรักษาคนธรรมดาสามัญ ตอมามีโอกาสรักษาโจโฉจนไดร ับตําแหนงเปน แพทยป ระจําตัวของโจโฉ แตท นคดิ ถงึ บานไมไ ด จงึ เดนิ ทางกลับบาน และไมยอมเดินทางกลบั มาตามคําสั่ง โจโฉจงึ สัง่ จับและใหประหารชวี ิต กอ นตาย ฮัวถวอมอบตาํ ราใหผ ูคุม แตผูคมุ กลวั ความผดิ ไมกลารบั ไว ฮวั ถวอจึงเผาตําราทงิ้ ทําใหต าํ ราของฮัวถวอสูญสิน้ ไป ฮัวถวอมศี ิษยเอก 3 คน แตงตาํ ราแพทยไ ว 2 เลม มีตาํ ราอีกหลายเลมทร่ี ะบุวา ฮัวถวอเปน ผูแตง อยางไรก็ตาม เชื่อวาแตงโดยบุคคลอ่ืนแตใสช ่ือฮัวถวอเปนผูเขียน

การแพทยแผนจีนในประเทศไทย Page 15 15 เชอ่ื วา ฮัวถวอใชยาหมาฝูส า น ( 麻 沸 散 Ma Fu San) เปนยาระงับ ความรูสกึ ชนิดรบั ประทานใหแกคนไขก อนผาตดั นอกจากน้ี ฮัวถวอยัง สนใจเรือ่ งสุขอนามัยสวนบคุ คล การบาํ รงุ สุขภาพ และการบรหิ ารรา งกาย โดยเลียนแบบทาทางของสัตว 5 ชนดิ คือ เสือ กวาง หมี ลิง และนก ตามประวัติกลา ววา แมฮวั ถวอจะมีอายุรอยป สขุ ภาพก็ยงั ดี และหวูผู (吴普 Wu Pu) ศิษยค นหนึ่งของฮัวถวอ ซึง่ ปฏิบตั ิตนโดยการบรหิ าร รางกายเลียนแบบสตั ว 5 ชนิด เมอื่ มีอายุถงึ 90 ป หู ตา และฟน ก็ยังดี ฮวั ถวอมคี วามชํานาญเรื่องฝงเข็มและรมยา โดยพยายามใชยานอยชนิด และฝงเขม็ นอ ยจุด เปย นเชวย่ี อีหยนิ่ (ฉางกง) ฮวั ถวอ 4. ยุคราชวงศจ นิ้ (晋 代 Jin Dynasty) ราชวงศห นานเปยเฉา (ราชวงศใตก ับเหนือ 南北朝代 Southern and Northern Dynasties) ราชวงศสยุ (隋代 Sui Dynasty ราชวงศถ งั (唐代 Tang Dynasty) และยคุ อูไต (หาราชวงศ 五代 Five Dynasties) (ค.ศ. 265-960) เปนยุคที่การแพทยแ ละเภสชั กรรมของจนี มีการพฒั นาอยา งเต็มท่ี โดยไดรบั อิทธิพลจากลัทธขิ งจ่ือ ลทั ธิเตา และศาสนาพทุ ธ ทง้ั สามลทั ธิ

Page 16 16 สถาบนั การแพทยไทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ศาสนาลวนไมเชือ่ เรือ่ งพระเจา แตมีอทิ ธิพลตอ การแพทยจีนแตกตา งกัน พทุ ธศาสนาเผยแผเ ขา สจู ีนตามเสน ทางสายไหม ตงั้ แตยคุ ราชวงศฮั่นจน ถึงราชวงศเหนือกับใต ราชวงศถ งั เปนยคุ แรกท่ีพทุ ธศาสนารุงเรืองที่สุด มกี ารสรา งวดั วาอารามมากมาย และมีการแปลพระไตรปฎกเปนภาษาจนี ประชาชนทั่วไปศรทั ธาในพทุ ธศาสนาอยางกวางขวาง ขณะเดยี วกัน ถอื กันวา เหลาจ่อื ศาสดาของลทั ธเิ ตาซึ่งมชี ่ือเดิมวา หล่ีตา น เปน บรรพบุรษุ เกา แกของคนในตระกูลหรือแซหลี่ ซึ่งเปนแซเดียวกบั กษัตริยราชวงศถัง จงึ ทาํ ใหลัทธเิ ตาไดรับความศรทั ธาเปนพเิ ศษ และทําใหความนิยมในเร่ือง ยาอายวุ ฒั นะและเร่ืองคาถาอาคมแพรห ลายขึ้นดวย หลังยุคจ้นิ ตะวันตก มคี วามนิยมนําโลหะหนักมาทาํ เปนยาอายุวัฒนะกันมาก แตแทนทจี่ ะทาํ ให อายุยนื กลับเปนอันตรายตอผูใช ในยุคนี้มพี ัฒนาการทางการแพทยจ ีนท่สี ําคญั ดงั นี้ 1) การพฒั นาเรอ่ื งการจับชีพจร ตําราทสี่ ําคัญคือ มา ยจิง (脉经 Pulse Classic หรือ ชพี จรคลาสสิค) แตง โดย หวางซูเหอ (王叔和 Wang Shuhe) แบงชีพจรไว 24 ชนิด ตามทฤษฎกี ารแพทยจ ีนเช่ือวา หลงั จากเลือดไหลผานปอดแลวจะไปรวมศูนยทีต่ ําแหนงชีพจรทขี่ อมือ โดยชีพจรทข่ี อมือซายจะบงบอกภาวะของหัวใจ ลาํ ไสเล็ก ตับ ถุงนํ้าดี และ ไต ชพี จรทีข่ อ มือขวาจะบง บอกภาวะของ ปอด ลําไสใ หญ มา ม กระเพาะ- อาหาร และไต 2) การพฒั นาเรือ่ งปจ จัยการเกิดโรคและอาการของโรค ในป ค.ศ. 610 จกั รพรรดิฉาวเหวยี นฟาง (巢元方 Chao Yuanfang) มพี ระราช โองการใหเ ขยี นตาํ รา จูปง เหวยี นโฮว ลุน ( 诸 病 源 候 论 General

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 17 17 Treatise on the Causes and Syndromes of Diseases หรอื ตาํ รา ท่ัวไปเรือ่ งสาเหตุและอาการของโรค) เปนหนงั สือ 50 เลม แบงเปน 67 บท 1,720 หัวขอ เปน ตําราท่ีไมกลา วถึงตํารบั ยาเลย ตัวอยางท่ีนาสนใจ เชน การบรรยายอาการของโรคเบาหวานวา “จะกระหายนํ้ามาก ปสสาวะ บอย บางครัง้ เปนแผลทีผ่ วิ หนงั งา ย ผูปว ยมักชอบกินอาหารมันและหวาน ทําใหเ กิดความรอนภายใน” บรรยายเรือ่ งโรคหิดและวิธีการรักษาโดยรวู า สาเหตุเกดิ จากเชื้อหดิ และรวู า พยาธลิ ําไสเกดิ จากการรบั ประทานเน้อื วัว และเน้อื ปลาดิบ เปนตน หวางซูเหอ ฉาวเหวียนฟาง ถาวหงจงิ่ 3) ความกา วหนาทางเภสัชวทิ ยาและการปรุงยา มพี ฒั นาการใน ดา นตา ง ๆ ดังน้ี 3.1 การปรับปรงุ ตาํ รายา มกี ารปรับปรุงตํารายาเสนิ หนงโดย ถาวหงจิ่ง (陶弘景 Tao Hongjing) (ค.ศ. 452-536) ถาวหงจิ่งได ตรวจสอบตาํ รายาเสนิ หนง และเขียนขึน้ ใหมเ ปนตํารา เปนเฉา จงิ จ๋ีจู (本 草经集注 Collective Notes to Classic of Materia Medica หรอื การรวบรวมบนั ทึกเกี่ยวกบั ตาํ รายาคลาสสิค) เปน หนังสือ 7 เลม กลาวถึง

Page 18 18 สถาบันการแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต ยาเพ่มิ เติมจากเดิมท่ีมีอยู 365 ขนาน เพม่ิ อีก 365 ขนาน รวมเปน 730 ขนาน มีการจัดหมวดหมูยาใหมตามความแรงของสรรพคุณยา ริเริม่ หลัก “ยาตางกลุมอาจใชรักษาโรคเดยี วกันได” และกลาวถึงวิธีการเก็บสมุนไพร เชน ควรเก็บสมุนไพรชวงตนฤดูใบไมผลหิ รอื ปลายฤดใู บไมรวง เพราะ ชว งเวลาดงั กลาว ดอก ผล ก่งิ และใบ จะโตเต็มท่แี ละสุก ถาวหงจิง่ ยงั เขยี นตาํ ราไวอีกหลายเลม ไดแ ก จูปงทงเหยายง (诸 病通药用 Effective Recipes หรือ ตํารับยาทีไ่ ดผล) เปนเฉาจงิ จจ๋ี ู ( 本 草 经 集 注 Chinese Herbs in Verse หรือ ความเรยี งเร่ือง สมนุ ไพรจีน) โจวโฮว ไปอฟี าง ( 肘 后百 一方 Supplement of a Hundred Formulae to Keep up Ones Sleeve หรอื ภาคผนวกของ รอยสตู รตาํ รับเพ่อื เกบ็ ไวในแขนเสื้อ) เปย จีโ๋ ฮวฟาง (备急后方 Formulae for Keeping Good Health and Longevity หรอื สตู รตํารบั เพื่อรกั ษา สุขภาพและทําใหอายุยนื ) อายุวฒั นะคลาสสิค (Classic of Longevity) และ วิธเี ลนแรแ ปรธาตุ (Methods of Alchemy) ถาวหงจ่งิ เปนนักปราชญ ท่มี ีแนวคดิ ผสมผสานท้ังพทุ ธ ขงจ่ือและเตา แตเขาทาํ งานเพียงคนเดยี ว เทา น้ัน และตําราของถาวหงจงิ่ ยงั มีความเชื่อในเรื่องยาอายวุ ฒั นะ นอกจากตําราของถาวหงจิ่งแลว ในยุคราชวงศถ งั ยังจดั ทาํ ตํารายา หลวงขน้ึ เผยแพรท ่ัวประเทศ ช่ือ ซินซิวเปนเฉา ( 新 修 本 草 The Newly Revised Compendium of Materia Medica) (ค.ศ. 659) เปนหนงั สือ 54 เลม แบง เปน 3 ภาค - ภาคแรก เร่ืองตํารายา วา ดวยธรรมชาติ รส แหลง กําเนิด วธิ ี เก็บและเตรียมยา และขอ บงใช

การแพทยแ ผนจนี ในประเทศไทย Page 19 19 - ภาคสอง เรอื่ งลักษณะยา วาดวยลักษณะของยาแทจากภาคตาง ๆ ของประเทศ - ภาคสาม เปนรปู ภาพคลาสสคิ ของยา ซนิ ซิวเปน เฉา นบั เปนตาํ รายาหลวงฉบบั แรกของโลกทเ่ี กยี่ วกับตัวยา สมนุ ไพร กอนตํารายานูเรมเบิรก (Nuremberg Pharmacopoeia) ซ่งึ เผยแพรใน ค.ศ. 1542 เปนเวลาถงึ 800 ป ตํารายาฉบับน้ีกลาวถึงวสั ดุ อดุ ฟน ซึ่งทําจากตะกัว่ เงนิ และปรอท เปนเวลาถงึ 1,000 ปก อ นที่เบลล (Bell) ทันตแพทยชาวอังกฤษจะคดิ คน โลหะผสมเงนิ และปรอทเพ่ือใช อดุ ฟน นอกจากตาํ รา 2 ฉบับท่ีกลา วมาแลว ยังมคี วามกาวหนา ทางเภสชั วทิ ยาอื่น ๆ ไดแก การรวบรวมตาํ รับยาจากตา งประเทศ และการจัดทาํ ตํารายา สืออเู ปนเฉา (食物本草 Compendium of Materia Medica for Dietaric Treatment หรือ ตาํ รายาฉบับยอเพอื่ โภชนบําบัด) 3.2 การพัฒนาการรกั ษาเฉพาะโรค ไดแ ก - การรักษามาลาเรียดวยสมุนไพรฮอมดง ( 常 山 Changshan หรือ Radix Dichroae) - การรักษาโรคเหนบ็ ชา (Beriberi) โดย เฉินฉางช่ี (陈 藏 器 Chen Cangqi) พบวา การกินขา วขาวเปนเวลานานจะทาํ ใหเ ปน โรคเหน็บชา และ ซุนซือเหม่ยี ว (孙思邈 Sun Simiao) พบวาการกิน ขา วกลองชว ยรักษาโรคเหน็บชาได - การรักษาโรคคอพอกดวยสาหรายทะเล (Marine Algae) สาหรายทะเลสีน้าํ ตาล (Kelp) และตอ มธัยรอยดจ ากสตั ว

Page 20 20 สถาบนั การแพทยไทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต - การรกั ษาโรคตามวั ในท่ีมดื (Night Blindness) ดว ย ตบั สัตว - การรกั ษาวัณโรคดว ยรกสตั ว 3.3 การนาํ วชิ าเลนแรแปรธาตมุ าใชใ นการพฒั นาเภสัชเคมีภัณฑ เกิดจากความพยายามแสวงหายาอายวุ ฒั นะตั้งแตยุคตน ราชวงศฉิน ทําให มีการพัฒนาวชิ าเลน แรแปรธาตุ สงผลใหมีการพัฒนาเภสัชเคมีภณั ฑใน ยคุ เริม่ แรก 3.4 การพัฒนาการปรุงยา มตี ํารา เหลยกงเผาจื้อลุน (雷公 炮炙论 Leis Treatise on Medicinal Preparation หรอื ตาํ ราการ ปรุงยาของเหลย ) แนะนําการปรุงยา เพอื่ เพิ่มสรรพคุณ ลดพษิ และอาการ ขางเคียง รวมทง้ั การปรุงยาเพือ่ ใหใชไดง า ย และเก็บรกั ษาไดนาน 4) การพฒั นาเวชปฎบิ ัติ ในยุคราชวงศจ้ิน ราชวงศส ุย และราชวงศ ถงั มแี นวโนมการพัฒนาแพทยใหม ีความชาํ นาญเฉพาะทางแขนงตาง ๆ ดงั น้ี 4.1 ตาํ ราเวชศาสตรฉุกเฉนิ มีการรวบรวมและเขียนตําราช่อื สือโฮวจ้ิวจฟู าง (时后救卒方 Emergency Formulae to Keep up Ones Sleeve หรือ ตาํ รายาฉุกเฉินสําหรับเกบ็ ไวใ นแขนเสื้อ) โดยเกอ หง (葛洪 Ge Hong) ซึ่งนับเปนตาํ ราปฐมพยาบาลเลมแรกของโลก ตั้งแต เมอื่ 1,600 ป มาแลว 4.2 ตําราฝงเขม็ และรมยา มตี ําราฝง เขม็ และรมยาชอ่ื เจนิ จวิ่ เจ่ยี อ่ีจิง ( 针 灸 甲 乙 经 A-B Classic of Acupuncture and Moxibustion หรอื ตํารา เอ-บี คลาสสิค) เขยี นในยุคราชวงศฉ นิ โดย

การแพทยแผนจนี ในประเทศไทย Page 21 21 หวงฝูม่ี (皇甫谧 Huang Fumi) (ค.ศ. 215–282) เปน หนังสอื 12 เลม 128 บท แบง เปน 2 ภาค ภาคแรกเปนทฤษฎีพ้นื ฐาน ภาคสองเปน เวชปฏบิ ตั ิ นับเปนตาํ ราสําคัญของการแพทยจีนในเรื่องฝงเขม็ นับจากคัมภีร เนย จ ิง ตอ มาในยคุ ราชวงศฉินตะวนั ออก เปากู ( 鲍 姑 Bao Gu) ภรรยาของเกอหง เปนแพทยหญิงคนแรกของจีนที่ชาํ นาญเร่ืองฝงเข็มและ รมยา 4.3 ตําราเฉพาะเรอ่ื งทางศัลยศาสตร มีตาํ ราชอ่ื หลิวเจวฺ ียน จอ่ื กยุ อ๋ฟี าง (刘涓子鬼遗方 Liu Juanzi’s Remedies Left Over by Ghosts หรือ ตาํ ราผบี อกของหลวิ เจวยี นจื่อ) รวบรวมโดย กงชิ่งซวน ( 龚庆 宣 Gong Qingxuan) ในยคุ ราชวงศฉ ี เปน ตาํ ราเลมแรกที่มี เน้อื หาเฉพาะเร่ืองทางศัลยศาสตร เปน หนังสือ 10 เลม เก่ยี วกับการ รกั ษาบาดแผล ฝ ผวิ หนงั อักเสบ การบาดเจ็บ และโรคผิวหนังตาง ๆ มี ตํารบั การรักษา 140 ตํารับ ประกอบดว ยเรื่องการหามเลอื ด การระงับ ปวด ยาสมาน การบรรเทาพษิ และการระงบั ความรสู ึก เกอ หง หวงฝมู ่ี

Page 22 22 สถาบนั การแพทยไ ทย-จีน เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต 4.4 ตาํ ราเฉพาะเรอื่ งการบาดเจบ็ มตี าํ ราช่ือ เซียนโซวหลีซ่ าง ซมู ี่ฟาง (仙授理伤续秘方 Secret Formulae to Treat Traumatic Injury Given by Celestials หรือ ตาํ รับลับจากเทวดาในการรักษาการ บาดเจ็บ) เขยี นโดยนักพรตเตาช่ือ ล่ินเตาเหริน (蔺道人 Lin Daoren) (ค.ศ. 790-850) เปนตํารารักษาการบาดเจ็บเลมแรก กลาวถึงการวนิ ิจฉัย และรักษาโรคกระดูกหักท้งั ชนิดมแี ผลปด และเปด มกี ารแนะนําใหใ ชฝน ชว ยระงับความรูสึกเจ็บปวดในขณะดงึ จัดกระดกู ใหเขา ท่ี 4.5 ตาํ ราเฉพาะเรอ่ื งทางสตู ศิ าสตร มีตําราช่ือ จิงเส้ียวฉาน เปา (经效产宝 Tested Prescriptions in Obstetrics หรือ ตํารบั ท่ี ทดสอบแลวทางสูตศิ าสตร) (ค.ศ. 852) เขยี นโดย จานยิน (昝殷 Zan Yin) ในคาํ นําของตาํ ราบรรยายไววา ในปตาจง (大中 Dazhong) ซ่งึ ตรงกบั ค.ศ. 847 อัครมหาเสนาบดี (PrimeMinister) ไปหมินจง (Bai Minzhong) ตระหนักถึงปญหาการคลอดยากที่พบมากข้ึน จึงสงคน ออกไปตระเวนหาแพทยที่ชาํ นาญทางสูติกรรม ไดพบกับจานยิน จึงนาํ ตัวไปใหอ คั รมหาเสนาบดสี มั ภาษณดว ยตนเอง จา นยินตอบคาํ สัมภาษณ โดยรวบรวมเปนตําราให 3 เลม อัครมหาเสนาบดีไปพอใจวาเปนตํารา ทส่ี ั้นกระชับดี จงึ ตัง้ ชื่อหนังสอื ให ตาํ ราน้ปี ระกอบดวยเนอื้ หา 52 บท 317 ตาํ รับ - เลม แรก เปนตํารารกั ษาภาวะขาดประจําเดือน ตกขาวและความ ผดิ ปกติระหวางต้งั ครรภ - เลมสอง วา ดว ยความผิดปกตใิ นการคลอด - เลม สาม วา ดว ยความผิดปกตหิ ลงั คลอด

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 23 23 4.6 ตําราเฉพาะเรอื่ งกุมารเวชศาสตร มีตาํ ราชอื่ หลูซฺยงจิง (颅匈经 Manual of the Fontanel and Head หรอื คมู ือกระหมอม และศีรษะ) เปน ตาํ ราทไ่ี มท ราบช่ือผูเขียน นบั เปน ตาํ รากุมารเวชศาสตร เลม แรกในยุคราชวงศส ุยและราชวงศถัง เปนหนงั สือ 2 เลม เลม แรก เปน เร่อื งชีพจรผดิ ปกตลิ กั ษณะตา ง ๆ ท้ังในผูใ หญและในเดก็ เลม สอง อธิบายสาเหตุและการรกั ษา 5) ระบบการศึกษาและการบริหารการแพทย ในยุคนม้ี ีพัฒนาการ ท่ีสาํ คัญ คือ ค.ศ. 581 ในยุคราชวงศส ุย มีการกอตงั้ ไทอ ีเวย่ี น (太医院 Imperial Medical Institute หรือ สถาบันแพทยหลวง) ซงึ่ ประกอบดว ย 3 แผนก คือแผนกยา การนวด และเวทมนต (Incantation) ค.ศ. 618 ในยุคราชวงศถ ัง กจิ การแพทยหลวงซงึ่ เดิมจาํ กัดขอบเขตงานอยูเ ฉพาะ ในวังหลวง ไดข ยายออกไปท่ัวประเทศ มีการเริ่มกิจการโรงเรียนแพทย เพิม่ ระยะเวลาการฝก อบรมเปนแพทยและผูเชย่ี วชาญเฉพาะทาง เชน - อายุรแพทยท้ังระบบ เนนโรคภายใน (内科 Internal Medicine) ใชเวลา 7 ป - อายุรแพทยภายนอก (外科 External Medicine) ใชเ วลา 5 ป - กุมารแพทย ใชเวลา 5 ป - แพทยร ักษาโรคตา หู คอ จมกู ใชเ วลา 2 ป มรี ะบบการสอบประจําเดือน ประจําภาค และประจาํ ป สอบทั้ง ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ มีกรรมการจากภายนอกมารว มในการสอบไล ประจาํ ป ผเู ขา เรยี นแพทยม ักเปนบุตรหลานขา ราชการ สว นท่ีเรียนเภสัช

Page 24 24 สถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต ศาสตรมักเปนบุตรหลานชาวบาน การศึกษาการแพทยของจีนในยุค นี้มีความเปนระบบมากกวา ระบบของโรงเรียนแพทยสมัยแรกในอีกสอง ศตวรรษตอมาของยุโรป เชน ที่ซาเลอรโ น ประเทศอติ าลี (ค.ศ. 846) ในยคุ ราชวงศถงั มีแพทยที่มีช่อื เสียง คือ 5.1 ซุนซือเหม่ียว (孙思邈 Sun Simiao) (ค.ศ. 581- 682) ขณะมีอายุ 71 ป (ค.ศ. 652) ไดแ ตงตาํ รา เชียนจินเอ้ียวฟาง (千金要方 Thousand Ducat Formulae หรอื ตํารบั ยาพันเหรียญ ทอง) เปน หนงั สือ 30 เลม ตอมายังแตงตออีก 30 เลม ช่ือ ตํารา เชียน จนิ อี้ฟาง ( 千 金 翼 方 Supplement to the Thousand Ducat Formulae หรือ ภาคผนวกตาํ รับยาพันเหรียญทอง) นักประวัติศาสตร การแพทย เรียกตําราชดุ นว้ี า “สารานุกรมชดุ แรกวา ดวยเวชปฏิบัติใน ประวัติศาสตรการแพทยแผนโบราณของจีน (The First Encyclopedia of Clinical Medicine in the History of Traditional Chinese Medicine)” ตาํ ราชดุ นี้มีจุดเดน ที่สําคัญ ดังน้ี - กลาวถึงตวั ยาถึง 4,000 ชนิดในฉบับเดมิ และอีก 2,000 ชนดิ ในภาคผนวก - ใหความสนใจกับการดแู ลสุขภาพของแมแ ละเดก็ - ใหความสําคัญกบั โภชนบาํ บดั มุงเร่ืองการสรา งเสริมสุขภาพ โดยให “ทํางานเบา ๆ เปนประจาํ อยา หักโหมทาํ งานหนักเกนิ กาํ ลงั ” ให ความเอาใจใสกับตํารับยาพื้นบาน สงเสริมการศึกษาเรื่องจริยธรรมวชิ าชพี ซนุ ซือเหมี่ยวไดรบั ยกยองเปน “เภสัชยราชา (Medicine King)”

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 25 25 5.2 หวางถาว ( 王 焘 Wang Tao) (ค.ศ. 670-755) ได รวบรวมตําราจากแพทยราว 70 คน มาเขยี นใหม ใชเวลา 10 ป เสรจ็ ใน ค.ศ. 752 คือตาํ รา ไวไถม่เี อ้ียวฟาง (外台秘要方 Arcane Essentials from Imperial Library หรือ ตาํ ราสาระลี้ลับจากหอ งสมดุ ราชสํานัก) เปนหนงั สือ 40 เลม 450 หวั ขอ 1,104 เร่ือง ยา 6,700 ตาํ รับ การรมยา 7 ชนดิ ใน 19 เรอื่ ง จดุ ฝง เขม็ 663 จดุ ใน 19 เร่อื ง และเปนคร้ังแรกท่ี มกี ารบันทกึ เรื่องการชมิ ปสสาวะในผปู ว ยเบาหวาน ซุนซือเหม่ียว หวางถาว ไวไ ถมีเ่ อ้ียวฟาง 5. ยุคราชวงศซ ง (宋代 Song Dynasty) ถึงราชวงศเ หวียน (元代 Yuan Dynasty) (ค.ศ. 960-1368) ในยุคราชวงศซง เหนอื (ค.ศ. 960-1127) มกี ารคน พบทางวทิ ยาศาสตร ทสี่ ําคัญคือ การคนพบดินปน เขม็ ทิศ และการพิมพ คารล มารก ซ (Karl Marx) (ค.ศ. 1818-1883) ไดก ลา วถงึ การคนพบท้ังสามสง่ิ น้ีใน หนังสือ การประยุกตท างการแพทยธ รรมชาติและวทิ ยาศาสตร (The Application of Medicine, Nature and Science) วา “ดินปน ได ระเบดิ ชนชัน้ นักรบออกเปนเสี่ยง ๆ และเข็มทิศไดถ กู ใชเปด ตลาดโลก

Page 26 26 สถาบนั การแพทยไ ทย-จนี เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต และสรา งอาณานคิ ม ขณะที่การพมิ พไดก ลายเปนเคร่ืองมอื ของการศกึ ษา ใหม และเคร่อื งมือของการฟนฟวู ิทยาศาสตร และเปนคานงดั ทแี่ ขง็ แรง ท่ีสุดซึ่งเปนพ้ืนฐานสําคญั ในการสรางและพฒั นาจติ วญิ ญาณ” ในยุค ดังกลา วจีนเริ่มมีการพมิ พธนบัตรใช และมีการพฒั นาทัง้ ทางดานดารา ศาสตรแ ละกลศาสตรอยางกวางขวาง อยางไรก็ตามในยุคราชวงศซง มีการปะทะทางความคิดอยางรุนแรง ระหวา งแนวคดิ ดง้ั เดิมตามลทั ธิ ขงจือ่ กบั ความรูใหม ๆ (New learning) เหลา นี้ ในยคุ น้ี มพี ัฒนาการทางการแพทยห ลายประการ ไดแ ก 1) การชาํ ระและพิมพเผยแพรต ําราแพทย มีการดําเนนิ การตาม ลาํ ดบั ดงั น้ี ค.ศ. 971 พระจกั รพรรดิมพี ระราชโองการใหมีโครงการพบปะ สังสรรคของนักปราชญผเู ชย่ี วชาญทางการแพทย (The Imperial Edict of Visiting Scholars with Outstanding Medical Skills) ค.ศ. 981 มีพระราชโองการใหเสาะหาตําราแพทย โดยการซ้ือหา มาเปนจาํ นวนมาก ค.ศ. 1026 มีการสะสมตาํ ราแพทยและตํารบั ยาเพ่ิมเติมอกี มาก ค.ศ. 1057 จดั ต้งั เสย้ี วเจ้ิงอีซจู ฺหวี ( 校 正 医 书 局 The Proofing Bureau for Medical Books หรือ สาํ นักงานชําระตาํ รา แพทย) ในสถาบันแพทยฮั่นหลิน ( 翰 林 医 官 院 The Hanlin Medical Officers Academy) ใชเวลา 10 ป ระหวา งป ค.ศ. 1068- 1077 ชําระตาํ ราแพทยโบราณ เชน คัมภีรซูเ วนิ่ ถกู แกไขกวา 6,000 คํา และมีคาํ อธบิ ายเพิม่ เติมกวา 2,000 แหง ตาํ ราตา ง ๆ ไดร บั การชาํ ระ

การแพทยแผนจีนในประเทศไทย Page 27 27 และเผยแพร ทําใหไ ดรับความเชอ่ื ถือเปน ตาํ ราอางองิ ตอ มาเปน เวลากวา 1,000 ป 2) การกอ ต้ังสํานักเภสชั วทิ ยาแหงชาติ มีการพัฒนาท้งั การผลติ และจาํ หนา ยยา เปล่ียนชื่อโรงงานผลิตยา (熟药 Drug Processing Workshop) เปน ตํารับเวชปราณีการณุ โอสถสถาน (Medical Grace Formulae Benevolent Dispensary) และเปล่ียนช่ือสถานจาํ หนา ยยา เปน เวชการณุ โอสถสถาน (Medical Benevolent Dispensary) 3) การพัฒนาระบบการศึกษาแพทย สถาบันแพทยหลวงไดพัฒนา ระบบการศึกษาแพทย โดยแบงนักศึกษาออกเปน 3 ระดับ มีการสอบ เล่อื นชน้ั ทุก 2 ป และแบงโรงพยาบาลของโรงเรียนแพทยเปน 3 แผนก ไดแก - แผนกอายรุ ศาสตร สตู ิศาสตร และกุมารเวชศาสตร - แผนกฝงเข็มและรมยา - แผนกโรคภายนอก ซ่ึงรวมถงึ ศัลยศาสตร การรักษาการ บาดเจบ็ และการจัดกระดูก 4) การพัฒนาสตู รตํารบั ยาและเภสัชวิทยา มีการพัฒนาตาํ ราทาง เภสัชวทิ ยา และสตู รตาํ รบั ยาจาํ นวนมาก ไดแก - ตํารายา เปนเฉากังมูชําระใหมปไคเปา (本草刚目 Kai Bao Newly Revised Compendium of Materia Medica) ซึง่ ตรง กบั ค.ศ. 973 โดย หลวิ หาน (刘翰 Liu Han) ผเู ชยี่ วชาญทางเภสัช วทิ ยา หมา จ้ือ (马志 Ma Zhi) แพทยห ลวง และไจซวฺ ่ี (翟煦 Zhai Xu)

Page 28 28 สถาบันการแพทยไ ทย-จีน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต กบั จางหฺวา ( 张 华 Zhang Hua) ซึง่ เปนสมาชกิ ราชบัณฑติ ยสถาน (Imperial Academy) - ตํารา จิงสื่อเจ้ิงเลยเ ปยจเ๋ี ปนเฉา ( 经史证类备急本草 Classic and Historical Classified Materia Medica for Emergency หรือ ตํารบั ยาแบบด้ังเดิมและการแบงประเภทตามประวัตเิ พ่ือโรคฉุกเฉิน) (ค.ศ. 1056-1093) แตง โดย ถงั เซิ่นเวย (唐慎微 Tang Shenwei) เปนหนงั สือ 32 เลม มตี วั ยา 1,558 ชนิด โดยเปนยาใหม 476 ชนดิ - ตํารา ไทผ ิงเซิ่งหุย ฟาง ( 太 平 圣 惠 方 Peaceful Holy Benevolent Formulae หรอื ตํารบั ยาการุณสวรรคสันต)ิ (ค.ศ. 987- 992) รวบรวมโดย หวางหฺวานอี่หนง (Wang Huanyinong) ตามพระราช โองการของจกั รพรรดริ าชวงศซง เปน หนังสือ 100 เลม 1,670 เรื่อง และ 16,834 ตาํ รับ - ตาํ รา ไทผิงหุยหมินเหอจ้ีจหฺ วฟี าง (太平惠民和剂局方 Formulae of the Peaceful Benevolent Dispensary หรือ ตํารับยา ของการณุ สันติโอสถสถาน) (ค.ศ. 1102-1106) ตอมามีการแกไ ขปรับปรุง เปลี่ยนช่ือใหมเปน ตาํ รับสําหรบั โอสถสถาน (Formulae of the Dispensary) เปนหนงั สือ 5 เลม 21 เรอ่ื ง และ 297 ตํารับยา ปจ จุบนั ไดมีการแกไ ข เพิ่มเตมิ เปน 10 เลม 14 เรอ่ื ง 788 ตํารับยา ท้ังนต้ี ํารับยาในตํารานีจ้ ะ ประกอบดว ยตัวยาหลายชนดิ - ตาํ รา เซ่งิ จจี่ งลู (圣济总录 The Complete Record of Holy Benevolence หรือ บันทึกฉบับสมบูรณแหง สวรรคการุณย) (ค.ศ. 1111–1117)รวบรวมโดยคณะแพทยแหงราชวงศซ ง เปน หนังสือ 200

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 29 29 เลม ประมาณ 20,000 ตาํ รับ และ 66 กลุม 5) การพฒั นาการแพทยเ ฉพาะทางแขนงตาง ๆ ไดแ ก 5.1 สาเหตุของโรค มี ตําราเรือ่ งสาเหตุของโรค คอื คําอธิบาย เรอ่ื งโรค กลุมอาการและตํารายาเกย่ี วกับการผนวกรวมสาเหตุโรคสาม กลุม (三因极一病证方论 Discussion of Illness, Syndromes and Formulae Related to the Unification of the Three Groups of Pathogenic Factors) เขียนโดย เฉินเอยี๋ น (陈言 Chen Yan) 5.2 การฝง เขม็ และรมยา ในป ค.ศ. 1027 มกี ารหลอรปู บรอนซขนาดเทาคนจริงจํานวน 2 รูป แสดงจุดฝงเข็ม 657 จดุ และ เปดดูอวัยวะภายในได รูปหน่ึงวางไวใ หนักศึกษาใชเ ปนอปุ กรณการเรียน ในโรงเรยี นแพทย อกี รปู หน่ึงเก็บไวท ีพ่ ระตาํ หนักเหรินจ่ี (仁济殿 Ren Ji Palace) ในวัดตาเซยี งก๋วั ( 大相国 Ta Xiangguo Temple) นอกจากนี้ยังมีการเขียนตําราฝงเขม็ และรมยาเผยแพรอ ีกหลายชุด 5.3 วชิ านรีเวชวทิ ยา มตี าํ ราที่สาํ คัญ ไดแ ก - ตํารา สือฉา นลุน (十产论 Treatise on Ten Obstetric Problems หรือ ตาํ ราเรื่องสิบปญหาทางสูตศิ าสตร) (ค.ศ. 1078) เขียน โดย หยางจื่อเจีย้ น (杨子建 Yang Zijian) - ตาํ รา ฟูเ หรินตาฉวนเหลยี งฟาง ( 妇 人 大全良 方 Complete Effective Formulae for Woman หรอื ตํารบั ทไ่ี ดผล สมบรู ณสําหรับสตรี) (ค.ศ. 1237) เขียนโดย เฉนิ จื้อหมิง (陈自明 Chen Ziming) อธิบายความผิดปกติ 260 เร่อื ง 24 กลมุ โดย 19 กลมุ เปนเรือ่ งทางนรเี วช ทเี่ หลอื อกี 5 กลุม เปน เรอื่ งทางสตู ิศาสตร

Page 30 30 สถาบนั การแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต 5.4 วิชากุมารเวชศาสตร มตี าํ ราช่อื เส่ียวเออรเหยาเจิ้งจอื๋ จเฺ หวีย (小儿药证直诀 Key to Syndrome Identification and Treatment of Diseases in Infants หรือ กุญแจการวินิจฉยั กลมุ อาการและการ รักษาโรคในทารก) เขียนโดย เฉยี นอี่ (钱乙 Qian Yi) (ค.ศ. 1032- 1113) เปน หนังสือ 3 เลม ดังนี้ - เลม แรก เปนเร่ืองการรักษาโรคตามการวนิ ิจฉัยกลุมอาการ และภาวะชพี จร - เลมสอง เปนกรณีศึกษาผปู ว ย 23 ราย ที่ผูเขียนเคยรักษา - เลม สาม เปนรายการยาทีใ่ ชบอย ความเขากันของยา และ การบริหารยา เฉยี นอี่เนนการวินจิ ฉัยโรคดว ยการดู (Inspection) โดยการสังเกต ลกั ษณะผิวหนัง สภาพของใบหนา และดวงตา นอกจากนี้ มกี ารพัฒนา วิธีการวนิ ิจฉยั โรคโดยการสงั เกตหลอดเลือดดําใตผวิ หนงั บนนว้ิ ช้ขี องเด็ก โดย หลิวฝาง (刘昉 Liu Fang) เขียนในตาํ รา เสยี่ วเออรปงเหวยี น ฟางลุน (小儿病源方论 A Newly Compiled Book on Pediatrics หรือ ตํารารวมเลมใหมใ นกุมารเวชศาสตร) อธบิ ายลกั ษณะ 3 ประการ ของหลอดเลือดดําหลงั นวิ้ ชเี้ ด็ก ตอ มาไดม ีการพฒั นาพบลกั ษณะตา ง ๆ เพิ่มเปน 10 ประการ ทีบ่ งบอกโรคของอวัยวะภายในตาง ๆ 5.5 ศลั ยศาสตรและวทิ ยาการบาดเจบ็ หรือ ซางเคอเสวีย (伤 科学 Traumatology) มตี าํ ราช่ือ ไวเคอจิงเอ้ียว (外科精要 Essentials of External Diseases หรือ ตําราเรื่องสําคญั เกย่ี วกับโรคภายนอก) (ค.ศ. 1263) เขยี นโดย เฉินจื้อหมงิ (陈自明 Chen Ziming) และมี

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 31 31 การบนั ทึกเกยี่ วกับโรคมะเรง็ เปนครง้ั แรกในตํารา เวยจ้เี ปา ซู (卫济宝 书 Treasured Book for Health Care หรอื ตําราขมุ ทรัพยเ พ่อื การ ดูแลสขุ ภาพ) นอกจากนี้ มีการรักษากระดูกสนั หลังหักโดยการแขวน ถว งนาํ้ หนัก กอนท่ีแพทยช าวอังกฤษชื่อ เดวิส (Davis) จะกลาวถงึ วธิ กี ารจัดใหเ ขา ท่ีโดยการแขวน (Reduction by Suspension) เปนเวลา ถงึ 600 ป และมกี ารใชเฝอกไม 4 ชนิ้ เพอื่ รกั ษากระดูกหัก เฉียนอี่ เส่ียวเออรเหยา เจิ้งจอื๋ จเฺ หวยี 5.6 การพฒั นาดา นนิติเวชศาสตร มตี ํารานิติเวชศาสตรช ือ่ ส่ี วานจี๋ลู (洗冤集绿 Records of Washing Away the Injustice หรอื บนั ทกึ การขจดั ความอยุติธรรม) เขยี นโดย ซง ฉอื (宋慈 Song Ci) (ค.ศ. 1186-1249) เปน หนงั สือ 4 เลม ดังน้ี - เลมแรก เปน เรื่องพื้นฐานนติ ิเวช การผา ศพพสิ ูจน และ การวเิ คราะหเหตุการณข องการบาดเจ็บ - เลมสอง แยกแยะสาเหตขุ องการมีบาดแผลและการตาย วา บาดแผลเกิดกอนหรือหลังตาย เปนการฆาตวั ตายหรือฆาตกรรม

Page 32 32 สถาบนั การแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต - เลม สาม วาดวยยาพษิ ทง้ั จากสัตวห รือแรธาตุ ท่ใี ชฆา ตวั ตายหรือฆาตกรรม - เลม ส่ี วาดวยวิธแี กพ ษิ และภาวะฉุกเฉินตาง ๆ 6. ยุคพฒั นาการแพทยแ ละเวชปฏบิ ัติแผนใหม ชว งยุคราชวงศ หมงิ (明代 Ming Dynasty) และราชวงศชงิ (清代 Qing Dynasty) กอนสงครามฝน (ค.ศ. 1368-1840) เหตุการณในยุคน้ีท่มี ีผลกระทบตอพฒั นาการแพทยข องจีน ไดแก ในป ค.ศ. 1371-1435 ขันที เจ้ิงเหอ (郑和 Zheng He) หรือ ซนั เปา กง (三宝公 San Bao Gong) ไดอ อกเดินทางทองทะเลไปตลอดทะเล จีนใตถงึ อินเดียและกวา 30 ประเทศในตะวันออกกลางและแอฟรกิ า ทําให ประเทศจีนไดแลกเปลี่ยนวทิ ยาการและการแพทยก ับประเทศตาง ๆ แต ขณะเดียวกัน กม็ ีการปด กนั้ ควบคมุ บรรดาปญ ญาชน โดยในราชวงศห มิง และราชวงศชิงไดจ ัดระบบการสอบคัดเลือกขา ราชการ มกี ารสอบถึง 8 ภาค และมีความพยายามปดก้ันขัดขวางกระแสทุนนิยมโดยการใชนโยบาย ปด ประเทศดวย พฒั นาการดานตาง ๆ ทางการแพทยท ่สี ําคญั ในยุคนี้ มีดังน้ี 1) การพฒั นาตาํ ราการแพทยแ ละเภสชั ตํารับ ไดแก - ตํารายา เปน เฉา กังมู (本草纲目 Compendium of Materia Medica) (ค.ศ. 1578) เขยี นโดย หล่ีสอื เจิน (李时珍 Li Shizhen) (ค.ศ. 1518-1593) โดยใชเวลากวา 30 ป ศึกษาตาํ รากวา 800 เลม เขยี นตาํ ราน้ี เสรจ็ เมื่อมีอายุได 60 ป และพิมพเผยแพรครั้งแรกใน ค.ศ. 1596 เปน หนังสือรวม 52 เลม กลาวถึงสมุนไพร 1,892 ชนดิ โดย 374 ชนดิ เปน

การแพทยแผนจนี ในประเทศไทย Page 33 33 รายการใหมเ พมิ่ จากตําราเดิม มภี าพประกอบกวา 1,160 ภาพ เปนตํารับยา กวา 11,000 ตาํ รบั และตํารับยากวา 8,160 ตํารับ เขยี นจากประสบการณ ของเขาเอง มีการจดั หมวดหมขู องสมนุ ไพรใหมทเี่ ปนวิทยาศาสตรดวย ทง้ั น้ี ดารว นิ (Davin) ไดอ างองิ ขอมูลเรอื่ งปลาทอง (Golden Fish) และไกด าํ (Blackbone Chicken) จากตาํ ราชดุ น้ีดว ย ดารวินเรยี กตาํ รา น้วี า สารานุกรมจีนโบราณ (Encyclopedia of Ancient China) หลีส่ อื เจิน เปน เฉากงั มู ตอ มา จา วเสวียหม่ิน (赵学敏 Zhao Xuemin) (ค.ศ. 1716-1805) ไดเขียนตําราเปนเฉากงั มูส ืออ้ี (本草纲目拾遗 An Addendum to the Compendium of Materia Medica หรอื ภาคผนวกของตํารายาเปนเฉากังมู ของหล่สี ือเจิน) โดยใชเวลาราว 40 ป ทบทวนตํารากวา 600 เลม - ตาํ รา จือ๋ อูหมิงสือถเู ขา ( 植 物 名 实 图 考 Illustrated Investigation of Names and Natures of Plants หรอื หนังสือภาพ การสบื คนช่ือและธรรมชาตขิ องพืช ) เขียนโดย หวูฉีจุน (吴其浚 Wu Qijun) (ค.ศ. 1789–1847) ซงึ่ เปนขา ราชสาํ นกั ตาํ แหนง สูง และมีโอกาส

Page 34 34 สถาบนั การแพทยไ ทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต เดินทางไปหลายมณฑลกวาคร่ึงประเทศ เชน สานซี (陕西) หเู ปย (湖 北) หูหนาน (湖南) เจียงซี (江西) ซีจ้ัง (西藏) ฟูเจ้ียน (福建) ยฺหวนิ หนาน ( 云 南 ) และกุยโจว ( 贵 州 ) เปนตน เขาสนใจศึกษา สมุนไพรของทอ งถิน่ ตา ง ๆ และศึกษาตาํ รากวา 800 เลม ซง่ึ ในคร้งั แรก ไดร วบรวมพชื กวา 780 ชนิด ตอมาปรับปรงุ ใหมเปนหนังสอื ถงึ 38 เลม กลา วถึงพืช 1,714 ชนดิ - ตํารา ผจู ฟ้ี าง (普济方 Prescription for Curing All People หรือ ตํารับยาเพ่ือรักษาทุกคน) (ค.ศ. 1406) เปนหนงั สือ 168 เลม แบง เปนกวา 100 หวั ขอ 2,175 หัวขอยอย ตํารับยากวา 61,000 ตาํ รบั รวมตวั อักษรราว 10 ลานอักษร - หนงั สือ อฟี างเขา (医方考 Verification of Formulae หรอื หนังสือการทดสอบตาํ รับยา) (ค.ศ. 1584) เขยี นโดย หวูคุน (吴琨 Wu Kun) (ค.ศ. 1551-1602) เปนหนังสอื 6 เลม 72 หวั ขอ เปนหนังสือท่ี ไดรบั ความนิยมมาก ตองพิมพซ ํ้าประมาณ 10 ครัง้ - หนงั สือ อีฟางจี๋เจยี่ (医方集解 Collection of Formulae and Notes หรอื หนงั สือรวบรวมสูตรตาํ รับและบันทกึ ) เขียนโดย วาง หมา ว (汪昴 Wang Mao) แบงเปน 21 หัวขอ 300 ตาํ รับ - ตําราเกยี่ วกับไข หลายเลม ไดแก ตํารา ซางหานลุน (伤寒论 Treatise of Febrile Diseases หรือ ตาํ ราโรคไข) ตาํ รา ซอื เรอ เถียว เปย น ( 湿热条辨 Systematic Differentiation of Damp Heat Syndromes หรือ ตาํ ราการแยกกลุมอาการรอนช้ืนอยางเปนระบบ) ตํารา เวนิ ปงเถยี วเปย น ( 温 病 条 辨 Systematic Differentiation of

การแพทยแ ผนจนี ในประเทศไทย Page 35 35 Febrile Diseases หรอื ตาํ ราแยกโรคไขอ ยางเปน ระบบ) และ ตาํ ราโรค ระบาดฉบบั ยอ (Compendium on Epidemic Febrile Diseases) 2) การพฒั นาทฤษฎโี รคระบาด และการปลูกฝ ในยคุ ราชวงศหมงิ และราชวงศช ิง เกิดโรคระบาดข้ึนหลายครงั้ มโี รคระบาดเกิดขนึ้ ราว 64 คร้งั ในชว ง 276 ปข องยุคราชวงศห มิง และ 74 ครั้ง ในชว ง 266 ปของยคุ ราชวงศชงิ จึงมีการพฒั นาตาํ ราทเี่ กยี่ วของ กับโรคระบาด คือตํารา เวนิ อ่ีลุน (温疫论 Treatise of Pestilence หรือ ตําราโรคไขระบาด) เขียนโดย หวูโหยวซิ่ง (吴有性 Wu Youxing) เปนหนงั สือ 2 เลม วางทฤษฎพี ืน้ ฐานเรื่องโรคระบาด ในคาํ นําบรรยาย สาเหตุของโรคระบาดวา โรคระบาดมิไดเกดิ จากลม ความเย็น ความ รอน หรือความชนื้ แตเ กิดจากเหตุผิดปกตขิ องดินฟา อากาศเปนพษิ จาก การเปลีย่ นแปลงตามฤดกู าล (ตําราการแพทยจ ีนด้งั เดิม เชอ่ื วา โรคเกดิ จากเหตุธรรมชาติ 6 ประการ ไดแ ก ลม ความเย็น ความรอ น ความชืน้ ความแหง และไฟ)นอกจากนี้ ยังเชื่อวาเช้ือโรคระบาดเขาสรู างกายทาง จมกู และปาก หวูโหยว ซงิ่ ยังสงั เกตเห็นวา โรคระบาดเกดิ ในคนและสัตว ไมเหมือนกัน “วัวปวยในขณะทเ่ี ปดไมปวย และคนปวยในขณะทส่ี ัตว ไมปว ย” สาํ หรบั การบุกเบิกเรื่องการปลูกฝปองกนั ไขทรพษิ มีผูบันทกึ วา คนจนี ในอาํ เภอไทผิง (太平 Taiping) มณฑลหนิงกวั๋ ฝู (Ningguofu) ซึ่งปจ จบุ ันคือ มณฑลอันฮุย (安徽 Anhui) รจู ักวธิ ีการปลกู ฝป องกัน ไขทรพษิ มาตงั้ แตร ัชสมยั หลงชงิ (隆庆 Long Qing) แหง ราชวงศหมงิ (ค.ศ. 1567-1572)

Page 36 36 สถาบนั การแพทยไ ทย-จีน เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต หวโู หยวซ่งิ (หวูอวิ้ เขอ ) ในยุคราชวงศชิง มหี นงั สอื ท่กี ลา วถึงตาํ นานท่มี าของการปองกนั ไขท รพิษในประเทศจนี 2 เลม คือ หนงั สือ ตําราอา งอิงใหมเ กย่ี วกบั การ ปลกู ฝใ นมนุษย (New Text About Human Variolation) (ค.ศ. 1884) แตง โดย หวูหรงหลุน (武荣纶 Wu Rong Lun) และตงยวฺ ี่ซาน (董玉山 Dong Yushan) บันทกึ ไวว า “จากการสืบคนหนังสือเกา ๆ พบศัพทท างการแพทยเ กี่ยวกบั การปลูกฝในคน ในชว งสมัยถงั ไคเ ยฺวียน (Tang Kaiyuan) จาวสือ (Zhao Shi) ซึง่ อาศัยอยทู างตอนเหนือของ ลมุ นา้ํ แยงซี ไดใชวิธพี นผงแหงหรือท่ีทําใหช มุ ของสะเกด็ แผลไขทรพิษ เขาไปในเยอื่ บจุ มูกของเด็กทป่ี กติ” หนังสือเลม ดังกลาวไดกลา วถงึ การ ปลกู ฝในจนี วา เรมิ่ ต้ังแต ค.ศ. 713-741 หนังสืออกี เลม คือ ตําราไข ทรพษิ (Treatise on Pox) (ค.ศ. 1713) เขียนโดย จชู ุนเซย่ี (Zhu Chunxia) แพทยร าชสาํ นักแหงสถาบันแพทยห ลวง กลาวไววา การ ปลกู ฝเ ริ่มตน มาจาก หมอเทวดา (Divine Doctor) แหงภูเขาเออ รเ หมย (娥眉 Emei) ตงั้ แตร ัชสมัยซงเจนิ จง (宋真宗 Song Zhenzong)

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 37 37 (ค.ศ. 1023-1063) ตาํ นานมิไดก ลา วถึงวธิ ีการปลูกฝ แตเลา วา หวาง ตา น (王旦 Wang Dan) อัครมหาเสนาบดขี องราชสํานักซง เจนิ จง ไดนาํ วิธีจากหมอเทวดามาปลูกฝใหกบั ลูกของตนเอง หลังจากลูกหลายคนของ เขาตองตายไป เพราะไขท รพษิ ตาํ นานท้งั สองเรื่องนไี้ มมหี ลักฐานพสิ ูจน จงึ ไมใครไดรบั ความเชอ่ื ถือ วิธกี ารปลูกฝข องจนี เผยแพรไปใชใ นญีป่ ุน ค.ศ. 1652 และเขา สู รัสเซยี ค.ศ. 1688 3) การพัฒนาเวชปฏิบัติ ในยคุ ราชวงศห มงิ และราชวงศชิง มีการ พฒั นาเวชปฏิบัติแขนงตาง ๆ ทั้งอายรุ ศาสตร ศัลยศาสตร วิทยาการ บาดเจ็บ สตู ิศาสตร นรีเวชวิทยา กมุ ารเวชศาสตร จักษวุ ิทยา ทันตก รรม ลารงิ ซว ิทยา และวิทยาการฝงเขม็ มีตําราแพทยห ลายชุดเขียนข้ึน ในยคุ น้ี เชน - ตํารา อิ้วอวิ้ จเ๋ี ฉิง ( 幼 幼集 成 A Complete Work on Pediatrics หรอื ตาํ รากุมารเวชศาสตรฉ บับสมบูรณ) (ค.ศ. 1750) เขยี น โดย เฉินฟเู จิ้ง (陈复正 Chen Fuzheng) โดยเขียนจากประสบการณ ราว 40 ป อธบิ ายลักษณะหลอดเลือดดําที่นิ้วชี้ใหส มบูรณข ึน้ เนน การ รกั ษาดว ยยาภายนอกมากกวายาภายใน - ตําราเปา องิ ชัวเอีย้ ว (保婴撮要 Synopsis of Caring for Infants หรือ ตําราดแู ลทารกฉบบั ยอ) เขียนโดยสองพอลูก เซฺวียไข (薛铠 Xue Kai) และ เซฺวียจี่ (薛己 Xue Ji) เปน หนังสือ 20 เลม กลา วถงึ โรคตา ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกของเด็กกวา 700 เรือ่ ง มี เรอ่ื งวธิ ีการปองกันบาดทะยักในเด็กแรกเกิด โดยการจ้ีสายสะดือทต่ี ัด

Page 38 38 สถาบนั การแพทยไ ทย-จนี เอเชียตะวันออกเฉยี งใต ออกดว ยความรอน 4) การรวบรวมและชําระตาํ ราแพทยดั้งเดมิ มกี ารรวบรวมและ ชําระตาํ ราแพทยดั้งเดิมอยา งกวา งขวาง โดยเฉพาะคัมภีรเนย จิง (Classic of Internal Medicine) และตําราซางหานลุน (Treatise on Febrile Disease) โดยทาํ ใหกระชับและชัดเจนขึ้นจนไดรับความนิยมอยางกวางขวาง ในเวลาตอ มา ในยุคตนราชวงศชงิ ตาํ ราแพทยตา ง ๆ ตําราดั้งเดมิ กวา 120 เลม ไดร บั การจัดหมวดหมู เพ่อื ใหอา งอิงไดสะดวก จดั ทําเปนหนังสือรวม 520 เลม เน้อื หาครอบคลมุ ตง้ั แตบันทึกทางการแพทยสมยั ดงั้ เดมิ การ วินจิ ฉยั โรค การรกั ษา ทฤษฎพี ื้นฐานของโรคแขนงตา ง ๆ การประกอบ โรคศิลปะ บันทึกเหตุการณและประวตั ิแพทยทม่ี ีชื่อเสียง รวมทง้ั ทฤษฎี และวธิ ีการปรุงตาํ รับยา ตาํ ราสาํ คัญจากการรวบรวมและชําระตาํ ราแพทยด ั้งเดมิ คอื ตํารา อจี งจินเจยี้ น (医宗金鉴 หรือ ตําราการแพทยฉบับราชสาํ นัก) (ค.ศ. 1739) รวบรวมและชําระโดยแพทยราชสํานักแหงราชวงศชิง มี หวูเชียน (吴谦 Wu Qian) เปน หวั หนาคณะ จัดทาํ เปนหนังสอื 90 เลม หลงั การสถาปนารัฐจีนใหมใน ค.ศ. 1949 สถาบันแพทยราชสาํ นกั (The Institute of the Imperial Physicians) จัดใหตําราชุดน้เี ปนตําราอา งอิง ของนักศกึ ษา นอกจากนี้ ยังมีการรวบรวมบันทึกเวชปฏิบตั ิของแพทย เชน - หนงั สือ กูจินอีถง ( 古今医统 A Great Collection of Medical Works, Ancient and Modern หรอื หนงั สือรวบรวมผลงาน

การแพทยแ ผนจนี ในประเทศไทย Page 39 39 ทางการแพทยครง้ั ใหญท ั้งโบราณและปจจุบัน) (ค.ศ. 1556) รวบรวม โดย สวีชุนฝู (徐春甫 Xu Chunfu) - หนังสือ เจิ้งจ้ือจนุ จฺเหวยี ( 证 治 准 绝 Standard of Diagnosis and Treatment) (ค.ศ. 1602) โดยหวางเขิน่ ถัง (王肯堂 Wang Ken Tang) - หนงั สือ จิ่งเยวี่ยฉวนซู (景岳全书 Complete Works of Zhang Jingyue หรอื หนังสอื ผลงานฉบับสมบูรณข องจางจิ่งเยวี่ย) (ค.ศ. 1624) โดย จางเจี้ยปน (张介宾 Zhang Jiebin) เปน หนังสือ 64 เลม รวมกวา 1 ลา นตัวอักษร - หนงั สือ หมงิ อีเลยอัน้ ( 名 医 类 案 Classified Medical Records of Famous Physicians หรอื หนังสือเรียบเรยี งการบันทกึ ทาง การแพทยอยางเปนระบบของแพทยผูมชี ื่อเสียง) (ค.ศ. 1549) รวบรวม โดย เจยี งกวน ( 江瓘 Jiang Guan) โดยใชเ วลาทาํ งานกวา 20 ป รวบรวมบนั ทึกและเขียนคาํ วจิ ารณ แตทาํ ไดเ พียง 12 เลม กเ็ สียชวี ิต เจียงยิ่งซู (Jiang Yingsu) ผูเปน บตุ รใชเวลาทํางานสืบทอดตอมาอกี 19 ป จึงเสร็จ และตพี มิ พเ ผยแพรไดใ น ค.ศ. 1591 หนังสือนีไ้ ดรับความ นยิ มและตพี ิมพซ้ําหลายครัง้ - หนังสือ ซูห มิงอเี ลย อั้น (续名医类案 Supplements to the Classified Medical Records of Famous Physicians หรือ ภาคผนวกหนังสือเรียบเรียงการบนั ทึกทางการแพทยอยางเปนระบบของ แพทยผมู ีช่ือเสียง) (ค.ศ. 1770) และหนังสือ คาํ อภิปรายเรือ่ งเวช ปฏบิ ตั ใิ นหลวิ โจว (柳州医话 Discussion of Medical Practice in

Page 40 40 สถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต Liu Zhou) รวบรวมโดย เวยจือซ่ิว (魏之绣 Wei Zhixiu) จางจงิ่ เยวฺ ี่ย หวางเขิ่นถงั 5) การแลกเปล่ียนทางการแพทยก ับตางประเทศ ในยุคราชวงศ หมิงและราชวงศช ิง มกี ารแลกเปลยี่ นทางการแพทยของจีนกับประเทศ เพ่อื นบา น คือ ประเทศญ่ปี ุน และเกาหลี โดยสว นใหญญ ่ปี ุนและเกาหลี รบั ถา ยทอดวิทยาการจากจีน ขณะเดียวกันวิทยาการทางการแพทยของ ตะวันตกไดเ ผยแพรเขา สูจนี ทั้งวิชากายวภิ าคศาสตร สรรี วทิ ยา เภสัช วิทยา และอ่ืน ๆ แตม ีอทิ ธิพลตอการแพทยจีนไมมากในขณะท่ีการแพทย จีนเรม่ิ เผยแพรเขาสยู ุโรปโดยผานทางคณะมิชชันนารี เชน มิเชล บอยม (Michel Boym) ตีพิมพหนังสือช่ือ พรรณไมจีน (Chinese Flora) (ค.ศ. 1643) เปนภาษาละติน โดยเนือ้ หาสวนใหญ ไดม าจากตาํ รายาเปนเฉากังมู (本草纲目 Compendium of Materia Medica) ของหลส่ี ือเจนิ อาร พี แฮรร ิว (R.P. Harrieu) ตพี ิมพห นังสือ ความลับของ การแพทยจนี ด้ังเดิม (Secret Classic of Traditional Chinese Medicine) (ค.ศ. 1671)

การแพทยแ ผนจนี ในประเทศไทย Page 41 41 พูมิเกอร (Pumiger) แปลหนังสือ อหี มิงเหอจงกั๋วมายหล่ี (医明 和中国脉理 Medical Guide and Traditional Chinese Medicine Pulse Theory หรือ คูมือทางการแพทยและทฤษฎีชีพจรการแพทยจีน) เปน ภาษาละติน ใน ค.ศ. 1680 และพมิ พเ ผยแพรในประเทศเยอรมนี เคลอเยอร (Cleryer) รวมงานแปลของพูมิเกอรเ รื่องชีพจรของ จีน การตรวจล้ิน สมนุ ไพรจีน 289 ชนิด และภาพเสนชีพจร 68 ภาพ ตีพิมพหนังสอื ตัวอยา งการ บําบัดโรคของจีน (中国医法齐例 Examples of Chinese Medical Therapies) เปน ภาษาละตนิ ใน ค.ศ. 1682 ทเ่ี มอื งแฟรงเฟรต ประเทศ เยอรมนี ในศตวรรษที่ 17 แพทยช าวตะวันตกเริ่มนาํ วชิ าฝง เข็มและรมยา ไปใช กลาวคือ ค.ศ. 1671 มีการตพี ิมพต าํ รารมยาออกมา 2 เลม ใน ประเทศเยอรมนี เลม หน่งึ เขียนโดย เกลฟูซสุ (Geilfusius) อกี เลม หน่งึ เขียนโดย บสู ชอฟ (Busschof) เซอรจอหน ฟลอเยอร (Sir John Floyer) แพทยช าวอังกฤษ เขียนรูปแบบการจบั ชพี จรของแพทย (Form of Doctor’s Feeling the Pulse) เจ เอ เกหมา (J.A. Gehma) ตีพิมพห นังสือ การประยุกตว ธิ ีรม ยาของจีนในการรักษาอาการปวดขอจากโรคเกาท (应用中国灸术治 疗痛风 Application of Chinese Moxibustion to Treat Migratory Arthralgia) (ค.ศ. 1683) โดยพมิ พท ีเ่ มอื งฮมั บูรก (Hamburg) ประเทศ เยอรมนี

Page 42 42 สถาบันการแพทยไทย-จนี เอเชียตะวันออกเฉียงใต 7. ยคุ การแพทยสมัยใหม จากสงครามฝน การสถาปนาจีนใหม จนถงึ ปจจุบัน (现代 Modern Age) (ค.ศ. 1840–ปจ จุบนั ) 7.1 การยอมรบั การแพทยตะวันตก ประวัติศาสตรจีนในชวงยุคนี้ การแพทยตะวันตกมีผลกระทบ อยา งมากตอการแพทยจีน เร่มิ ตน จากการเกดิ สงครามฝนระหวางจนี กับ ชาตติ ะวนั ตก 2 ครง้ั คอื ครั้งแรกทาํ สงครามกบั ประเทศอังกฤษ (ค.ศ. 1840-1842) และครั้งที่สองทําสงครามกับประเทศอังกฤษและฝร่งั เศส (ค.ศ. 1856-1860) กอนสงครามฝน การแพทยต ะวันตกในประเทศจีนถูกปดก้ัน มี การต้งั สถานพยาบาลการแพทยตะวันตกบา งเพยี งเล็กนอยเทา น้ัน เชน โธมสั อาร คอลเลดจ (Thomas R.Colledge) แพทยของบริษทั บริตชิ อสิ ตอินเดีย เริ่มต้ังโรงพยาบาลมิชชันนารีแหงแรกท่ีเมืองมาเกา (Macau) และใน ค.ศ. 1834 ปเตอร ปารเกอร (Peter Parker) (ค.ศ. 1804-1888) แพทยบ าทหลวงชาวอเมริกนั ถูกสงไป ทเ่ี มืองกวางเจาและจัดต้ังโรงพยาบาล ตา แตหลังสงครามฝน จีนตกอยใู นฐานะกึง่ เมืองขึน้ มกี ารต้งั โรงพยาบาล มชิ ชนั นารเี ปนจาํ นวนมาก ระหวา ง ค.ศ. 1828-1949 มีโรงพยาบาล มิชชันนารมี ากถงึ 340 แหง เคทเบอรี โจนส (Katebury Jones) เขยี นถงึ บทบาทของโรงพยาบาล เหลานีไ้ วในหนังสือ บนคมมีดผาตัด (On the Edge of the Operating Knife) (ค.ศ. 1935) ตพี มิ พท่ีนครเซ่ียงไฮ (上海 ซางไห) วา “สาํ หรับ นายแพทยปเ ตอร ปารเ กอรแลว มดี ผาตดั ของเขาทําหนา ท่ีฟนบานประตู จนี ใหเปดออก ขณะทก่ี ระสุนปนของตะวันตกพงั ทลายไมไ ด”

การแพทยแผนจนี ในประเทศไทย Page 43 43 สมาคมแพทยนกั สอนศาสนาอเมริกนั (American Medical Preaching Association) ตั้งโรงเรียนแพทยตะวันตกแหงแรกขน้ึ ทเ่ี มือง กวางเจา (广州 กวา งโจว) ใน ค.ศ. 1866 ชาวจนี เองก็ไดต ั้งโรงเรียน แพทยตะวันตกขึน้ ท่ีเทียนสนิ (天津 เทยี นจนิ ) เมอ่ื ค.ศ. 1881 และต้ัง โรงเรยี นแพทยตะวันตกข้ึนในมหาวทิ ยาลัยปกก่ิง ในค.ศ. 1903 ซึ่งตอมา ไดแ ยกตัวออกจากมหาวทิ ยาลยั เปนโรงเรียนแพทยปกก่ิง เมื่อ ค.ศ. 1906 หลัง “สญั ญาสันตภิ าพ” (ค.ศ. 1901) ระหวางจนี กับอังกฤษ สหรัฐอเมรกิ า เยอรมนี และฝร่ังเศส มีการตง้ั โรงเรียนแพทยขน้ึ หลาย แหง เชน โรงเรยี นแพทยเ สียเหออเี สวฺ ยี ถาง ( 协和医学堂 Union Medical School หรอื โรงเรยี นแพทยย ูเนียน ค.ศ. 1903) ทปี่ ก ก่งิ (北 京 เปย จงิ ) โรงเรียนแพทยฉหี ลู (Qilu ค.ศ. 1904) ทจ่ี ีห้ นาน (济南 Jinan) โรงเรยี นตา ถง (大同 Datong ค.ศ. 1908) ท่ีฮัน่ โขว (Hankou) โรงเรยี นแพทยถงจ้ี (同济医院 ค.ศ. 1908) ท่นี ครเซย่ี งไฮ โรงเรียน แพทยยเู นยี น (ค.ศ. 1911) ทเ่ี มืองฝโู จว (福州 Fuzhou) และโรงเรียน แพทยเ ซียงหยา (Xiangya ค.ศ. 1914) ท่ีเมืองฉางซา (Changsha) รวม แลว มโี รงเรยี นแพทยตะวันตกของคณะมชิ ชนั นารกี วา 20 แหง หลงั การ ปฏวิ ตั ิประชาธิปไตยในป ค.ศ. 1911 มีโรงเรยี นแพทยท ้ังของรฐั และ เอกชนต้งั ข้ึนอีกหลายแหงท่ัวประเทศ นอกจากน้ี นักศึกษาจาํ นวนมาก เดนิ ทางไปศึกษาการแพทยใ นตางประเทศ ทัง้ ในญปี่ นุ และยุโรป และมี การแปลตาํ ราแพทยตะวันตกจํานวนมากเปน ภาษาจีน ในยุคดังกลา ว มกี ารตอสูก ันระหวา งการแพทยจ ีนและการแพทย ตะวนั ตก และผลทีส่ ุดการแพทยจ นี เปนฝายพายแพ แพทยจนี หลายคน

Page 44 44 สถาบันการแพทยไ ทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต มคี วามพยายามผสมผสานการแพทยท ง้ั สองแผนเขา ดวยกัน แตเน่ืองจาก ทฤษฎพี นื้ ฐานแตกตา งกนั จงึ ผสมผสานกันไมไ ด 7.2 ความพยายามลมเลิกการแพทยจ นี หลังจากการแพทยตะวันตกไดร บั การยอมรับอยา งกวา งขวางใน ประเทศจีน รฐั บาลกกมินตั๋งมีความคดิ และความพยายามลมเลกิ การแพทย จีน ดังนี้ ค.ศ. 1914 หวางตาเซีย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ เสนอให ยกเลกิ การแพทยจ นี และใหใชก ารแพทยต ะวันตกเพยี งอยา งเดียว ค.ศ. 1925 สมาคมสหศึกษาแหงประเทศจีน เสนอตอรัฐบาลให นาํ การแพทยจีนเขา เปน สว นหนง่ึ ของสถาบนั การแพทยตะวันตก แตถกู ปฎเิ สธ เดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1929 ในทป่ี ระชุม “คณะกรรมการกลาง สาธารณสขุ ” นายแพทยเ วย่ี วินซิว่ ซึ่งศกึ ษาวชิ าแพทยจ ากญ่ีปุนและกลบั มา จีน ใน ค.ศ. 1914 เสนอใหยกเลิกการรักษาโรคโดยแพทยจีน ดว ยเหตุผล คือ - ทฤษฎีแพทยจีน ลวนแลว แตเปนทฤษฎีเพอฝน - การวนิ ิจฉยั โรคดวยวธิ กี ารแมะหรือจับชีพจรไมเปนจรงิ เปน การ หลอกลวงประชาชน - การแพทยจนี ไมส ามารถปองกันโรคระบาดได - พยาธิวิทยาของการแพทยจ นี ไมเ ปนวทิ ยาศาสตร นายแพทยเวี่ยวินซว่ิ เสนอข้ันตอนการยกเลิกการแพทยจีนไว ดังน้ี - ข้ึนทะเบยี นแพทยจ ีนท่ีมีอยูทกุ คน ภายในป ค.ศ. 1930

การแพทยแผนจีนในประเทศไทย Page 45 45 - จดั อบรมแกแพทยจีน มีกําหนด 5 ป จนถงึ ค.ศ. 1930 แลว มอบประกาศนียบัตรให สําหรบั ผทู ไ่ี มไดรบั ใบประกาศนียบัตร ใหหมด สิทธ์ิในการประกอบโรคศิลปะ - แพทยจีนทม่ี ีอายเุ กิน 50 ป และไดใ บประกอบโรคศิลปะใน ประเทศมาแลว เกนิ 20 ป ใหย กเวน ไมต อ งเขา รบั การอบรม แตจ าํ กัดมิ ใหรักษาโรคติดตอ ไมมีสทิ ธเิ์ ขียนใบมรณบตั ร และใบประกอบโรคศลิ ปะ ดังกลา วใหมีอายุตอไปอีก 15 ป นบั แต ค.ศ. 1929 - หา มแพทยจ ีนโฆษณาประชาสมั พันธ และหา มแนะนําการแพทย จนี ทางหนังสอื พิมพ - หามนําเสนอขาวในวารสาร หา มการโฆษณาท่ีไมเ ปนวิทยาศาสตร - หามตง้ั สถาบันการแพทยจีน หลงั จากมติดังกลา วผานการพิจารณาของทปี่ ระชุม ไดเ กิดการ ตอ ตานจากวงการแพทยและเภสชั กรรมแผนจีนอยางกวางขวาง กลุม สมาคมตาง ๆ 132 กลุม จาก 15 มณฑล ไดส ง ตัวแทนไปชุมนมุ กันที่ นครเซี่ยงไฮ กลมุ ผตู อตานไดชูคาํ ขวัญ “เรียกรอ งการแพทยจ ีน เพ่ือ ปองกันการรกุ รานทางวฒั นธรรม เรียกรองแพทยและเภสชั กรจีน เพอ่ื ปองกนั การรุกรานทางเศรษฐกิจ” มีการเจรจากบั รัฐบาลเพื่อใหย กเลกิ มติ ดังกลาว แพทยแ ละเภสชั กรแผนจนี ในนครเซีย่ งไฮน ัดกันหยดุ งานครง่ึ วัน เปน การประทวง โดยไดร ับการสนับสนุนจากองคก รตา ง ๆ เชน สมาคม การคา แหง ประเทศจนี สมาคมสินคาแหงประเทศจนี สํานักพิมพขาว การแพทย และชาวจนี โพนทะเลในแถบอุษาคเนยไ ดส งโทรเลขสนบั สนนุ การคัดคานครัง้ นี้ดวย การรณรงคคดั คานดังกลา วจัดข้ึนในวนั ที่ 17

Page 46 46 สถาบันการแพทยไ ทย-จีน เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต มนี าคม ค.ศ. 1929 แพทยจนี จงึ ถือวันที่ 17 มีนาคม ของทกุ ป เปนวัน แพทยจีน ผลของการคดั คานอยา งกวา งขวางทาํ ใหมตดิ งั กลาวไมไ ดนาํ ไปปฏบิ ัติ แตก ็มีการดําเนนิ การบางประการ ไดแก - กระทรวงศกึ ษาธิการออกคําสั่ง ใหเรียกโรงเรียนการแพทยจ นี เปน เพยี งสถานใหก ารศึกษา - กระทรวงสาธารณสุขเปล่ยี นช่ือโรงพยาบาลแพทยจีนเปนสถาน พยาบาล และหา มแพทยจ นี ทํางานรวมกบั ฝา ยการแพทยแผนปจ จบุ นั - ค.ศ. 1932 รัฐบาลมคี ําสั่งหามสอนการแพทยจนี ในระบบโรงเรียน ผลทตี่ ามมาทาํ ใหโรงเรยี นแพทยจีนลดจาํ นวนลงมากมาย ที่เห็น ไดชัดเจนคือ ในมณฑลกวางตุง จากเดมิ มีโรงเรียนแพทยจ ีนอยูมากกวา 20 แหง คงเหลืออยูเ พียงแหง เดียวใน ค.ศ. 1947 แพทยจ นี ซึง่ ประมาณ วา มอี ยรู าว 5 แสนคน แตเ พราะการสอบท่เี ขม งวด ทําใหสวนนอ ยเทาน้นั ทสี่ อบผานและไดร บั ใบประกอบโรคศิลปะ เชน ในนครเซ่ียงไฮ ระหวาง ค.ศ. 1927-1935 มีผูสอบไดเพยี ง 6,000 คน เทา น้ัน การแพทยจ ีนใน ประเทศจีนจึงเสื่อมสลายลงตามลําดับ 7.3 การฟน ฟกู ารแพทยจีนหลังการสถาปนาจีนใหม ระหวา งสงครามกลางเมืองท่ียาวนานถงึ 28 ป เนอ่ื งจากเขตที่ฝาย คอมมูนิสตครอบครองอยู ถูกปดลอมจากทุกดา น การแพทยในเขตนี้จึง ตองอาศัยการใชประโยชนจากการแพทยจีน และไดมีการผสมผสาน การแพทยต ะวนั ตกมาโดยตอเนอ่ื ง

การแพทยแผนจีนในประเทศไทย Page 47 47 หลงั การสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวนั ที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 รฐั บาลจีนใหมมีนโยบาย “สงั คายนาการแพทยจ นี ” ทวั่ ประเทศ ตอมา ค.ศ. 1956 ไดจ ัดตัง้ สถาบนั สอนการแพทยจ ีนใน 4 เมืองใหญ คือ นครปก ก่ิง นครเซี่ยงไฮ เมืองนานกิง และเมืองเฉงิ ตู และขยายเพิ่ม จํานวนขึน้ เรื่อย ๆ ชว งการปฏิวัติวัฒนธรรม รัฐบาลมีนโยบายกระจายบริการสาธารณสุข ไปท่ัวประเทศ ดว ยการสราง “หมอเทา เปลา ” ข้ึน มกี ารเสนอคําขวัญ “หญาหนึง่ กาํ เขม็ หนงึ่ เลม สามารถรักษาโรคได” การผลติ แพทยดวย นโยบายซายจัด ทําใหเ กดิ แนวคิด “การรวมแพทยทงั้ สองแผนเขา ดวยกัน” เพือ่ ผลิตแพทยแผนใหมใหร ทู ง้ั การแพทยตะวันตกและการแพทยจ นี แต ไมประสบผลสําเร็จ เพราะทาํ ใหไดแพทยท ี่ไมมคี วามรูล ุมลกึ พอท้ังสองแผน เมื่อเขาสยู ุค “ส่ีทันสมัย” (ค.ศ. 1980) มีนโยบายทบทวนการ พฒั นาการแพทยในประเทศจีน ตงั้ เปา หมายใหมใหม ี “การคงอยูรวมกัน ของการแพทยจ ีนและการแพทยตะวันตก และการผสมผสานระหวาง การแพทยจนี กบั การแพทยตะวันตก โดยมุงเนน ใหมกี ารพัฒนาพรอม ๆ กนั ” ปจจุบนั การแพทยจ ีนมกี ารพฒั นาท่ีครบวงจร ท้ังหลักสตู รการเรยี น การสอน การใหบ ริการในโรงพยาบาล และการพัฒนายา โดยการแพทย จีนและการแพทยตะวันตกมีการยอมรับซ่ึงกันและกัน และไดรับการ ยอมรับจากท้ังรฐั บาลและประชาชน เอกสารท่ีใชประกอบการเรยี บเรียง 1. วิชัย โชคววิ ัฒน. ประวตั ิการแพทยจ ีนโดยสงั เขป. วารสารการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลือก 2547; 2(1): 73-92.

Page 48 48 สถาบนั การแพทยไทย-จนี เอเชียตะวันออกเฉยี งใต 2. วิทติ วัณนาวบิ ูล. ประวตั กิ ารแพทยจีน. พมิ พค รง้ั ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สํานักพมิ พ หมอชาวบาน จํากัด, 2548. 3. Chan KL. History of famous ancient Chinese doctors. 2nd ed. Hong Kong: The Institute of Present-Day Chinese Medicine, 1977. 4. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English glossary of common terms in traditional Chinese medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 5. Zhang E. Basic theory of traditional Chinese medicine I: A practical English- Chinese library of traditional Chinese medicine. Vol.I. 9th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 6. วชิ ัย โชควิวัฒน, ชวลิต สันติกจิ รุงเรอื ง, เยน็ จิตร เตชะดํารงสิน. ตํารบั ยาจีนที่ใชบ อยใน ประเทศไทย เลม 1. พิมพครงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั งานกจิ การโรงพมิ พ องคการ ทหารผานศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ, 2550.

การแพทยแ ผนจีนในประเทศไทย Page 49 49 วิธีการรักษาโรคของแพทยจ ีน วธิ ีการรักษาโรคของแพทยแผนจนี มีหลายวิธี ซึ่งแตล ะวิธีลว นมี จุดเดน ในตวั เอง จากประสบการณอนั ยาวนานของแพทยแผนจนี ทําให การรักษาโรคคอย ๆ เปนระบบมากข้นึ โดยทัว่ ไปวธิ ีการรักษาโรคของ การแพทยแ ผนจีน แบงเปน 8 วธิ ี ดังน้ี 1. วธิ ขี บั เหงือ่ (汗法 ฮ่ันฝา) วธิ ขี บั เหงื่อ คือ การรักษาโรคดว ยยาทไ่ี ปขจัดสาเหตขุ องโรคที่ สวนนอกของรางกายใหออกไปจากรา งกายทางเหง่ือ สวนมากใชรักษากลุม อาการ หรอื โรคท่เี กดิ จากสาเหตภุ ายนอกของรางกาย แบง เปน 2 วธิ ี คือ 1.1 วธิ ีขบั เหงือ่ ดวยยาที่มีรสเผด็ และมคี ณุ สมบตั ิเปนยารอ น ใช รักษากลุมอาการโรคภายนอกของรา งกายทีเ่ กิดจากลมและความเย็น ซึ่ง มีอาการกลวั หนาว มีไขตํา่ ๆ ปวดศีรษะ และปวดเม่ือยตวั 1.2 วิธีขับเหงื่อดวยยาทม่ี รี สเผด็ และมคี ุณสมบตั เิ ปนยาเย็น ใช รักษากลุมอาการ หรือโรคที่มีสาเหตจุ ากภายนอกของรางกายท่ีเกิดจากลม และความรอ น ซ่งึ มอี าการไขสูง เจบ็ คอ และกระหายน้ํา การเสียเหงื่อมากจะทาํ ใหสูญเสียยนิ และช่ไี ปดวย การรักษาโรคโดย วิธีขับเหงื่อจึงตองระมัดระวังเปนพเิ ศษในผูปวยทม่ี ยี ินพรอง ช่พี รอง และ/ หรือเลอื ดพรอง ดังน้ันหา มใชว ธิ ขี ับเหง่ือในผปู ว ยที่มีกลุมอาการภายใน ของรางกายที่มีโรคหัวใจลม เหลว และในผูปวยท่มี รี างกายออนแอมาก อน่งึ การใชยารสเผ็ดรอนตองไมใ หม ากเกนิ ไป และตองปรับชนิดและ ขนาดของยาขับเหง่ือใหเ หมาะสมกับลักษณะดนิ ฟาอากาศในเขตรอนดว ย

Page 50 50 สถาบันการแพทยไทย-จนี เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต 2. วธิ ที าํ ใหอาเจยี น (吐法 ถฝู า) วิธที ําใหอาเจยี น คือ การรกั ษาโดยการขบั เสมหะ นํ้าลายที่คงั่ อุดตัน อยใู นลาํ คอหรือทรวงอกออกจากรา งกายทางปาก ใชรกั ษาผทู ี่อาหารไมยอย หรือรับประทานสารพิษเขา ไป วิธกี ารรักษาโดยทาํ ใหอาเจียนเปนการรักษาโรคฉกุ เฉิน จงึ ควรใช เมือ่ จําเปน จรงิ ๆ เทา นน้ั เพราะการอาเจยี นทําใหส ูญเสยี ยนิ และชี่ การอาเจียนทาํ ใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงเฉียบพลนั ของความดนั ใน ทรวงอกและทอง จงึ หามใชว ิธีกระตุนใหอาเจยี นในผปู วยโรคความดัน โลหิตสูง หลอดเลือดแข็งตวั หลอดเลือดโปงพอง โรคกระเพาะอาหารเปน แผล วณั โรคปอดทีม่ เี ลอื ดออกงา ย หญงิ มีครรภ นอกจากนค้ี วรพิจารณา ดว ยความระมดั ระวังหากตองใชกับผูปวยโรคหัวใจ และผูทีร่ างกายออนแอมาก 3. วธิ รี ะบาย (下法 เซี่ยฝา) วิธรี ะบาย คือ การขบั สงิ่ ท่ีคงั่ คางอยูใ นกระเพาะอาหารและลําไส ไดแ ก อาหารท่ไี มย อย อจุ จาระทแี่ ขง็ ความเย็นคง่ั เลอื ดคง่ั หรอื เสมหะ และของเหลวคัง่ โดยการขับออกจากรางกายทางทวารหนัก มี 4 วธิ ี คือ 3.1 วิธีระบายดว ยยาท่ีมคี ุณสมบัติเปน ยาเย็น เปนการระบายดว ย ยารสขมเย็นหรือเคม็ เย็นเปน หลัก รวมกับยาที่ชว ยไหลเวียนลมปราณ สวนมากใชรกั ษากลุมอาการภายในของรา งกายทีเ่ กิดจากความรอนในระบบ ลมปราณ กลุมอาการความรอ นช้นื หรือความรอ นค่ังในกระเพาะอาหาร และลําไส กลุม อาการไฟเพ่มิ สูงท่ีมีอาการเลือดออกงา ย อาหารเปนพิษ และการรับประทานสารพษิ