Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มะเขือเทศ

Description: มะเขือเทศ.

Search

Read the Text Version

มะเขอื เทศ English; tomato, Spanish; tomate, French; tomate, Italian; pomodoro, German; tomaten, Dutch; tomaat, รศ.นิพนธ ไชยมงคล มะเขือเทศ Lycopersicon esculentum Mill Lycopersicon มาจากภาษากรีกหมายถึง wolf peach เชื่อวามี ถิ่นกําเนดิ อยแู ถบชายฝง ทะเลตะวันตกของทวีปอเมรกิ าใต แถบ เปรู ชิลี และอเี ควเตอร อยูใน Family, Solanaceae หรือ night shade และอยูในกลุม Solanaceous Vegetable มโี ครโมโซม 2n = 24 ตระกลู Lycopersicon ซึ่งเปนตระกูลที่เล็กมาก มีเพียง 6 species และ 2 subgenera หรอื section สันฐานวทิ ยา ลําตน(Stem) มะเขอื เทศสรา งลาํ ตน และระบบกิ่งกานที่แตกแขนง สลับกันเปนจํานวนมาก ลําตน ออ นมขี น ปกคลุม ลําตนแกมีลักษณะเปนเหลี่ยม ในระยะแรกของการเจริญ ลําตน ตง้ั ตรงระยะหนง่ึ ตอ มาเมอ่ื ลํา ตนสงู 1-2 ฟุต จะทอดไปในแนวราบ ในบางสายพันธุจะมีลําตนสั้น โดยจะเจริญทางดาน ลําตน ระยะหนง่ึ ตอจากนน้ั ดอกจะเจรญิ ตรง สวนยอด ทําใหอ ตั ราการเจรญิ หยดุ ชะงกั เรยี กวา การเจรญิ แบบจํากัด หรือสายพันธุพุม ( determinate type) เปนพืชฤดูเดียว บางสายพันธุจะมีลาํ ตนทอดยาว การปลูกในสภาพแวดลอมทเ่ี หมาะสมสามารถเจรญิ ไดห ลาย ฤดู ดอกจะเจรญิ ทางดา นขา ง หางกันทุก 3 ขอ เรียกวา การเจรญิ แบบไมจ ํากัด สายพันธุทอดยอด หรือ ขึ้นคาง ( indeterminate type) ใบ (Leaf) ใบเจริญสลับกันเปนแบบ odd-pinnately compound leaves (Muller,1940) เปน ใบประกอบคอ น ขา งใหญ บางพันธุมีใบยอยกวาง บางสายพันธุใบจะยาวและแคบ มขี นออ นขน้ึ บนใบ และมีตอม สาร ระเหยที่ขน เมื่อถูกรบกวนจะปลดปลอยสารที่มีกลิ่นออกมา สายพันธุสวนใหญ ขอบใบเปนหยัก นอก จากกลุม Lycopersicon esculentum L. var. gradiforium Bailey และ L.pimpinelliforium Mill จํานวนใบทเ่ี จรญิ กอ นทช่ี อ ดอกเจรญิ แตกตา งกนั ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม และสายพันธุพันธุที่ ปลูกเปนการคาสวนใหญจ ะมใี บประมาณ 7 ใบ ตอ จากนน้ั จะปรากฏชอ ดอกเจรญิ หา งกนั 3-5 ใบ 1

ราก(Root system) ระบบรากมะเขอื เทศเปน ระบบรากแกว เจรญิ เตบิ โตไดเ รว็ แขง็ แรง โดยทั่วไปรากแกว จะ ขาดในระหวางยายปลูก ทาํ ใหเ กดิ รากแขนง และรากพิเศษ (adventitious and fibrous roots) เปน จํานวน มาก ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม มะเขอื เทศจะสรา งรากแขนงพเิ ศษทล่ี าํ ตน ซึ่งจะชวยในการดูดอาหาร ไปเลี้ยงตน รากมะเขอื เทศจะเจรญิ ในแนวดง่ิ ลึกลงไป 2-3 ฟุต ตอจากนน้ั จะเจริญในแนวนอน 4-5 ฟุต หรอื กลา วไดว า มีระบบรากกวาง 4-5 ฟุต และลึก 2-3 ฟุต ชอดอก ( Truss or Inflorescence or Flower cluster) ดอกมะเขือเทศจะอยูสลับกันในชอ เรยี ก raceme หรอื monochasialcyne ชอ ดอกสามารถแตกกง่ิ มากกวาสองกง่ิ และการเจรญิ ของกง่ิ จะดําเนนิ ตอ ไปจนกระทง้ั ดอกชอ แรกบาน การเพม่ิ จํานวนชอ ดอก อาจจะทําไดโ ดยการใชอ ณุ หภมู ติ ่ํา สายพันธุโดยทั่วไปจะมีจํานวน 4-5 ดอกตอ ชอ แตบางสายพันธุมีมาก กวา โดยเฉพาะสายพันธุที่มีผลขนาดเล็ก ในสภาพอากาศที่เหมาะสมชอดอกบางสายพันธุสามารถเจริญไดตลอดเวลา เรียกลักษณะชอ ดอกแบบไมจ าํ กัด (indeterminate ) บางสายพันธุมีจํานวนดอกตอ ชอ มาก จนกระทง้ั มดี อกเจรญิ บนยอด ชอ ดอก ซึ่งจํากัดการเจรญิ ของชอ ดอกเรยี กชอ ดอกแบบจาํ กัด (determinate หรอื self running) ดอก (Flower) ดอกมะเขือเทศเปนแบบสมบูรณเพศ ( complete or perfect flower) ประกอบดวยกลีบเลี้ยง (calyx, sepal) สีเขียว กลีบดอก (corolla, petals) สีเหลือง จาํ นวน 5 - 6 กลีบ เกสรตวั ผู (stamen) จํานวน 5 อัน อยูถัดจากกลีบรองดอก ลอ มรอบเกสรตวั เมยี (style) ปกติกานเกสร ตัวเมีย (pistill) จะอยตู า่ํ กวาถุง หรืออับละอองเกสรตวั ผู (anther) เพื่อที่จะรองรบั ละอองเกสร เมอ่ื ถุงละอองเกสรเปด แตใ นบางกรณีที่ อุณหภูมิสูงมาก ทาํ ใหกานเกสรตัวเมียเจริญสูงกวาถุงละอองเกสร ทาํ ใหอ ตั ราการผสมเกสรตา่ํ ปกติจะมี การติดผลรอยละ 60 แตในกรณีที่เกสรตัวเมียยาวกวาเกสรตัวผูจะมีการติดผลเพียงรอยละ 16 ตาดอกมะเขอื เทศจะเรม่ิ พฒั นา 3-4 อาทติ ยก อ นปรากฏออกมา หรอื 10 วันถึง 3 อาทิตยหลังจาก ที่ใบเลี้ยงกางออกเต็มที่ ในระยะน้ี อณุ หภมู ิ ความเขมและความยาวของแสง ปรมิ าณแรธ าตอุ าหารในบรเิ วณราก จะมี อิทธพิ ลตอ จํานวนดอกและผลผลิต การผสมเกสร(pollination) พันธุมะเขือเทศสว นใหญผสมตวั เอง (self pollination) ถงุ หรอื อบั ละอองเกสรเปด หลงั จากดอก บาน 24-48 ชว่ั โมง เกสรตวั เมียพรอมที่จะผสมได กอ นทอ่ี บั ละอองเกสรเปด 1-2 วนั ผล(Fruit) ผลเปนแบบ berry สรางเมล็ดใน fleshy mesocarp โดยเมล็ดจะเกดิ ขนึ้ บน aplacenta อยใู นโพรง (pocket or locule ) ผลประกอบดว ยโพรง จาํ นวน 2-15 locules 2

ผลมีลักษณะอวบ สด มรี ปู รา ง ขนาด และสี แตกตางกันขึ้นอยูกับสายพันธุ ผิวของมะเขอื เทศ จะไมมีสีผวิ สวนผลสีชมพู หรอื เหลอื ง เกดิ จากสขี องเนอ้ื เชน ผวิ สแี ดง เกดิ จากเนอ้ื สเี หลอื งเปน ตน ลักษณะรูปรา งแตกตา งกัน เชน กลม (globe) กลมแปน (oblate) กลมยาว (pear shape) หรอื เปน เหลี่ยม (square or blocky shape) การจําแนกสายพันธุตามลักษณะของผล และการใชป ระโยชน มะเขอื เทศรบั ประทานสด (Table Tomato) ผลขนาดใหญ มโี พรงในผลมาก รสชาตดิ ี แตจะมีปญหาหลังการเก็บเกี่ยว เนอ่ื งจากเมอ่ื แปง เปลี่ยนเปนนาํ้ ตาล ผลจะนม่ิ เรว็ ( 3-4 วนั ) ปจจุบันมีการปรับปรุงพันธุใหสามารถเก็บรักษาไดนาน มะเขอื เทศแปรรปู (Processing Tomato) ชองในผลจะนอ ย ผลแข็ง ขบวนการเปลีย่ นแปง เปน นา้ํ ตาลจะชา มี total soluble solid content สูง ใชสําหรับโรงงานแปรรปู เชน เนอ้ื มะเขอื เทศเขม ขน น้าํ มะเขอื เทศ ซอสมะเขือเทศ มะเขอื เทศดอง ทั้งผล เปน ตน มะเขอื เทศผลเลก็ (Cherry Tomato) มะเขอื เทศผลเลก็ ชอ ดอกยาว มจี ํานวนผล 15-20 ผลตอ ชอ เมล็ด(Seed) เมล็ดมีลักษณะรูปไข แบน และมีขนขนาดเล็กปกคลุมอยู ซงึ่ แตกตา งจากชนดิ อ่นื ๆ ในกลุม solanaceae มีขนาด 1 - 4 มิลลิเมตร จาํ นวนเมลด็ ตอ ผลประมาณ 150-300 เมล็ด หรอื มากกวา ขึน้ อยูกับ สายพันธุ เมลด็ หนกั 10 กรมั มจี ํานวน 2,500-3,000 เมล็ด เมล็ดประกอบดวย ตน ออ น (embryo) ขนาดใหญเ ปน รปู วงแหวน ลอ มรอบดว ยอาหารสาํ รอง (endosperm) ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม สามารถรกั ษาความงอกไดห ลายป เมล็ดมีนํ้ามันรอยละ 15 เมอ่ื สกดั นา้ํ มนั ออกมา จะมสี เี หลืองปนแดง มีกลิ่นฉุน เมอ่ื นําไปกลั่นจะ ไดน้ํามันสีเหลืองสามารถนําไปประกอบอาหารได การงอกของเมล็ด (Seed germination) ในขณะท่ีเมลด็ เรม่ิ งอก สว นแรกทป่ี รากฏออกมาคอื ราก สีขาวเสนเล็ก ๆ โผลออกมาจากเปลอื ก หุมเมล็ด รากจะเจรญิ ในแนวดง่ิ สวนเจริญระหวางรากและใบเลี้ยง (plumule) จะงอและดนั plumular hook ข้ึนมาเหนือดิน เมื่อไดรับแสง plumular hook จะเจรญิ ในแนวตรง ดนั ใบเลย้ี งขน้ึ มาเหนอื ดนิ สภาพแวดลอม สภาพแวดลอ ม เชน อณุ หภมู ิ ความเขมของแสง ชวงแสง คารบ อนไดออกไซด และการหมุน เวียนของอากาศ มอี ทิ ธพิ ลตอ การเจรญิ เตบิ โตดา นกง่ิ ใบ ลําตน และการเจริญของดอก ตลอดจนการ ติดผล การพัฒนาและคุณภาพของผล มะเขอื เทศอยใู นกลมุ ทต่ี อบสนองตอ อณุ หภมู ิ ( Thermoperiodism ) Watt (1962) พบวาการปลูกมะเขือเทศในอุณหภูมิแตกตางกัน จะใหผลผลิต และคุณภาพแตกตางกัน โดยผลผลิตจะลดลงเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น การงอกของเมลด็ ตอ งการอณุ หภมู ริ ะหวา ง 20-21 o ซ หรอื 3

อุณหภมู เิ ฉลย่ี 25 o ซ อุณหภมู ติ ่ํากวาอุณหภูมิที่เหมาะสม จะทาํ ใหเมล็ดงอกชา ในอุณหภูมิที่สูงเมล็ดจะ งอกเรว็ แตตนกลาจะไมสมบูรณ ในระยะตนกลา ตอ งการอณุ หภมู กิ ลางวนั 18.0-24.0 o ซ กลางคืน 16.0-18.0 o ซ หลังยายปลูก หรือระยะเจริญเติบโต มะเขอื เทศตอ งการอณุ หภมู ิ 20-30o ซ ระยะการเจรญิ ของดอกและผล ตองการอุณหภูมิกลางคืนประมาณ 13-18o ซ ในระยะติดผลอุณหภูมิที่เหมาะสมคือกลางวัน 26.5 o ซ อุณหภูมิกลางคืน 15-20o ซ ตารางที่ 1 อณุ หภมู แิ ละการงอกของเมล็ดพนั ธมุ ะเขอื เทศ วนั อณุ หภมู ิ( o ซ )และอตั ราการงอก 35 40 10 15 20 25 30 0.2 0.6 1.2 0.6 6 0 0 84.4 91.2 90.0 1.4 0.6 12 0 3.0 91.8 92.8 94.6 20 60.0 53.8 92.4 93.2 95.5 ตารางท่ี 2 อุณหภูมิที่เหมาะสมสาํ หรบั การงอกของเมลด็ และการเจรญิ ของราก การงอกของเมลด็ ( o ซ ) การเจรญิ ของราก( o ซ ) ตํา่ สุด สูงสุด ตํ่าสุด ปานกลาง สูงสุด 9-10 38 7-8 26 38 ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ดอกชอ แรกเจรญิ ในขอ ท่ี 7 แตในกรณีที่อุณหภูมิสูงกวา ดอกจะ เจริญในขอที่สูงกวา ในสภาพที่มีความเขมของแสงตํ่า จะทาํ ใหมีจํานวนใบมาก ดอกเจรญิ ชา หรอื ความ เขมของแสงต่ํา อณุ หภมู สิ ูงดอกเจรญิ ในขอ ท่ี 18 นอกจากนี้อุณหภูมิจะมีอิทธิพลตอ ปรมิ าณไนโตรเจนในพชื โดยในสภาพอุณหภูมิสูง สาร ประกอบไนโตรเจนจะเปลี่ยนรูปเปนไนเตรทมาก ทาํ ใหป รมิ าณโปรตนี ไนโตรเจนลดลง เปนผลใหพืช แสดงอาการขาดไนโตรเจน ใบจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง โปรตนี ไนโตรเจน จาํ เปนสาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โต ของลําตน ใบ ชอ ดอก ชว ยปอ งกนั การรว งของดอก การตดิ และการพฒั นาของผล อิทธิพลของอุณหภูมิและการเจริญของชอดอก พันธุท่ีปลูกเปน การคา สวนใหญจ ะมีชอดอกเดยี่ ว หรอื อาจมชี อ ดอกแขนง หนง่ึ หรอื มากกวา สอง กิ่ง การแตกกิ่งดอกแขนง จะขึ้นอยูกับอุณหภูมิ ในระยะทช่ี อ ดอกเจรญิ เมอ่ื มอี ณุ หภมู ติ ่ํา ชอ ดอกจะแตก แขนงมาก จากการทดลองใชอ ณุ หภูมิตา่ํ กบั ตน ออ นมะเขอื เทศ ระยะกอนมใี บจรงิ โดยใชอ ณุ หภมู ิ 11.1- 13.3 oซ เปนเวลา 10 วนั ในสภาพที่มีความเขมของแสงพอเพียงและ 3 อาทติ ย สาํ หรับในสภาพที่มีความ เขมของแสงต่ํา หรอื จนกระทง้ั มใี บจรงิ 2 ใบ ตน กลา ทไ่ี ดร บั อณุ หภมู ติ า่ํ จะมีใบเลี้ยงขนาดใหญ ชอ ดอก เจริญเรว็ ชอ ดอกท1่ี และ 2 จะมีชอแขนงมากกวา ปกติเปน สองเทา เกบ็ เกย่ี วเรว็ ผลผลิตสูง การตอบ สนองตอ อณุ หภมู ติ ่าํ จะขึ้นอยูกับสายพันธุ เชน สายพันธุ Michigan-Ohio, Eureka Hybrid และ Nichiana จะตอบสนองตอ อณุ หภมู ติ ่าํ ไดด ี จาํ นวนดอกตอ ชอ จะเพ่ิมสูงขึน้ ทุกชอ 4

การทดลองใชอ ณุ หภมู ติ ่าํ ตอ ระยะตาง ๆ ของการเจริญเติบโต พบวา การใหอ ณุ หภมู ติ ่ําระยะตน กลา จะมีอิทธพิ ลตอ จํานวนใบทด่ี อกแรกเจรญิ สว นอณุ หภมู ดิ นิ มอี ทิ ธพิ ลตอ จาํ นวนดอก ในดอกชดุ แรก ตารางท่ี 3 อิทธิพลของระยะเวลาปลกู และอณุ หภมู ติ อ การเจรญิ ของดอก วนั ยา ยปลกู จํานวนใบกอ นดอกชอ แรก จํานวนดอกชอ แรก 15.6-18.3 o ซ 11.1-13.3 o ซ 15.6-18.3 o ซ 11.1-13.3 o ซ 9 ตุลาคม 7.5 6.0 6.2 11.7 30 ตุลาคม 9.3 6.4 5.4 6.8 2 ธนั วาคม 9.4 7.0 5.2 7.3 6 มกราคม 7.7 7.0 6.5 10.6 3 กมุ ภาพนั ธ 7.1 6.2 6.5 12.4 ที่มา ; Wittwer & Honma, 1969, “ Green House Tomato “ Michigan State University Press. ตารางท่ี 4 อิทธิพลของอุณหภมู ติ อ การเจรญิ ของดอกพนั ธุ Michigan-Ohio Hybrid และ Ohio WR-7 ชอ ดอก Michigan-Ohio Hybrid Ohio WR-7 15.6-18.3 o ซ 11.1-13.3 o ซ 15.6-18.3 o ซ 11.1-13.3 o ซ 1 2.0 2.6 2.1 2.4 2 2.2 2.6 2.3 2.4 3 1.9 2.2 2.2 2.3 4 2.1 2.7 1.9 2.1 5 1.7 2.3 1.9 1.9 6 2.0 2.4 1.9 1.9 7/8 3.7 4.1 3.4 3.9 ที่มา ; Wittwer & Honma, 1969, “ Green House Tomato “ Michigan State University Press. ตารางท่ี 5 อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรบั การเจรญิ ของมะเขอื เทศ night minimum Low light (oซ ) High light (oซ ) with carbon dioxide(oซ ) Day minimum 17 18 18 19 21 21 Ventilation 21 24 26 ในกรณีที่มีแสงเพียงพอ ถึงแมอุณหภูมิสูงเกิน 26 oซ พชื จะไมเ ปน อนั ตราย แตในกรณีที่สูงเกิน 29 oซ ชอดอกจะเปน อนั ตราย อุณหภมู ดิ นิ ไมค วรต่ํากวา 14 oซ เนื่องจากพืชจะไมสามารถดูดธาตุอาหารได โดยเฉพาะอยางยิ่ง ฟอสฟอรัส ทาํ ใหพืชแสดงอาการขาดธาตุอาหาร อุณหภูมิและการติดผล อุณหภูมิมอี ทิ ธพิ ลตอ การตดิ และการพฒั นาของผล อณุ หภมู ติ ่าํ กวา 12.8 oซ และสูงกวา 32.2 oซ ละอองเกสรจะเปน หมนั ไมส ามารถงอกทอ ละอองเกสร ลงไปผสมไขในรังไขได 5

Iwahori (1965) รายงานวา จากการตรวจสอบความสามารถในการงอกทอ ละอองเกสร ใน อุณหภูมิแตกตา งกนั โดยใช UV microscope พบวาในอุณหภูมิ 17.0 oซ และใชเวลา 5 ชว่ั โมง ละออง เกสร จะงอกทอละอองเกสรลงไปในกานเกสรตัวเมียไดถึง 98 % สวนในอุณหภูมิ 38 oซ มีเพียง 30 % ในสภาพอุณหภูมิที่ตาํ่ กวา 18.3 oซ อับละอองเกสรจะเปด ชา อณุ หภมู สิ งู กวา 32.2 oซ อตั ราการ ติดผลต่าํ อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 21.1 oซ อุณหภูมิที่เหมาะสาํ หรบั การตดิ และพฒั นาของผลคอื อุณหภูมิกลางคืน 15-20 oซ ในกรณที ต่ี า่ํ กวา 13.0 oซ อตั ราการตดิ ผลตา่ํ แสง (Light) แสงเปนปจจัยที่สาํ คัญสาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โตของพชื โดยทาํ หนา ทส่ี รา งอาหารเบอ้ื งตน (การ สังเคราะหแสง/การสรางอาหาร) ขบวนการสรา งอาหาร (photosynthesis) เริ่มจากการที่เม็ดสีเขียว (chlorophyll) ดูดพลังงานแสง เขาไป และเปลี่ยนรูปเปนพลังงานเคมี เพอ่ื การสงั เคราะห คารบ อนไดออกไซดแ ละนา้ํ ใหเ ปน อาหาร เบื้องตน เชน คารโ บไฮเดรท แปง และนํ้าตาล ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เชน อณุ หภมู ิ แสง คารบ อนไดออกไซด ธาตอุ าหาร และนํ้า พืช จะสามารถเจรญิ เตบิ โตไดด ี อัตราการสรางอาหาร (สังเคราะหแสง) ขึ้นอยูกับความเขมของแสง ในสภาพแวดลอมที่มีความ เขมของแสงตาํ่ ทาํ ใหพืชสามารถสรางอาหารไดนอย ไมมีอาหารสาํ รองพอเพียงสาํ หรบั การเจรญิ ของ ดอก การติด และการพัฒนาของผล ทาํ ใหผลผลิตตาํ่ พืชสรางอาหาร โดยมคี ลอโรพลาสเปน โรงงาน ในสภาพที่มีชวงกลางคืนสั้น กลางวันยาว พืช จะสรางอาหารมาก และมกี ารใชอ าหารนอ ย ทาํ ใหม ปี รมิ าณอาหารในคลอโรพลาสสูง ซึ่งเมื่อมีปริมาณ มากเกนิ ไป จะทาํ ใหค ลอโรพลาสแตก ทาํ ใหเ กดิ อาการใบดา งเปน จดุ ขาว ชวงแสงที่เหมาะสาํ หรบั การเจรญิ และผลผลิตมะเขือเทศอยูระหวาง 8-16 ชว่ั โมงตอ วนั ในชวง แสงไมเกนิ 12 ชว่ั โมงตอ วนั ชอ ดอกจะเจรญิ และตดิ ผลเรว็ คุณภาพแสง แสงสีนํ้าเงินจะชวยใหมะเขือเทศมีขอสั้นกวาสีแดง ตารางท่ี 6 อทิ ธพิ ลของชว งแสงตอ การเจรญิ ของดอก (พันธุ Michigan-Ohio Hybrid) ชว งแสง(ชม/วนั ) ความเขม ของแสง๖แรงเทยี น)/จาํ นวนใบทด่ี อกชอ แรกเจรญิ 750 1500 3000 98 7 5 12 8 7 6 18 9 8 6 ทม่ี า ; Wittwer & Honma, 1969, “ Green House Tomato “ Michigan State University Press. 6

ตารางที่ 7 อิทธิพลของแสงตอการสรางอาหาร Compensation Point(Klux) Saturation Point(Klux) Degree of Assimilation - 70 CO2 mg/100cm2/hour 31.7 ที่มา ; Hori (1969) ปริมาณกรดแอสคอรบิคในผล จะขึ้นมีความสัมพันธกับความเขมของแสง โดยปรมิ าณจะเพม่ิ ขึ้นตามความเขมของแสงที่สูงขึ้น ความชื้นสัมพัทธ (Relative humidity) ในกรณีที่มีความชื้นสัมพัทธตํา่ พืชจะมีการคายนํ้าสูงควรใหนํ้า ระยะทพ่ี ชื เจรญิ เตบิ โต และ ระยะตดิ ผล จะตองการความชื้นสัมพัทธชวงกลางวันสูง ในกรณีที่ความชื้นสัมพัทธสูงหรือตํ่าเกินไป โรคจะเขาทาํ ลายไดงาย ความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสาํ หรบั การตดิ และเจรญิ ของผลอยรู ะหวา ง 60-70 % ความชื้นสัมพัทธสูงกวา 70 % จะทําใหละอองเกสรมีความชื้นสูง จับยึดเกาะตดิ กนั แนน ความชื้น สัมพัทธตํา่ กวา 50 % จะทําใหเ มอื กบนยอดเกสรตวั เมยี (stigma fluid) แหง ไมสามารถผสมเกสรได คารบอนไดออกไซด (Carbon dioxide: CO2) คารบอนไดออกไซด เปนวัตถุดิบ ที่สําคัญในการสรางอาหารเบื้องตน โดยพืชดูด CO2 จาก อากาศ เขาไปรวมกับนาํ้ ที่พืชดูดขึ้นมาจากดิน และมีแสงเปนพลังงานสังเคราะห เปน อาหารเบอ้ื งตน ของ พืช ปกติ CO2 ในอากาศ จะมปี ระมาณ 0.03 % หรอื 0.6 กรัมตอ พน้ื ท่ี 1 ควิ บคิ เมตร เมื่อมีปริมาณ คารบอนไดออกไซดสูง พืชจะมีการสรางอาหารมาก ดังนั้นการเพิ่มปริมาณคารบอนได- ออกไซด สามารถชวยในการเจรญิ เตบิ โต และเพิ่มผลผลิตมะเขือเทศได เนอ่ื งจากจะทาํ ใหต น กลา โตเรว็ ลําตน และ ใบมีขนาดใหญก วาปกติ นอกจากน้ี จะมอี าหารสํารองสาํ หรบั การเจรญิ ของดอกและผล โดยเพม่ิ จํานวน ผลตอ ชอ 5% และเพิ่มขนาดของผล 8-10 % การเพิ่มคารบ อนไดออกไซดใ นระยะการเจรญิ ของชอ ดอก และการพัฒนาของผล จะใหผลดีกวา ใหในระยะตนกลา การเพิ่มคารบอนไดออกไซดในชวงท่ีมีความเขมของแสงตํ่า สามารถเพ่ิมจํานวนผลตอชอสูง กวาปกติ 6 เทา โดยในสภาพท่ีมีความเขมของแสงตํ่า จะมีอัตราการติดผล 43 % สวนการเพิ่ม คารบอนไดออกไซดจ ะมอี ตั ราการตดิ ผล 98 % ในสภาพอุณหภมู ติ าํ่ และการถายเทอากาศไมดี ควรเพิ่ม CO2 เขม ขน 1,000 ppm สว นในสภาพอุณหภมู ิสงู ควรเพมิ่ 400 ppm 7

ตารางที่ 8 อทิ ธพิ ลของคารบ อนไดออกไซดต อ ผลผลติ มะเขอื เทศ วันเกบ็ เกย่ี ว ผลผลิต/เดอื น (%) ความเขม ของแสงต่ํา เพม่ิ CO2 1500 ppm 2 มนี าคม 0 21 30 เมษายน 11 33 14 พฤษภาคม 35 18.4 มถิ นุ ายน 40 6.4 กรกฎาคม 14 ผลผลติ เฉลย่ี ตอ ตน (กก) 14.5 นํ้าหนกั เฉลย่ี ตอ ผล(กรมั ) 5.4 การหมุนเวียนของอากาศ (Air movement) การหมุนเวียนของอากาศในแนวราบ ชว ยในการเจรญิ ของพชื โดยชว ยลดอณุ หภมู ใิ นเรอื นโรง เคลื่อนยายความชื้นจากดานลาง ไปยังสวนตางๆ ของเรือนโรง เคลื่อนยายคารบอนไดออกไซดจากสวน อ่ืนๆ ไปที่บริเวณใบ ชวยในการผสมเกสร ควรใชค วามเรว็ ของลม 1 เมตรตอ วนิ าที ซึ่งจะทาํ ใหใบเคลื่อน ไหวเพียงเล็กนอย การหมนุ เวยี นของลมในอตั ราทส่ี ม่ําเสมอ จะชว ยในการเจรญิ เตบิ โต และเพิ่มผลผลิต สายพันธุ สายพันธุเปนปจจัยที่สาํ คัญในการปลูกผัก การคัดเลือกสายพันธุทีเหมาะสม เมล็ดพันธุมีคุณภาพ สูง จะใหผลผลิตและคุณภาพสูง ดังนั้นกอนตัดสินใจเลือกพันธุปลูก ควรศกึ ษาขอ มลู ความตอ งการของ ตลาดและคัดเลือกสายพันธุที่ดี ใหผลตอบแทนสูงที่สุด พันธมะเขือเทศมีความแตกตางดานอายุเก็บเกี่ยว หรอื ตง้ั แต 75 วันหลังยายปลูกจนกระทั้ง 110 วันข้ึนไป แตกตางดานลักษณะผล น้าํ หนกั สี มะเขือเทศบางสายพันธุที่มีวิตามิน เอ สูง สามารถปองกัน โรคมะเร็งได นอกจากนี้บางสายพันธุจะสามารถเก็บรักษาไดนานกวาปกติ 10-20 วนั เชน พันธุ Elenor, Lenor และ T1011 บางสายพันธุจะทนทานตอโรคใบหด เชน columbia, Rowpac, Pasco, Saladmaster หรือตานทานตอ โรคเหย่ี วทเ่ี กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี ซึ่งระบาดมากในดินที่มีสภาพกรดจัดและขาดความ อดุ มสมบรู ณ เชน Tropic Boy, Tough Boy 93 เปน ตน การเลือกสายพันธุ 1. มีลักษณะ รปู ทรง สี ขนาด นา้ํ หนกั ตามความตอ งการของตลาด 2. ปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมไดดี 3. ผลผลิต คุณภาพสูง สมํ่าเสมอ 4. ทนทานตออาการผดิ ปกติ เชน ผลแตก ผลลาย กน เนา เปน ตน 5. ทนทานตอ โรคและแมลง 6. เก็บรักษาไดนาน 7. ทนทานตอ การขนสง 8

ตารางท่ี 9 ลักษณะสายพันธุบางสายพันธุ พนั ธุ การเจรญิ อายเุ กบ็ เกย่ี ว นา้ํ หนกั (กรมั ) สีไหล ทนทานตอ ทนทานตอ (วนั ) อณุ หภมู สิ งู MAJESTA SD Medium 180-200 G โรค VS F1,2/St/ Tm2 TROPIC BOY ID Early 220 G CHALLENGER ID Extra Early 130 G VS a/ V G VS F1,2-St-v TOUGH BOY 93 ID Medium Early 210 F1,2/N/ (Pink Fruited) G VS Tm2 a/V/B COCO ID Early 20-25 F1, N, St, (Cherry type VS Tm2 a/ V /B 8-10 o Brix) F1,N Tm2 a ลักษณะการเจริญ ID (Indeterminate), D (Determinate), SD (Semi-determinate) ความทนทานตอ อณุ หภมู สิ งู VS (Very strong) ความทนทานตอ โรค F1 (Fusarium race 1), F2 (Fusarium race 2), N (Nematode), Tm2 a/ (Tobacco mosaic virus), ST (Stemphylium), V (Verticillium), B (Bacterial wilt) สขี องไหล G (Green), U (Uniform) ดินและการเตรียมดิน แรธาตุอาหารเปนสวนที่แตกสลายมาจากหิน สารอินทรียสะลายตัวมาจากซากพืชและสัตว ซึ่ง อยูในระดับการเสื่อมสะลายในระดับตาง ๆ บางระดับอาจจะเสร็จสิ้นขบวนการเสื่อมสะลาย (humus) บางระดับอาจอยูในขบวนการเส่ือมสะลาย (compost) ชนิดและปริมาณแรธาตุอาหารตลอดจนสาร อินทรียท่ีประกอบอยใู นดนิ แสดงใหเห็นถึงคุณสมบัติทางเคมีของดิน ซึ่งหมายถึงปริมาณของแรธาตุที่ จําเปนสําหรบั การเจรญิ เตบิ โตของพชื และปฏิกิริยาความเปนกรด ดาง ของดนิ ความสามารถในการนํา ธาตุอาหารขึ้นไปใชประโยชนของพืชขึ้นอยูกับคุณสมบัติทางเคมี และคุณสมบัติทางกายภาพของดิน เมื่อ inorganic salt มีปริมาณเพียงเล็กนอย เชน soluble mineral of soil หรอื ปุยเคมี ที่ใสลงไป ในน้ํา จะเปลี่ยนรูปเปน electrically charge units เรยี ก ion สวนของ ion ท่เี ปน ข้ัวบวกเรยี ก cation เชน H+, K+, Ca++, Mg++, NH4+, Fe++, Mn++, Zn++ จะถูกดูดยึดโดยขั้วบนผิว ของเม็ดดนิ (microscopic clay, and humus particles) Cation จะมีปริมาณเพียงเล็กนอยในสารละลาย ในดนิ เม็ดดนิ เหนยี ว และ ฮิวมัส จะเปนแหลงที่เก็บสะสมแรธาตุอาหารดังกลาว สว นแรธ าตอุ าหารทม่ี ขี ว้ั ลบเรยี ก anion เชน NO3-, HPO4- -, SO4--,และ Cl- จะพบในสารละลายของดินในปริมาณสูง ซึ่งจะสูญหายไปตามการไหลของนาํ้ ไดงาย เมอ่ื สารละลายอาหารไหลผา นราก พืชสามารถดูดสารละลายไปใชทั้งในรูปที่อยูระหวางเม็ดดิน หรือที่ยึดไวตามผวิ ของเมด็ ดนิ (cation) สารละลายที่อยูในดินเปนแหลงอาหารพืชสวนใหญ แตเ นอ่ื งจาก 9

จะสูญเสียไดงายจึงจาํ เปน ตอ งใชส ว นทเ่ี มด็ ดนิ ดดู ยดึ ไว การเพม่ิ ธาตอุ าหารในดนิ สามารถทําไดโดยการ เพิ่มปุยอินทรียหรือปุยเคมี พืชจะดูดธาตุอาหารในรูป ions โดยการแลกเปลี่ยนกับ ions อน่ื ๆ เชน K+, NH4+, H+ ion จะ ละลายในนาํ้ ในดนิ หรอื ดดู ยดึ โดยเมด็ ดนิ หรอื การนาํ Ca++, Mg++ ไปใชป ระโยชน รากพชื จะปลอ ย อะตอม H+ สองอะตอมออกมา เมอ่ื พชื ดดู สารละลายทจ่ี าํ เปน สาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โต ทาํ ใหสารละลายใน ดินและผิวของเมด็ ดนิ มปี รมิ าณ H+ เพิ่มขึ้น ดงั นน้ั เมอ่ื พชื นํา cation เชน ammonium nitrogen ขึ้นไปใช ในปริมาณที่สูงขึ้น ทาํ ใหด นิ มสี ภาพเปนกรด ในทางตรงกันขา มเม่ือพชื ดูด anions เชน ไนเตรท และ ฟอสเฟตขึ้นไปใชมาก จะทาํ ใหดินมีกลุมไฮดรอกซิล (OH-) และ ไบคารบ อรเ นต (HBO3-) สูง ทาํ ใหดิน เปน ดา ง มะขือเทศสามารถเจริญไดดีในดินที่รวนซุย มีหนา ดนิ ลกึ ระบายน้ําไดดี มปี รมิ าณอนิ ทรยี ว ตั ถุ 1.5 % pH 6.0-6.5 pH ต่ํากวา 7.0 ดนิ จะมสี ภาพเปน กรด และ pH สูงกวา 7.0 จะมีสภาพเปนดาง pH ของ ดินมีอิทธิพลตอการนําธาตุอาหารขึ้นไปใชประโยชนของพืช ในดนิ ทเ่ี ปน กรด (pH<7.0) จาํ กัดการนาํ แคลเซียม และโมลิบดีนัมขึ้นไปใชประโยชน สวนในดินที่มีสภาพเปนดาง (pH >7.0) จํากัดการนาํ ธาตุ เหลก็ แมงกานีส และสังกะสี ขึ้นไปใชประโยชน ธาตอุ าหารสว นใหญ จะเปนประโยชนตอพืชในสภาพ ดินเปน กลาง pH 6.0-7.0 การเพาะกลา เมล็ด 10 กรัมมีประมาณ 3,000-3,500 เมลด็ ตรวจสอบความงอกกอนเพาะ เพอ่ื ใชจ ํานวนเมล็ดเพาะใหไดตนกลาตามจาํ นวนทต่ี อ งการ ชว ย ลดตนทุนการผลิต มะเขือเทศลูกผสมชั่วแรกในปจจุบันมีราคาสูง บางสายพันธุกิโลกรัมละ 124,000 บาท เพาะในโรงเรือนที่มีมุงตาขายปองกันแมลงปากดูด พาหะของเชอ้ื ไวรสั วัสดเุ พาะ เชน ปุยหมัก ปุยมูลไกเกา ขี้เถาแกลบ อตั ราสว น 1:1:1 การใสปุยหมักหรือวัสดุเพาะที่อุมนํ้าสูง การระบายน้าํ ไมดี ชอ งวา งในวสั ดเุ พาะนอ ย ขาดอากาศ ซึ่งจําเปนสาํ หรบั การเจรญิ และการดดู ธาตอุ าหารของราก นอกจากนี้จะทาํ ใหวัสดุเพาะมีความชื้นสูงเกิน ไป เปน สาเหตใุ หร ากชะงกั การเจรญิ หรอื เนา ควรหยอดเมล็ดลึกประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร กลบเมล็ด ใหนํ้าผสมกับเซพวิน 85 เพอ่ื ปอ งกนั มด กอนเมล็ดงอกควรใหน าํ้ สองเวลาคือ เชา -เยน็ หลังจากเมล็ดงอกควรใหน า้ํ 1-2 วนั ตอ ครง้ั ขน้ึ อยู กับความชื้น ยายตนกลาลงถุงชําเมอ่ื มใี บจรงิ 3-4 ใบ และยายลงปลูกเมื่อมีใบจริง 8-10 ใบ หรอื มอี ายุ 20- 25 วันหลังยายปลูก ตารางท่ี 10 อณุ หภมู แิ ละการเจรญิ ของตน กลา ระยะการเจรญิ ความเขม ของแสง อณุ หภมู ิ ( o ซ) กลางวนั กลางคืน ระยะเรม่ิ งอก ตา่ํ 24 24 สองอาทิตยหลังจากใบเลี้ยงคลี่ออก สูง 10-13 10-13 10

ตน กลา ทผ่ี า นอณุ หภมู ติ า่ํ แสง 9-12 ชว่ั โมง/วนั ระยะที่ตนกลาเจริญ (กอ นยา ยปลกู ) พอเพยี ง 21 18 ในการยายครัง้ แรก ควรตดั รากแกว เพอ่ื ใหร ากแขนงและรากฝอยเจรญิ ไมค วรใหด นิ แตก ควรฉีดพนสารเคมีปองกันโรคและแมลง ทุก 5-7 วนั พรอ มทั้งฉีดพน ปยุ เคมีในรูปของปยุ นํ้า/ หรือปุยเกล็ด เชน ไบโฟลาน เปน ตน การตอกิ่ง ในกรณีทพ่ี บโรคเหย่ี วระบาด เชน โรคเหย่ี วทเ่ี กดิ จากเชอ้ื แบคทเ่ี รยี (Bacterial wilt) และไม สามารถหาสายพันธุตานทานได เน่อื งจากสายพนั ธทุ ป่ี ลกู เพื่อการคาสว นใหญจ ะไมตานทานตอโรคนี้ ควรตอกิ่งกับสายพันธุที่ตานทานโรคดังกลาว ตารางที่ 11 การเตรยี มดนิ ปลกู วธิ กี าร หมายเหตุ ตรวจสอบ pH กอนเตรียมดิน ใสป นู ขาวและคลกุ ดนิ กอ นปลกู ในกรณที ม่ี ี pH ตาํ่ 3-4 อาทติ ย กอ นใสป ยุ ใสปุยหมัก หรือ ปุยคอก เชน มลู ไก อตั รา 1.0- 1.5 เพอื่ ปรับปรุงคุณภาพของดิน เพิ่มความอุดมสมบูรณ กโิ ลกรมั ตอ ตารางเมตร ของดิน ควรสงเสริมใหทาํ ปยุ หมกั ใกลพ น้ื ทป่ี ลกู เพอ่ื สะดวกใน การขนสง และลดตน ทนุ การผลิต โดยปลกู พชื ตระกลู ถว่ั เชน โสนอินเดีย ในฤดูแลงหรือฤดูฝน และทาํ เปน ปยุ พชื สดหรอื ตัดทาํ ปุยหมกั ผสมหญา หรอื เศษพชื อื่น ๆ ใสป ยุ เคมี 12-24-12 อตั รา 75-100 กโิ ลกรมั ตอ ไร ใสก อ นปลกู ขน้ึ อยกู บั ผลการวเิ คราะหด นิ และปรมิ าณ ปยุ อินทรียที่ใสลงไป กมั ถันผง 14-20 กิโลกรัมตอไร บนทสี่ งู สวนใหญจะมีปญหาโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อ ใสปุยเคมี 15-0-0 จาํ นวน 10 กโิ ลกรมั /ไร หลงั ยา ยปลกู 7 วนั และอกี สองครง้ั คอื เมอ่ื ดอกชดุ แรก และชดุ ทส่ี ามบาน ใสป ุยเคมี 13-13-21 จํานวน 25 กโิ ลกรมั /ไร หลงั ยา ยปลกู 30 วนั 11

การจัดการธาตุอาหาร ตารางที่ 12 ธาตอุ าหารทพ่ี ชื ตอ งการ Element Atomic Available from Symbol weight H2O CO2 Organic elements (from air and water) 1.00 O2,H2O Hyrogen H 12.00 Carbon C 16.00 NO3-, NH4+ Oxygen O K+ 14.00 Ca++ Macronutrients (need in large quantities) 39.10 Mg++ Nitrogen N 40.08 Potassium K 24.32 H2PO4-,HPO4- Calcium Ca 30.92 SO4- - Magnesium Mg 32.07 Phosphorus P Fe+++,Fe++ Sulfur S 55.85 Mn++ 54.94 Micronutrients (need in small quantities) 63.54 Cu++,Cu+ Iron Fe 10.82 BO3- - -,B4O7- - Manganese Mn 65.38 Copper Cu 95.95 Zn++ Boron B MoM4++ Zinc Zn Molybdenum Mo อิทธิพลของธาตุอาหาร ความสําเร็จของการปลูกพืชกินผลขึ้นอยูกับ ความสามารถของผูปลูกที่จะใหอาหารพืชอยาง สม ดุล ระหวางการเจริญทางลาํ ตน ใบ และดอกผล ในกรณที ม่ี คี วามสมดลุ ในการเจรญิ เตบิ โต และผล ผลิต สามารถสังเกตจาก ขนาดของลําตน ขนาดและสีของใบ จาํ นวน และการเจรญิ ของดอกผล ผล ผลิต หรือระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวผลผลิต จะขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม และการจัดการนา้ํ ตลอดจน ปุย เคมี เชน ชนดิ ปรมิ าณ และระยะเวลา สารอนินทรียอาจเปน สวนประกอบอยูในพชื ในปรมิ าณท่ีคอ นขา งตํ่า (รอ ยละ 1) แตช นดิ ปริมาณ และเวลาที่ใสปุยเคมีจะมีอิทธิพลตอการเจริญ และผลผลิตของมะเขือเทศอยางมาก โดยเฉพาะ อยา งยง่ิ การปลูกในเรอื นโรง 12

ตารางท่ี 13 ปรมิ าณสารอาหารตอ นา้ํ หนกั แหง ในตนมะเขือเทศทีส่ มบรู ณ ปริมาณที่พืชแสดงอาการขาด สารอาหารและปริมาณที่เปนพิษตอพืช (น้าํ หนกั แหงระหวา ง 90-120 กรัม/กิโลกรัม หรอื น้าํ หนักสดเฉลี่ย 116 กรมั ตอ กโิ ลกรมั ) Nutrient element Healthy Deficiency Toxicity Range Mean Nitrogen(mol/kg) total N 2.0-3.5 2.64 <1.7 nitrate N 0.20-0.70 <0.07 Phosphorus(mol/kg) 0.13-0.21 0.15 <0.07 Potassium(mol/kg) 0.7-1.5 0.97 <0.3 Magnesium(mol/kg) 0.15-0.35 0.28 <0.12-0.15 Calcium(mol/kg) 0.16-1.8 0.92 <0.17 Sulfur (mol/kg) total S 0.3-1.0 0.55 <0.15 sulphate S 0.2-0.8 0.45 Boron (mmol/kg) 3-9 6.9 <2.7 >15 Copper(mol/kg) 0.16-0.25 0.20 <0.10 Iron(mmol/kg) 1.8-7.0 4.4 <1.4-1.8 Zinc(mmol/kg) 0.3-1.3 0.68 <0.3 Molybdenum(mmol/kg) 0.01-0.10 0.06 <0.002 ที่มา: Roorda van Eysinga,J.P.N.L.; Smilde,K. W. 1981.” Nutritional disorders in grasshouse tomatoes, cucumbers, and lettuce”. Cent.Agric. Publ. and Docum., Wageningen, The Netherlands. 130 pp. ธาตุหลัก(Macronutrients) มะเขือเทศตอ งการธาตอุ าหารในปรมิ าณสงู โดยเฉพาะไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และซัลเฟอร ไนโตรเจน (Nitrogen: N) ไนโตรเจนมีความสําคญั ตอ การเจรญิ ดา นลําตน ใบ มากกวาผล การใสป ยุ ไนโตรเจนในปรมิ าณ ที่เหมาะสม จะชวยใหม กี ารเจริญทางดานลาํ ตน กิ่ง ใบมาก ซึ่งทาํ ใหมีใบสาํ หรบั สรา งอาหารไดม าก นอก จากนี้จะชวยในการเจรญิ ของดอก การตดิ และการพฒั นาของผล ในกรณีท่ีมีไนโตรเจนและความเขม ของแสงพอเพยี ง พชื จะเจรญิ เตบิ โตสมบรู ณ ผลผลิตและคุณ ภาพสูง ในทางตรงกนั ขาม ถา หากมไี นโตรเจนสงู ความเขมของแสงไมพอเพียง อตั ราการเจรญิ ทางลาํ ตนสูง ทางลาํ ตน อวบใหญ ใบหนา สีเขียวเขม ใบสวนยอดมีขอบใบมวน ชอ ดอกใหญ ทาํ ใหไมมีอาหาร 13

พอเพียงสําหรบั การตดิ และการเจรญิ ของผล อตั ราการตดิ ผลจะตา่ํ ผลสุกชาไสในผลเปนสีนํา้ ตาล ไมทน ทานตอ การเขา ทาํ ลายของโรค มะเขือเทศที่ขาด ไนโตรเจน จะชะงกั การเจรญิ เตบิ โต ตน มขี นาดเลก็ ชวงขอยาว ยอดและหนอ ขางชะงักการเจริญ ใบจะมีสีเขียวออน โดยเรม่ิ จากขอบใบ ใบเล็ก มเี นื้อใบบาง ตอ จากนน้ั จะเปลย่ี นเปน สีเหลืองทั้งตน เสนใบจะมีสีเหลืองปนเขียวและในกรณีที่รุนแรงจะเปลี่ยนเปนสีมวง อาการครั้งแรกสังเกตไดที่ดานหลังใบ นอกจากนี้ลาํ ตน แขง็ เปลี่ยนเปนสีมวง กรณีที่มีขาดอยาง รุนแรง จะเปลี่ยนเปนสีนาํ้ ตาลและตายในที่สุด ดอกมสี เี หลอื งออ น น้าํ ตาลและรวง กรณีที่ตดิ ผลได ผล จะมขี นาดเลก็ ผลผลิตตาํ่ ไนโตรเจนที่อยูในรูปแอมโมเนียมไนเตรทชวยใหพืชเจริญไดดี ผลผลิตสูง ปยุ เคมใี นรปู ของ ไน เตรท จะเหมาะสําหรบั การเจรญิ ของมะเขอื เทศมากกวา ในรปู แอมโมเนย่ี ม ในกรณีที่มีปริมาณ แคลเซียมสูงหรอื ตํ่าเกินไป แอมโมเนยี มจะเปน พษิ ตอ พชื ไนเตรทไนโตรเจนจะชว ยใหพ ชื มคี วามสามารถในการดดู น้ําขึ้นไปใชสูงและลดปริมาณ Free amino acid ในสภาพอุณหภูมิสงู พชื มอี ตั ราดดู ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมไปใชไดตํ่า แตใ น สภาพอณุ หภูมติ ํ่า อตั ราการนาํ แอมโมเนียมขึ้นไปใชไดสูง ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต แอมโมเนยี มไนเตรท หรือแคลเซียม แอมโมเนยี มไนเตรท จะใหผลผลิต และคณุ ภาพสงู กวา การใชไ นโตรเจนในรปู อน่ื ๆ พืชจะสังเคราะหแอมโมเนียมที่ราก ถาหากใสในปริมาณมากเกินไป รากสังเคราะหไมทัน จะ เคลื่อนยายขึ้นไปสะสมที่ใบ ในสภาพอณุ หภูมิสูงจะละเหยจากใบ ทาํ ใหเ กดิ แผลเปนจดุ เลก็ ๆ ระยะตอ มา จะขยายตัว หรอื รวมกนั เปน แผลใหญ เหลอื เฉพาะเสน ใบเปน สเี ขยี ว พืชที่เจริญปกติ ใบที่ 5 จากยอดเมอ่ื คลอ่ี อกเตม็ ท่ี จะมปี รมิ าณไนโตรเจน 3.5-6.0 % N ของนา้ํ หนกั แหง การแกไข ฉีดพนใบดวยยูเรีย อตั รา 2.5 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร ควรฉีดพนในระยะทมี่ ีอุณหภูมิ และ ความเขมแสงตาํ่ และใหนํา้ หลังฉีดพน ฟอสฟอรัส (Phosphorus : P) ถึงแมพืชจะตองการฟอสฟอรัสในปริมาณที่นอยกวาไนโตรเจน แตพืชจะตองการอยาง สม่ําเสมอ ในระยะแรกฟอสฟอรสั จําเปนสาํ หรบั การเจรญิ ของราก โดยเฉพาะอยางยง่ิ เม่ืออณุ หภูมิ ในดนิ ต่ํา นอกจากนจ้ี ะชว ยในการเจรญิ เตบิ โตทง้ั ทางลาํ ตน ใบ ดอก ผล ตลอดฤดูกาลปลูก ฟอสฟอรัสจะชวย ในการดดู นา้ํ และแรธ าตอุ น่ื ๆ โดยเฉพาะในเขตรอนที่ไมมีการคลุมแปลงปลูก การใหนาํ้ ไม สมํ่าเสมอ นอกจากนี้ชวยใหผลสุกเร็ว กรณที ม่ี ฟี อสฟอรสั โพแทสเซียม และไนโตรเจนพอเพยี ง จะชวย เพิ่มคุณภาพของผลในดานสี รสชาติ ผลแข็ง และเพิ่มวิตามิน ซี 14

เม็ดดินจะจบั ยดึ ฟอสฟอรสั ไดด ี แตจะถูกชะลางหรือสูญเสียโดยงายในดิน peat และ soilless media ดังนั้นการปลูกพืชไรดินจะตองใสฟอสฟอรัสในปริมาณที่พอเพียงและสมํ่าเสมอ การใสปุยฟอสฟอรัสมากเกินไป จะจํากัดการนาํ โบรอน และสังกะสีขึ้นไปใช ปุยฟอสฟอรัสที่ เหมาะสําหรบั ใชใ นการปลูกมะเขอื เทศคอื Nitro phosphate หรอื Triple super phosphate พืชที่ขาดฟอสฟอรสั ในขน้ั แรกแสดงอาการหยดุ ชะงกั การเจรญิ เตบิ โต ในกรณที ร่ี นุ แรงพชื จะ แคระแกรน ใบมีสีเขียวเขม ขนาดเลก็ หนา ใบออ นสว นปลาย และระหวางเสนใบดานหลังใบ เปลี่ยน เปนสีเทามวง ใบมวนลง รากชะงักการเจริญ อตั ราการตดิ ผลตา่ํ และผลสุกชา ปกติฟอสฟอรสั ไมเ ปน อนั ตรายตอ พชื ใบปกติจะมีปริมาณฟอสฟอรัสในเนื้อเยื่อ 0.4-1.25 %P ของนาํ้ หนักแหงใบที่ 5 จากยอดทค่ี ลอ่ี อกเตม็ ท่ี การแกไข ควรใสปุย triple superphosphate อตั รา 20 กรมั ตอ ตารางเมตร หรอื ใชป ยุ mono potassium phosphate ละลายนํ้า 30-50 ppm P โพแทสเซียม (Potassium: K) โพแทสเซียมเปนธาตุอาหารที่เคลื่อนยายในพืชไดดี พืชตองการในปริมาณที่สูง จําเปนสาํ หรบั การเจริญเติบโต และผลผลิต เนอ่ื งจากเปน ธาตหุ ลกั และมีขั้วบวก (cation) ทาํ หนาที่สรางความสมดุล กับกรดอินทรียที่อยูในเซลลซึ่งมีขั้วลบ และ anion อน่ื ๆ เชน sulfate, chloride, และ nitrates. นอกจากน้ี จะชวยกระตุนการทาํ งานของ enzyme ควบคุมการคายนาํ้ โดยการควบคมุ การเปด ปดของปากใบ ประสิทธิภาพของโพแทสเซียมขึ้นอยูกับความสัมพันธระหวางแรธาตุตาง ๆ เชน ไนโตรเจน และฟอสฟอรสั จะมีอิทธิพลตอการนําโพแทสเซียมไปใชประโยชนของพืช ทาํ ใหพืชขาดโพแทสเซียม สว นแคลเซียมชวยในการนําโพแทสเซียมขึ้นไปใชประโยชน โพแทสเซียมจําเปนสาํ หรบั การเจรญิ และผลผลติ มะเขอื เทศ โดยจะชวยทาํ ใหเ นอ้ื เยอ่ื เหนยี ว ลด การคายน้ํา เพม่ิ ขนาดผล และทนทานตอการเขาทาํ ลายของโรค โดยสามารถลดความรุนแรงใน การ ระบาดของโรค early blight (Alternaria solani) leaf mold (Cladosporium fulvum) Stem rot (Diploclia lycopersicon), และ root rot ( Botrytis cinerea) นอกจากนี้ จะชวยควบคุมการทาํ งานของปากใบ การลาํ เลียงนํา้ อาหารในพชื ชวยการทาํ งาน ของไนโตรเจน การสงั เคราะหโ ปรตนี ตลอดจนควบคุมความเขมขน ของสารเคมใี นเซลล และการทาํ งาน ของนา้ํ ยอย ในกรณีที่ขาดแคลเซียม พืชจะแสดงอาการขาดโพแทสเซียม สว นแอมโมเนยี มจะจํากัดการนาํ โพแทสเซียมไปใชประโยชนอยางมาก การขาดโพแทสเซียมมีแนวโนมจะทําใหพืชขาดธาตุเหล็ก ในกรณีที่พืชขาดโพแทสเซียมระยะเริ่มแรกจะแสดงอาการที่ใบแกกอน และขยายจากใบลางไป ยังใบบนสดุ พืชจะหยุดชะงักการเจริญ ชวงขอสั้น ใบขนาดเล็ก ขอบใบแกแหงงอมวนลง หลังจากนั้น แผลขยายไปยังเนื้อเยื่อที่อยูระหวางเสนใบและเขาสูสวนกลางของใบ ผลนิ่ม ผวิ แตกขรขุ ระหรอื รว ง เมด็ 15

สีแดงที่ผิวไมเ จรญิ นอกจากนี้ทาํ ใหเ นือ้ ของผลฟา ม มเี นอ้ื ดา นแขง็ สนี ้าํ ตาล ขาว หรอื เทา สีผลไม สมา่ํ เสมอ ผลนิ่ม ผลรวงกอนสุก ดินทั่วไปจะมีปริมาณโพแทสเซียมคอนขางพอเพียง สาํ หรบั การเจรญิ ของพชื นอกจากในดนิ ทราย แตในการปลูกพืชไรดิน พืชจะแสดงอาการขาดทันที เมื่อไดรับธาตุดังกลาวไมเพียงพอ การใสโพแทสเซียมสูง จะไมเ ปน อนั ตรายตอ พชื แตจ ะเปน สาเหตใุ หพ ชื ขาดธาตอุ น่ื เชน แคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก เปน ตน ใบพืชที่สมบูรณจะมีปริมาณโพแทสเซียม 4.0-7.0% K ของนา้ํ หนักแหงของใบที่ 5 จากยอดที่คลี่ ออกเตม็ ที่ การแกไข ใสปุยโพแทสเซียมกอนปลูกอัตรา 80 กรมั ตอ ตารางเมตร หรอื ฉดี พน ในอตั รา 20 กรัม ตอนํ้า 1 ลิตร ขอ ควรระวงั พืชไมสามารถนําโพแทสเซียมที่ใหโดยการฉีดพนไปใชไดทั้งหมด แคลเซียม (Calcium: Ca) แคลเซียมเคลื่อนยายในพืชทางทอนํ้า และบางสวนจะเคลื่อนยายจากใบแกไปยังใบออน แตจ ะมี ปริมาณที่นอยมาก ดังน้ันเมอ่ื พชื ไดรบั แคลเซียมตา่ํ จะแสดงอาการขาดธาตอุ าหารทย่ี อดออ น แคลเซียมจะมีความสาํ คญั ตอ โครงสรา ง และความแข็งแรงของ cell membranes และความสมบูรณแข็ง แรงของ cell wall อาการขาดธาตุอาหาร ตนเปราะหักงาย ตาดอกเหลอื ง ตาย สวนของยอดของลําตน จะพบแผลจุดสีนาํ้ ตาล ขอบใบออ นมจี ดุ สนี า้ํ ตาล เสนใบสีเขียว สวนยอดเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาลแหง พืชชะงักการเจริญ ชว ง ขอในสวนยอดสั้น ใบออ นมขี นาดเลก็ ปลายใบมวนขึ้น ในใบแกปลายใบมวนลง ในกรณที ร่ี นุ แรงใบ ออนกรอบและรวง ดอกรว ง ยอดออ นแหง ตาย รากไมส มบรู ณ สั้นและใหญกวาปกติ รากเปลี่ยนเปนสี น้ําตาล และมีรากฝอยนอย ผลแสดงอาการกน เนา พืชที่แสดงอาการขาดแคลเซียมจะมีปริมาณ < 0.08 % Ca ในดินที่มีการพังทะลาย จะขาด แคลเซียม นอกจากนใ้ี นดนิ peat ที่ไมใสปูนขาว และในการปลูกพืชไรดินที่มีแคลเซียมไมพอเพียง พืช จะแสดงอาการขาดธาตุน้ี หรือการใสโพแทสเซียมในอตั ราสูง จะจํากดั การนาํ แคลเซียมขึ้นไปใชของพืช ใบพืชที่สมบูรณ จะประกอบดวยแคลเซยี ม 1.2-4.0 % Ca ของนา้ํ หนักแหงใบที่ 5 จากยอด ที่ คลอ่ี อกเตม็ ท่ี การแกไขควรฉีดพนดวยแคลเซียมไนเตรท อตั รา 2-7 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร ขอควรระวงั จะตองฉีดพนในขณะที่มีอุณหภูมิและความเขมของแสงตาํ่ แมกนีเซียม (Magnesium: Mg) ธาตุนี้เปนสว นประกอบท่ีสําคัญของเม็ดสเี ขียว (chlorophyll) ดังนั้นการขาดแมกนีเซียม จะทาํ ใหพืชขาดเม็ดสีเขียว ใบพืชหงิกเปนคลื่น ใบดาง และแผลจุดสีนํ้าตาลที่ใบแกดานลาง ในระยะแรกที่ ปลายใบจะพบจุดสีเหลืองระหวางเสนใบ โดยเสนใบมีสีเขียว ถงึ แมจ ะแสดงอาการรนุ แรง หลังจากนั้น 16

แผลเปลี่ยนเปนสีนาํ้ ตาลออ น แตขอบใบคงมีสีเขียว โดยเริม่ จากใบแกแ ละเมอ่ื ขาดธาตุอาหารมากจะ ระบาดถงึ ใบออ น การปลูกในดินสาเหตุของการขาดแมกนีเซียมเกิดจากพืชไมไดเกิดจากดินอาจจะเนื่องจากการใส ธาตุอาหารบางชนิดหลังปลูกในอัตราที่สูงเกินไป เชน โพแทสเซียม แคลเซียม (จากการใสปูนขาวมาก เกินไป) แอมโมเนยี ม หรอื ดนิ เปน กรด ในสภาพดังกลาวพืชจะไมสามารถดูดแมกนีเซียมขึ้นไปใช ประโยชนไดเพียงพอ ดังนั้นพืชจะเคลื่อนยายแมกนีเซียมจากใบแกไปยังใบออน ในการปลูกพืชไรดินพืชจะแสดงอาการขาดธาตุดังกลาวเมื่อมีระดับความเขมขนลดลงจากระดับ ความเขมขนที่เหมาะสม หรือขาดความสมดุลระหวางปุย K+, Ca++, NH4++, H+, พืชที่ไดรับแมกนีเซียมมากเกินไปจะแสดงอาการใบดาง สวนที่มีสีเขียวจะเปลี่ยนเปนสีเขียวเขม สวนใหญจะเกิดในการปลูกพืชในสารละลายที่มีแมกนีเซียมในปริมาณที่สูงมาก พืชที่ปกติจะมีปริมาณแมกนีเซียม 0.4-1.0 % Mg ของนา้ํ หนักแหงใบที่ 5 จากยอดทค่ี ลอ่ี อกเตม็ ที่ การแกไข ฉีดพนดวยแมกนีเซยี มซัลเฟต อตั รา 20 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร ขอ ควรระวงั จะตอ งฉดี พน ในขณะที่มีอุณหภูมิและความเขมของแสงตาํ่ วิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดคือใหทางดิน ซัลเฟอร (Sulfur: S) พืชจะไดรบั ธาตุนี้อยางเพียงพอ เนื่องจากประกอบอยูในปุยเคมีหลายชนิด และอยูในอากาศ ที่ เกิดมลภาวะ แตกรณีที่มีมากเกินไป จะจํากดั การนาํ โมลิบดีนัมไปใชประโยชนของพืช ในการปลูกพืชไร ดิน เมื่อพืชไดรับซัลเฟอรมากเกินไป จะทาํ ใหเ กิดแผลขรขุ ระระหวางเสน ใบ อาการขาดซัลเฟอร ลําตน เสน ใบ และยอดออนจะเปลี่ยนเปนสีมวง ใบยอดเปลี่ยนเปนสีเหลือง ในกรณีที่ขาดรุนแรงใบพืชจะเปนคลื่นคลายใบหด โดยจะแสดงอาการขาดเมอ่ื มปี รมิ าณ < 0.25% ของ น้ําหนักแหงใบที่ 5 จากยอดทค่ี ลอ่ี อกเตม็ ท่ี พืชที่ปกติจะมีปริมาณซัลเฟอร 0.96-3.20 %S ของนา้ํ หนักแหงใบที่ 5 จากยอดทค่ี ลอ่ี อก เตม็ ท่ี หรอื เฉลย่ี 1.0-1.6% ธาตุรอง (Micronutrients) มะเขือเทศตองการธาตุรองดังตอไปนี้ในปริมาณที่ตาํ่ คือ iron, manganese, copper, boron, zinc, molybdenum, and chloride. เหล็ก (Iron: Fe) พืชตองการธาตุเหล็กเพื่อชวยในการสรางเม็ดสีเขียว (chlorophyll) ธาตุนี้จะไมเคลื่อนยาย ใน พืช ลักษณะการขาดธาตุอาหารจะคลายกับอาการการขาดแมกนีเซียม แตจ ะเกดิ ขน้ึ กบั ใบออ น ซึ่ง แสดงอาการขาดเม็ดสเี ขียวและคล่อี อกอยางรวดเร็ว อาการในขัน้ แรกสังเกตจากใบออ นดานลางมี สี เหลืองปนเขียว หรอื เหลอื งแตเ สน ใบมสี เี ขยี ว เมอ่ื ถงึ ขน้ั รนุ แรงจะ เริ่มจากเสนใบขนาดเล็กเปลี่ยนเปน สีเหลืองหรือขาว หนอ หยดุ ชะงกั การเจรญิ ใบเปลี่ยนเปนสีเหลือง 17

สาเหตุของการขาดธาตุนี้เนื่องจากวัสดุปลูกมี pH สูง มีปริมาณแมงกานีสสูง ออกซเิ จนไมพ อ เพียง รากไมสมบูรณ รากตายหรอื น้าํ ขัง ควรเพม่ิ ปรมิ าณออกซเิ จนบรเิ วณราก โดยปรบั อตั ราสว นผสม ของวัสดุปลูกใหนํา้ ในปริมาณที่เหมาะสม เพิ่มปริมาณออกซิเจนในสารละลาย ควบคมุ ใหพ ชื มอี ตั รา การคายนํ้าที่เหมาะสม การใสธาตุนี้มากเกินไป พืชจะแสดงอาการคลายกับอาการขาดแมกนีเซียม พืชที่สมบูรณจะมีปริมาณ Fe ในเนอ้ื เยอ่ื พชื ประมาณ 100-800 ppm ของนา้ํ หนักแหงของใบ ที่ 5 จากยอดและคลอ่ี อกเตม็ ทห่ี รอื เฉลย่ี 80-200 ppm ใสปุย Fe ในรปู ของ iron salt หรอื iron chelates ทางดิน(Fe-EDDHA อตั รา 5-10 กรมั ตอ ตาราง เมตร หรือ Fe-DPTA อตั รา 12-20 กรมั ตอ ตารางเมตร) หรอื ฉดี พนทางใบโดยใช Fe-EDTA เขม ขน 0.2 กรัมตอนํ้า 1 ลิตร iron chelates เมอ่ื ใชใ นความเขม ขน สงู จะเปน อนั ตรายตอ พชื ไมควรใชสูงกวาคาํ แนะ นําโดยเฉพาะอยางยิ่งการฉีดพนทางใบ ขอควรระวงั ฉีดพนในขณะที่มีอุณหภูมิและความเขมของแสงตาํ่ ควรฉีดพนทางใบ อยาให โดนบริเวณโคนตน เนอ่ื งจากอาจทําใหเ กดิ อาการโคนเนา ได การเพิ่มอากาศหรือชองวางในวัสดุปลูก เพอ่ื ใหม กี ารหมนุ เวยี นของอากาศไดด ี เปนแนวทางแก ไขอาการขาดธาตุนี้ แมงกานสี (Manganese: Mn) พืชตองการแมงกานีสในปริมาณที่นอยมาก เพื่อชวยในการทาํ งานของ enzymes ชวยในการ สังเคราะหแสง ชวยสรางออกซินในพืช ในกรณีที่ขาดแมงกานีส hydrogen peroxide จะสะสมในใบพืช เมื่อมีความเขมขนสูง จะเปน อนั ตรายตอ พชื ธาตุนี้จะไมเคลื่อนยายในพืช ปกติจะสะสมในใบลาง ลักษณะอาการขาดธาตุอาหารจะคลายกับอาการขาด Fe โดยจะแสดงออกในใบ หรอื หนอ ใหม เนื้อเยื่อขอบใบและระหวางเสนใบ จะเปลี่ยนจากสีเขียวออน เปน สเี ขยี วปนเหลอื ง และเปนสีเหลือง เชนเดียวกับการขาด Fe แตที่แตกตางกันคือเสนใบพืชที่ขาด Fe ยังคงมีสีเขียว แตอ าการขาดแมงกานสี เสนใบจะมีแผลจุดลึกสีขาว ในระยะที่รุนแรงใบจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง และมีแผลจุดสีขาวระหวางเสนใบ จะเกิดขึ้นมากใน ดินเหนียวและดินพีทที่ใสปูนขาวมาก หรือในสารละลายที่ขาดแมงกานีส อาการที่พืชแสดงเมื่อไดรับแมงกานีสสูงเกินไป จะปรากฎสเี ขยี วออ นหรอื เหลอื งบรเิ วณระหวา ง เสนใบ โดยแสดงอาการในใบแกกอน หลังจากนั้นเสนใบจะเปลี่ยนเปนสีนาํ้ ตาลแดง และมีแผลจุดสีมวง บริเวณลาํ ตน ยอดออ น และเสนใบดานลางของใบ พบมากในพืชที่ปลูกในวัสดุปลูกที่อบดวยไอนาํ้ ใน อุณหภมู สิ งู ใชร ะยะเวลานาน และไมสามารถระบายนํา้ ทอ่ี ยใู นดนิ ออกได โดยเฉพาะในดนิ ทเ่ี ปน กรด ปริมาณที่เหมาะสมในใบออนประมาณ 50-200 ppm และในใบแก 100-400 ppm การแกไขฉีดพนดวยแมงกานีสซลั เฟต เขม ขน 1.5 -10 กรัมตอน้ํา 1 ลิตร ในเครื่องพนสารละลาย ที่มีแรงดันสูงและตาํ่ ตามลาํ ดบั 18

ในสารละลายที่ใชปลูกพืช ควรมคี วามเขม ขน 0.05 ppm การปลูกโดยใชดินควรใส แมงกานีส ซัลเฟต อตั รา 50 กรมั ตอ ตารางเมตรและปรบั pH ใหเปนกลาง ทองแดง(Copper: Cu) Cu ชวยในการทาํ งานของ enzymes หลายชนิด ตลอดจน enzyme ที่เกี่ยวของในการสังเคราะห แสงและการหายใจ ถึงแม Cu จะสามารถเคลื่อนยายในพืชได ในกรณที ไ่ี ดร บั ในปรมิ าณ ที่เพียงพอ แตความสามารถในการเคลื่อนยายในพืช จะลดลงเมื่อพืชไดรับในปริมาณที่ไมเพียงพอ ดังนน้ั ปรมิ าณ Cu ในเนื้อเยื่อที่กําลังเจริญจะขึ้นอยูกับความสมบูรณของพืช การวเิ คราะหด นิ จะใหผ ล ดีกวาการ วิเคราะหส ว นของพชื ในกรณีที่พืชขาดจะพบอาการชะงักการเจริญ ชวงขอสั้น ใบมีขนาดเล็กกวาปกติ ในระยะแรก เนื้อเยื่อระหวางเสนใบจะเปลี่ยนสี ผิวใบยน ซึ่งจะเกิดกับใบแกกอน หลังจากนั้นขยายไปทั้งตน ใน ระยะรุนแรงใบจะเปลี่ยนเปนสีเขียวปนเทาหรือสีเงิน ขอบใบมวนลง ชะงักการเจริญ จํานวนดอก ลด ลง ตดิ ผลนอ ย ผลขนาดเล็ก ปกติพืชจะไมข าด Cu เนอ่ื งจากมใี ชท ว่ั ไปในโรงงานอตุ สาหกรรม และในสารเคมีปองกันและ กําจดั เชอ้ื รา แตบ างครง้ั จะขาดในดนิ พที และการปลูกในสารละลายที่ใชพลาสติกเปนภาชนะปลูก และ ในสารละลายที่มีปริมาณ Cu ในความเขม ขน ตา่ํ หรือการใชวัสดุปลูกมี pH สูง ในกรณีที่ใส Cu ในปริมาณมากเกินไป ถงึ แมไ มเ ปน อนั ตรายตอ พชื โดยตรงแตจ ะใหผ ลลบ ทางออม เนอ่ื งจากจะจํากดั การนาํ Fe ไปใชของพืช ทาํ ใหพืชขาด Fe ซึ่งจะพบในพื้นที่ใกลโรงงาน อุตสาหกรรมหรอื ใชส ารเคมปี อ งกนั และกาํ จดั โรคมาก หรอื พน้ื ท่ี ๆ ใสปูนขาวมาก การปลูกพืชใน สารละลายการใช Cu ในอตั ราสูงจะทําใหเกิดการสะสม ในพืชที่สมบูรณจะมีปริมาณ Cu 8-25 ppm หรอื เฉลย่ี 10-15 ppm ของนา้ํ หนักแหงของใบที่ 5 ทค่ี ลอ่ี อกเตม็ ท่ี การแกไข ใส Copper sulfate อตั รา 10 กรมั ตอ ตารางเมตร และในสารละลายปกติจะมีปริมาณ 0.03 % Cu อาจฉีดพนทางใบโดยใช Copper sulfate เขม ขน 1 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร ผสมกับ Calcium hydroxide 0.5 % โบรอน (Boron: B) เชื่อวา B มีหนาที่ชวยในการแบงเซลล และการเจรญิ ของเนอ้ื เยอ่ื เจรญิ B ไมเคลื่อนยายในพืช ดงั นั้นควรใหมีปริมาณพอเพียงและสมํ่าเสมอในบรเิ วณราก ในดินทรายที่มี pH สูงจะขาด B นอกจากนป้ี รมิ าณ B ในพืชจะขึ้นอยูกับคุณภาพของนาํ้ เมื่อพืชขาด B จะแสดงอาการทเ่ี นอ้ื เยอ่ื เจรญิ และดอกผล อาการที่พบในพืชที่ขาด B ลาํ ตน จะบดิ งอ แตก สวนปลายใบที่อยูดานลางของลาํ ตน จะเรม่ิ เหลืองและกรอบ และเปลี่ยนเปนสีมวง ใบออ นเจรญิ ผดิ ปกติ ใบแกมีเสนใบเดนชัด ขอบใบมวน ใบ 19

ขนาดเล็ก กรอบ ใบลางเปลี่ยนเปนสีเหลือง ขอบใบเปลย่ี นเปน สเี หลอื งออ น หลังจากนั้นใบเปลี่ยนเปน สีนํ้าตาลขอบใบมวนลงดานใน ชอดอกแตกกานดอกมาก ลําตนเกิดแผลสะเก็ด ยอดออ นแหง ตาย ผลมีขนาดเล็ก และมรี อยแผลแตกตามยาวของผล รากเปลี่ยนเปนสีดาํ และปลายรากบวม พืชที่ขาด B จะทาํ ใหผลผลิตลดลงถึง 90 % และคุณภาพของผลลดลง เนอ่ื งจาก B ไมเคลื่อนยาย ในพืช พชื จะแสดงอาการขาดเม่อื มีปรมิ าณ <6-8 ppm หรอื <2 ppm อาการทไ่ี ดร บั B สูงเกินไปในขั้นแรก ปรากฎในใบแกกอน อาการที่แสดงในระยะแรก ขอบใบ แกจะเปล่ียนเปนสีเขยี วปนเหลอื ง ขอบใบมวนลง หนอ ขา งเจรญิ ไดด ี หลังจากนั้นจะขยายขึ้นไปทางดาน บนของลําตน มีแผลจุดสีเหลืองระหวางเสนใบ ในขน้ั ทร่ี นุ แรงพชื จะชะงกั การเจรญิ ใบบนมีขนาดเล็ก ดอกตัวเมยี นอย ดอกรว ง ดงั นน้ั ควรใชด ว ยความระมดั ระวงั พืชที่สมบูรณจะมีปริมาณ B เขม ขน 30-80 ppm B ของนา้ํ หนักแหงของใบยอด การแกไขสามารถทาํ ไดโดยการใส Sodium borate ลงไปในดินอัตรา 2 กรมั ตอ 1 ตารางเมตร หรือฉีดพนดว ย sodium borate อตั รา 2 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร การใสปูนขาวจะชวยลดปญหา อตั รา B ใน วัสดุปลูกสูง เกนิ ไป สังกะสี (Zinc: Zn) Zn เปนสวนประกอบของ enzymes หลายชนิด มีอิทธิพลตอการสังเคราะหแสงมากที่สุด ใน จํานวนธาตรุ อง ปกติพืชจะไมขาดธาตุนี้ การขาดธาตุอาหารสาํ หรับการปลูกในสารละลาย จะเกดิ ขน้ึ เมอ่ื ขาด Zn สวนในดินปกติจะมี ปริมาณระหวา ง 10-300 ppm Zn เมอ่ื pH ดินสูงขึ้นและมีปริมาณ calcium carbonate สูง จะจํากัดการนาํ Zn มาใชป ระโยชน การใสปุยฟอสฟอรัสในปริมาณสูงทาํ ใหพืชขาด Zn เนอ่ื งจากเมอ่ื รวมกบั ฟอสฟอรัสและเปลี่ยนรูปเปน Zinc phosphate ซึ่งอยูในรูปที่ไมสามารถละลายนาํ้ ได นอกจากน้ี Cu, Fe, Mg, และ Ca จะจํากัดการนาํ Zn ไปใชป ระโยชน ในกรณีท่ีขาดธาตอุ าหารเนอ้ื เยอ่ื ใบระหวา งเสน ใบแกด า นลา งจะเปน ดา ง ตอจากนั้นจะขยายขึ้น ไปยังใบสวนยอด ชว งขอ ดา นยอดสน้ั ใบมีขนาดเล็ก ในกรณที ร่ี นุ แรงชว งขอ สว นยอดจะหยดุ สน้ั ทาํ ใหตนมีลักษณะทรงพุม การเจรญิ หยดุ ชะงกั ใบเปลี่ยนเปนสีเขียวปนเหลือง และสีเหลือง แตเ สน ใบจะมีสีเขียวเขม สวนในกรณีที่พืชไดรับ Zn มากเกินไป ใบ และเสนใบ จะมีสีเขียวเขมจนถึงดํา เมอ่ื ถงึ ขน้ั รนุ แรงอาการจะคลายกับการขาด Fe ในพืชที่สมบูรณจะมีปริมาณ Zn 30-100 ppm ของนา้ํ หนักแหงของใบที่ 5 ทค่ี ลอ่ี อกเตม็ ท่ี พืชที่ ขาดจะเรม่ิ แสดงอาการเมอ่ื มปี รมิ าณ Zn ตา่ํ กวา 20-25 ppm และในปริมาณสูงกวา 150-180 ppm ของใบ แกหรือ 900 ppm ของใบออ น สวนยอดจะเปน อนั ตรายตอ พชื 20

การแกไข ฉีดพนทางใบโดยใช Zinc sulfate เขม ขน 5 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร การใสปูนขาว และ ฟอสฟอรสั จะชว ยลดอนั ตรายจากการใส Zn มากเกินไป โมลิบดีนั่ม (Molybdenum: Mo) เปนสวนประกอบของ enzyme หลายชนิด และมีความสาํ คัญใน nitrogen metabolism พืช ตองการ Mo ในปริมาณที่นอยมาก เพียง 0.2 ppm ปริมาณ MO ในดินจะพอเพยี งสาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โต จะอยูในดินในรปู ของ anion ซึ่งแตกตา งจากธาตรุ องสว นใหญ ซึ่งจะอยูในรูป cation มีปฏิกริยาเชนเดียว กับ phosphate พืชจะนําไปใชประโยชนไดดีในดินที่เปนดาง และจะลดลงในดินที่เปนกรด โดยเฉพาะ อยางยิ่งในดินทราย ซึ่งจําเปนตองใสปูนขาว ลักษณะอาการขาดธาตอุ าหาร ในระยะแรกพบในใบแก โดยเนอื้ เย่ือระหวางเสนใบจะมสี เี ขยี ว ปนเหลือง หลังจากนั้นจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง และตาย ในบางกรณีใบแก อาจจะยังคงสีเขียว แตมีแผล จุดขรุขระ โดยในระยะแรกจะพบในใบลางกอน ตอจากนั้นจะขยายไปยังใบสวนบนของตน แตใ บออ น จะยังคงมีสีเขียวดอกจะมีขนาดเล็ก ในกรณที ร่ี นุ แรงจะทาํ ใหผลผลิตลดลงถึง 84 % การปรบั pH ใหอยู ในระดบั 6.7 โดยการใสปูนขาวจะชวยใหผลผลิตสูงขึ้น Mo จะไมเ ปน อนั ตรายตอ พชื ในพืชที่สมบูรณจะมีปริมาณ Mo 0.8-5.0 ppm หรอื เฉลย่ี 1.0 ของนา้ํ หนักแหงของใบ พืชที่ขาด จะเรม่ิ แสดงอาการเมอ่ื มปี รมิ าณ Mo ตา่ํ กวา 0.3 ppm การปองกันใส sodium molybdate อตั รา เขม ขน 5 กรมั ตอ 1 ตารางเมตร หรือการแกไขใส sodium molybdate อัตรา 150 มิลลิกรัมตอ 1 ตารางเมตร หรอื ฉดี พน ดว ย sodium หรอื ammonium molybdate เขมขน 1 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร คลอรไรด (Chlorine: Cl) ปกติพชื จะไมขาด Cl เนื่องจากมีอยูในสภาพแวดลอมทั่วไป และเปนสวนประกอบของปุยเคมี หลายชนิด แตเ มอ่ื พชื ไดร บั ในอตั ราสงู จะเกดิ อนั ตรายได โดยเฉพาะการปลูกพชื ในสารละลาย โดยใช ระบบหมุนเวยี น พืชตองการ Cl ในปรมิ าณทต่ี า่ํ (ตา่ํ กวา Fe) การปลูกโดยใช rock wool ควรใหสาร ละลายมีปรมิ าณ Cl เขม ขน 35 ppm และสูงที่สุดไมเกิน 70 ppm Nonessential elements ซึ่งจะใหป ระโยชนห รอื ทําอนั ตรายตอ พชื เชน silicon และ sodium ซิลิกอน (Silicon: Si) ธาตุน้ีมีปริมาณทส่ี งู ในดนิ แตส ว นใหญจ ะถกู ดดู ยดึ โดย quartz Si ทเ่ี ปน ประโยชนจ ะอยู ในรูป monosilisic acid (Si(OH)4) และในสภาพวัสดุปลูกที่มี pH สูง ปริมาณที่พืชจะนํามาใชประโยชนไดลดลง การใส SiO2(soluble silica) ในสารละลายเขมขน 75 -100 ppm จะชวยเพิ่มผลผลิตได นอกจากนี้จะ ชวยใหพืชทนทานตอ โรคราแปง และรากเนา ทเ่ี กดิ จากเชอ้ื Pythium ควรใสปุยเคมีเชน potassium หรอื sodium silicate อยางสมํา่ เสมอ 21

โซเดี่ยม (Sodium: Na) ธาตุน้ีอาจจะไมสาํ คญั ตอ ขบวนการเจรญิ เตบิ โตของพชื แตจะมีประโยชนในกรณีที่พืชขาด potassium เนื่องจากในบางขบวนการ Na สามารถทดแทน potassium ได การปลูกโดยใช rock wool ควรใหส ารละลายมปี รมิ าณ Na เขม ขน 23 ppm และสูงที่สุดไมเกิน 46 ppm มะเขือเทศเปนพืชท่ีเจริญอยางรวดเร็ว และมีทรงพุมใหญ จงึ ตอ งการธาตอุ าหารมาก ผลผลิต มะเขือเทศ 1,000 กิโลกรัม ใชไ นโตรเจน (N) 1.4-3.6 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส (P2O5) 0.2-1.4 กิโลกรัม และ โพแทสเซียม ( K2O) 2.3-5.4 กิโลกรัม การกําจัดวัชพืช ควรพรวนดินตื้นเมื่อวัชพืชเริ่มงอก หรือใชวัสดุคลุมดินที่หาไดงายในทองถิ่น เชน ฟางขาว หรืออาจจะใชพลาสติก เพื่อรักษาความชื้น และปองกันวัชพืช การใชพลาสติกสีดาํ จะชวยเพิ่มอุณหภูมิ ดินในฤดหู นาว การใชฟางขาวและพลาสติกสีเงิน จะชว ยลดอณุ หภมู ิในดนิ การตัดแตงกิ่งและการปลิดผล ท้ังมะเขือเทศผลโตและเชอรี่ จะตดั แตง กง่ิ ใหเ ปน เถาเดย่ี ว โดยใชเถาหลักและปลิดเถาแขนงออก การตัดแตงกิ่งควรทําในระยะที่มีหนอใหมมีขนาดเลก็ เพอ่ื ไมใ หต น ชา้ํ หรอื เกดิ แผลใหญ ซง่ึ โรคจะเขา ทําลายไดงาย ควรเหลอื หนอ ยอดไว 1-2 หนอ เพอ่ื ทดแทนในกรณีที่ยอดถูกทาํ ลาย การตัดแตงกิ่งแขนงจะทําใหต น โปรง ทาํ ใหอากาศถายเทไดสะดวก สามารถฉีดพนสารเคมีได ทั่วถึง จะชว ยปอ งกนั การระบาดของโรค ใบมะเขือเทศตั้งแตใบที่ 1-7 จะสรางอาหารสาํ หรบั การเจรญิ ของราก สวนใบอื่น ๆ ที่อยูใกลผล จะสรางอาหารไปเลี้ยงผล และรากจะชะงักการเจริญเมื่อติดผลชุดแรก ดังน้ันใบลางท่ีแกและโรคเขา ทาํ ลายควรเดด็ ทง้ิ และรักษาใบที่ใกลผลใหสมบูรณ มะเขือเทศผลโต ควรตดั ยอดทง้ิ หลงั จากตดิ ดอกในขอ ท่ี 5-6 ขึ้นอยูกับความสมบูรณของตน ซึ่ง ยอดจะแยงอาหารสําหรับการเจริญของผล การปลิดยอดทิ้งจะทําใหมีอาหารพอเพียงสําหรับการเจริญ ของผลและปองกันไมใหเปนที่อาศัยของเพลี้ยไฟ มะเขือเทศผลใหญ ควรปลิดผลที่มีนาดเล็ก ผลเล็กเกินไปจะไมเจริญและแยงอาหาร เพอ่ื ใหผ ล ในชอมีขนาดสมาํ่ เสมอ คุณภาพสูง ใชเชอื กหรอื เชอื กฟาง เพอื่ พยงุ ตน ในกรณีที่แสงไมพอเพียง จะทาํ ใหขอยาว พืชสูงชะลูด ใบ ขนาดเลก็ การตดิ ผลตา่ํ ในสภาพอุณหภมู สิ ูง ควรบงั คบั ใหพ ชื จะเจรญิ ขนานดนิ ประมาณ 1 ฟุต และดึงยอดขึ้น เพอ่ื ชะลอการเคลื่อนยายอาหาร ทาํ ใหขอสั้น ใบขนาดใหญ กรณมี ะเขอื เทศเชอร่ีสามารถหยอ นเชอื กลง เพื่อเก็บเกี่ยวไดสะดวกและเก็บเกี่ยวเปนเวลานาน 22

การชวยใหติดผล มะเขือเทศในเรอื นโรงทอ่ี บั จะมปี ญ หาการตดิ ของผล ควรเปด ดา นขางใหลมพัดผา น เพอื่ การ กระจายตวั ของละอองเกสร หรอื เคาะเบา ๆ ทช่ี อ ดอก หรือใช Tomatotone ซง่ึ เปน ฮอรโ มนชว ยในการตดิ ผล ฉีดพนบาง ๆ ใหท ว่ั ชอ ดอก ครั้งละ 1 ชอ กอนหรอื หลงั ดอกบาน 3 วนั การใหน า้ํ มะเขือเทศเปนพืชท่ีตองการน้ําในปริมาณท่ีมาก เนื่องจากชวยในการลําเลียงสารละลายธาตุ อาหารสําหรบั การงอกของเมลด็ การเจริญของตนกลาและหลังยายปลูก ตลอดจนระยะดอกเจรญิ และ ระยะติดและพัฒนาของผล ตนพืชท่ีสมบูรณจะใหผลผลิตและคุณภาพสูง ปริมาณและจํานวนคร้ังในการใหน า้ํ ขึ้นอยูกับ สายพันธุ ชนดิ ของดนิ ปลกู ฤดูกาล และระยะของการเจริญเติบโต โดยทว่ั ไปควรมคี วามชน้ื ในบรเิ วณ ราก 50 %ของความสามารถในการอุมนํ้าของดนิ ระยะที่ยายปลูกใหม ควรใหความชุมชื้นอยางพอเพียง การใหนาํ้ ควรใหช ว ง 10.00-11.00 น. ให หนาดินแหงกอ นค่ํา ควรใชร ะบบน้ําหยด หรอื ทดเขา ตามรอ งเพอ่ื ไมใ หใ บเปย ก และใหนํา้ สมํา่ เสมอ การ ใหน้ํามากหรอื นอ ยเกนิ ไปในสภาพอากาศรอ นจะทาํ ใหผลแตก กอ นเกบ็ เกย่ี วควรลดปรมิ าณน้าํ เพอ่ื คณุ ภาพของผล แตค วรระวงั อยาใหข าดหรอื ใหน ้ํามากเกินไป ในสภาพอณุ หภมู ิสงู ความเขมแสงตาํ่ เม่อื พชื ขาดนาํ้ จะทําใหม ตี น ขนาดเลก็ ชว งขอ ยาว อาการผิดปกติของผล ผลแตก อาการแตกของผลจะมีหลายลักษณะ เชน แผลแตกดานขางผลตามความยาวของผล (Radial cracking) โดยเริ่มจากดานบนลงดานลาง นอกจากนี้จะมีแผลเปนวงกลมรอบผล (Concentric cracking) สาเหตุ ! เกิดจากขบวนการเจรญิ เตบิ โตมอี ตั ราสงู เชน ในสภาพอุณหภูมิและความชื้นสูง ! ในระยะแรกที่ผลพัฒนามีความชื้นตาํ่ และเกิดฝนตกหรือ ใหน า้ํ มากเกินไปในระยะเริ่มสุก ! หรือการใหน้ํามากเกินไปในระยะแรก ระยะตอมาขาดนาํ้ ! ความแตกตางระหวางอุณหภูมิกลางวันและกลางคืนสูง ! ในสภาพที่มีอุณหภูมิสูงกวา 32 o ซ อุณหภูมิที่ผิวจะสูงกวาขางในผล ทาํ ใหเซลลแตก แนวทางแกไข • ลดอุณหภูมิ • ควบคุมความชื้นใหสมํา่ เสมอ • ฉดี พน ดว ย Copper sulfate เขม ขน 2 ppm 23

ผวิ ดา นแขง็ (Blotchy Ripening) ผิวของผลจะปรากฎเน้ือเยือ่ ดา นแข็ง ในระยะที่ยังมีสีเขียวแผลมีสีนํ้าตาล เมื่อผลสุกแดงแผลจะ เปล่ียนเปนสีเทาหรือเหลือง ทําใหสีของผลไมสมํ่าเสมอ เมื่อผาผลจะพบเนื้อเยื่อดานในสวนที่ตรงกับ แผลมีสีนํ้าตาลเขม สาเหตุ ! อุณหภมู ติ ่ําเกินไปในระยะที่ผลพัฒนา ! อุณหภูมิไมสมํา่ เสมอ ! ความเขมของแสงตา่ํ ! ความชื้นสูง ! พืชไดร บั ไนโตรเจนมากเกนิ ไป ! พืชขาดโปแตสเซี่ยม ! ดินปลูกแนน ไหลเ ขยี ว (Green Shoulder) ไหลของผลจะมีสีเขียว ถึงแมผลสุกแดงแตไหลจะไมเปลี่ยนสีหรือเปลี่ยนเปนสีเหลือง สาเหตุ ! เกิดจากพันธุกรรม (สายพันธุ) ! อุณหภูมิและความเขมของแสงสูง แนวทางแกไข • ใชสายพันธุที่ไมมีไหลเขียว • ลดอุณหภูมิและความเขมของแสง • ใหปุย ฟอสฟอรัสและโปแตสเซี่ยม อยา งพอเพยี ง กน เนา (Blossom end rot: BER) เนื้อเยื่อสวนปลายของผล มีรอยบุมลึก สีนํา้ ตาลหรอื นา้ํ ตาลแดงหรอื สดี าํ บางครัง้ แผลอาจจะเกิด ดานในของผล ไมแ สดงอาการออกมาดา นนอก สวนแผลดานอกในระยะแรกจะเปนแผลแหงแข็ง ตอ จาก น้ันโรคอาจจะเขาทําลาย ทาํ ใหแผลเนา ควรปลิดผลทิ้ง สาเหตุ ! อาการนี้เกิดจากการขาด แคลเซียม เนอื่ งจากแคลเซยี มเคล่อื นท่ที างทอ นํ้า ในกรณีที่พืชขาด น้ําหรอื รากพชื ไมสามารถดดู น้ําได จะทาํ ใหผลแสดงอาการกนเนา ! นอกจากน้ีในกรณที พ่ี ชื อยใู นระยะเจรญิ เตบิ โตอยา งรวดเรว็ แตป ระสบปญ หาการขาดนา้ํ ! ในกรณีที่แปลงปลูกมีความเขมของเกลือสูง ! ไดรับปรมิ าณไนโตรเจนสูง 24

! อุณหภูมิและความชื้นสูง แนวทางแกไข • ควบอุณหภูมิและความชื้นใหสมํา่ เสมอ • การใสป ยุ ในสารละลายควรมปี รมิ าณแคลเซยี ม 125 ppm • ฉีดพนดว ยแคลเซยี มไนเตรท 2-7 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร • ไมควรใสป ยุ ไนโตรเจนมากเกินไป โดยเฉพาะในรปู แอมโมเนยี ม เม่อื รวมกบั แคลเซียมจะ จํากัดการนาํ ไปใชประโยชนของพืช ผลแบน (Puffiness) ผลจะมีดานใดดา นหนง่ึ หรอื หลายดา น ไมขยายตัว ทาํ ใหร ปู ทรงผลผดิ ปกติ มนี ้ําหนักเบา เมอ่ื ผา ผลจะพบชองวางในผล มเี มลด็ นอ ย สาเหตุ ! เกิดจากอัตราการผสมเกสรตาํ่ ! อณุ หภมู สิ งู กวา 32 o ซ หรอื ต่าํ กวา 13 o ซ ! ความแตกตางระหวางอุณหภูมิกลางวันและกลางคืนสูง ! แหง แลง หรอื ใหนํ้ามากเกินไป ! ใหป ยุ ไนโตรเจนสงู ! การใชฮ อรโ มนชว ยในการตดิ ผล ! ขาดคารบ อนไดออกไซด ผลตายนึ่ง(Sunscald) เนื้อเยื่อของผลสวนที่ถูกทําลาย มสี ขี าวหรอื เหลอื ง ดา นทไ่ี ดร บั แสงอาทติ ยโ ดยตรง แผลจะบุม ลึก ขนาดใหญ สีขาว ผิวหยาบและเหี่ยว เกิดจากผลไดรับแสงอาทิตย ในสภาพที่มีอุณหภูมิสูง แหงแลง ไมมีใบปกคลุมผล การปลกู มะเขอื เทศในโรงเรอื น การปลูกในโรงเรือนจะแตกตางจากการปลูกในแปลง การศึกษารายละเอียดเก่ียวกับการปลูก และดูแลรักษา ตลอดจนกระทั้งไปดูงานในแหลงเพาะปลูกพืชในโรงเรือนหลาย ๆ แหง เพื่อศึกษาขอมูล ปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไข จะสามารถนํามาประยุกตใช มีโอกาสประสบความสาํ เรจ็ สงู และ เปนแนวทางการศึกษาที่ลงทุนตาํ่ กวาที่จะปลูกและหาประสบการณเอง การปลูกในโรงเรือนจะตองตรวจสอบพืชทุกวัน เพื่อใหสามารถแกปญหาไดทันทวงที เชนใน กรณีที่มีอุณหภูมิสูง จะทาํ ใหผลแตก หรอื ฟา ม ควรลดความเขมของแสง และอุณหภูมิ เปน ตน การปลูกในโรงเรือน จะตองหาแนวทางการปองกันโรคแมลง เนื่องจากสภาพแวดลอมท่ี เหมาะสมสําหรบั การเจรญิ ของพชื จะเหมาะสมสาํ หรบั การระบาดของโรคแมลง ควรตรวจสอบพชื และ 25

หาแนวทางปองกันกาํ จดั โรคและแมลงตามความจาํ เปน ในสภาพความชื้นสัมพัทธสูง การถายเทอากาศ ไมดี จะทาํ ใหเ กดิ การระบาดของโรคได ควรใหน้ําอยางพอเพียง เนอ่ื งจากเมอ่ื พชื ขาดนา้ํ จะเหี่ยว และชะงักการเจริญ นอกจากน้ี การ ใหน้ําจะชวยชะลางเกลือท่ีเกิดจากการใสปุย ซึ่งในกรณีที่มีความเขมขนสูง จะทําอันตรายตอพืชและ จํากดั การนาํ ธาตุอาหารบางชนดิ มาใชประโยชน ควรมีเครอ่ื งวดั ความเปน กรด ดา งของดนิ (pH) ความเขม ขน ของเกลือ (EC) เพ่ือตรวจสอบสภาพ ความเปนกรดดางและความเขมขนของเกลือในสารละลายและวัสดุปลูก การบันทึกขั้นตอนทาํ งานโดยละเอียด จะสามารถนําไปใชเปนขอมูลในการวางแผนปลูกฤดู ตอ ไป การเลอื กสายพันธุป ลูก สายพันธุท ป่ี ลกู ไดดีในโรงเรอื น จะแตกตา งจากสายพนั ธนุ อกโรงเรอื น ควรคัดเลือกสายพันธุที่ ดี เมล็ดมีคุณภาพสูง สายพันธุที่ปลูกในโรงเรือนไดดี สวนใหญจะเปนสายพันธุลูกผสมจากประเทศ ฮอลแลนด ซง่ึ มกี ารปลกู มะเขอื เทศในเรอื นโรงมาก เนื่องจากสายพันธุที่ปลูกในแปลง จะปรบั ตวั ใหเ ขา กับสภาพแวดลอมที่มีความเขมของแสงสูง และความชื้นสัมพัทธตาํ่ แตใ นโรงเรอื นจะมคี วามเขม ของ แสงตาํ่ กวา นอกโรงเรอื น 20 % และมคี วามชน้ื ในโรงเรอื นสงู แนวทางการคัดเลือกพันธุปลูก ! สีและขนาดตรงตามความตอ งการของตลาด ! ใหขนาดของผลที่สมาํ่ เสมอ ! มีความตา นทานโรค ! ทนทานตอ การแตกของไหล กน เนา แผลสะเก็ด เปน ตน วัฒนธรรมของการบริโภคจะแตกตางกัน บางตลาดจะตองการสแี ดง บางตลาดอาจจะตอ งการ สีชมพู ถึงแมจะแตกตางเฉพาะสีผิว แตรสชาติและสวนประกอบของสารเคมีในผลจะไมแตกตางกัน พันธุที่นิยมปลูกในยุโรป และสหรฐั อเมรกิ าคอื Trust, Match, Switch และ Caruso ระบบการปลูก ระบบการปลกู พืชในโรงเรือน มีหลายระบบ เชน การปลูกพืชโดยใหสารละลายหมุนเวียนผาน รากตน้ื ๆ (NFT) หรือปลูกในวัสดุปลูก เชน ทราย เปลอื กขา ว เปลอื กไม หรอื เสน ใยสงั เคราะห (Rock wool) ขึ้นอยูกับวัสดุในทองถิ่น การขนสง และราคา การใชวัสดุปลูกควรระวัง เนื่องจากขบวนการเสื่อมสะลายของวัสดุปลูก จะทาํ ใหอุณหภูมิสูง และจุลินทรียทีท่ าํ ใหเ กิดการเสือ่ มสะลายจะใชไนโตรเจนเปน อาหาร ทาํ ใหพ ชื ขาดไนโตรเจน วัสดุปลูกไมค วรใชดิน เนอื่ งจากการใชด นิ เปนวสั ดุปลูก อาจจะมโี รคตดิ มากบั ดนิ จําเปน ตอ ง กําจัดเชื้อโรคที่ติดมากับดิน เชน การอบดว ยไอรอ น ความรอ น สารเคมี เชน เมทธลิ โบรไมด ซึ่งคอนขาง ยงุ ยากและเสียคาใชจายสูง 26

วัสดุปลูกอาจจะใช ปุยหมัก ปุยมูลไกเกา เปลือกขา ว อตั ราสว น 1:1:1 หรอื ระบบทใ่ี หป ยุ ในรปู สารละลายพรอมการใหนํ้า ใชวัสดุปลูก เชน เปลือกขา ว ผสมกับ ขุยมะพราว ในอตั รา 2:1 ภาชนะปลูก อาจจะใช ถุงพลาสติกกระถาง กระสอบ หรือกะบะ การยา ยปลกู การยายปลูกในระยะที่มีชอดอก ควรหนั ชอ ดอกออกดา นนอก เพื่อความสะดวกในการ ดแู ล รักษาและการเก็บเกี่ยว เนอ่ื งจากดอกจะเจรญิ ในดา นเดยี วกนั มะเขือเทศตองการพื้นที่ 4 ตารางฟตุ ตอ ตน หรอื ประมาณ 4,000 ตน ตอ ไร จํานวนตน = ความกวาง x ความยาวของพื้นที่ 4 เชน พื้นที่ 24 x 96 ฟุต จะปลูกได 576 ตนและพื้นที่ 30 x 96 ฟุต ปลูกได 720 ตน เปน ตน ในกรณที จ่ี าํ นวนตนสูงเกินไป จะทาํ ใหผลผลิตและคุณภาพลดลง เนื่องจากแสงจะสองไมทั่วถึง การถายเทอากาศไมดี ฉีดพนสารเคมีไมทั่วถึง การตัดแตงกิ่งและการปลิดผล การตัดแตง มะเขอื เทศใหเ ปน ตน เดย่ี ว โดยการปลดิ หนอ ขา งออก จะ ใหผลผลิตและคุณภาพสูง ที่สุด หนอ ขา งอาจจะชว ยใหจ าํ นวนผลตอ ตน เพม่ิ ขึ้น แตจะใหผลขนาดเล็ก คุณภาพตาํ่ เถาเดี่ยวจะใหผลที่มีขนาดสมํา่ เสมอ ผลผลิตและคุณภาพสูง ควรทําการปลดิ เมอ่ื หนอ มขี นาดเลก็ เพอ่ื ปอ งกนั ตน ฉกี ขาด หรอื มี แผลขนาดใหญ ซึง่ โรคจะเขา ทาํ ลายไดงาย ควรเหลอื หนอ ยอด 2-3 หนอ เพอ่ื ทดแทนกรณีที่ยอดถูกทาํ ลาย การใชเชือกประคองลําตน ในสภาพอุณหภูมิสูง ควรบงั คบั ใหต น เจรญิ ในแนวราบขนานกบั พน้ื ประมาณ 1 ฟุต ซง่ึ จะชว ยชะลอการเจรญิ เตบิ โต ลดความยาวของชวงขอ เมอ่ื ตน เจรญิ สงู ปลดเชอื กใหล าํ ตนเลื้อยอยูบนพื้น ควรทําอยางชา ๆ การปลดเชือกลงเร็วจะทําใหลาํ ตน แตก การปลดเชือกจะชวยลด ความสูงของตน สะดวกตอการเก็บเกี่ยวและดูแลรกั ษา การปลูกมะเขือเทศผลโตเพื่อใหไดคุณภาพสูงจะ เด็ดยอด เมอ่ื มชี อ ดอก 5-6 ชอ การปลิดผลที่มีขนาดเล็กในชอ จะชวยใหไดผลที่สมํา่ เสมอ การผสมเกสร การปลูกในโรงเรือนจะมีปญหาดานการผสมเกสร เนื่องจากสภาพอุณหภูมิสูงหรือตํ่าเกินไป แหงแลงขาดนา้ํ ขาดธาตุอาหาร ละอองเกสรไมแพรกระจาย เนอ่ื งจากขาดการหมนุ เวยี นของอากาศ ทาํ ใหผลมีลักษณะผิดปกติ ผลมีขนาดเล็กเปนตน ควรใชพัดลมชวยในการหมุนเวียนของอากาศ ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสาํ หรบั การผสมเกสรคอื อณุ หภมู ิ 21.1-27.8 oซ ความชื้นสัมพัทธ 70 % ในสภาพที่ความชื้นสัมพัทธสูงกวา 80 % ละอองเกสรจะจบั ตวั เปน กอ น ไมแพรกระจาย ในสภาพที่ 27

ความชื้นสัมพัทธตาํ่ กวา 60 % เปนระยะเวลานาน เมอื กบนยอดเกสรตวั เมยี จะแหง ทาํ ใหล ะอองเกสรไม สามารถงอกได ระยะเวลาที่เหมาะสมคือ 11.00-14.00 น. ขบวนการผสมเกสรจะเสร็จสิ้นภายในเวลา 48 ชว่ั โมง การควบคุมสภาพแวดลอมในโรงเรือน อุณหภูมิที่เหมาะสมสาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โตมะเขอื เทศ กลางวัน 21.1-27.8 o ซ กลางคืน 16.7- 17.8 oซ อณุ หภมู ติ ่าํ กวา 14.4 oซ พืชจะแสดงอาการขาดธาตุอาหาร เนื่องจากพืชไมสามารถนําธาตุอาหาร บางชนิดข้นึ มาใชประโยชนได เชน ฟอสฟอรัส ทาํ ใหใบพืชเปลี่ยนเปนสีมวง อณุ หภมู สิ งู กวา 30.0 oซ ผลไมสามารถสรางเม็ดสีแดง (lycopene) ได อณุ หภมู สิ ูงกวา 32.2 oซ ผลจะมคี ณุ ภาพตา่ํ ผลแตก เนอ่ื งจากอณุ หภมู ทิ ผ่ี วิ จะสูงกวาในผล ทาํ ให เซลลผิวแตก การปลูกในโรงเรอื น เมื่อพืชไดรับแสงผานหลังคาพลาสติก อุณหภูมิที่ผิวใบสูงกวาอุณหภูมิ อากาศ 30 oซ พืชจะมีอัตราการคายนาํ้ สูง รากจะดดู นา้ํ ขึ้นมาทดแทน ในกรณีที่มีความชื้นพอเพียง พืช จะสามารถเจรญิ เตบิ โตได แตใ นกรณที ข่ี าดนา้ํ สวนยอดจะเหี่ยว เพื่อลดการคายนาํ้ หลังจากนั้นจะเหี่ยว ทง้ั ตน และตาย ในกรณีที่อุณหภูมิสูงกวา 32 oซ พชื มอี ตั ราการคายนา้ํ สูง รากพืชไมสามารถดูดนาํ้ ขึ้นไปทด แทนสวนที่พืชสูญเสียไป ถึงแมจะมีความชื้นอยางพอเพียง จะทาํ ใหใบไหม คลายนํ้ารอ นลวก ในสภาพที่มีความเขมของแสงสูงหลังจากมีเมฆหมอกปกคลุมเปนเวลานาน พืชจะแสดงอาการ เหี่ยว จาํ เปน ตอ งใหน ้าํ อยางพอเพียง ความช้นื สมั พทั ธในโรงเรอื นทเี่ หมาะสมอยรู ะหวา ง 60-70 % การลดอณุ หภมู ใิ นโรงเรอื น Evaporative Cooling ใชวัสดเุ พอ่ื รบั นา้ํ ใสดานหนึ่ง และใสพัดลมอีกดานหนึ่ง เพอ่ื ดดู อากาศ และไอนาํ้ จากวสั ดรุ ับนา้ํ ออกไป วสั ดรุ บั นา้ํ เชน cool pads หรือกระดาษรังผึ้ง ซึ่งเปน Cellulose หรอื synthetic fiber หรืออาจจะใช ซาแรน (saran) ที่ใชสาํ หรับพลางแสง ใสดานหนึ่งและใหนํา้ ระบบนาํ้ หยด ดานบน ดานลางประกอบดวยกะบะรอง และทอเพ่ือใหนํ้าไหลกลับไปลงถังเก็บนํ้า ซึ่งประกอบดวยปม น้ําเพ่ือหมนุ เวยี นนา้ํ ขึ้นไปดานบน เมื่อวัสดุดังกลาวมีความชื้น ในขณะที่พัดลมดูดอากาศเขามาจากดาน นอกผานวสั ดรุ ับนํ้า จะทาํ ใหอากาศมีความชื้นสูง ผา นเขา มาในเรอื นโรง อากาศที่มีความชื้นจะดูดความ รอนในโรงเรือนออกไป และหมุนเวียนอากาศใหมเขามา จะชว ยลดอณุ หภมู ใิ นโรงเรอื นได A Shade cloth ใชวัสดุพลางแสง เชน saran, poly-propylene, polyethylene, polyester หรือผา เพื่อลดความเขมของ แสงและลดอุณหภูมิ การพลางแสงควรพลางดา นนอกโรงเรอื น การใสดานใน จะสามารถทําระบบปด เปด ได เมอ่ื ความเขมของแสงตํ่าหรอื สงู ควรใชวัสดุที่มีดานบนสีเงิน เพื่อการสะทอนแสงออกไป ดานลางสีดํา หรือขาว ไมควรใชวัสดุสีดํา เนอ่ื งจากสดี ําจะดูดและสะสมความรอน ทาํ ใหอ ณุ หภมู ใิ นโรงเรอื นสงู 28

แตการใชวัสดุพลางแสงในโรงเรือนจะมีขอเสียคือ พลังงานแสงจะเปล่ียนเปนพลังงานความ รอนในโรงเรือน ถึงแมความเขมของแสงจะลดลง แตอุณหภูมิจะไมลดลงตามไปดวย การพลางแสงดาน นอกโรงเรือน พลงั งานแสงจะเปลย่ี นเปน พลงั งานความรอ นนอกโรงเรอื น วัสดุพลางแสง จะสามารถกรองแสงไดแตกตางกัน โรงเรอื นปลกู มะเขอื เทศนยิ มใชว สั ดทุ ก่ี รอง แสงได 30-50 % การทดลองที่ North Carolina State University พบวา การใช poly-propylene ชนดิ 30 % ไมสามารถลดอณุ หภมู ใิ นโรงเรอื นได การพลางแสงดานนอกโรงเรือนจะเหมาะสาํ หรบั พน้ื ท่ี ๆ มีกระแสลมพัดผานตลอดเวลา จะชวย กระจายความรอ นออกไปกอนถงึ โรงเรอื น Shade compounds การพลางแสงโดยใชวัสดุ เชน ปูนขาวผสมนํ้า ฉีดพนดานบนหลังคา เพอ่ื พลางแสงในฤดูรอน วิธีการอืน่ ๆ ใชวัสดุสีขาวในโรงเรอื น เชน พื้น กระสอบ เชอื ก หรอื ถัง เปน ตน สีขาวจะชวยในการสะทอน แสง วัสดุสีดาํ จะดูดแสงและเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน โรงเรือนที่ต่ํา จะเหมาะสําหรับการปลูกพืชในพ้ืนท่ีๆ มีอุณหภูมิต่ํา แตจะมีอุณหภูมิสูงใน ฤดูรอน นอกจากนค้ี วรมที างระบายอากาศดา นบนของโรงเรอื นเพอ่ื ใหอ ากาศทร่ี อ นลอยตวั ออกไป และ อากาศเย็นเขามาแทนที่ การพนหมอกในหรอื นอกโรงเรอื น ละอองหรอื ไอน้าํ สามารถดูดพลังงานความรอน สามารถลด อุณหภูมใิ นโรงเรอื นได การจัดการนํ้า การปลูกเพื่อการคา จะใหนํา้ ในระบบอตั โนมตั ิ ซึ่งควบคุมปริมาณ เวลา และความเขมขนของปุย เคมี มะเขือเทศเปนพืชท่ีตองการนํ้าสาํ หรบั การเจรญิ ปรมิ าณ และระยะเวลาในการใหนํา้ ขึ้นอยูกับ ฤดูปลูก ระยะการเจรญิ เตบิ โต และวัสดุปลูก ในฤดูรอนพืชจะมีการคายนํ้ามาก จงึ ตอ งการความชน้ื มาก เพื่อทดแทน ตนกลาที่ยายปลูกใหมจะตองการนาํ้ 50 มลิ ลลิ ติ รตอ ตน ตอ วนั ระยะทเ่ี จรญิ เตบิ โตและมแี สง พอเพียง จะตอ งการนํ้า 2.7 ลิตร หรอื เฉลย่ี 1.8 ลิตร ตอ ตน ตอ วนั ควรตรวจสอบพชื ทกุ วนั และเพิ่มหรือ ลดปรมิ าณน้าํ ตามความจําเปน การใหน า้ํ ในระบบที่ใหปุยในรูปสารละลายพรอมการใหนาํ้ (fertigation; fertilizer + irrigation) จะใหนํ้า 6 -12 ครง้ั ตอ วนั ขึ้นอยูกับวัสดุปลูก เชน เปลือกขาวจะใหนํ้า 12 ครง้ั หรอื มากกวา ตอ วนั สภาพความเปนกรด ดาง (pH) ของสารละลายที่เหมาะสมอยูระหวาง 5.6-5.8 ในกรณีที่ pH สูง ควรใชส ารเคมี เชน กรด ซัลฟูริค (H2SO4) กรดไนตรกิ (HNO3) กรดฟอสฟอรกิ (H3PO4) เพื่อลด pH ให ต่ําลง การใชกรดฟอสฟอริก (H3PO4) จะชวยเพ่ิมฟอสฟอรัส สวนกรดไนตริก (HNO3) จะเพิ่ม 29

ไนโตรเจนในสารละลาย กรด ซัลฟูริค (H2SO4)จะมีอันตรายตอ ผใู ชส งู ควรใชด วยความระมดั ระวัง กรดฟอสฟอริก (H3PO4) คอนขางแพงแตจะลด pH ไดดีกวา กรดชนดิ อน่ื ๆ ในปริมาณที่เทากัน วิธีการลด pH เตรยี มสารละลาย 1 ลิตร และเพิ่มกรดครั้งละ 1 ml จนกระทั้งได pH ตามตองการ หลังจากนน้ั นํามาคาํ นวณปริมาณสารละลายทั้งหมด และปรมิ าณกรดทจ่ี ะใช การใสกรดตองทดสอบจน กระทั้งได pH ตามตองการ ไมสามารถประมาณการหรือคาํ นวณ เชน 10 ml ลด pH ลง จาก 10 = 5 สวน 15 ml ไมสามารถลด pH ลงเหลือ2.5 ได อาจจะใชเพียง 11 ml ก็ได ในกรณีที่ pH ต่ําเกินไป จะเปน อันตรายตอ พชื ควรตรวจสอบ pH ในสารละลายหลาย ๆครั้ง เพอ่ื ความแนน อน ในสารละลายที่มี pH ตา่ํ เกินไป (< 5.5 ) ควรเพม่ิ pH ดวยใช โซเดย่ี มคารโ บเนต (sodium carbonate) คอสตกิ โซดา (Caustic soda) โพแทสเซียม (Potassium bicarbonate) โพแทสเซียมไฮดรอก ไซด (Potassium hydroxide ) และ คอสตกิ โพแทส (caustic potash) สารที่นิยมใชคือ โซเดย่ี มคารโ บเนต (sodium carbonate) ซึ่งมี pH 8.2 และชวยเพิ่มโพแทสเซียมในสารละลายได ไมควรใช โซเดียม เนอ่ื งจากพชื ไมต อ งการธาตนุ ้ี การจัดการปุย การจัดการปุยเปนเร่ืองท่ีสําคัญสําหรับการปลูกพืชผักในโรงเรือน เนอ่ื งจากจะชว ยใหพ ชื เจรญิ เติบโตและการใสปุยมากเกินไปอาจจะเปนอันตรายตอพืช ตน ทนุ การผลิตสงู การใสในปริมาณตาํ่ พืชจะ ชะงักการเจริญ ผลผลิตและคุณภาพตํา่ ควรจดั การปยุ ดงั นค้ี อื ! ใชปุยเคมีที่ผลิตขึ้นมาใชสาํ หรบั การปลกู ผกั ในโรงเรอื นโดยเฉพาะ ! ศึกษาชนิดและปริมาณธาตุอาหารที่พืชตองการ ! ศึกษาปริมาณสารละลายที่ใสในแตละครั้ง ! ตรวจสอบคา การนําไฟฟา( EC ) และ pH ! ตรวจสอบพชื ซง่ึ อาจจะแสดงอาการขาดหรอื ไดร บั ธาตอุ าหารบางชนดิ มากเกนิ ไป ! วิเคราะหใบพืช เปน ระยะ ๆ เพอ่ื ศกึ ษาความตอ งการธาตอุ าหารของพชื คาการนําไฟฟา(Electrical conductivity; EC) คา การนําไฟฟาของสารละลายจะเพิ่มขึ้นตาม ความเขมขนของสารละลาย สารละลายที่มีความเขมขนสูง จะมีคาการนําไฟฟาสูง หนว ยนบั ของการนํา ไฟฟาคือ mho (ออกเสยี ง MO) ในกรณีที่มีหลายหนวยเรียก mhos (ออกเสียง MOZE) หนว ยวดั ของ mhos ที่นิยมใชคือ micro m-hos (µmhos; ออกเสียง micro-MOZE) และ millimhos ( mmhos; ออกเสยี ง milli-MOZE ) micro mho มีคาเทากับ หนึ่งลานสวนของ mho และ millimho มีคาเทากับ 1000 สวนของ mho ดังนน้ั 1 millimho เทากับ 1000 micromho เมื่ออานคาของสาร ละลายเทากับ 0.30-0.25 millimhos จะเทากับ 300 ถึง 2500 millimhos ในปจจุบนั นิยมใชหนวยวัดเปน millimhos มากกวา micromhos 30

เครอ่ื งวดั EC ขนาดเล็กเคลื่อนที่ได สาํ หรบั ใชใ นโรงเรอื น จะมีคาหนวยวัดระหวาง 0-30 หนว ย นับนีม้ คี าเปน microsemens (µs) หรือมีคาสูงกวา millimhos 10 เทา เชน เมื่ออานคาสารละลาย 18 µs จะเทากับ 1.8 mmhos หรือเมื่อคาสารละลายเทากับ 9 µs จะเทากับ 0.9 mmhos คาความเขมขนของธาตุอาหารในสารละลายอาจจะวัดไดจาก total dissolved solids หรอื TDS ซึ่งมีหนวยวัดเปน ตอลานสวน (ppm) โดยเปนผลรวมความเขมขน (ppm) ของธาตุอาหารทกุ ชนิดในสาร ละลาย ความเขม ขน ของธาตอุ าหารแตล ะชนดิ ในสารละลาย จะใชหนวยวัดเปน ตอลานสวน (Part per million; ppm) เชน ระยะทม่ี ะเขอื เทศเจรญิ เตบิ โตและตดิ ผล จะตอ งการไนโตรเจน 150-200 ppm (N) ซึ่ง ไมมีความเกี่ยวพันโดยตรงกับคา EC หรือ Total dissolves solids (TDS) ในสารละลาย เนอ่ื งจากคา ของ EC และ TDS จะเปนคารวมความเขมขนของธาตุอาหารในสารละลายทั้งหมด ไมใชคาเฉพาะของ ไนโตรเจน ตารางท่ี 15 การจัดการปุยในมะเขือเทศ ระยะการเจรญิ ไนโตรเจน(ppm) TDS(ppm) EC (mmhos) เรมิ่ งอก -ใบจรงิ สองใบกางออกเตม็ ท่ี 50 450-550 0.6-0.7 ใบจรงิ สองใบ-ใบจริง3ใบกางออกเตม็ ท่ี 50-75 550-600 0.6-0.7 ใบจริง 3 ใบ - กอ นยา ยปลกู 600-800 0.7-0.9 หลงั ยา ยปลกู -ดอกชอ ทส่ี องบาน 75-100 800-1,350 0.9-1.8 ดอกชอ ทส่ี องบาน-เดด็ ยอด 100-150 1,650-1,600 1.8-2.2 150-200 ตารางที่ 16 สูตรสารละลายของ Dr. Abram A.Steiner (Modified Steiner Solution) ธาตุอาหาร ความเขมขน (ppm) ไนโตรเจน (N) 171 ฟอสฟอรัส (P) 48 โพแทสเซยี ม (K) 304 แคลเซียม (Ca) 180 แมกนีเซียม (Mg) 48 เหล็ก (Fe) 3 แมงกานสี (Mn) 1-2 โบรอน (B) 1 สังกะสี (Zn) 0.4 ทองแดง (cu) 0.2 โมลิบดีนัม (Mo) 0.1 การจัดการสารละลาย Modified Steiner Solution 1. หลังยายปลูกจนกระทั้งดอกแรกของชอที่ 4 บาน เขมขน 40-50 % 2. หลังจากดอกชอ ท่ี 4 บาน จนกระทั้งเก็บเกี่ยว เขมขน 85-90 % 31

ชนิดและปริมาณธาตอุ าหารทพ่ี ชื ตอ งการ ควรจะศกึ ษาโดยการวเิ คราะหใ บพชื หรอื สงั เกตจาก การแสดงออกของพชื เชน กรณีที่ขอบใบพืชมวนลง ใบหนาเปนคลื่น สีเขียวเขม แสดงวา อตั ราพชื ไดร บั ไนโตรเจนสูงเกินไป หรอื อาจจะสงั เกตไดจ ากยอดของชอ ดอก จะมใี บเจรญิ ขน้ึ มา ในกรณีที่ลําตน มขี นาดเลก็ ใบยอดสีเหลือง ดอกรว ง แสดงวาขาดปุย เปน ตน การจัดการปุยเคมี ปุยเคมที ใ่ี ชเ ตรยี มสารละลาย และใหพรอมกับการใหนํา้ ที่มีขายตามทองตลาดทั่วไป อาจจะอยู ในรูปปุยผสมท่ีมีธาตุอาหารครบตามท่ีพืชตองการ บางชนิดอาจจะตองเพ่ิม แคลเซี่ยมไนเตรท โพแทสเซียมไนเตรท แมกนีเซียมซัลเฟต หรอื sequestered iron (Fe 330) ตารางท่ี 17 ตวั อยา งปรมิ าณสารอาหารแตล ะชนดิ ในปยุ ชนดิ ตา ง ๆ Fertilizer Element Composition (%) 1. Calcium nitrate 15.5 % N, 19 % Ca 2. Potassium nitrate 3. Ammonium nitrate 13.75% N, 44.5 % K2O 4. Urea 34% N 5. Phosphoric acid 6. Magnesium sulphate 46% N 7. Potassium sulphate 8. Ammonium sulphate 75% P2O5 9. Potassium chloride 9.7 % Mg 10. Monoammonium phosphate(MAP) 11. Diammonium phosphate(DAP) 50% K2O 12. Monopotassium phosphate(MKP) 21% N, 24 % S 13. Calcium chloride 60% K2O 12% N, 61% P2O5 16% N, 48% P2O5 52% P2O5 34% K2O 36% Ca ความเขมขนของธาตุอาหาร(ตอลานสวน ; ppm) การผสมปุยใสถัง ppm = (% ของธาตุอาหาร) x (ปริมาณปุย : ปอนด) x ( 16 ออนดต อ ปอนด) x (.75) x (100/ปริมาณนํ้าที่ ตอ งการ: แกลลอน) การใหน ้าํ ในรปู สารละลายพรอ มปยุ ppm = (% ของธาตุอาหาร) x (ปริมาณปุย : ปอนด) x ( 16 ออนดตอ ปอนด) x (.75) x (100/ ปริมาณสารละลาย: แกลลอน) x (ปริมาณสารละลายที่ถูกดูดเขาไปในระบบ 1 : ----) ตวั อยาง เชน การใสปุย 8-5-16 อตั รา 15 ปอนดต อ นา้ํ 600 แกลลอน และ เพม่ิ โปแตสเซย่ี มไนเตรท (13.75 %K) จํานวน 10 ปอนด จงหาความเขม ขน ของไนโตรเจนในสารละลาย 1. ppm(8-5-16) = (8) x (15) x (16) x (.75) x (100/600) = 240 ppm N 2. ppm (KNO3 ; 13.75 %) = (13.75) x (10) x (16) x (.75) x (100/600) = 275 ppm N 32

ความเขมขน ของ N ในสารละลาย = 1+2 (240+275) = 515 ppm การใหป ยุ ในรปู สารละลายพรอ มการใหน ้าํ ตัวอยางเชน การเตรียมสารละลายโดยใชปุย 15-11-29 อตั รา 25 ปอนด ตอ นา้ํ 30 แกลลอน และ ใชเครื่องปมสารละลายเขาไปผสมในนาํ้ อตั รา 1:100 จงหาความเขมขนของสารละลาย 1. Ppm (5-11-29) = (15) x (25) x (16) x (.75) x (100/30) x(1/100) = 150 ppm N การคาํ นวณหาคา โพแทสเซียมและแคลเซียม ปุยสูตร 12-24-12 จะประกอบดว ย ไนโตรเจน 12 % ฟอสฟอรสั 24 % P2O5 และ โพแทสเซยี ม 12 % K2O การหาคา ของปยุ โพแทสเซยี มและฟอสฟอรสั สามารถทําไดดังนี้คือ K x 1.205 = K2O K2O x 0.83 = K P x 2.291 = P2O5 P2O5 x 0.437 = P ความเขมขนของธาตุอาหารแตละชนิดในสารละลาย ธาตุอาหาร เชน ไนโตรเจน 1 มิลลิกรัม ละลายในนํา้ 1 ลิตร จะมีความเขมขน = 1 ppm หรอื 1 กรัม (1,000 มิลลิกรัม)ละลายในนํา้ 1 ลิตร จะมีความเขมขน = 1000 ppm หรอื 1 % ละลายในนํา้ 1 ลิตร จะมีความเขมขน = 10000 ppm ปุยสูตร 12-24-12 ประกอบดว ยไนโตรเจน 12 % หรือ ปุย 100 กรมั จะมี ไนโตรเจน 12 กรมั ดังน้ันเม่ือใชป ยุ 100 กรมั ละลายในนาํ้ 1 ลติ ร จะมีความเขมขนของไนโตรเจน = 12000 ppm เปน ตน การวเิ คราะหใ บพชื การวิเคราะหชนิดและปริมาณสารอาหารในพืช สามารถใชเปนแนวทางในการจัดการปุยในการ ปลกู มะเขอื เทศเพอ่ื การคา ตารางที่ 18 ปรมิ าณธาตอุ าหารในใบมะเขอื เทศท่ีสมบรู ณ ธาตอุ าหาร ปรมิ าณ ( %) ธาตอุ าหาร ปริมาณ ( ppm) N 4.0-5..5 Fe 100-250 P 0.3-1.0 Zn 30-150 K 4.0-7.0 Mn 40-300 Ca 1.0-5.0 Cu 5-25 Mg 0.4-1.5 B 35-100 Mo 0.15-5.0 การดแู ลรักษา ระยะแรกของการเจรญิ เตบิ โต ควรฉีดสารเคมีปองกันแมลง เชน แมลงปากดูด ซึ่งเปนพาหะของ โรคใบหงิก และแมลงอื่น ๆ 33

ระยะเริ่มติดผล ในบางพื้นที่จะมีหนอนเจาะผลระบาด ทาํ ใหผ ลเนา เสยี ควรฉดี สารเคมปี อ งกนั เชน เซพวนิ 85 ซูมิไซดริน หรอื แลนเนท เปน ตน ในสภาพ ซึ่งมอี ุณหภมู ติ าํ่ ความชื้นในอากาศสูง สภาพเหมาะสาํ หรบั การระบาดของโรคใบไหม ซึ่งจะพบในใบแรกดานลาง มอี าการขอบใบชา้ํ คลายนํา้ รอ นลวก หลงั จากนน้ั จะระบาดอยา งรวดเรว็ ควร ฉีดพนดวยสารเคมี เชน ไดเทน เอม็ 45 ปองกัน และใช รโิ ดมลิ เอม็ แซด เมอ่ื โรคเรม่ิ ระบาด ในชวงที่มีอุณหภูมิสูง ความชื้นในอากาศตาํ่ จะพบการระบาดของโรคราแปง และรากาํ มะหยี่ สี เทา พื้นที่รกรางวางเปลา อาจจะมปี ญ หาเกย่ี วกบั ไสเ ดอื นฝอย ควรราดกน หลมุ ดว ยสารเคมี เชน นี มาเคอร เปนตน หรอื กอนปลูกมะเขือเทศ ควรปลกู ดาวเรอื งหนู เมอ่ื ดอกบาน ไถกลบ การศึกษาใน ประเทศญป่ี ุนจะชว ยปอ งกนั ไสเดือนฝอยได 3 ป การเกบ็ เกย่ี ว ขบวนการพฒั นาของผลมะเขอื เทศ จะสามารถเก็บเกี่ยวไดหลังจากดอกบาน 40-80 วนั การเจริญ ของผลแบงออกเปนสองระยะคือ ระยะที่หนึ่ง เปนระยะแรกของการเจริญ เปนระยะแบงเซลลและขยายตัวของเซลล ระยะน้ี นา้ํ ตาลท่ีสงมาจากสวนของพืชที่อยูใกลเคียงและที่เปนอาหารสํารองในผล จะเปลี่ยนรูปเปนแปงผล ประกอบดว ยเมด็ สเี ขยี วมาก (chlorophyll) ทาํ ใหมีสีเขียว ระยะที่สอง เมื่อผลเจริญเต็มที่ เซลลจะหยุดการแบงตัวและการขยายตัว เปน ระยะเรม่ิ ตน ของ ขบวนการสกุ ผลจะเริ่มเปลี่ยนสี ปริมาณเม็ดสีเขียวจะลดลง เปลย่ี นเปน สเี ขยี วออ นหรอื ขาว หลังจาก ระยะน้ี 1 อาทติ ย จะเปน ระยะการพฒั นาของเมด็ สแี ดง (lycopene) และ เม็ดสีเหลือง ( beta carotene) ขบวนการสกุ ของผลจะเรม่ิ จาก ระยะที่มีปริมาณ ethylene และอตั ราการหายใจเพม่ิ ขน้ึ จนกระ ทั้งผลสุกแดงซึ่งจะมีปริมาณ ethylene และอัตราการหายใจสูงที่สุด ปรมิ าณกรด (acidity) จะสูงในระยะ เริ่มขบวนการสุก และจะลดลงเมื่อผลสุกแดง ระยะที่ผลเริ่มเปลี่ยนสี พืชจะสรา ง enzyme polygalactronase ซึ่งเปน นาํ้ ยอยที่จะเปลี่ยนอาหาร สํารองในผลซ่งึ อยูในรปู ของ pectin ใหเปน นา้ํ ตาล และ นา้ํ มนั หอมระเหย ทาํ ใหเกิดกลิ่น เปนผลใหผล นม่ิ ผลที่สุกแดงคาตนจะมีปริมาณวิตามิน ซี (ascorbic acid) และนํ้าตาลสูง ระยะการเก็บเกี่ยวขึ้นอยูกับสายพันธุและการขนสง มะเขอื เทศมีการเกบ็ เกี่ยวได 3 ระยะคือ 1. ระยะสกุ เขยี ว (mature green) ระยะนี้สวนของไหลจะมีสีเขียวเขม สวนดานลางจะเปลี่ยน เปนสีขาว สวนเมล็ดจะมีเมือกหุม การเก็บเกี่ยวระยะนี้สาํ หรับตลาดที่ตองการระยะเวลาการ ขนสงนาน 34

2. ระยะสุกสีชมภู (Pink or breaker stage) ระยะนี้ 1/3 – 3/4 ของผลจะเปลี่ยนเปนสีชมภู ระยะ นี้เหมาะสาํ หรับตลาดใกลเคียง 3. ระยะสกุ แดง (red ripe stage) ระยะสุกแดงทั้งผล สาํ หรบั ตลาดในทอ งถน่ิ หรอื สง โรงงาน แปรรปู อุณหภูมิจะมอี ทิ ธิผลตอ การเปล่ียนสขี องมะเขอื เทศ โดยอณุ หภมู ิ 20.0-21.1 o ซ ผลจะเปลี่ยนจาก ระยะสุกเขียวเปนสุกแดงภายในเวลา 5-20 วนั ขึ้นอยูกับสายพันธุ ในอณุ หภูมิ 26.7-29.4 o ซ พืชจะสรา ง เม็ดสีเหลืองในปริมาณที่สูงกวาเม็ดสีแดง ในอุณหภูมิกลางวัน 26.0 o ซ กลางคืน 18.0 o ซ ผลจะเปลี่ยนเปนสีแดงในระยะเวลา 9 วนั สวนในอณุ หภูมิต่ํากลางวนั 16.0 o ซ กลางคืน 7.0 o ซ ผลจะเปลยี่ นเปนสแี ดงชาหรอื ใชระยะเวลา 12- 15 วนั การเก็บรักษา มะเขือเทศนิยมกาํ จดั ความรอ นแบบเฉยี บพลัน โดยวิธี room cooling หรอื Forced air cooling อุณหภูมิที่เหมาะสม อยรู ะหวา ง 7.8 -10.0 o ซ มจี ดุ เยอื กแขง็ ท่ี -0.6 o ซ ความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสม อยู ระหวา ง 90-95 % เกบ็ รกั ษาได 1 อาทติ ย มะเขือเทศเปนพืชที่เนาเสียงายหลังการเก็บเกี่ยว ควรเก็บรกั ษาในสภาพอุณหภมู ติ ํ่า ระยะของการพฒั นา อณุ หภมู ิ ( o ซ) ความชน้ื สมั พทั ธ(%) หมายเหตุ สุกแดง 8.0-13.0 85-90 เก็บรักษา 9-10 วนั สุกเขียว 13.0-16.0 85-90 เก็บรักษา 3-4 อาทติ ย สุกสีชมภู 1.1-2.2 ตา่ํ เก็บรักษา 3 อาทติ ย การเกบ็ รกั ษามะเขอื เทศในอณุ หภมู ิ 0 o ซ จะสามารถเกบ็ รกั ษาได 9-14 วนั แตเ มอ่ื นําออกมาเกบ็ รักษาในอณุ หภมู ิ 18.0 o ซ จะเกิดแผลชํา้ (cold injury) ในดา นคณุ ภาพของผล ปริมาณ insoluble solid alcohol ในผลจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ใน สภาพอุณภูมิสูง เมื่อเก็บรักษาในเวลาสั้น ปริมาณ soluble solid และนํ้าตาล จะสูง แตเ มอ่ื เกบ็ รกั ษาเปน ระยะเวลานาน ปริมาณจะลดลง อณุ หภูมิและระยะเวลาที่เก็บรักษา จะไมมีผลตอ total acidity, ความเปน กรด ดาง นา้ํ มะเขอื เทศ และ ปรมิ าณ ascorbic acid .ในผล บรรจุในภาชนะที่ทนทานตอการขนสง อยาใสซอนกันมาก ซึ่งเมื่อมีแรงกดสูง ทาํ ใหผลชํ้า เนา เสีย ไดงาย คุณภาพตาํ่ เสยี ราคาหรอื ไมอ าจจะขายได แมลงและโรคทสี่ ําคัญ การใชยาปองกันและกาํ จัดแมลง จะตองใชด วยความระมัดระวงั เนอ่ื งจากเปน สารเคมที เ่ี ปน พษิ แมลงได จะเปน พษิ ตอ คน ควรจะอานฉลากใหเขาใจกอนใช Kelthane, malathion, pyrethrins, sevin, sulfur and TDE มีพิษตอ คนนอ ย 35

Aldrin, diazinon, andosulfan and toxaphene สามารถซึมเขาทางผิวหนัง เปน อันตราย ถา หากไดรับปริมาณมาก Parathion และ phosdrin เปนพิษตอคนสูง ใชดวยความระมัดระวัง พิษตกคางของสารเคมีในมะเขือเทศ Trichlorfon (dylox) 12 วนั Parathion 10 วนั Carbophenothion, dimethoate (eggon) 7 วนั Toxaphene 3 วนั Dicofol (Kelthane) methomyl (Lannate) 2 วนั Phosdrin, TDE, Malathioin Diazinon, endosulfan, Pyrethrin aldrin, sevin Rotenone 1 วนั แมลงศตั รมู ะเขือเทศ แมลงหวี่ขาว ซึ่งเปนตัวนาํ ของเชอ้ื ไวรสั การปอ งกนั แมลงหวข่ี าว (Semisia tabasi) ใน ซูดาน Yassin (1974) รายงานวา การฉีดยาจําพวก Anthio (formothion) Folimat (omethoat) malathion และ Phosdrin (Mevinphos) เริ่มตั้งแตแปลงกลาและแปลงปลูกอยางสมํา่ เสมอ สามารถปอง กันแมลงหวี่ขาว (Bemisia tabasi) ซึ่งเปนตวั นําของโรคใบหงกิ (leaf curl virus) และทาํ ใหผลผลิตเพิ่ม ขน้ึ เปน 2 เทาของแปลงที่ไมไดฉีดยา จากการสงั เกตโรคน้ี ในระยะเวลา 4 ป พบวา มะเขอื เทศอายุ 8-12 อาทติ ย จะเปน โรคใบหงกิ มาก ที่สุด ใชกับดกั ซึ่งมีพื้นสีเหลือง และทาดวยกาว เพื่อใหแมลงหวี่ขาวบินมาติด เน่ืองจากแมลงหวขี่ าว ชอบสีเหลอื ง หนอนกระทู (Horn worm) มี 2 species คือ Protoparce quinque, Maculate และ P.sexta. หนอนกระทูที่กินใบมะเขือเทศ ลําตวั ใหญสเี ขยี ว การปอ งกนั กําจัด ฉีดดวยยาจําพวก Carbaryl, lannate ซูมิไชดริน 36

หนอนเจาะผลมะเขือเทศ Helichoverpa (Heliothis) Zea. ช่ืออื่น ๆ หนอนเจาะสมอฝาย หนอนเจาะฝก ขา วโพด หนอนกนิ ผกั หนอนชนดิ นจ้ี ะออกจากไข แลวกัดกินใบดอก เมอ่ื โตขน้ึ มาจะเจาะเขา ในผล ทาํ ใหเสียคุณภาพ เนา ฤดูที่ระบาดมากไดแก เดอื น กุมภาพันธ - มีนาคม การปอ งกนั กําจัด ควรระมัดระวังการเริ่มเขาทาํ ลายตง้ั แตด อกเรม่ิ ออก การปอ งกนั กอ นทห่ี นอนจะเจาะเขา ไปใน ผลเทา นน้ั ทึ่จะแกปญหาไดหมด หรือใชยา แลนเนท อโซครนิ นวู าดรอน ออทรนี หรอื ซูมิไซดริน โรคที่สาํ คัญ โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย(Bacterial disease) โรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย(Bacterial wilt) เชื้อสาเหตุ Pseudomonas solanacearum E.F Smith ลักษณะอาการ มะเขือเทศที่เปนโรคนี้ ในระยะแรกใบออ นจะเหยี่ ว ใบแกลางสุดจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองตอจาก นั้นจะเหี่ยวอยางรวดเร็ว และตาย ซง่ึ แตกตา งจากโรคเหย่ี วทเ่ี กดิ จากเชอ้ื รา Fusarium sp.พชื ทถ่ี กู เชอ้ื รา ฟวซาเรยี่ มเขา ทําลายจะฟนตัวในเวลากลางคืน หรอื เชา ตรู และจะเหี่ยวในตอนสาย เมื่อถอนตนที่เปนโรค มาตดั โคนทอ่ี ยรู ะดบั ดนิ เปน รปู ปากฉลาม นาํ ไปจุมนํ้าในซึ่งบรรจุใน แกวใสจะเหน็ เปน นา้ํ ขุนขนสีขาว หรอื สคี รมี ไหลออกมา ตน ทเ่ี ปน โรคนอ้ี ยา งรนุ แรง ไสกลางตนจะถูก ทําลายเปนรูกลวง เนา ทาํ ใหพืชตาย ไปในที่สุด เชื้อสาเหตุของโรคนี้ อาศัยอยูในดิน และเขาทาํ ลายราก หรอื ลาํ ตน เชอ้ื อาจจะเขา ทาํ ลายตั้งแต ระยะที่มะเขือเทศอยูในระยะ ตนกลาและแสดงอาการในแปลงปลูก ระบาดมากในฤดูฝนหรือในแหลงที่ มีความชื้นสูง ในบางแหงจะพบในฤดูหนาว เชอ้ื สาเหตุแพรระบาดโดยไหลไปกับนา้ํ หรอื ตดิ ไปกบั วสั ดุ เครื่องใชทางการเกษตร อุณหภูมิที่เหมาะสําหรบั การเขา ทาํ ลายของเชื้อ สาเหตุคือ 29 - 35 o ซ. การปอ งกนั กาํ จัด 1. ใชพันธุตานทาน 2. เลือกตนกลาที่สมบูรณ แข็งแรงคลุกดินดวยกาํ มะถันผง อตั รา 14 กก./ไร ทิ้งไวใหผานฝน ระยะหนง่ึ หรอื ปรบั pH ดวยปูนขาว 300 - 400 กก./ไร และเพิม่ อินทรยี วตั ถใุ นดนิ 3. ใชซ ัลเฟอร /กาํ มะถันผง 14-15 กก. ตอไรใสกอนปลูก 37

4. เชื้อสาเหตุเจริญไดดใี น pH 5-5.5 5. จุมตนกลาดวยยา Agrimycin, Agristrep, Phytoactin หรือ Phytomicin ความเขมขน 100- 150 ppm. เวลา 1 - 2 ชว่ั โมง 6. ฆาเชื้อโรคในดินดวยสารละลาย ตามขอ 3, 5 ในอตั ราความเขม ขน เทา กนั ทกุ ๆ 7-10 วนั 7. ปลูกในวัสดุปลูกที่ไมใชดินและใหปุยในรูปสารละลายพรอมการใหนาํ้ 8. ใชว ธิ ตี อ กง่ิ กบั พนั ธทุ ต่ี า นทานโรค โรคแผลจุด (Bacterial spot) เชื้อสาเหตุ Xanthomonas Visecatoria (Doidge) Dowson. ลักษณะอาการ เชื้อสาเหตุจะทาํ ใหเกิดแผลจุดบนลาํ ตน ใบ ผล ถาหากเกิดกับใบในระยะแรก จะเกดิ แผลจดุ ชาํ้ มี ลักษณะกลม หรอื รปู รา งไมแ นน อน ดานลางของใบ ตอจากนั้นแผลจะเปลี่ยนจากสีเขียวเขมเปนสีมวง ปนเทา และมีจุดตรงกลางแผลสีดํา ทาํ ใหเกิดรอยบมุ ดานบนของใบซึ่งอยตู รงกับแผล ในบางแผลจะมี วงแหวนเลก็ ๆ สีเหลืองลอมรอบอยู เมอ่ื แผลเกดิ ขน้ึ จํานวนมาก จะทาํ ใหใบแหง ถาหากเกิดขึ้นกับขอบ ใบจะทําใหแ ผลแตก ในฤดูฝนจะทาํ ใหเกิดแผลลักษณะเปนรอยขีดสีดาํ รปู รา งไมแ นน อนเกดิ ขน้ึ ระหวา ง เสน ใบ อาการที่เกิดกับผล จะปรากฏจดุ สีดํานนู ขน้ึ มาหรอื ในบางครง้ั จะพบรอยช้ําอยรู อบ ๆ แผล เมอ่ื แผลขยายใหญจะเปลี่ยนเปนสีนาํ้ ตาลหรอื สดี ํา แผลจะขรขุ ระ เนอ่ื งจากจะทาํ ใหผิวของผลแตก และมวน ตัว ซึ่งในบางครั้งเรียกแผลสะเก็ด (Scab) แผลปกติจะมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 1/8 นว้ิ เชื้อสาเหตุจะสามารถเขาทาํ ลายพืชไดมาก ในสภาพความชื้นและอุณหภูมิสูง อณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะ สม คือ 24 - 30 o ซ. การปอ งกนั และกําจัด 1. คลุกเมล็ดดวย Captan 2. แชเมลด็ ใน Streptomycin ความเขมขน 1 : 40,000 เปน เวลา 20 นาที 3. แชเ มล็ดในนํา้ รอ น 50 o ซ. เปน เวลา 25 นาที 4. พนดว ย Streptomycin sulfate ความเขมขน 100 ppm. + Copper Sulfate 1.8 กก. ในนา้ํ 100 แกลลอน 5. ใชพันธุตานทาน 38

โรคแผลจุดเล็ก (Bacterial speck) เชื้อสาเหตุ Pseudomonas tomato (Okabe) Alstatt ลักษณะอาการ โรคนี้เขาทาํ ลายทั้งใบและผล ลักษณะแผลจะเปนจุดเล็ก ๆ ในบางครง้ั จะนนู ขน้ึ เลก็ นอ ย ถา หากเกดิ ขน้ึ ทผ่ี ลรอบ ๆ แผลจะมีสีขาว ทาํ ใหเกิดแถบสีขาวบนผล ถาหากเกิดขึ้นที่ใบจะมีลักษณะสีขาว หรือสีเหลือง โรคนี้จะระบาดมากในสภาพความชื้นสูง และอุณหภูมิอยูระหวาง 20 - 25 o ซ การปอ งกนั กาํ จัด เชนเดียวกับโรคแผลจุด โรคผลจุด (Bacterial canker) เชื้อสาเหตุ Corynebacterium michiganense (Smith) Jensen ลักษณะอาการ ในตนออ น ใบจะแสดงอาการเหี่ยวคลายขาดนํา้ ถาหากกานใบตนติดกับลําตนของใบที่อยูสวน ของยอดแตก จะพบแผลสีนํ้าตาลในเนอ้ื เยอ่ื ซึ่งแผลลักษณะเดียวกันนี้ จะเรม่ิ ตง้ั แตโ คนจนถงึ ยอด ใน กรณีท่ีการระบาดของโรคนเ้ี กดิ ขน้ึ อยา งรนุ แรง แตถาหากไมระบาดรุนแรงจะเกิดกับสวนบนของพืช เทา นน้ั ในบางครง้ั จะพบแผล รอยขดี บนลําตน ในระยะแรกแผลจะมีสีเหลือง และเปลี่ยนเปนสีเทาปน น้ําตาล โดยเฉพาะสวนที่อยูกับดิน แผลนี้อาจจะทาํ ใหเ นอ้ื เยอ่ื แตกหรอื เปด ออก ในตนแกจะไมแสดงอาการเหี่ยว แตใ บทีอ่ ยูดา นบนจะเร่มิ แหง ตัง้ แตข อบใบจนกระท่งั แหง ท้งั ใบ ในผล แผลจะมีลักษณะกลมนูนขึ้นเล็กนอย ลอ มรอบดว ยวงแหวนสขี าว และมจี ดุ สแี ดงตรง กลางแผล อากาศที่มีความชื้นสูง อุณหภูมิที่เหมาะสาํ หรบั การเขา ทาํ ลายอยูระหวาง 24 -25 o ซ การปอ งกนั กําจัด 1. แชเมลด็ ในนํ้ารอ น 50 o ซ เปน เวลา 25 นาที 2. ใช Captan Sq wp. 45 กรัมตอ นาํ้ 10 แกลลอน หรอื Nabam 1 ลิตรตอ น้าํ 25-50 แกลลอน หรอื Copper Sulfate 450 กรัมตอนา้ํ 25 แกลลอน หรอื Panogen 20 กรัมตอ นาํ้ 80 แกลลอนราดแปลง เพาะหลังจากหยอดเมล็ด ถาหากแชเมล็ดในนาํ้ รอ น และฉีดยาตนกลาสมํา่ เสมอ ไมจาํ เปน ตอ ง ราดแปลงเพาะ 39

3. ควรฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน Ziram หรือ Captan ความเขมขน 30 กรมั ตอ นา้ํ 15 ลิตร เรม่ิ เมอ่ื กลา เรมิ่ งอก และฉีดยาทุก 7-5 วัน ไมควรใช Copper ฉีดตนกลาขณะยายปลูกใหม ๆ เนอ่ื งจาก จะเรง ใหค ายนา้ํ มาก และทาํ ใหตนกลาเหี่ยว 4. ใชก รดอะชตี ิก (Acetic acid) ความเขมขน 0.6% แช 24 ชว่ั โมง 5. ฉีดพนสารเคมี เชน Copper (low soluble, not oxide) สามารถปอ งกันโรคนไ้ี ดด ี 6. แชเมล็ดใน Streptomycin ความเขมขน 1:40,000 เปน เวลา 20 นาที 7. ฉีดพน ดว ย Streptomycin ความเขมขน 100 ppm. + Copper Sulfate 1.8 กก.ตอ นา้ํ 100 แกลลอน โรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อรา (Fusarium wilt) เชื้อสาเหตุ Fusarium oxysporum A. lycopersici (Saccardo) Snyder and Hansen. โดยท่ัวไปเชอื้ ราชนดิ นี้ จะเจรญิ ไดด ใี นสภาพอากาศอบอนุ อณุ หภูมิที่เหมาะสมสาํ หรบั การเขา ทาํ ลายอยูระหวาง 25-31 o ซ มีความชื้นในดินสูง pH ตา่ํ และความอุดมสมบูรณข องดนิ ตา่ํ อาการระยะแรกคือใบออนจะมีเสนใบสีขาว หรือสีซีด ตอ จากนน้ั ยอดออ นจะเหย่ี ว และเหี่ยวทั้ง ตน เมื่อตัดโคนในสวนที่ติดดินจะพบทอนาํ้ เปนสีนาํ้ ตาล ถา หากเกดิ ข้นึ กับตน ออนจะทาํ ใหเหี่ยวอยาง รวดเร็วและตาย สาํ หรบั พชื ในแปลงปลกู อาจจะเจรญิ เตบิ โตไดจ นถงึ ระยะทต่ี ดิ ผล โดยทั่วไปพืชจะแสดง อาการโดยมีเสนใบขาวซีด ใบเหี่ยว ชะงกั การเจรญิ เตบิ โต ใบสวนลางจะเหลือง พืชจะสรางรากแขนง พิเศษขึ้นมา ใบและสวนประกอบของลาํ ตน ทอ่ี อ นจะเหย่ี ว ใบรวง และตาย ในบางครั้งอาการ จะ ปรากฏเพียงขางใดขางหนึ่ง หรอื ในระยะแรกอาจจะเหย่ี วในตอนกลางวนั และฟนในตอนเชาประมาณ 2-3 วัน พืชจะตายไปในที่สุด ซง่ึ แตกตา งจากโรคเหย่ี วทเ่ี กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี พืชจะเหี่ยว และตายอยาง รวดเรว็ โรคน้ีเขาทาํ ลายทั้งรากและลาํ ตน จะทาํ ใหเ กดิ อาการเนา สดี าํ โดยเฉพาะรากที่มีขนาดเล็ก เมอ่ื พืชเหี่ยวและตาย เชอ้ื สาเหตจุ ะสรา ง สปอรสีชมพูปนขาวบนรากพืช เชื้อสาเหตุ จะเขาทาํ ลายทางรากของตนกลาซึ่งเกิดแผลในขณะยายปลูก เชอ้ื เหตจุ ะเจรญิ อยาง รวดเร็ว และลุกลามเขาไปทางทอนํา้ จนกระทั่งทั่วลาํ ตน สาํ หรบั ตน ออ นทป่ี ลกู โดยการใชเ มลด็ หยอด โดยตรง เชอ้ื สาเหตจุ ะสามารถเขา ทําลายได แตก ารทาํ ลายพืชจะชากวาพืชที่ยายปลูก และจะเกิดขึ้นใน ขณะอุณหภูมิสูงเทานั้น การทําใหม ะเขอื เทศ ชะงกั การเจรญิ เตบิ โต จะสามารถลดการระบาดของโรคได การปอ งกนั กาํ จัด 1. ใชพันธุที่มีความตานทาน 2. ปรับปรงุ ดนิ ใหม คี วามอดุ มสมบรู ณ 3. ปรบั ดนิ ใหม ี pH ปานกลาง 4. ตอกิ่ง โดยใชพ นั ธตุ า นทานเปน ตน ตอ 40

โรคโคนเนา หรอื โรคราเมลด็ ผกั กาด เชื้อสาเหตุ Sclerotium rolfsii Sace. ลักษณะอาการ พบระบาดกับมะเขือเทศทั่วไป โดยเฉพาะในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โรคนท้ี าํ ความเสียหาย มากในจงั หวดั หนองคาย มะเขือเทศที่เปนโรคนี้ จะแสดงอาการเหี่ยวแบบชา ๆ ไมร วดเรว็ เหมอื นการเหย่ี วทเ่ี กดิ จากเชอ้ื แบคทีเรีย ทายสุดจะตายโดยไมแสดงอาการใบเหลืองหรือใบแหง โคนตนระดับดินจะมปี ยุ สขี าว ซึ่ง เปนเสนใยของเชื้อราปกคลุมอยู บางครั้งจะพบเม็ดแข็งสีนาํ้ ตาล ขนาดเทากับเมล็ดผักกาด ติดอยูกับปุยสี ขาวน้ี โรคน้ีนอกจาก จะเกิดกับลาํ ตนแลวยังอาจเขา ทาํ ลายผลมะเขือเทศที่อยูติดดินไดดวย ผลที่เปน โรคจะเริ่มมีอาการเปนจุดสีเหลืองแลวแบงขยายออก ผิวของผลจะเหย่ี วเลก็ นอ ย เมอ่ื เปน โรคมากขน้ึ จะ ทําใหผ ลเนา และอาจมีเสนใยของเชื้อราขึ้นปกคลุมอยู การปอ งกนั และกําจัด 1. ปรับ pH ของดนิ 2. ปลูกพืชหมุนเวียน 4 ป 3. ใชยากาํ จดั เชน PCNB 4. รักษาแปลงใหสะอาด และลดความชื้นในแปลงปลูก ใบจุดวงแหวน (Early blight) เชื้อสาเหตุ Alternaria solani (Ellis and Martin) Jones and Grout. ลักษณะอาการ โรคนี้เกิดขึ้นกับมะเขือเทศไดทุกระยะ โรคนท้ี าํ ใหเ กดิ โรคโคนเนา ในตน กลา โรค Collar rot ใน ตนออ น ลักษณะใกลเคียงกับ Wire Stem ซึ่งเกิดจากเชื้อ Rhizoctonia โดยมีแผลสีนาํ้ ตาลเกดิ ขน้ึ รอบ ๆ ลําตน สวนที่ ตดิ กบั ดนิ ทาํ ใหต น ออ นหยดุ ชะงกั การเจรญิ เตบิ โต หรอื ตาย ถาเกิดกับตนแก จะทาํ ใหพืช เหี่ยว ถาหากพืชไมตาย เมอ่ื เจรญิ ขน้ึ แผลที่ลาํ ตนจะขยายใหญและลึก ถา เกิดกบั ใบ จะเกิดกับใบแกสวนลางสุดกอน แผลจะเปนสีนาํ้ ตาล กลมมีวงแหวน หลายวง ซอนกันอยูบนแผล ซึ่งอาจจะมีแผลเดียว หรอื หลายแผล จนกระทั่งใบที่เปนแผลเปลี่ยนเปนสีเหลืองแหง และรว ง ทาํ ใหไมมีใบปกคลุมผล ทาํ ใหเ กดิ อาการตายนง่ึ Sunscald เกิดโรคแอนแทรคโนสไดง า ย โรคนี้ปกติไมเกิดกับผล นอกจากพืชไมสมบูรณ ขาดปุย แผลจะเปนสีนาํ้ ตาลจนถึงดาํ รปู รา ง คอนขางกลม กระจัดกระจายทั่วไป ขนาดต้งั แตห วั เข็มหมดุ จนถึงขนาดเสน ผา ศูนยก ลาง 1 นว้ิ 41

ถาหากมะเขือเทศขาด Magnesium จะทาํ ใหโ รคน้ี ระบาดอยา งรนุ แรง อุณหภูมิที่เหมาะสม สําหรบั การเจรญิ ของ Spore จะอยูระหวา ง 1.7 o ซ ถึง 35 o ซ อุณหภูมิที่เหมาะสาํ หรบั การเขา ทาํ ลาย ของเชอ้ื สาเหตุ จะอยรู ะหวา ง 24-29.4 o ซ การปอ งกนั กําจัด 1. แชเ มลด็ ในนาํ้ รอ น 50 o ซ เปน เวลา 25 นาที 2. ราดแปลงเพาะ เชน เดยี วกบั โรค Bacterial canker 3. ฉีดยาแปลงกลาเชน เดยี วกบั โรค Bacterial canker 4. ฉีดมะเขือเทศในแปลงปลูกดวยยา maneb, zineb, ziram, captan หรือ Dyrene 5. การใช maneb สามารถปอ งกนั โรคใบจดุ ดวง ผลเนา ใบไหม ดงั นน้ั โดยทว่ั ไป จะใช maneb ฉีดอตั รา 2-3 กรัมตอนํ้า 1 ลิตร ฉีดทุก 5-10 วนั เริ่มฉีดหลังยายปลูก ประมาณ 30 วนั หรอื เรม่ิ ตดิ ผลชอ แรก 6. ใชพันธุตานทาน เชน Floradel, Tropic Manapal, Manalucie ใบไหม (Late blight) เชื้อสาเหตุ Phytophtera infestans (Mont.) DBry อยูในกลุมเดียวกับเชื้อสาเหตุของรานาํ้ คาง ลักษณะอาการ เชื้อโรคนี้เจริญไดดีในสภาพความชื้นสูงและอุณหภูมิตาํ่ เกดิ กบั ใบไดท กุ ระยะของการเจรญิ เตบิ โต โดยในระยะแรกจะทําใหเ กดิ แผลรูปรางไมแ นนอนสีเขยี วคล้ําปนดาํ คลายถูกนํ้ารอ นลวก เชอ้ื โรคน้ี จะทําลายใบ ยอดออ น ลาํ ตนและผล ถาเกิดกับใบจะเกิดตรงปลายหรือขอบใบ และขยายไปยังกลางใบ แผลจะหยุดขยายตัว เมอ่ื ความชน้ื ในอากาศตา่ํ ในสภาพอากาศเหมาะสมแผลจะขยายตัวอยางรวดเร็ว ขอบ แผลจะมีสีเหลืองออนในตอนเชาตรูจะมีราสีขาวหรือมวงเกิดขึ้นในสวนตอระหวางแผลและขอบแผล ดานหลังของใบ ตอมาใบจะแหงและรวง ถาเกดิ กับผล แผลจะมีสีเทาปนดํา ขยายไปทั่วผล ตอ จากนน้ั แผลจะเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาลผวิ ของ แผลขรุขระ ผลที่ถูกเชื้อนี้เขาทําลาย จะเนาตายใน 1 อาทติ ย สปอร จะเจรญิ ไดด ี ในอุณหภูมิ 9-16 oซ อุณหภูมิที่เหมาะสาํ หรบั การเขา ทาํ ลายอยูระหวาง 20- 21.1 oซ การปอ งกนั กาํ จัด สามารถทจ่ี ะคาดการณก ารระบาดของโรคดว ยการบนั ทกึ ปรมิ าณน้ําฝน และอุณหภูมิ ซึ่งจะ ระบาดมากในอุณหภูมิ 24 oซ ถา หากมีปริมาณนาํ้ ฝนมากกวาปริมาณเฉลี่ย และอุณหภูมิเฉลี่ย 24 oซ ควรฉีดสารเคมีปองกัน และเรม่ิ ฉดี กอ นทโ่ี รคจะระบาด ประมาณ 10 วนั สารเคมีที่ใชฉีดพนปองกัน เชน ไดเทน เอ็ม 45 หรอื fixed copper นอกจากนี้การใช nabam zineb และ maneb ทุก 5-7 วนั จะใหผลดี ถาหากอุณหภูมิตาํ่ nabam จะใหผลดีกวา copper เมอ่ื โรค เขาทาํ ลาย ฉดี พน ดว ย Ridomil MZ 2-3 ครง้ั นอกจากน้ี ปอ งกนั เชน เดยี วกบั โรคใบจดุ วง 42

ตัดแตงกิ่งใหโปรง เนอ่ื งจากเชอ้ื สาเหตจุ ะเจรญิ เตบิ โตในสภาพความชน้ื สงู การตัดแตงก่ิงจะทาํ ใหใบแหงเรว็ และลดการเปนโรคไดจากการสังเกตของผูเขียน พันธุขึ้นคางที่ตัดแตงกิ่ง จะมเี ปอรเ ซน็ ต การเปน โรคต่าํ กวาพันธุพุมซึ่งไมไดทาํ การตดั แตง กง่ิ ใชพันธุที่ตานทาน รากํามะหยส่ี เี ขยี ว (Leaf mold) เชื้อสาเหตุ Cladosporium fulvum cooke. ลักษณะอาการ ระยะแรก จะพบแผลจดุ สเี ขยี วออ นหรอื เหลอื งดา นบนของใบ ดา นหลังจะพบราสเี ขียวหรอื มว ง ตอจากนั้น เนอ้ื เยอ่ื ทเ่ี ปน แผลจะตาย เปลี่ยนเปนสีนํา้ ตาล ปนเหลอื ง และตายในที่สุด การงอกของสปอรจะเกิดขึ้นในบรรยากาศที่มีความชื้นสัมพัทธประมาณ 95% ขึ้นไป อณุ หภมู ิ ที่พอเหมาะสาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โต จะอยรู ะหวาง 21 - 25 oซ การปอ งกนั กาํ จัด 1. ใชพันธุตานทาน 2. ใชยาปองกันกาํ จดั เชน เดยี วกบั Gray leaf spot ใบจดุ สเี ทา (Gray leaf spot) เชื้อสาเหตุ Stemphylium solani G.F. Weber. Stemphylium sloredanum Hannon and Weber ลักษณะอาการ ในระยะเรม่ิ แรก แผลจะพบแผลจุดเล็ก ๆ สีนํา้ ตาลปนดํา บุมลึก ปกติจะเกิดกับแกซึ่งอยูสวน ลางสดุ เมื่อแผลขยายใหญขึ้น จะมีสีเทาปนนํา้ ตาล และรปู รา งไมแ นน อน ขนาดเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 1/8 นว้ิ มลี ักษณะโปรง ใส เมื่อแผลขยายใหญจะมีขอบเล็ก ๆ สีเหลือง เมอ่ื แผลแหง จะแตก ถาเปนมากใบจะรวง โรคนจ้ี ะไมเ กดิ กบั ยอดออ น ชอบอากาศที่มอี ณุ หภมู ิ และความชื้นสูง และระบาด มากในพืชที่ติดผลมาก หรอื ขาดธาตอุ าหาร อณุ หภมู ทิ เ่ี ขา ทําลาย คือ 24.0 -26.1 oซ. การปอ งกนั กาํ จัด 1. ใชพันธุตานทาน 2. เชนเดียวกับโรคใบจุดวงแหวน โรครากํามะหยส่ี เี ทา (Gray leaf mold) เชื้อสาเหตุ Cercospora fuligena Roldan. ลักษณะอาการ พบระบาด และทาํ ความเสียหาย ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มากกวาแหลงอื่นโดยเฉพาะที่ จังหวดั ขอนแกน 43

อาการเริ่มแสดงที่ใบแกตอนลางกอน แลวจึงลามขึ้นไปยังใบที่อยูตอนบน อาการในระยะแรกจะ แสดงอาการจดุ สเี หลอื ง ดานบนและขยายออก ดา นใตใ บตรงแผลจะมเี ชอ้ื ราขน้ึ อยู เมอ่ื ระบาด รนุ แรง มากข้ึน ใบจะเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาล และแหงตายไปในที่สุด อาการของโรคนจ้ี ะแตกตา งกนั กับโรครา กํามะหยี่สีเขียว คอื เชอ้ื ราทอ่ี ยใู ตใ บจะมสี เี ทาเขม จนถงึ ดํา เสนใยของราจะหยาบไมเกาะกันแนน การปอ งกนั กาํ จัด ฉีดพนสารเคมี แมนโคเซฟ ไดเทนเอ็ม 45 หรอื เบนเลท แผลจุดขาว (Septoria leaf spot) เชื้อสาเหตุ Septoria lycopersici Spegazzini ลักษณะอาการ เชื้อสาเหตุจะเขาทาํ ลายพชื ไดท กุ ระยะของการเจรญิ เตบิ โต อาการขน้ั แรกจะปรากฏเปนแผลช้ํา ลักษณะกลม ดานหลังใบของใบแกเมื่อแผลขยายใหญขึ้น ขอบแผลสีนํ้าตาลปนดําและแผลจะเปนรอย บุมลงตรงกลาง สีขาว หรอื สเี ทา สวนแผลที่เกิดขึ้นดานบนของใบจะปรากฏจุดสีดาํ ตรงกลางของแผล การระบาดของโรคนี้ จะระบาดจากใบดานลางขึ้นไปถึงใบยอด อาจจะเขา ทาํ ลายดอก และ ลํา ตน เชื้อสาเหตุสามารถแพรกระจายไดโดยนาํ้ หรอื ตดิ ไปกบั เสอ้ื ผา การเขาทาํ ลายจะตองการความชื้นสูง โดยเฉพาะหยดนํ้าที่คางตามใบ อุณหภูมิที่เหมาะสาํ หรบั การเขา ทาํ ลายคือ 25 oซ การปอ งกนั และกําจัด 1. แชเมลด็ ในนา้ํ รอ น 50 oซเปน เวลา 25 นาที 2. แชเมล็ดใน Copper Sulfate ความเขมขน 12 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร 3. ฉีดดวยยาจําพวก Copper ในรูปของ Bordeaux หรอื Zineb ผลเนา (Antractnose or Ripe-rot) เชื้อสาเหตุ Colletotrichum phomoides (Saceardo) Chester. ลักษณะอาการ ถาเกิดที่ใบแผลจะไมคอยเห็นชัด บรเิ วณดา นบนของใบ โดยเฉพาะปลายใบจะเห็นจุดเหลือง ขนาดเล็ก ตอ จากนน้ั จะเปลย่ี นเปน สเี ขม ซึ่งสามารถเห็นไดจากดานลางของใบ ถาเกิดกับผลในระยะแรก จะเกิดแผลกลมเล็ก และบุมลึกลงไปในผิว และจะเกิดจุดกลมดาํ เลก็ ๆ บนแผล เมื่อแผลขยายใหญขึ้น สวนกลางของแผลจะกลายเปนสีดาํ เนอ่ื งจากสว นของเชอ้ื สาเหตุ ซึ่ง มีสีดําเจรญิ อยใู ตผ วิ ของผล และจะลุกลามไปทั่วทั้งผล ทาํ ใหเ กดิ อาการเนา ถาเกิดกับผลในระยะยังมีสีเขียว โรคนจี้ ะไมแ สดงอาการ จนกระทง่ั เร่ิมสุก จึงจะปรากฏแผล ให เหน็ อุณหภูมิที่เหมาะสาํ หรบั การเจรญิ อยรู ะหวา ง 12.8 - 35 oซ 44

การปอ งกนั กาํ จัด 1. แชเมลด็ ในนาํ้ รอ น 50 oซ. เปน เวลา 25 นาที 2. คลุกเมลด็ ดว ย Copper sulfate ความเขมขน 12 กรมั ตอ นา้ํ 1 ลิตร 3. ฉดี พนสารเคมี Ziram, Maneb หรอื Captan ทุก ๆ 7 - 10 วนั โรคใบดาง หรอื ใบหงกิ (Tobacco Mosaic Virus-TMV) เชื้อสาเหตุ Marmor tabasi Holmes ลักษณะอาการ ใบจะหงิกหรอื มวน หรอื ดา ง ซึ่งเกิดจากใบที่มีสีเหลืองสลับเขียว สว นของใบสเี หลอื งจะเจรญิ เติบโตชากวาสวนสีเขียว จึงทาํ ใหใบมีลักษณะผิดปกติ อาจจะเปน คลน่ื หรอื หงกิ ใบจะหนาและหยาบ ขอบใบจะงอลงดานลาง สวนของใบที่เปนสีเหลืองจะเปลี่ยนเปนสีนาํ้ ตาลและตาย ถาหากเกิดขึ้นในระยะ หลัง อาการจะปรากฏเฉพาะสวนบนซึ่งเจริญหลังจากที่เชื้อเขาทาํ ลาย เชื้อไวรัสที่เขาทําลายพืช มีอยูหลายชนิด ซึ่งแตละชนิดจะมีอาการแตกตางกัน ในบางครงั้ เชื้อ ไว รัสเขา ทําลายพืชมากกวา 2 ชนดิ ทาํ ใหล ักษณะอาการแตกตา งออกไป เชอ้ื ไวรัสบางชนดิ จะไมท ําใหเกิด อาการผิดปกตใิ นพืช บางชนิดจะทาํ ใหเกิดอาการใบเหลืองและหงิก หรือแตกใบเล็กๆ จาํ นวนมากกวา ปกติ บางชนิดจะทาํ ใหเกิดแผล ลักษณะคลายกับโรคแผลจุดที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หรอื อาจจะทาํ ให เสนใยเจริญผิดปกติหรือบวม บางชนิดจะใหเกิดรอยแผลยาวสีนํา้ ตาล ตามความยาวของลาํ ตน หรอื แสดงอาการเหย่ี ว ผลอาจจะไมแสดงอาการ นอกจากมจี ํานวนผลนอ ย ผลขนาดเล็ก หรอื อาจจะทาํ ใหลักษณะ ผลมี อาการผิดปกติทาํ ใหเกิดแผลกลม หรอื แผลยาวสีนํ้าตาล ถา หากเชอ้ื ไวรัส cucumber mosaic virus (CMV) เขาทําลายดวยจะทาํ ใหเกิดรอยแผลยาวสีนํ้าตาลเรม่ิ จากกน ของผล ใบจะมีลักษณะเล็ก แคบซึ่ง เรียกใบลักษณะเสนดาย (filiform) เรียก Shoe string มะเขือเทศใบดางหรือใบหงิก เกดิ จากเชอ้ื ไวรัส TMV Strain Vulgare หรือ Strain อน่ื ๆ เชน Aucuba (ทําใหเกิดอาการใบดางใน aucuba) deformans ทําใหเ กดิ การเจรญิ เตบิ โตผดิ ปกติ canadense ทําใหเกิดรอยแผลยาว lethale ทําใหเ กดิ การตายของยอดออ น plantaginis ทาํ ใหเ ปลอื ก ของผลดานในเปนสีเทา siccans ทําใหเ กดิ อาการเหย่ี ว การตดิ ตอ ของเชอ้ื ไวรัสน้ี เกดิ ขน้ึ ไดโ ดยตดิ ตอ ทางนา้ํ เลี้ยง (sap) โดยการหยดนา้ํ เลี้ยงของพืชที่ เกิดโรค ใสบนตน ทส่ี มบรู ณ โดยทําใหใบที่สมบูรณเกิดแผล หรอื ตดิ ตอ โดยเมลด็ การสัมผัส หรอื การ ตอกง่ิ อาการจะปรากฏภายในเวลา 10 วนั การปอ งกนั กําจัด 1. แชเมล็ดใน trisodium phosphate ความเขมขน 20% 45

2. ควรฉดี ดว ย Ziram หรือ Zineb ต้ังแตแปลงกลา เนอ่ื งจากเมอ่ื ราก หรือใบดูดสังกะสีเขาไป จะลด ความรุนแรงของโรคทเ่ี กดิ จากเชอ้ื สาเหตบุ างชนดิ 3. สายพันธุ L. chilense and L. peruvianum มีความตา นทานตอ โรคน้ี ใชพันธตานทาน เชน Master No. 2, Mighty boy, Pink Saturn เอกสารอางอิง Commercial Production Guides. 2002. \"Fresh Market Tomato, Lycopersicon esculentum.\" North Willamette Research and Extension, Oregon State University. Greenhouse Tomato Handbook. 1999. Mississippi State University Extension Service .57pp. Growing greenhouse tomatoes in soil and soilless media. 1997. http://www.res.ca./harrow/bk/tomch3- 4.html Iwahori,S.1965. “High Temperature Injury in Tomato, IV. Development of normal flower buds and morphological abnormalities of flower buds treated with high temperature.” Journal of Japan Society of Horticultural Science 34:34-41. Nonnecke,Ib Libner.1989. Solanaceous Crops: Potato,Tomato, Pepper, Eggplant. Vegetable Production. Published by Van Nostrand Reinhold, NewYork.175-240 pp. Peet,Mary. 2000. \"Tomato, Production and Practices.\" Sustainable Practices for Vegetable Production in the Souht. North Carolina State University. 9 pp. Rubatzky,E.V. and Yamaguchi,M.1997.Tomato,Peppers, Eggplants, and Other Solanaceous Vegetables. World Vegetables, Principles, Production, and Nutritive Values. Second Edition. International Thompson Publishing. 532-575 pp. Watts,V.M. 1962. “Some factors which influence growth and fruiting of the tomato.” Ark.Bull. p267. 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook