Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกฝึกอบรมผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติก

คู่มือฝึกฝึกอบรมผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติก

Description: คู่มือฝึกฝึกอบรมผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติก

Search

Read the Text Version

ค่มู อื ฝกึ อบรมผตู้ ัดสิน กีฬายิมนาสติก

ช่ือหนังสือ คูม่ อื ฝึกอบรมผตู้ ัดสินกีฬายิมนาสตกิ จัดทำ�โดย กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ปที ่พี มิ พ์ 2560 ISBN 978-616-297-471-7 จ�ำ นวน 2,000 เลม่ ออกแบบ นางสาวปัญญาณัฏฐ์ พูลสวัสด์ิ พิมพท์ ่ี สำานกั งานกจิ การโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ์

คำ�นำ� คู่มอื ผตู้ ัดสนิ กฬี ายมิ นาสติกเล่มนี้ กรมพลศึกษา โดยสถาบันพัฒนาบคุ ลากร การพลศึกษาและการกีฬาได้จัดทำ�ข้ึนเพื่อเผยแพร่ความรู้ ใช้ประกอบการฝึกอบรม ผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติกและให้ผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติก ได้ใช้เป็นคู่มือในการฝึกอบรม ผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีการดำ�เนินการจัดทำ�คู่มือเล่มน้ี ได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ดา้ นการเปน็ ผู้ตัดสนิ กีฬายิมนาสตกิ มาเป็นท่ีปรกึ ษาและรว่ มจัดท�ำ ตน้ ฉบบั กรมพลศึกษา ขอขอบคณุ ผูท้ รงคุณวุฒิ ผ้เู ช่ยี วชาญและผู้ที่เกย่ี วข้องทุกท่าน ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำ�คู่มือผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติกเล่มน้ีจนสำ�เร็จลุล่วงด้วยดี และ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ คมู่ อื เลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การสง่ เสรมิ พฒั นาบคุ ลากรดา้ นฝกึ อบรม ผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติกให้มีศักยภาพในการเป็นผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติกเพ่ิมข้ึน และ มีส่วนช่วยในการยกระดับมาตรฐานของกีฬายิมนาสติกให้สูงขึ้น สนองนโยบายและ แผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาตติ ่อไป กรมพลศึกษา มีนาคม 2560



ส�รบัญ หน�้ ประวตั คิ วามเปน็ มาของกีฬายมิ นาสติกในต่างประเทศ 1 ประวัตคิ วามเปน็ มากีฬายิมนาสตกิ ในประเทศไทย 1 ประเภทของกีฬายิมนาสติก 4 ความหมายของผตู้ ดั สินกีฬา 6 ปรัชญาของการเป็นผตู้ ดั สนิ กฬี า 8 จรรยาบรรณของผตู้ ัดสินกีฬา 8 คณุ สมบตั ขิ องผู้ตัดสนิ กีฬา 8 วินัยของผูต้ ัดสินกฬี า 9 การสร้างเสรมิ สุขภาพ 9 บทบาทหนา้ ท่ขี องผูต้ ัดสนิ กฬี ายมิ นาสติกศลิ ป์ชาย 10 บทบาทหน้าทีข่ องผตู้ ัดสนิ กฬี ายิมนาสตกิ ศลิ ปห์ ญงิ 11 ความวติ กกังวล 11 แรงจงู ใจ 16 การตง้ั เป้าหมาย 22 การจนิ ตภาพ 22 กตกิ ากีฬายมิ นาสติกศิลป์ชาย 25 ส่วนท ่ี 1 ขอ้ บังคับเกย่ี วกบั การเขา้ ร่วมการแขง่ ขัน 26 สว่ นท่ ี 2 การประเมนิ ท่าชดุ แขง่ ขัน 27 ส่วนที่ 3 อปุ กรณ ์ 29 สว่ นท ่ี 4 ภาคผนวก 29 29 44 61 91

ส�รบญั หน�้ 94 กติกากฬี ายิมนาสตกิ ศิลป์หญงิ 94 ส่วนท ี่ 1 ระเบยี บข้อบงั คับทค่ี มุ้ ครองผู้เขา้ รว่ มการแข่งขนั 113 ส่วนท ่ี 2 การประเมนิ ค่าทา่ ชดุ การแสดง 139 ส่วนท ่ี 3 อุปกรณ์ 168 170 170

มาตรฐานวชิ าชพี เปน็ เกณฑม์ าตรฐานทผ่ี ปู้ ระกอบวชิ าชพี ยดึ ถอื เปน็ แนวทางในการทาำ หนา้ ท่ี ตามบทบญั ญตั ิแห่งวิชาชพี ซ่งึ กำาหนดไว้อยา่ งมคี ุณภาพ ได้แก ่ มาตรฐานด้านความรู้ มาตรฐานในการ ปฏิบตั ิหน้าที่ และมาตรฐานในการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชพี มาตรฐานวชิ าชพี บคุ ลากรดา้ นการกฬี าเปน็ กรอบหรอื แนวทางการดาำ เนนิ งานหรอื การปฏบิ ตั ิ หน้าที่ของบุคคลที่เป็นสมาชิกในวิชาชีพเดียวกัน ได้แก่ ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา เพ่ือรับรอง ความน่าเชื่อถือและเป็นการรับประกัน (Accreditations) การปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณภาพ และเปน็ มาตรฐานเดยี วกัน ในการจัดทำาคู่มือผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติกน้ีได้ยึดหลักการจากมาตรฐานวิชาชีพผู้ตัดสินกีฬา ยมิ นาสตกิ ระดบั ชาต ิ ซง่ึ กรมพลศกึ ษาไดจ้ ดั ทาำ โดยความรว่ มมอื ของผตู้ ดั สนิ กฬี ายมิ นาสตกิ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ในการนาำ คมู่ อื ผตู้ ดั สนิ กฬี ายมิ นาสตกิ ไปใชใ้ นการอบรมผตู้ ดั สนิ ควรพจิ ารณาเลอื ก เน้ือหาให้เหมาะสมกับเวลาในการอบรมและระดับชั้นของผู้ตัดสิน อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนา ผู้ตัดสินกีฬายิมนาสติกให้มีความรู้ความสามารถเป็นท่ียอมรับและเช่ือถือของสังคมทั้งในระดับชาติ และนานาชาติตอ่ ไป ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านการปฏิบตั งิ าน และดา้ นการปฏบิ ัติตน รวมทง้ั สิ้น 15 มาตรฐาน ดังน้ี แบ่งออกเปน็ 3 มาตรฐานยอ่ ย คอื มาตรฐานท ่ี 1 มีความรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการเปน็ ผ้ตู ดั สนิ ได้แก่ 1.1 ปรชั ญา คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของผตู้ ัดสิน 1.2 บทบาท หน้าที่และความรบั ผดิ ชอบ 1.3 กระบวนการและขั้นตอนของการตัดสิน 1.4 การควบคุมการแขง่ ขัน 1.5 กฎหมายทเี่ กยี่ วข้อง มาตรฐานท่ี 2 มคี วามรเู้ กีย่ วกบั กีฬายมิ นาสติก ได้แก่ 2.1 กฎ กติกา และระเบยี บวิธกี ารแข่งขนั ท่ีถกู ตอ้ งทนั สมัย 2.2 หลักการและระบบการจดั การแข่งขัน 2.3 มพี ืน้ ฐานความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ทักษะและเทคนิค

มาตรฐานท ่ี 3 มีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั วิทยาศาสตร์การกฬี า 3.1 วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี ากับการเปน็ ผตู้ ดั สนิ 3.2 จิตวทิ ยาสำาหรบั ผตู้ ดั สนิ 3.3 ความปลอดภยั การบาดเจ็บจากการกฬี าและการปฐมพยาบาล แบ่งออกเป็น 6 มาตรฐานย่อย คอื มาตรฐานท ่ี 4 ปฏิบตั หิ น้าท่ผี ู้ตัดสินไดอ้ ย่างถูกต้อง 4.1 นาำ ความรดู้ า้ นระเบยี บและกฎกตกิ าการแขง่ ขนั ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและยตุ ธิ รรม 4.2 ปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนการตัดสินและตัดสินได้ถกู ต้องตามกตกิ าการแขง่ ขนั 4.3 ตรวจสอบความถูกต้องของสนาม อุปกรณ์ท่ีใช้ในการแข่งขันและอุปกรณ์ของ ผู้เลน่ ได้ 4.4 ใช้เครอ่ื งมอื ในการตดั สนิ ไดอ้ ย่างถกู ต้องและมปี ระสิทธภิ าพ 4.5 สื่อสารกับผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งได้อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ 4.6 ปฏิบัติไดถ้ ูกตอ้ งเกีย่ วกบั การเคล่ือนท่ ี ตำาแหนง่ การยืน ท่าทาง การให้สัญญาณ และการใช้สญั ญาณมอื 4.7 หยดุ การเลน่ และยุติการแข่งขันไดเ้ หมาะสมตามสถานการณ์ 4.8 ควบคมุ เกมการแขง่ ขนั ได้ 4.9 เขียนรายงานการแข่งขนั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง มาตรฐานท ่ี 5 สามารถบริหารจัดการการตดั สินกฬี าได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 5.1 มีความเข้าใจเกย่ี วกบั การจดั ระบบการแข่งขนั กฬี า 5.2 สามารถประสานความร่วมมอื ระหวา่ งผตู้ ัดสนิ และเจ้าหนา้ ทอี่ ่นื ๆ 5.3 จดั เตรียมอุปกรณแ์ ละเอกสารที่จาำ เปน็ ในการจดบันทกึ อย่างเป็นระบบ 5.4 มกี ารวางแผนข้ันตอนการบริหารความเส่ียงท่ีเก่ียวข้องกับการแข่งขันกีฬา มาตรฐานท ี่ 6 ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ 6.1 มีความนา่ เชอื่ ถอื 6.2 โปรง่ ใส 6.3 ยุตธิ รรม 6.4 ไมเ่ ปิดเผยความลบั ของแตล่ ะฝา่ ย 6.5 ไม่รับผลประโยชน์จากผู้อื่นและไม่รบั ของขวญั หรอื สินบนจากฝา่ ยใด ๆ มาตรฐานท่ ี 7 ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีด่ ้วยมาตรฐานสูงสุดตามมาตรฐานสากล 7.1 ตัง้ ใจปฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ ย่างเตม็ ความสามารถ 7.2 มีความรบั ผิดชอบตอ่ การตัดสนิ 7.3 รบั ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ นื่

มาตรฐานท ่ี 8 ปฏิบตั หิ น้าทด่ี ว้ ยความรับผิดชอบต่อวิชาชพี 8.1 ปฏิบตั ิหนา้ ท่ดี ้วยความเอาใจใสต่ ามมาตรฐานวิชาชพี 8.2 ปฏบิ ตั ิหน้าทโ่ี ดยมีมาตรฐานเดยี วกัน 8.3 ยดึ มัน่ ในปรชั ญาของการเป็นผตู้ ดั สิน 8.4 ให้ความร่วมมือในการใหค้ าำ ปรกึ ษากบั ทกุ ฝ่ายทเ่ี กย่ี วข้อง 8.5 ยอมรับและให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของทุกฝา่ ย มาตรฐานที่ 9 ปฏิบัติหนา้ ท่โี ดยให้เกียรติและเคารพต่อผ้อู ่นื 9.1 เคารพในสิทธิพ้ืนฐานของผู้อื่น 9.2 คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ในเรื่อง สังคม เชื้อชาติ ศาสนา วฒั นธรรม เพศและอายุ 9.3 ให้เกียรติกบั ทกุ คนทมี่ สี ่วนเกี่ยวข้อง 9.4 ปฏบิ ตั ติ ่อผู้อน่ื อยา่ งเท่าเทยี มกัน 3. ม�ตรฐ�นด�้ นก�รปฏบิ ัติตน แบง่ ออกเป็น 6 มาตรฐานย่อย คอื มาตรฐานท ่ี 10 การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพและเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกาย 10.1 ออกกาำ ลังกายเปน็ ประจำา 10.2 ตรวจรา่ งกายเป็นประจาำ ปลี ะคร้ัง 10.3 เสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายเปน็ ประจาำ มาตรฐานที ่ 11 มคี วามกระตอื รอื ร้นในการพัฒนาตนเอง 11.1 สร้างเสรมิ บคุ ลิกภาพและแตง่ กายเหมาะสมกับการเป็นผตู้ ัดสนิ 11.2 เรยี นรู้เทคโนโลยีใหม ่ ๆ เพ่อื นำามาใช้พัฒนาตนและพัฒนางาน 11.3 หมน่ั ศึกษาหาความรูอ้ ยูเ่ สมอ 11.4 มีภาวะผนู้ าำ และมีความเช่อื มนั่ ในตนเอง มาตรฐานที่ 12 มมี นุษยสัมพนั ธ์ดี 12.1 มคี วามเปน็ มิตรกับผ้อู ่ืน 12.2 ไมก่ ล่าวรา้ ยและไมน่ าำ ขอ้ เสียของผูอ้ นื่ ไปเผยแพร่ต่อ 12.3 สามารถทาำ งานร่วมกบั ผู้อืน่ ได้ มาตรฐานท่ ี 13 วางตัวได้อย่างเหมาะสม 13.1 มสี มั มาคารวะ 13.2 รจู้ กั กาลเทศะ 13.3 ปรบั ตัวให้เข้ากับผอู้ ่ืนได้ 13.4 มคี วามอดทน อดกล้นั 13.5 ควบคุมอารมณไ์ ด้เปน็ อยา่ งดีในทกุ สถานการณ์

มาตรฐานท่ี 14 สอ่ื สารกบั ผู้อ่ืนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 14.1 สามารถส่ือสารกับนกั กฬี าและผู้ท่เี กีย่ วขอ้ งไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 14.2 ส่ือสารกับผูอ้ นื่ ดว้ ยวาจาและการกระทำาทเ่ี หมาะสม 14.3 สามารถสอื่ สารภาษาองั กฤษได้ มาตรฐานท ่ี 15 ยึดม่ันและศรัทธาในวิชาชีพ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ตามจรรยาบรรณวิชาชพี 15.1 มคี วามยตุ ธิ รรม ปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี่ ว้ ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ ไมต่ ดั สนิ เขา้ ขา้ งฝา่ ยใดฝา่ ยหนง่ึ 15.2 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีนำ้าใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และยอมรบั การกระทำาท่ผี ดิ พลาด 15.3 มรี ะเบยี บวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา ปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของการเปน็ ผตู้ ดั สนิ อย่างถกู ต้อง 15.4 ไม่ยงุ่ เก่ยี วกับยาเสพติดและลุ่มหลงในอบายมขุ 15.5 ไม่เอาเปรียบผู้อ่ืนหรือหาวิธีการท่ีจะได้รับผลประโยชน์จากผู้ตัดสินด้วยกัน เพ่ือความก้าวหนา้ อย่างไม่ถกู ต้อง

ตารางการฝกึ อบรมผู้ตดั สินกฬี ายมิ นาสตกิ ศิลป์ วนั /เวลา 08.00-9.00 น. 09.00-10.30 น. 10.45-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-14.45 น. 15.00-17.00 น. 1 รายงานตัว พิธเี ปิด บทบาทหนา้ ที่ กฎทั่วไป ฟลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ชส์ ฟลอรเ์ อ็กเซอร์ไชส์ และจรรยาบรรณ ของผ้ตู ัดสิน ฝกึ ปฏบิ ตั ิตดั สินห่วง พัก ฝกึ ปฏิบัตติ ดั สนิ รบั ประทาน ทบทวน ฝกึ ปฏิบัติ 2 การดูแลสขุ ภาพ มา้ หู หว่ งนิ่งัพก ัรบประทานอาหารว่างฝกึ ปฏบิ ัตติ ัดสนิ ม้าหู ประกาศผลสอบ และสมรรถภาพ ัพกรับประทานอาหาร ่วาง อาหาร ทางกายของผตู้ ัดสนิ กลางวัน 3 ความปลอดภยั โตะ๊ กระโดด ราวคู่ ราวเด่ยี ว และการปอ้ งกัน การบาดเจบ็ 4 จติ วิทยาส�ำหรับ ซักถาม ทบทวน ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ซกั ถาม ทบทวน ทบทวน ฝึกปฏิบัต้ ิ ผตู้ ดั สิน ฝกึ ปฏิบตั ิ สอบทฤษฎี การจัดการและ สอบภาคปฏิบตั ิ 5 การควบคุมการ ตรวจผลการสอบ ภาคปฏิบตั ิ ตัดสิน หมายเหตุ : ตารางฝกึ อบรมอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงตามเหมาะสม



บทท่ี 1 ทที่ 1 บ คว�มร้ทู ่วั ไปเกยี่ วกบั กฬี �ยมิ น�สติก ประวัตคิ วามเป็นมาของกีฬายิมนาสติกในต่างประเทศ กีฬายิมนาสติกเป็นกีฬาที่สามารถสร้างความต่ืนเต้นเร้าใจให้กับผู้ชมเป็นอย่างย่ิง พัฒนาการของกีฬายิมนาสติกน้ีก็สามารถบ่งบอกถึงพ้ืนฐานการเคลื่อนไหวเบื้องต้นของกีฬาทุกชนิด กว็ ่าได ้ โดยหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ปรากฏเดน่ ชัดว่า กฬี ายิมนาสติกไดม้ ีพัฒนาการมาจากการวงิ่ กระโดด ขว้าง ปา ปีนป่าย ไต่เชือก ยกนำ้าหนัก ตลอดจนกิจกรรมโลดโผน และรวมไปถึงการต่อสู้ เพอ่ื การดำารงชีพของมนษุ ยใ์ นสมยั โบราณ กีฬายิมนาสติกได้เร่ิมข้ึนเมื่อใดไม่มีหลักฐานบันทึกไว้แน่นอน อย่างไรก็ดีได้มีการบันทึก เหตุการณไ์ วเ้ ม่อื ประมาณ 2,600 ปี ก่อนครสิ ตศ์ กั ราช ซึง่ เปน็ ระยะท่ชี าวจนี ไดค้ ิดท่าการบรหิ ารกาย เพื่อนำามาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการรักษาโรคของแพทย์แบบจีน (Chinese Medical Gymnastics) แต่การพัฒนาการของกีฬายิมนาสติกอย่างแท้จริงจึงเริ่มต้นที่ประวัติศาสตร์ชาวกรีกและโรมัน โดยเฉพาะกรีกเป็นประเทศที่สนใจและมีบทบาทท่ีสำาคัญต่อกีฬายิมนาสติกมาก แม้กระท่ังคำาว่า “Gymnastics” กเ็ ปน็ คำาทีม่ าจากภาษากรกี ซง่ึ แปลว่า Nude ตามความหมายแปลว่า Necket หรือ ศิลปะแห่งการเปลือยเปล่า (ฟอง เกิดแก้ว, 2532) โดยเฉพาะแบบและท่าต่างๆ ท่ีนำามาใช้ ในการออกกำาลังกาย และบริหารกายในสมัยน้ันผู้ท่ีคิดประดิษฐ์ข้ึนก็เป็นนักการศึกษาของกรีก สมัยโรมันจนเป็นที่ยอมรับ และถือปฏิบัติกันมาเป็นท่าบริหารกายที่ได้มาตรฐานแพร่หลายไป ตามศูนย์เยาวชนและสถาบันทุกแห่ง สมัยก่อนศิลปะของประเทศกรีกมีความเจริญพัฒนาไปมากรวม ท้ังวิชาการดนตรี (music) จะเห็นได้จากจุดเร่ิมต้นของวิชาการดังกล่าวนี้ ได้ก่อตัวและพัฒนาการ มาจากสมัยกรีกทั้งส้ิน ยิมนาสติกก็ได้เร่ิมต้นและพัฒนาไปพร้อมๆ กับวิชาการเหล่านั้นด้วย จากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์บนเกาะครตี ปรากฏภาพวาดโบราณอาย ุ 2,000 ปี บนกำาแพงพระราชวงั โบราณ โมโนนเป็นภาพเด็กหนุ่มตีลังกาข้ามเขาวัว ซ่ึงต่อมาก็พัฒนาเป็นกีฬายิมนาสติกอุปกรณ์ โตะ๊ กระโดด และมา้ ห ู อกี ทั้งชาวสปาตารท์ ีม่ รี ูปรา่ งแขง็ แรงบกึ บึนกเ็ พราะมีการฝึกรา่ งกายด้วยการวิ่ง การกระโดดไต่เชือกต่อสซู้ งึ่ เปน็ พน้ื ฐานของยิมนาสติกท้ังส้นิ (สกุ ญั ญา พานชิ เจริญนาม, 2548) กิจกรรมที่ชาวกรีกได้กำาหนดให้มีการฝึกซ้อมออกกำาลังกายในกลุ่มของเยาวชนของชาติ จะเป็นการวิ่งต่อสู้ กระโดดยืดหยุ่น และการเคล่ือนไหวเพ่ือการทรงตัว (Balance Movement) รวมถึงศิลปะการเต้นรำาอีกด้วย โดยมีสถานที่ฝึกซ้อมของชาวกรีกโบราณโดยเฉพาะซ่ึงเรียกว่า พาเลสตา (Palaestra) และยมิ เนเซีย (Gymnasia) คมู่ อื ฝึกอบรมผ้ตู ัดสนิ กีฬายิมนาสตกิ 1

ต่อมาพอสิ้นยุคความเกรียงไกรของกรีก โรมัน การออกกำาลังกายแบบยิมนาสติกก็เสื่อมลง นับเป็นเวลานับหลายร้อยปี ซ่ึงในระยะนี้จึงเรียกกันว่ายุคมืด (Dark Age) ก่อนท่ีจะกลับมา ไดร้ ับความนิยมขึน้ มาอีกคร้งั ในเยอรมนั สวีเดน และเดนมารก์ ในระหว่างศตวรรษท่ี 14 – 16 เป็นระยะท่ีเข้าสู่ยุคฟื้นฟู (Renaissance) ทุกๆด้าน ของกรีกและการพลศึกษา (Rhythmic gymnastics) ในทวีปยุโรปพร้อมๆกับกิจกรรมต่างๆ ทางพลศกึ ษาของกรีกดว้ ย ในปี พ.ศ. 2266 นักการศกึ ษาคนสำาคัญชาวเยอรมนั ชอ่ื โจฮัน เบสดาว (Johann Basedow) ท่านได้นำาการออกกำาลังกายแบบยิมนาสติกบรรจุเข้าไว้ในหลักสูตรของโรงเรียน ต่อมาในระหว่าง ปพี .ศ. 2319 นักการศกึ ษาทีส่ าำ คญั อกี ทา่ นหน่งึ คือ โจฮนั กตุ สม์ ธุ ส ์ (Johann Guts Muths) เปน็ ทร่ี ู้จักกันดี ในนามคุณปู่แห่งกีฬายิมนาสติก (The Great Grand Father of Gymnastics) บทบาทของท่าน ท่ีทำาให้กีฬายิมนาสติกมีความเจริญก้าวหน้าข้ึน คือ ท่านได้แต่งตำารา “ยิมนาสติกสำาหรับเยาวชน” นับว่าเป็นตำารายิมนาสติกเล่มแรกของโลกและได้บรรจุวิชายิมนาสติกเข้าไว้ในหลักสูตรของโรงเรียน ปรัสเซีย (Prussian School) ในเยอรมัน ในระหว่างปี พ.ศ. 2321 นักวิชาการทางพลศึกษาและเป็นนักชาตินิยมชาวเยอรมัน ชื่อ เฟรดริค จาน (Friedrich Jahn) เป็นผู้ก่อต้ังศูนย์ฝึกกีฬาช่ือเทอนเวอเรียน (Turnverein) และในระหว่างทมี่ ีศนู ย์ฝกึ เทอนเวอเรียนจาน ได้คดิ ประดษิ ฐอ์ ุปกรณ์ขึน้ หลายชนิด เพื่อใช้เปน็ อุปกรณ ์ ในการฝึกออกกำาลังกายอุปกรณ์ต่างๆเหล่าน้ัน ได้มีอุปกรณ์ยิมนาสติกเกิดขึ้นด้วยคือราวคู่ ราวเด่ียว ม้าหู และลองฮอสชนิดส้ัน ซ่ึงเรียกว่าบ้ัค (Buck) จนเขาได้รับฉายาว่าเป็น “บิดาแห่งยิมนาสติก” (ศุภฤกษ ์ ม่ันใจตน, 2543) ตอ่ มา เฟรดริค จาน (Friedrich Jahn) ถกู จบั คมุ ขงั ขอ้ หาล้มลา้ งรฐั บาล ยิมนาสตกิ ก็กลายเปน็ กีฬาต้องห้าม ต้องเล่นกันอย่างลับๆ และอุปกรณ์ท่ีใช้ฝึกก็ลดขนาดลงเพื่อสามารถใช้ฝึกในที่ร่มได้ ต่อมาก็แพร่หลายในสหรัฐอเมริกาและทัว่ โลก ในเวลาต่อมา นักพลศึกษาคนสำาคัญชาวสวีเดนช่ือ เปอร์ ลิง (Pehr Ling) มีความเชื่อว่า การบริหารกายในลักษณะการออกกำาลังกายแบบยิมนาสติกมีคุณค่าต่อการบำาบัดและแก้ไข ความบกพรอ่ งทางกายได้ เปอร์ลิงยงั เปน็ ผปู้ ระดษิ ฐอ์ ปุ กรณ์การออกกาำ ลังกายต่างๆ เชน่ หีบกระโดด และราวติดกับฝาผนัง ใช้สำาหรับบริหารร่างกายและฝึกกล้ามเนื้อ ห้องอุปกรณ์ของเปอร์ลิง เป็นที่รู้จักกันดี ในนามอปุ กรณ์แบบสวเี ดน (Swedish Apparatus) ต่อมา เฟรนซ ์ เนคทากอลล ์ (Franz Nachtegall) ท่านได้ริเร่ิมจัดต้งั โรงเรยี นสาำ หรบั ฝกึ หดั ครูสอนยิมนาสติกเปน็ คนแรก ณ เมืองโคเปนเฮเกน (Copenhagen) จงึ นบั ได้วา่ ท่านเปน็ นักการศึกษา ทมี่ ีความสาำ คัญต่อวงการกีฬายิมนาสติกอีกทา่ นหนึง่ ในประเทศเดนมาร์ก 2 ค่มู อื ฝึกอบรมผูต้ ดั สนิ กีฬายมิ นาสติก

นักการศกึ ษาคนสาำ คัญของชาวสวิสอีกทา่ นหน่งึ คือ อดอฟ สบิซ (Adolf Spiess) ทา่ นเป็น ผู้เสนอให้บรรจุวิชายิมนาสติกไว้ในหลักสูตรของโรงเรียน ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กีฬายิมนาสติก ได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้นมาตามลำาดับ ในยุโรปเริ่มมีอุปกรณ์การฝึกเพื่อออกกำาลังกายแบบยิมนาสติกโดยเฉพาะ และยงั ไดเ้ รมิ่ ให้มกี ารเรียนการสอนเปน็ แบบแผนในโรงเรียนอกี ด้วย ในป ี ค.ศ. 1802 อเมริกาไดต้ ง้ั โรงเรียนกองทัพบก พลศกึ ษาได้เป็นสว่ นสาำ คัญของโรงเรยี น ในระยะน้ันเอง พลศึกษาแบบเยอรมันก็ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสำาคัญในอเมริกา สมาคมการออกกำาลังกาย ที่เรียกว่า เทอนเวอเรียน (Turnverein) ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง จนท้ายที่สุดก่อนที่จะมี สงครามกลางเมือง ได้มีสมาคมเกิดข้ึนถึง 150 สมาคมและมีสมาชิก 10,000 คน สมาคมนี้เอง เป็นตัวตั้งตัวตี ในการตั้งวิทยาลัยพลศึกษาของอเมริกาเรียกว่า College of the American Gymnastics Union และมีบุคคลสำาคัญๆ ในวงการพลศึกษาได้สำาเร็จจากโรงเรียนนี้เป็นจำานวนมาก การพลศึกษาของอเมริกามีความเจริญขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งก่อนที่จะเกิดสงครามกลางเมือง ในป ี ค.ศ. 1818 การจัดพลศึกษาตามแบบแผนก็ไดเ้ ริ่มขนึ้ ส่วนใหญ่เปน็ การบริหารกาย ตอนหลังก็มี กายบริหารแบบยิมนาสติก ต่อมาก็มีกายบริหารประกอบดนตรี และวิทยาลัยแห่งนี้ได้ผลิต ครูยมิ นาสตกิ ไปสอนตามสถานท่ตี า่ งๆ มากมาย ในป ี ค.ศ. 1860 ดร.เลวสิ (Dr.Lawis) ไดส้ ร้างวธิ ีการเล่นยมิ นาสตกิ แบบใหม่ เพ่ือช่วยคน ท่ีมีความอ่อนแอให้มีความแข็งแรง และมีชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี โดยจะพัฒนาทางความเคล่ือนไหว ความอ่อนตัว ความคล่องแคลว่ ว่องไว และความสมบูรณ์ของสุขภาพความสง่างามของรูปทรง ค.ศ. 1840 – 1924 ทีป่ ระเทศสหรฐั อเมรกิ า ยมิ นาสตกิ ได้เรมิ่ แพร่กระจายขึ้นอย่างรวดเร็ว หลังจากมีการต้ังวิทยาลัยยิมนาสติกขึ้น ชาวอเมริกันคนแรกที่มีความสำาคัญต่อวงการยิมนาสติก คือ ดร.ดัดเลย์ ซาเจนท์ (Dr.Dudley Sagent) ท่านเป็นครูสอนกีฬายิมนาสติกและได้บรรจุอุปกรณ์ กีฬายิมนาสติกหลายอย่าง รวมทั้งเครื่องบริหารร่างกาย เช่น รอกน้ำาหนัก (Pulley Weights) นอกจากน้ี หน่วยงานตา่ งๆ ในสหรัฐอเมริกากม็ ีบทบาททำาให้กฬี ายิมนาสติก มคี วามเจริญก้าวหน้ามากขึน้ สถาบันดังกล่าว ได้จัดให้มีครูผู้สอนยิมนาสติกโดยตรง มีการจัดโปรแกรมกีฬายิมนาสติกรวมเข้ากับ โปรแกรมทางพลศึกษาประเภทอน่ื ๆ เชน่ สมาคมวาย.เอม็ .ซ.ี เอ (YMCA) ท่ีสปริงฟิลด์ รฐั แมสซาชูเซทท์ นบั วา่ เปน็ สมาคมแหง่ แรกของอเมรกิ า และบคุ คลทรี่ เิ รม่ิ ทาำ ใหก้ ฬี ายมิ นาสตกิ เจรญิ กา้ วหนา้ ไปพรอ้ มกบั การศึกษาก็คือ ดร.ลูเธอร์ กูลิค (Dr. Luther Gulick) (มานิต หยูมาก, 2544, หน้า 36) ในชว่ งระยะ 30 กวา่ ปที ่ีผา่ นมา กฬี ายิมนาสตกิ ไดพ้ ัฒนาตัวเองใหท้ ันสมัยไปพรอ้ ม ๆ กับกฬี าหลายชนิด หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สงบลง ได้เริ่มมีการกำาหนดกติกา ระเบียบการแข่งขันขึ้นอย่างสมบูรณ์ กีฬายิมนาสติกจึงมีการจัดการแข่งขันขึ้นระหว่างมหาวิทยาลัย โรงเรียน และสถาบันทั่วไป (สุกัญญา พานิชเจรญิ นาม, 2548) คมู่ ือฝกึ อบรมผตู้ ัดสินกีฬายิมนาสตกิ 3

ป ี ค.ศ. 1896 (พ.ศ. 2439) ในการแข่งขนั กฬี าโอลมิ ปิกครัง้ ท ี่ 1 ณ กรงุ เอเธนส์ ประเทศกรซี ได้มีการแข่งขันยิมนาสติกในโอลิมปิกคร้ังน้ีด้วย โดยมีกิจกรรมแข่งขัน เช่น ว่ิงเร็ว กระโดดสูง กระโดดไกล กระโดด คำ้าถ่อ พุ่งแหลน ทุ่มนำ้าหนัก ว่ายน้ำา ราวคู่ ราวเดี่ยว คานทรงตัว และ Free exercise ปี ค.ศ. 1917 สหพันธ์ยิมนาสติกสากล (Federation International De Gymnastic) ได้ก่อต้ังข้ึน ณ เมืองลีซ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์มีช่ือย่อว่า FIG. และกำาหนดให้มีการแข่งขัน ยิมนาสติก ชิงแชมป์โลกข้ึน 2 ปีต่อคร้ัง ต่อมาได้เปล่ียนเป็น 4 ปี ก่อต้ังในการแข่งขันยิมนาสติก ชิงแชมป์โลกครั้งที่ 7 โดยจัดก่อนการแข่งขันโอลิมปิกหนึ่งปี ซึ่งในระยะแรกนั้น จะมีการจัดการ แข่งขันเฉพาะชาย ต่อมาจัดให้มีการแข่งขันประเภทหญิงในปี ค.ศ. 1928 ซึ่งตรงกับการแข่งขัน โอลมิ ปกิ คร้งั ที ่ 9 ในป ี พ.ศ. 2477 เร่ิมบรรจมุ า้ กระโดด (Vaulting horse) และบารต์ ่างระดบั (Uneven bars) เข้าไว้ในการแขง่ ขันกีฬายมิ นาสติกด้วย (ศภุ ฤกษ ์ มั่นใจตน, 2543) ปัจจุบันกีฬายิมนาสติกเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางในอเมริกา มีการจัดตั้งกันขึ้นในรูปของ สมาคมต่างๆ นอกจากน้ันสถาบันต่างๆก็มีการฝึกฝนและจัดการแข่งขันทุกปีท้ังชายและหญิง เร่ิมตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จนถึงระดับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย การแขง่ ขันไดม้ ีการปรับปรงุ กฎเกณฑ์และกตกิ าการแขง่ ขนั ให้มมี าตรฐานตามสากลนยิ มขึน้ ความก้าวหน้าของกีฬายิมนาสติกในปัจจุบันอยู่ในขั้นสูง เราจะเห็นได้จากการแข่งขัน กีฬายิมนาสติกระดับต่างๆ เช่น ระดับภาคพ้ืนทวีปเอเชียซึ่งเรียกว่าการแข่งขันเอเชี่ยนเกม (Asian Games) ระดับภาคพื้นยุโรปเรียกว่า Europe Championships การแข่งขันโอลิมปิก ซ่ึงเร่ิมให้มีการแข่งขันยิมนาสติกเป็นครั้งแรก ณ กรุงเอเธนส์ หรือการแข่งขันระดับชิงแชมป์โลก การจัดการแข่งขันทุกระดับทก่ี ล่าวมาน้ี มีการแข่งขันแตล่ ะอปุ กรณแ์ บบแสดงต่อเนื่องกนั โดยยึดกติกา สากลของสหพันธย์ ิมนาสติกสากล (International Gymnastics Federation) หรอื เรยี กสน้ั ๆ ว่า FIG ประวัติความเปน็ มากีฬายิมนาสติกในประเทศไทย หลักฐานความเป็นมาของยิมนาสติกในเมืองไทยสมัยเริ่มแรกนั้น ไม่ปรากฏหลักฐาน แนช่ ดั วา่ ไดเ้ รมิ่ มาตงั้ แตส่ มยั ใด และผทู้ น่ี าำ เขา้ มาเผยแพรก่ ไ็ มม่ หี ลกั ฐานทแี่ นน่ อนซงึ่ จะปรากฏแตเ่ ปน็ เพยี ง ข้อสันนิษฐาน และเรื่องเล่าท่ีสืบทอดกันมาเป็นเวลานาน จนกระท่ังถึงสมัยที่มีการเขียน จดบันทึก จนสามารถยึดถือเป็นหลักฐานจากการตั้งข้อสันนิษฐานว่า ในสมัยโบราณนั้นชาติไทยของเรา ได้มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศมาต้ังแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์ ซ่ึงสมัยน้ันจะติดต่อกัน ในเรื่องการแลกเปล่ียนซื้อขายสินค้าเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า- 4 คู่มอื ฝึกอบรมผตู้ ดั สินกีฬายิมนาสติก

เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 5 ของไทย ได้มีความสัมพันธ์กับชาวต่างประเทศอย่างแน่นแฟ้น และได้มีการส่ง ข้าราชการไทยไปศึกษาในต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศในแถบยุโรป ซ่ึงนิยมการออกกำาลังกาย ประกอบอุปกรณ์ราวค ู่ ราวเดย่ี ว โต๊ะกระโดด เมอ่ื ข้าราชการไทยสำาเรจ็ การศกึ ษากลบั มา กไ็ ด้นำาเอาวธิ ี การออกกำาลังกายเข้ามาเผยแพร่ในประเทศ ซึ่งรูปแบบของการออกกำาลังกายประกอบอุปกรณ์ต่างๆ มักนิยมเรียกกันว่า ยิมนาสติก โดยเริ่มแรกเข้ามาเผยแพร่ในหน่วยงานของตน จากนั้นก็นำามาฝึก เพ่ือเป็นการเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกายในเหล่าทหารของกองทัพไทย จนหน่วยงานราชการอื่นๆ เห็นดดี ว้ ยจงึ สง่ เสริมและฝึกหัดกันจนเปน็ ท่นี ิยมแพรห่ ลาย จากนั้น กรมพลศึกษาได้ส่งนายสวัสดิ์ เลขะยานนท์ จากแผนกกีฬาโรงเรียนไปดูงาน การดำาเนินการแข่งขันกีฬา และการสร้างกรีฑาสถานแห่งชาติ ในประเทศฟิลิปปินส์ จีน ญ่ีปุ่น สิงคโปร์ เพ่ือมาปรับปรุงการกีฬาให้เหมาะสมกับสมัย เช่น ยูยิตสู ตะกร้อ ฟุตบอล ดัดตน หอ้ ยโหน เนตบอล หมากรกุ ดดั ตนทา่ มอื เปล่า บาสเกตบอล และกรีฑา ปี พ.ศ. 2476 หลักสตู รโรงเรียนครพู ลศึกษากองกายบรหิ าร ไดม้ กี ารสอนวิชากระบี่กระบอง กระโดดน้ำา ว่ายน้ำา ยูยติ ส ู ดดั ตน หอ้ ยโหน ดัดตนทา่ มอื เปล่า มวยไทย และมวยฝร่งั (มวยสากล) ในปีเดียวกันน้ัน ก็มีหลักสูตรพลศึกษา สำาหรับนักเรียนฝึกหัดครูประถมกิจกรรมกำาหนด ให้เรียนวิชาพลศึกษาและลูกเสือ กำาหนดให้เรียนพลศึกษา โดยให้สามารถสอนกายบริหาร และดดั ตนท่าต่างๆ กับสว่ นห้อยโหนท่าง่ายๆได้ การสาธิตกีฬายิมนาสติกสากลหรือการจัดการแข่งขันกีฬายิมนาสติกสากลได้ถูกจัดขึ้น ในการแข่งขนั กรีฑานกั เรยี นประจำาป ี พ.ศ. 2477 ทีส่ นามโรงเรยี นราษฎร์บรู ณะ (มธั ยม) ปจั จบุ นั คอื โรงเรยี นสวนกหุ ลาบ โดยกิจกรรมในครง้ั นน้ั ประกอบดว้ ย (ฟอง เกิดแก้ว, 2532) 1. การแสดงกายบริหาร โหนราว การไต่บันไดโค้ง หกคะเมนหน้า หกคะเมนหลัง บาร์เด่ยี ว เลน่ หว่ ง เล่นชิงชา้ และหัดแถว 2. การแข่งขันด้วยกำาลังกายมีการชักคะเย่อ กระโดดสูง ว่ิงข้ามรั้ว วิ่งเก็บของ กระโดดไกล วิ่งระยะทาง 2 เส้น ว่ิงสวมกระสอบ ว่ิงทน 10 เส้น ปิดตาหาของ ซ่ึงในสมัยน้ัน การเรียกช่ือยิมนาสติกยังไม่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด แต่มักจะใช้ชื่อเรียกอย่างอื่นมากกว่า เช่น ดัดตน ห้อยโหน โหนราว หกคะเมนหน้า หกคะเมนหลัง เปน็ ตน้ จะเห็นวา่ การเคล่อื นไหวในลกั ษณะดังกล่าว เปน็ การเคลอื่ นไหวในยมิ นาสติกแทบทัง้ ส้ิน ในป ี พ.ศ. 2479 มีหลักสตู รพลศกึ ษาของโรงเรยี นพลศกึ ษากลาง กาำ หนดใหเ้ รยี นกิจกรรม พลศึกษา 5 วิชา คอื มวยไทย กระบกี่ ระบอง ดดั ตน ห้อยโหน ฟันดาบ (ดาบสากล) ในป ี พ.ศ. 2483 กรมพลศึกษาไดเ้ ปล่ียนหลักสตู รใหมโ่ ดยแบ่งหมวดวิชาออกเปน็ 2 หมวด คือวิชาบังคับและวิชาไม่บังคับ (วิชาเลือก) ในวิชาไม่บังคับมี 4 วิชา คือ มวยไทย มวยสากล กระบี่กระบอง ฟันดาบ วชิ าบังคับ คอื ดัดตน และหอ้ ยโหน คมู่ ือฝกึ อบรมผตู้ ดั สินกฬี ายิมนาสติก 5

ป ี พ.ศ. 2484 มหี ลกั สตู รพลศกึ ษาสาำ หรบั โรงเรยี นฝกึ หดั ครปู ระโยคครมู ลู ไดก้ าำ หนดกจิ กรรม ทางพลศึกษา คือ กายบริหารการเล่นในร่ม – กลางแจ้ง ยิมนาสติก กรีฑา ยูยิตสู ฟันดาบ ว่ายนา้ำ ปี พ.ศ. 2486 หลักสูตรพลศึกษาสำาหรับประโยคครูมูล กำาหนดเรียนกิจกรรมพลศึกษา คือ กายบริหารการเล่นกลางแจ้ง – ในร่ม กรีฑา ยิมนาสติก และการเล่นกีฬาต่างๆอย่างน้อยวันละ 30 นาท ี กอ่ นเขา้ หอ้ งเรียน ปี พ.ศ. 2489 มีหลักสูตรพลศึกษาสำาหรับโรงเรียนฝึกหัดครูมัธยมซึ่งใช้มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2484 ให้เรียนกิจกรรมดังนี้ กายบริหารท่ามือเปล่า และประกอบเคร่ืองมือยิมนาสติก ยิมนาสติกชั้นสงู ยดื หยุน่ หบี กระโดด (ม้ากระโดด) ราวค ู่ ราวเดีย่ ว หว่ งไกว การเลน่ กฬี าต่างๆ ไดแ้ ก่ บาสเกตบอล ตะกร้อเทนนสิ แบดมินตัน ปี พ.ศ. 2490 มีหลักสูตรพลศึกษาสำาหรับโรงเรียนครูมัธยมกำาหนดกิจกรรมพลศึกษา คือ การบรหิ ารการเลน่ เกมยิมนาสติก ซึง่ ประกอบด้วย อุปกรณ์ยดื หยุ่น หีบกระโดด ราวค ู่ ราวเดี่ยว กีฬาบางชนดิ กรีฑา โดยไม่กาำ หนดเวลาเรยี นทีแ่ นน่ อน จะเห็นได้ว่ายิมนาสติกได้จัดให้มีการเรียนการสอนตามหลักสูตร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2447 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงการเรียกช่ือยิมนาสติกและกำาหนดอุปกรณ์ในการเรียนการสอนได้มีข้ึน ในปี พ.ศ. 2484 – 2490 ซ่ึงเหล่าน้ีเป็นพัฒนาการความเป็นมาของกีฬายิมนาสติกในสมัยก่อน ป ี พ.ศ. 2500 สำาหรับการแข่งขันกีฬายิมนาสติกในประเทศไทยได้จัดให้มีการแข่งขันครั้งแรก ในกีฬาแห่งชาติ คร้ังท่ี 20 ท่ีจังหวัดร้อยเอ็ดในปี พ.ศ. 2529 และในกีฬาเยาวชนแห่งชาติครั้งแรก ท่จี ังหวัดราชบรุ ใี นป ี พ.ศ. 2532 ประเภทของกีฬายมิ นาสตกิ ยมิ นาสติกจาำ แนกได้เปน็ 5 ชนิดการแข่งขนั ดังน ้ี (อนชุ ิตร แทส้ งู เนิน, 2548) 1. ยิมนาสติกศิลป ์ ( Artistic Gymnastics) 2. ยมิ นาสตกิ ลีลา (Rhythmic Gymnastics) 3. ยิมนาสตกิ เตียงสปริง (Trampoline) 4. ยิมนาสติกกายกรรม (Sports Acrobatics) 5. ยมิ นาสติกแอโรบิค (Sports Aerobics) กฬี ายมิ นาสติกทีเ่ ปน็ ทรี่ จู้ กั กันในประเทศไทยนั้น ในปัจจุบันนจี้ ะมกี ารแข่งขนั กันอย ู่ 2 ชนิด ด้วยกันคือยิมนาสติกศิลปะ (Artistic Gymnastics) และยิมนาสติกลีลา (Rhythmic 6 คู่มือฝกึ อบรมผตู้ ัดสินกีฬายมิ นาสติก

Gymnastics) ยิมนาสติกศิลปะ (Artistic Gymnastics) เป็นยิมนาสติกที่แสดงด้วยมือเปล่า ซึ่งจะประกอบดว้ ย ชาย 6 อุปกรณ์ หญงิ 4 อุปกรณ์ อปุ กรณย์ ิมนาสติกสากลชาย อุปกรณ์ยมิ นาสตกิ สากลหญิง 1. ฟลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ซส์ (Floor Exercise) 1. ฟลอรเ์ อ็กเซอร์ไซส์ (Floor Exercise) 2. มา้ หู (Pommel Horse) 2. โต๊ะกระโดด (Vaulting Table) 3. ห่วงน่ิง (Ring) 3. ราวต่างระดบั (Uneven Bars) 4. โตะ๊ กระโดด (Vaulting Table) 4. คานทรงตวั (Balance Beam) 5. ราวคู่ (Parallel Bars) 6. ราวเดี่ยว (Horizontal Bar) ยิมนาสติกลีลา (Rhythmic Gymnastics) คือ ยิมนาสติกประกอบอุปกรณ์และดนตรี มีการแข่งขันกันบนฟลอร์ฯ ที่มีขนาดกว้าง 12x12 เมตร เร่ิมทำาการแข่งขันคร้ังแรกในกีฬาโอลิมปิก คร้งั ท ่ี 23 ณ นครลอสแองเจลสิ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ในปีพ.ศ. 2527 (เฉลยี ว เงาะหวาน, 2540) สำาหรับอุปกรณ์ท่ีใช้ประกอบในการแข่งขันมีทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ ลูกบอล (Ball) คฑาหรือ คลับ (Club) ริบบิ้น (Ribbon) หว่ ง (Ring) และเชอื ก (Robe) คู่มือฝกึ อบรมผตู้ ัดสินกฬี ายมิ นาสติก 7

บทที่ 1 ทท่ี 2 บ หลักก�รเปน็ ผตู้ ัดสินกีฬ�ยมิ น�สติก ความหมายของผ้ตู ดั สนิ กฬี า ผู้ตัดสิน คือ ผู้ทำาหน้าที่ตัดสินและควบคุมการแข่งขันกีฬาอย่างเข้มงวด ถูกต้อง ยุติธรรม มีประสิทธิภาพสูง เป็นส่วนหน่ึงท่ีช่วยผลักดัน ยกระดับมาตรฐานการเล่นและการแข่งขันให้สูงขึ้นได้ เพราะการตดั สนิ ทเ่ี ขม้ งวดตามกตกิ า ทาำ ใหผ้ เู้ ลน่ จาำ เปน็ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกตกิ าอยา่ งจรงิ จงั มคี วามเคารพ กติกา และทาำ ให้ผูเ้ ล่นมคี วามสนใจในการศกึ ษาหาความรูเ้ ก่ยี วกับกตกิ าการแข่งขนั มากข้ึน ผ้ตู ดั สนิ ท่ี ดีต้องทำาความเข้าใจเกี่ยวกับการตีความหมายของข้อความในกติกาให้เข้าใจโดยถ่องแท้ทั่วถึง และต้องติดตามศึกษาเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของกติกา อีกทั้งทบทวนความในกติกาเสมอ จนเกิดความเข้าใจและจำาความในกติกาได้อย่างแม่นยำาด้วย การตัดสินท่ีดีควรใช้ข้อความในกติกา มาทำาการบังคับให้การแข่งขันเป็นไปในทางที่ดี ก่อให้เกิดการเล่นอย่างมีนำ้าใจต่อกันและดำารงไว้ ซ่งึ ความยตุ ิธรรมตอ่ ผู้เล่นทั้งสองฝา่ ย ปรัชญาของการเป็นผู้ตดั สนิ กฬี า ผ้ตู ดั สินจะตอ้ งปฏบิ ัติหน้าท่ีดว้ ยความยุตธิ รรม ซ่อื สัตย์ โปร่งใส และมคี วามน่าเชื่อถือ บทบาทของผตู้ ัดสนิ กฬี า 1) ตอ้ งรู้กฎและกตกิ าการแขง่ ขันเปน็ อยา่ งดี 2) ต้องมีความม่นั ใจในการทาำ หน้าท่ีเป็นกรรมการผตู้ ัดสนิ กีฬา 3) ตอ้ งมคี วามพรอ้ มและตงั้ ใจในการทาำ หนา้ ที่ 4) ต้องมีความเท่ยี งธรรมและยุติธรรมให้แก่นกั กีฬาท้ังสองฝา่ ย 5) ตอ้ งมีความพร้อมที่สามารถแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าไดท้ ันที 6) ต้องเปน็ ผ้ทู ่ยี อมรบั เชื่อถอื ของนักกฬี า ผ้ฝู ึกสอน และเจา้ หนา้ ทผ่ี เู้ กย่ี วข้อง 7) ต้องเป็นผู้ท่ีมีความกระตือรือร้นท่ีจะศึกษาเรียนรู้ หาประสบการณ์จากเพ่ือน ผู้ตัดสิน ด้วยกนั 8) ต้องเปน็ บคุ คลท่ีเคารพนบั ถอื ของวงการสังคม 9) ตอ้ งเป็นบุคคลทปี่ ฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบยี บ กตกิ าอย่างเครง่ ครดั 8 คู่มือฝกึ อบรมผตู้ ดั สนิ กีฬายมิ นาสติก

จรรยาบรรณของผตู้ ัดสินกฬี า 1. ปฏิบัติหน้าท่ี และตัดสินภายใต้กฎกติกา และกฎข้อบังคับด้วยสปิริตของนักกีฬา ยมิ นาสติก 2. แสดงออกและให้การสนบั สนุนการแข่งขนั ทย่ี ตุ ิธรรมท่สี ุด 3. สามารถควบคุมการแข่งขัน และแสดงมารยาทที่ดีตลอดการแข่งขันกฬี ายิมนาสติก 4. ในทุกอิริยาบถของผู้ตัดสิน แสดงพฤติกรรมที่น่าเชื่อถือและมารยาทที่เหมาะสม ตลอดเวลา 5. แสดงออกถงึ เป้าหมายทชี่ ดั เจน รบั ผดิ ชอบในพฤตกิ รรมท่ีแสดงออกและในคาำ ตดั สนิ 6. ใส่ใจในสวสั ดิภาพและความปลอดภยั ของนกั กีฬาเหนอื สงิ่ อน่ื ใด 7. ช่วยส่งเสริมนักกีฬา เจ้าหน้าท่ี กรรมการผู้ตัดสิน และทุกๆ ฝ่าย ให้บรรลุถึงทัศนคติ ทีเ่ ปน็ ดา้ นดขี องผตู้ ัดสินต่อการแข่งขนั ทย่ี ุติธรรม และความมนี า้ำ ใจนกั กฬี า 8. มคี วามซื่อสัตย์สุจรติ และไม่อนญุ าตใหบ้ ิดเบือนหรือหลอกลวงคณุ สมบตั ิของตนเอง คุณสมบัตขิ องผู้ตัดสนิ กฬี า กรมพลศกึ ษา (2552) ได้เสนอคุณสมบตั ิของผตู้ ัดสิน ไวด้ งั น้ี 1) ควรจะเปน็ ผทู้ ่สี นใจในกฬี าชนดิ ทีต่ อ้ งตดั สินเปน็ พิเศษ 2) มีสขุ ภาพพลานามยั และร่างกายแขง็ แรง เชน่ - มสี ายตาดี - หไู ม่พกิ าร สามารถรับฟงั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี - ไมเ่ ป็นโรคหวั ใจ 3) ควรมีอายุตั้งแต่ 20 ปขี ้นึ ไป 4) ไมต่ ิดยาเสพติดและของมึนเมา 5) มคี วามยตุ ิธรรม 6) มคี วามเชอื่ ม่ันในตนเองกลา้ ตัดสินใจ 7) มีความซื่อสัตย์ต่อหน้าท่ีและมเี กียรติของความเปน็ ผู้ตัดสนิ คู่มือฝกึ อบรมผู้ตดั สนิ กีฬายิมนาสตกิ 9

ผู้ตัดสินท่ีดีต้องมีคุณสมบัติต่างๆ มากมายหลายประการแต่คุณสมบัติท่ีเป็นหลักสำาคัญ มี 3 ประการ ดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจเรียกเพื่อให้เข้าใจและจำาได้ง่ายว่า “3 ‘F หรือ K F C” ดังนี้ (สถาบนั พฒั นาบคุ ลากร, 2551) 3’F K F C FAIRNES รู้และเข้�ใจกตกิ �เป็นอย�่ งดีและนำ�ไปใช้ KNOWLEDGE FAIRNESS อย่�งถกู ต้องยุติธรรมแกท่ ัง้ สองฝ�่ ย FITNESS มีสมรรถภ�พท�งก�ยที่ดี FIRMNESS มีคว�มมัน่ คง หนักแน่น กล้�ห�ญ COURAGE ในก�รตดั สินใจ คุณสมบัตทิ ีด่ ีของผู้ตดั สนิ กฬี � วินัยของผตู้ ดั สนิ กฬี า 1. ต้องแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ถูกต้อง ตามระเบยี บ 2. ต้องไม่ปฏิเสธการไปปฏิบัติหน้าท่ีตามคำาส่ังท่ีได้รับมอบหมาย โดยปราศจากเหตุผล อนั ควร 3. ตรงตอ่ เวลา 4. ตอ้ งเขา้ รว่ มการฝกึ ซอ้ มกอ่ นหนา้ การแข่งขันตามทไี่ ด้รบั แจง้ ทกุ ครง้ั 5. ปฏบิ ัติหน้าท่ผี ตู้ ัดสนิ ตามหนา้ ที่ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างเครง่ ครดั 6. ซื่อสัตย์ เท่ียงตรงต่อหน้าที่ ปราศจากการลำาเอียง หรือตัดสินผิดพลาดอยู่ตลอดเวลา จนขาดความยตุ ธิ รรม 7. อ่อนน้อม เชื่อฟังคำาตักเตือนต่อหัวหน้ากรรมการ หรือหัวหน้าผู้ตัดสินท่ีควบคุม การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีของแต่ละรายการ 8. ควรขออนุญาต หรือแจ้งสมาคมฯทุกครั้ง หากได้รับการติดต่อเป็นการส่วนตัวให้ไป ทำาหนา้ ทผ่ี ู้ตดั สนิ 10 คูม่ ือฝกึ อบรมผู้ตดั สินกีฬายิมนาสติก

9. ตอ้ งไมป่ ระพฤตติ วั โดยมชิ อบ จดั หาหรอื เรยี กรอ้ งผลประโยชนอ์ น่ื อยา่ งเดด็ ขาด อนั เปน็ การเสอื่ มเสยี เกยี รตแิ ละศกั ด์ศิ รขี องส่วนรวม 10. ต้องไมป่ ระพฤติชัว่ อยา่ งร้ายแรง การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ผู้ตัดสินกีฬาจำาเป็นต้องสร้างเสริมสุขภาพอยู่เสมอ เน่ืองจากในการตัดสินกีฬายิมนาสติก ผู้ตดั สนิ อาจตอ้ งปฏิบตั หิ นา้ ที่เป็นระยะเวลานานและมคี วามเครียด การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพควรกระทาำ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ไดแ้ ก ่ ออกกาำ ลงั กายเปน็ ประจาำ ตรวจรา่ งกาย เป็นประจำาปีละครั้ง และเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายอยเู่ สมอ ผตู้ ดั สนิ ทกุ คนควรไดร้ บั การตรวจรา่ งกายจากแพทย ์ เพอื่ ดพู ยาธสิ ภาพของรา่ งกายและอวยั วะ อื่นๆ โดยเฉพาะการตรวจเลือดและสายตา ซงึ่ มคี วามสำาคัญและจำาเปน็ สาำ หรับผูต้ ดั สนิ ทุกคน ผูต้ ัดสนิ ควรทราบผลการตรวจร่างกายของตนเอง เพื่อสามารถนำาไปประเมินตนเองให้มีความพร้อมใน การทาำ หนา้ ท่ี บทบาทหนา้ ทขี่ องผตู้ ัดสินกีฬายมิ นาสตกิ ศลิ ป์ชาย 1. บทบาทหน้าท่ี ผู้ตัดสินทุกคนรับผิดชอบตัวเองอย่างเต็มที่สำาหรับการให้คะแนน สมาชิกผู้ตัดสินประจำา อุปกรณท์ ุกคนมหี น้าทีด่ ังนี้ 1.1 มีความรสู้ มบรู ณ์ เก่ยี วกบั - ระเบียบเทคนคิ (The FIG Technical Regulations) - กติกา (Code of points) - หนา้ ท่ขี องผู้ตัดสิน - ขอ้ แนะนาำ เบอ้ื งตน้ อืน่ ๆ ที่มาจากหน้าที่ระหว่างการแขง่ ขนั 1.2 มีใบอนุญาต (Brevet) ระดับนานาชาติ ในวงรอบปัจจุบันและมีสมุดบันทึก การปฏิบตั งิ าน (Log book) 1.3 มีระดับ (The Category) ตามความต้องการ สำาหรับระดับการแข่งขันที่ทำาหน้าที่ การตดั สนิ 1.4 มีความรู้กว้างขวางในกีฬายิมนาสติกสมัยใหม่ และเข้าใจเจตนารมณ์ วัตถุประสงค์ การแปลความหมาย และการนำากฎแต่ละขอ้ ไปใช้ 1.5 เข้าร่วมประชุมตามรายการท้ังหมด และการประชุมของผู้ตัดสินก่อนการแข่งขัน (ยกเว้นในกรณีพิเศษ ซึ่งไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ จะถูกตัดสินใจโดยคณะกรรมการ ฝ่ายเทคนคิ (MTCs)) คู่มือฝึกอบรมผตู้ ัดสนิ กีฬายิมนาสติก 11

1.6 ทำาตามข้อกำาหนดของการตัดสินเฉพาะท่ีถูกกำาหนดโดยการแข่งขันครั้งนั้น (เชน่ วิธกี ารใช้ระบบการให้คะแนน เปน็ ต้น) 1.7 ผตู้ ดั สนิ ทกุ คนตอ้ งเขา้ รว่ มในการอบอนุ่ รา่ งกายบนสนามแขง่ (Podium Training) 1.8 เตรียมตวั ใหพ้ ร้อมทุกอุปกรณ์ 1.9 จะต้องเพ่ิมเติมความสามารถในการใช้เคร่ืองมือท่ีจำาเป็นในการทำาหน้าท่ี ซงึ่ ประกอบด้วย - ใบเขยี นคะแนน ทถ่ี กู ตอ้ ง - การใช้คอมพวิ เตอรห์ รอื เคร่อื งมือเบื้องตน้ - ส่งิ อาำ นวยความสะดวกในการดาำ เนินการแขง่ ขัน - การส่ือสารท่มี ปี ระสิทธภิ าพกบั ผตู้ ัดสนิ คนอื่นๆ 1.10 ตอ้ งเตรยี มตวั มาเปน็ อยา่ งด ี ไมว่ า่ การพกั ผอ่ น การดแู ลตวั เอง และการตรงตอ่ เวลา จะต้องมาถึงสนามแข่งขันอย่างน้อยหนึ่งชั่วโมงก่อนการแข่งขัน หรือข้อกำาหนด ตามตารางการปฏบิ ตั ิงาน 1.11 แต่งกายตามข้อกาำ หนดของ FIG. (เส้ือคลมุ สนี ้าำ เงนิ เข้ม กางเกงสีเทา เส้ือแขนยาว สอี อ่ น และผกู เน็คไท) ยกเวน้ เคร่ืองแบบตามทีฝ่ ่ายจดั การแข่งขนั จดั ใหร้ ะหว่าง การแขง่ ขนั ผู้ตัดสินจะต้อง - มีพฤติกรรมเป็นมืออาชีพอยู่ตลอดเวลา และเป็นตัวอย่างทางด้านจริยธรรม ไมถ่ ือพรรคถอื พวก - ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ ยา่ งเตม็ ทต่ี ามแนวทางเฉพาะหนา้ ทข่ี องผตู้ ดั สนิ ประจาำ อปุ กรณ์ - ประเมนิ แตล่ ะทกั ษะดว้ ยความแมน่ ยาำ รวดเรว็ สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค ์ และ ยตุ ธิ รรม เมอื่ ไมแ่ นใ่ จกใ็ หผ้ ลประโยชน์กับนกั กฬี า - เกบ็ บันทึกคะแนนของตนเองไว้ - น่ังในที่นั่งของตน (ยกเว้นได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน D1) และงดเว้นจาก การติดตอ่ หรอื พูดคยุ กบั นักกฬี า โค้ช ตวั แทนทีมหรือผ้ตู ัดสินอ่ืนๆ บทลงโทษผู้ตัดสินสำาหรับการให้คะแนนท่ีไม่เหมาะสม ให้เป็นไปตามกติกาของ FIG ฉบับปจั จบุ นั และ/หรอื ใช้ตามฝา่ ยจดั การแขง่ ขันครัง้ น้ัน 2. สิทธิหนา้ ท่ี ในกรณีทผี่ คู้ วบคุมประจาำ อุปกรณ์ (Apparatus Supervisor) ก้าวก่าย ผตู้ ดั สนิ มีสิทธิ อธิบายเก่ียวกับคะแนน และแสดงความเห็น (หรือไม่) ต่อการเปล่ียน ในกรณีท่ีมีความเห็นขัดแย้ง ผู้ตัดสินอาจถูกปฎิเสธโดยหัวหน้าผู้ตัดสิน (Superior Jury) และจะถูกรายงานตามนั้นในกรณีของ การฝา่ ฝืนกระทำาไปโดยพลการ ผตู้ ัดสินมีสทิ ธิเขยี นคำาอุทธรณ ์ 12 ค่มู ือฝึกอบรมผูต้ ัดสินกฬี ายิมนาสตกิ

2.1 เสนอต่อหัวหน้าผู้ตัดสิน (Superior Jury) ถ้าเป็นการกระทำาน้ันถูกนำาโดย ผู้ควบคมุ ประจำาอุปกรณ์ หรือ 2.2 เสนอต่อกรรมการรับเรื่องอุทธรณ์ ถ้าเป็นการกระทำาโดยหัวหน้าผู้ตัดสิน (Superior Jury) 3. องคป์ ระกอบของผู้ตดั สินประจ�ำอปุ กรณ์ คณะผูต้ ัดสิน การแข่งขันชิงแชมป์โลก และโอลิมปิกเกมส์ คณะผู้ตัดสินจะประกอบไปด้วย คณะผู้ตัดสิน D และคณะผ้ตู ัดสิน E - ผู้ตัดสิน D จะถูกเลือกจากการจับฉลากโดยคณะกรรมการฝ่ายเทคนิคชุดปัจจุบัน ของ FIG - คณะผู้ตัดสิน E และตำาแหน่งเพิ่มเติม จะถูกจับฉลากเลือกภายใต้คณะกรรมการ เทคนิคท่ีเกยี่ วขอ้ งชดุ ปจั จุบัน หรอื ตามกฎกติกาการแขง่ ขันครงั้ นัน้ - ผู้ตดั สนิ R จะถูกจดั มาให้โดย FIG โครงสรา้ งของผ้ตู ัดสนิ ประจำาอุปกรณ์ในการแข่งขันแตล่ ะระดับจะเปน็ ไปตามนี้ ชงิ แชมปโ์ ลกและโอลิมปกิ เกมส์ ก�รแขง่ ขนั ในระดับน�น�ช�ติ คณะผ้ตู ัดสนิ 9 คน คณะผูต้ ดั สินอยา่ งนอ้ ย 6 คน คณะผู้ตดั สิน D 2 คน คณะผตู้ ัดสิน D 2 คน คณะผู้ตัดสิน E 5 คน คณะผูต้ ัดสิน E 4 คน คณะผตู้ ดั สิน R 2 คน ผู้กา� กับเส้นและผ้จู บั เวลา - ผกู้ าำ กับเสน้ 2 คน ทฟี่ ลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ซส์ - ผู้กำากบั เส้น 1 คน ที่โตะ๊ กระโดด - ผจู้ ับเวลา 1 คน ท่ฟี ลอรเ์ อ็กเซอร์ไซส์ - ผู้จบั เวลา 1 คน ที่ราวคสู่ ำาหรับการอบอุ่นร่างกาย นำารปู แบบคณะผู้ตดั สินไปปรับใชต้ ามความเหมาะสม สำาหรบั ในการแข่งขันระดับนานาชาติ อื่นๆ และสาำ หรับระดบั ชาติรวมทั้งระดับทอ้ งถนิ่ ค่มู ือฝึกอบรมผูต้ ัดสินกฬี ายิมนาสตกิ 13

4. หนา้ ท่ีของผู้ตดั สนิ ประจา� อปุ กรณ์ 4.1 หน้ำท่ีของคณะผตู้ ัดสิน D 4.1.1 คณะผู้ตัดสิน D จะบันทึกรายละเอียดของชุดการแข่งขันในรูปแบบ สัญลักษณ ์ ประเมินผลอสิ ระปราศจากความลำาเอยี งและตัดสินใจรว่ มกัน 4.1.2 คณะผู้ตัดสนิ D ใสค่ ะแนน D ลงในคอมพวิ เตอร์ 4.1.3 รายละเอียดของคะแนน D จะประกอบดว้ ย - ค่าคะแนนของท่าเลน่ (ค่าความยาก) สอดคล้องกับตารางคา่ - ค่าคะแนนการต่อเชื่อม เปน็ ไปตามกฎของแต่ละอปุ กรณ์ - จาำ นวนและคา่ คะแนนความตอ้ งการของกลุ่มท่า หนำ้ ทข่ี องผู้ตัดสิน D1 1. ช่วยเหลือในการประสานงานระหว่างผู้ตัดสินประจำาอุปกรณ์ และผู้ควบคุมประจำา อุปกรณ์ซึ่งผู้ควบคุมประจำาอุปกรณ์จะปรึกษาเม่ือมีความจำาเป็นกับหัวหน้าผู้ตัดสิน ประจำาอปุ กรณ์ 2. ประสานการทาำ งานกบั ผกู้ ำากับเวลา ผู้กาำ กับเสน้ และบรรดาผชู้ ่วย 3. การดาำ เนนิ การแขง่ ขนั ในอปุ กรณใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั ควบคมุ เวลาในการอบอนุ่ รา่ งกาย 4. แสดงสัญญาณไฟเขียวหรือสัญญาณอื่นๆ ที่เห็นชัดเจนแจ้งต่อนักกีฬา ซึ่งนักกีฬา จะต้องการแข่งขนั ภายใน 30 วนิ าที 5. ตรวจสอบว่าได้ตัดคะแนนความผิดพลาดเก่ียวกับเวลา แนวเส้น ความผิด ด้านพฤตกิ รรมจากคะแนนสดุ ทา้ ยกอ่ นแสดงผลคะแนน 6. ตรวจสอบว่าใช้บทโทษถูกตอ้ งแลว้ สาำ หรบั การแสดงท่าชุดสน้ั เกนิ ไป 7. ตรวจสอบว่าได้ใชก้ ารตัดคะแนนดงั ตอ่ ไปนี้ - การแสดงล้มเหลวกอ่ นและหลงั การแข่งขัน - การแสดงทีเ่ ปน็ โมฆะทีโ่ ตะ๊ กระโดดมคี า่ คะแนน เทา่ กับ 0 คะแนน - การช่วยเหลือระหว่างการแข่งขัน โต๊ะกระโดด ท่าแขง่ ขนั และทา่ จบ หนำ้ ที่ของคณะผู้ตัดสนิ D หลังจำกกำรแขง่ ขัน จะส่งรายงานการแขง่ ขันตอ่ ประธานเทคนิคด้วยขอ้ มลู ต่อไปนี้ 1. รวบรวมรายการฝา่ ฝืนระเบียบ การตดั สินใจท่ีไม่ชดั เจนและคลุมเครือกับจำานวนและชื่อของนกั กฬี า 2. รายละเอียดของการแข่งขันทั้งหมดต่อประธานคณะกรรมการเทคนิคชายและ คณะกรรมการผคู้ วบคมุ ประจาำ อปุ กรณ ์ หนง่ึ ในภาษาทเ่ี ปน็ ทางการของ FIG. ภายใน สองเดอื น 14 คูม่ ือฝกึ อบรมผตู้ ัดสนิ กฬี ายิมนาสตกิ

4.2 หนำ้ ท่ีของคณะผูต้ ดั สนิ E 4.2.1 คณะผตู้ ดั สนิ E จะตอ้ งตง้ั ใจดทู า่ ชดุ แขง่ ขนั ประเมนิ ความผดิ พลาด มอี สิ ระ ในการตัดคะแนนอย่างถูกต้อง ปราศจากการปรึกษาหารือกับผู้ตัดสิน คนอ่ืนๆ 4.2.2 คณะผตู้ ัดสนิ E จะตอ้ งบันทึกการตดั คะแนน สำาหรับความล้มเหลวทวั่ ไป ความผิดพลาดองค์ประกอบด้านเทคนิค ความผิดพลาดด้านตำาแหน่ง และทา่ ทาง 4.2.3 จะต้องเขยี นการตดั คะแนนในใบคะแนนหรอื บันทึกลงในคอมพวิ เตอร์ 4.2.4 จะต้องสามารถเขียนบันทึกผลการประเมินคะแนนทั้งหมดของท่าชุด การแข่งขนั 4.3 หน้ำท่ขี องคณะผตู้ ดั สิน R (Reference Judges) ผตู้ ัดสิน R (อุปกรณ์ละ 2 คน) สำาหรบั การแข่งขนั กีฬาโอลมิ ปกิ และชิงแชมปโ์ ลก ทำาหนา้ ท่ใี ห้คำาแนะนำา และแก้ไขในกรณีทีม่ ีปญั หาเกยี่ วกับคะแนนความสมบูรณ์ของท่า 5. หนำ้ ท่ีของผู้จบั เวลำ ผกู้ �ำกับเสน้ และผู้ช่วย 5.1 ผู้จับเวลำและผูก้ �ำกบั เส้น ผจู้ บั เวลาและผกู้ าำ กบั เสน้ ถกู จบั ฉลากมาจากผตู้ ดั สนิ ทม่ี ใี บอนญุ าต (Brevet) ไดแ้ ก่ ผ้กู �ำกับเสน้ - ตดั สนิ การออกนอกเขตแนวเสน้ ฟลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ซสแ์ ละโตะ๊ กระโดด และเขยี น บนั ทกึ รายงานตามความเหมาะสม รวมทงั้ รวู้ า่ จะยกธงแดงเมอื่ เกดิ การผดิ พลาด - เขียนบนั ทึกผลทุกๆ ความผิดพลาดพร้อมลงลายมอื ชือ่ เสนอตอ่ ผู้ตัดสนิ D1 ผูจ้ ับเวลำ ต้องการดงั น้ี - จับเวลาระหวา่ งการแข่งขนั ฟลอร์เอ็กเซอรไ์ ซส์ - ควบคุมเวลาการอบอนุ่ รา่ งกายท่รี าวคู่ - ใหส้ ญั ญาณตอ่ นกั กฬี าทแี่ ขง่ ขนั ฟลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ซส ์ ในเวลาท ่ี 60 และ 70 วนิ าที - รายงานทุกๆ ความผิดพลาดผู้ตัดสนิ D1 และตัดคะแนนพร้อมลงลายมอื ชอ่ื และเขยี นบันทึกรายงานตามความเหมาะสม - สาำ หรบั การฝา่ ฝนื เกย่ี วกบั เวลาทไ่ี มแ่ สดงในคอมพวิ เตอร์ ผกู้ าำ กบั เวลาตอ้ งบนั ทกึ เวลาที่เกนิ และเวลาทก่ี ำาหนดอย่างแม่นยาำ คู่มอื ฝึกอบรมผู้ตดั สนิ กีฬายมิ นาสตกิ 15

คำ� ปฏญิ ำณตนของผตู้ ัดสิน ในการแข่งขันยิมนาสติกชิงแชมป์โลก และรายการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำาคัญอื่นๆ คณะกรรมการและผู้ตดั สนิ จะตอ้ งทาำ การสาบานตนดังนี้ “ในนามของผตู้ ดั สนิ และเจา้ หนา้ ท ี่ ขา้ สญั ญาวา่ จะปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นการแขง่ ขนั ครง้ั นดี้ ว้ ยความ ถูกตอ้ งบรสิ ุทธยิ์ ตุ ธิ รรม ด้วยจิตวิญญาณของความมนี ้าำ ใจเปน็ นักกีฬา” บทบำทหน้ำที่ของผตู้ ัดสนิ กีฬำยมิ นำสติกศลิ ป์หญิง 1. หน้ำทรี่ บั ผดิ ชอบของผตู้ ดั สนิ ผู้ตัดสินทุกคนเป็นผู้รับผิดชอบคะแนนของตนเอง สมาชิกของผู้ควบคุมอุปกรณ์ทุกคน มีหนา้ ที่รับผิดชอบต่อ 1.1 มีความรอบรูเ้ กยี่ วกับ - ระเบยี บข้อบังคับทางเทคนิคของ FIG - กตกิ าการตดั สนิ สำาหรบั ยิมนาสตกิ ศลิ ป์หญิง - กติกาสาำ หรับการตัดสนิ ยิมนาสตกิ ศลิ ป์หญิงของ FIG - ขอ้ แนะนาำ ทางเทคนคิ อน่ื ๆ ทจ่ี าำ เปน็ ใหน้ าำ ตดิ ตวั ไปในขณะปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ ะหวา่ ง การแขง่ ขนั 1.2 มบี ตั รประจาำ ตวั ผตู้ ัดสินตามรอบที่กาำ หนดล่าสดุ และสมดุ ประจาำ ตัวผู้ตัดสิน 1.3 มกี ารจัดอนั ดบั (Category) สำาหรับระดับการแขง่ ขันในการลงตัดสิน 1.4 มคี วามรูก้ วา้ งขวางในกีฬายมิ นาสตกิ ทีท่ ันสมัย เขา้ ใจในเจตนา และวัตถุประสงค ์ ในการตคี วามและการประยกุ ต์ใชข้ องแต่ละกฎกติกา 1.5 เข้าร่วมประชุมตามคำาสั่งทุกกำาหนดการและประชุมผู้ตัดสินก่อนการแข่งขัน ในแตล่ ะประเภท 1.6 ใหย้ ดึ ถอื ปฏบิ ตั ติ ามคาำ สง่ั ของหวั หนา้ เกย่ี วกบั ระบบพเิ ศษหรอื คาำ แนะนาำ เกย่ี วกบั การตัดสิน (เชน่ คาำ แนะนำาในการใช้ระบบการใหค้ ะแนน) 1.7 เข้าร่วมดูการฝึกซ้อมของนักกีฬาบนเวทีแข่งขัน (เป็นข้อบังคับสำาหรับผู้ตัดสิน ทุกคน) 1.8 เตรยี มตัวอยา่ งละเอยี ดรอบคอบบนทกุ อปุ กรณ์ 1.9 สามารถทาำ หนา้ ท่ีในการใช้เครอ่ื งมือทีจ่ ำาเป็นไดห้ ลายประเภท รวมท้งั - ความตอ้ งการในการใชใ้ บบันทึกคะแนนในการแขง่ ขนั ได้อยา่ งถูกตอ้ ง - ความจำาเปน็ ในการใชค้ อมพิวเตอร์หรอื อุปกรณ์เครอ่ื งมอื ตา่ งๆ 16 คูม่ ือฝกึ อบรมผูต้ ัดสินกฬี ายิมนาสติก

- ทำาใหก้ ารแข่งขนั ดำาเนินไปสะดวกข้นึ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ - การตดิ ต่อสือ่ สารกับผ้ตู ัดสนิ คนอื่นๆ อย่างมีประสทิ ธิผล 1.10 การเตรียมตัวเป็นอย่างดี การหยุดชั่วขณะ ตื่นตัวและตรงต่อเวลา แสดงตน กอ่ นการแขง่ ขนั เรม่ิ ขน้ึ อยา่ งนอ้ ย 1 ชวั่ โมง หรอื ทาำ ตามคาำ แนะนาำ จากหนงั สอื คมู่ อื 1.11 สวมชุดตัดสินท่ี FIG กำาหนดให้ (สูทสีกรมท่า – กระโปรงหรือกางเกงสีกรมท่า และเส้ือสีขาว) ยกเว้นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเคร่ืองแบบตัดสินเจ้าภาพเป็น ผูจ้ ัดเตรียมไวใ้ ห้ ระหวำ่ งกำรแขง่ ขันผตู้ ัดสนิ จะต้อง 1. ประพฤติตนให้เป็นที่น่าเชื่อถือตลอดเวลาและเป็นตัวอย่างในการประพฤติตน ตามจรรยาบรรณผูต้ ดั สนิ ไม่มีพรรคพวก 2. ปฏิบตั ิหน้าทใี่ ห้ครบถว้ น ถูกตอ้ งตามท่รี ะบไุ ว้ในหน้าทข่ี องกรรมการผตู้ ัดสิน 3. การประเมนิ คา่ ทา่ ชดุ การแสดงแตล่ ะชดุ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยาำ อยา่ งสอดคลอ้ งกนั อยา่ งรวดเรว็ อย่างไม่ลำาเอียงและอย่างยุติธรรม และเมื่อมีข้อสงสัยให้ผลประโยชน์ของข้อสงสัย แกน่ กั กฬี า 4. ใช้ใบบนั ทึกสัญลกั ษณ ์ และบันทกึ คะแนนเป็นรายบคุ คล 5. ไม่ลุกจากท่ีน่ังผู้ตัดสิน (ยกเว้นได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน D1) และงดการติดต่อ หรือ รว่ มถกเถยี งปัญหากบั นักกฬี า ผ้ฝู ึกสอน หัวหน้าคณะนักกีฬา หรอื กรรมการ ผู้ตัดสิน คนอืน่ ๆ บทลงโทษสาำ หรบั การประเมนิ ค่าและพฤติกรรมไม่เหมาะสมสาำ หรับผ้ตู ัดสินซงึ่ จะสอดคล้อง กับกฎกติกาของผู้ตัดสิน FIG ฉบับล่าสุดและ/หรือระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคท่ีประยุกต์ใช้ ในการแข่งขัน 2. สทิ ธขิ องผู้ตดั สนิ ในกรณีที่มีการแทรกแซงโดยผู้ควบคุมอุปกรณ์ ผู้ตัดสินมีสิทธิ์ที่จะอธิบายการให้คะแนน ของตนเองและเหน็ ดว้ ย(หรอื ไม่เหน็ ดว้ ย) ในการเปล่ยี นคะแนน ในกรณีที่ไม่เห็นด้วย ผู้ตัดสินอาจจะถูกปฏิเสธโดย ผู้ควบคุมการแข่งขัน และแจ้งให้ ทาำ ตามในกรณที ่ีกระทำาแบบเผด็จการขัดแย้งกบั การตัดสนิ ผตู้ ัดสนิ มีสทิ ธิ์ทจี่ ะยื่นอุทธรณ์ ต่อ - ผู้ควบคุมการแข่งขนั ถ้าข้อกลา่ วหาน้ันมีตน้ เหตมุ าจาก ผคู้ วบคุมอุปกรณ์ หรอื - คณะกรรมการอทุ ธรณ์ ถา้ ข้อกล่าวหานน้ั มตี ้นเหตมุ าจาก ผ้คู วบคุมการแขง่ ขนั คมู่ ือฝกึ อบรมผู้ตัดสนิ กีฬายิมนาสติก 17

3. องคป์ ระกอบของกรรมกำรอุปกรณ์ กรรมกำรอปุ กรณ์ (คณะกรรมกำรตัดสิน) สำาหรับการแข่งขันท่ีจัดโดย FIG ชิงแชมป์โลก และกีฬาโอลิมปิก กรรมการอุปกรณ์ ประกอบด้วย กรรมการการตดั สิน D (คา่ ความยาก) กรรมการการตัดสนิ E (การกระทาำ ) และกรรมการ การตัดสิน R (การอ้างอิง) - กรรมการการตดั สนิ D ไดจ้ ากการจบั ฉลากและกาำ หนดตวั โดยคณะกรรมการเทคนคิ ตามระเบยี บขอ้ บังคับทางเทคนิคของ FIG ฉบบั ล่าสดุ - กรรมการการตัดสิน E และตำาแหน่งเพิ่มเติมจะถูกจับฉลากโดยองค์กรของ คณะกรรมการเทคนคิ ตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ทางเทคนคิ ของ FIG ฉบบั ลา่ สดุ หรอื กฎขอ้ บงั คบั ในการตดั สนิ ที่ควบคุมการแข่งขันนนั้ ๆ - กรรมการการตดั สนิ R ถกู กาำ หนดตวั โดย ประธานของ FIG โครงสรำ้ งของผู้ควบคมุ อุปกรณ์สำ� หรบั กำรแขง่ ขนั ประเภทต่ำงๆ ก�รแขง่ ขันชงิ แชมป์โลกและโอลิมปกิ ก�รแข่งขนั น�น�ช�ติ กรรมก�รผู้ตดั สิน 9 คน อย�่ งน้อยกรรมก�รผตู้ ัดสนิ 6 คน กรรมการ D 2 คน กรรมการ D 2 คน กรรมการ E 5 คน กรรมการ E 4 คน กรรมการ R 2 คน ผู้ตดั สินเส้นและเวลำ • ผูต้ ัดสนิ เสน้ 2 คนสำาหรบั ฟลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ซส์ • ผตู้ ัดสินเสน้ 1 คนสำาหรับโต๊ะกระโดด • ผู้จบั เวลา 1 คนสำาหรับฟลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ซส์ • ผจู้ ับเวลา 1 คนสาำ หรบั บาร์ต่างระดับ • ผจู้ บั เวลา 2 คนสำาหรับคานทรงตวั ความเป็นไปได้ในการเปลย่ี นแปลงกรรมการผตู้ ัดสินสาำ หรบั การแขง่ ขนั นานาชาตอิ ่นื ๆ และการแขง่ ขนั และการแขง่ ขันภายในประเทศ 18 คู่มอื ฝกึ อบรมผู้ตดั สินกฬี ายิมนาสตกิ

4. หนำ้ ท่ีของกรรมกำรอุปกรณ์ 4.1 หนำ้ ท่ีของกรรมกำร D 1) กรรมการผู้ตดั สนิ D บนั ทกึ รายการสิ่งที่มีอยูโ่ ดยตลอดในรปู แบบสญั ลักษณ ์ ประเมินค่าอย่างอิสระ ปราศจากความลำาเอียงและจากน้ันร่วมกันตรวจสอบคะแนน D อนุญาตให้ ถกเถยี งปญั หากนั ได้ 2) ผตู้ ดั สิน D2 ใสค่ ะแนน D ลงในคอมพวิ เตอร์ 3) ในกรณีที่เกิดความไม่เห็นด้วยระหว่างผู้ตัดสิน D1 และ D2 ผู้ตัดสิน D1 จะเชญิ ผูค้ วบคุมดูแลอุปกรณเ์ พื่อให้คำาปรกึ ษา 4) คะแนน D ประกอบด้วย - คา่ คะแนนความยาก - ค่าคะแนนการต่อเชื่อม มีรากฐานจากกติกาโดยเฉพาะสำาหรับแต่ละ อุปกรณ์ - ความตอ้ งการในการประกอบทา่ 5) กรรมการ D ในโต๊ะกระโดดต้องแน่ใจ ยึดม่ันในความถูกต้องของเวลา ในการอบอุ่นรา่ งกาย หนำ้ ทีข่ องผตู้ ัดสนิ D1 1) บรกิ ารตดิ ต่อประสานงานระหว่างกรรมการอปุ กรณ์และผู้ควบคุมอปุ กรณ ์ 2) ทาำ งานไปพร้อมกันกบั ผูต้ ัดสินเวลาและผตู้ ัดสนิ เสน้ และเลขาฯ 3) ให้แนใ่ จว่าการดำาเนนิ งานในอปุ กรณ์มีประสทิ ธิผลรวมท้ังควบคุมเวลาอบอุ่นร่างกาย 4) ให้สัญญาณไฟเขียวหรือแจ้งสัญญาณอ่ืนๆให้นักกีฬาได้เห็นชัดเจน นักกีฬาจะต้อง เรมิ่ แสดงท่าชุดภายใน 30 วนิ าที 5) ให้แน่ใจว่าการตัดคะแนนกลางสำาหรับเวลา เส้น ความผิดพลาดด้านพฤติกรรมได้ ถกู นำาไปตดั จากคะแนนสุดทา้ ยก่อนจะแจง้ คะแนน 6) ใหแ้ นใ่ จวา่ ขัน้ ตอนสาำ หรบั ทา่ ชุดส้ันถกู นำามาประยกุ ตใ์ ช้ได้อย่างถกู ต้อง 7) ใหแ้ น่ใจวา่ การตดั คะแนนตอ่ ไปน้ไี ด้ถูกนำามาประยุกตใ์ ชส้ าำ หรบั - ความผดิ พลาดในการแสดงตนก่อนและหลังการแสดงทา่ ชุด - การกระทำาทา่ ท่ไี ม่มคี ่าคะแนนทีโ่ ต๊ะกระโดด “0” - ช่วยเหลือระหวา่ ง โต๊ะกระโดด การแสดงทา่ ชุดและท่าจบ ค่มู อื ฝึกอบรมผตู้ ัดสินกีฬายมิ นาสตกิ 19

หน้ำท่ีของกรรมกำร D หลงั กำรแข่งขัน จะตอ้ งเขียนรายงานการแขง่ ขนั นำาเสนอต่อประธาน WTC โดยตรง ด้วยรปู แบบตอ่ ไปนี้ - แบบรายการการฝ่าฝืน ข้อความคลุมเครือ และแบบสอบถามการตัดสิน มีหมายเลข และช่ือของนกั กฬี า - เขียนลงใบบันทึกสัญลักษณ์ท่ีจะนำามาใช้เป็นประโยชน์ได้ระหว่างการพิจารณา และนาำ ใบบนั ทกึ สญั ลกั ษณเ์ สนอตอ่ ผู้ควบคมุ อุปกรณเ์ ม่ือสิน้ สุดการแข่งขัน 4.2 หน้ำท่ีของกรรมกำร E 1) จะต้องสังเกตท่าชุดการแสดงอย่างต้ังใจและประเมินความผิดพลาด และนำาไปใช้ กับการตัดคะแนนที่คล้ายกันได้อย่างถูกต้อง อย่างเป็นอิสระ และปราศจากการปรึกษากับผู้ตัดสินคน อืน่ ๆ 2) จะต้องรายงานการตดั คะแนนสาำ หรบั • ความผิดทัว่ ไป • ความผิดพลาดจากการกระทาำ เฉพาะอปุ กรณ์ • ความผดิ ด้านศิลปะ 3) จะตอ้ งเขยี นใบบนั ทกึ คะแนนใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ ์ พรอ้ มเซน็ ชอ่ื รบั รองหรอื ใสค่ ะแนน ที่ตัดได้ลงในคอมพวิ เตอร์ 4) จะต้องเขียนบันทึกการประเมินค่าของท่าชุดการแสดงทั้งหมดจัดเตรียมเป็น รายบคุ คล (การตดั คะแนนการกระทาำ และดา้ นศลิ ปะ) 4.3 หน้ำทีข่ องผตู้ ัดสิน R ผูต้ ดั สนิ R สำาหรบั การแข่งโอลมิ ปิกและชงิ แชมปโ์ ลก จะถกู แนะนาำ โดยระบบอตั โนมตั ิและ เปน็ การประหยดั เวลา ในกรณที ่ีคะแนนการกระทาำ และคะแนนศิลปะการแสดงมปี ัญหา ในแตล่ ะคณะกรรมการจะมผี ตู้ ดั สนิ R 2 คน ผตู้ ดั สนิ R จะถกู ใช้ในการแขง่ ขนั ท่ีจดั โดย FIG ท้งั หมด สว่ นการแขง่ ขนั อนื่ ๆ อาจใช้ผูต้ ัดสิน R แต่ไม่บังคบั 20 ค่มู ือฝกึ อบรมผู้ตัดสินกีฬายมิ นาสติก

5. หน้ำที่ของผ้ตู ัดสนิ เวลำและเส้นและเลขำฯ 5.1 หน้ำท่ขี องผู้ตัดสินเวลำและเสน้ ผู้ตัดสินเวลาและเส้นถูกจับฉลากมาจากผู้ตัดสินที่มีบัตรประจำาตัว เพื่อปฏิบัติหน้าที่ ดงั นี้ ผูต้ ดั สินเสน้ • ตรวจสอบการกา้ วขาออกนอกเสน้ ฟลอรเ์ อก็ เซอรไ์ ซสแ์ ละโตะ๊ กระโดดและมคี วามรเู้ กย่ี ว กบั ความผดิ โดยยกธงขนึ้ • แจ้งผู้ตัดสิน D1 เกี่ยวกับการละเมิดและการตัดคะแนนต่างๆ ลงช่ือและเขียนบันทึก ในใบทจ่ี ดั เตรียมให้นาำ เสนอ ผตู้ ัดสินเวลำ มีความตอ้ งการส่งิ ต่อไปน้ี • ระยะเวลาของท่าชดุ การแสดง (ฟลอร์เอก็ เซอรไ์ ซสแ์ ละคานทรงตวั ) • ระยะเวลาของชว่ งการตก (คานทรงตัวและบาร์ต่างระดับ) • ระยะเวลาระหว่างสัญญาณไฟเขียวและการเริม่ ต้นของท่าชุดการแสดง • แน่ใจว่าเวลาการอบอุ่นร่างกายเช่ือถือได้ (สำาหรับการเชื่อถือไม่ได้ เขียนบันทึก ให้กรรมการ D) • ให้สัญญาณทไี่ ดย้ ินชดั เจนกับนักกฬี าและกรรมการ D (คานทรงตัว) • แจ้งผู้ตัดสิน D1 เก่ียวกับการละเมิดและการตัดคะแนนต่างๆ ลงช่ือและเขียนบันทึก ในใบทจ่ี ดั เตรยี มให้นาำ เสนอ • การฝา่ ฝืนเร่ืองเวลาทไี่ ม่ไดล้ งในคอมพวิ เตอร ์ ผตู้ ัดสนิ เวลาจะต้องบันทึกเวลาท่ีเกนิ กวา่ เวลาท่กี ำาหนด ค�ำปฏิญำณตนของผู้ตดั สิน ในการแขง่ ขนั ชงิ แชมปโ์ ลกและการแขง่ ขนั นานาชาตอิ น่ื ๆ คณะกรรมการและผตู้ ดั สนิ จะตอ้ ง เขา้ รว่ มพธิ ีปฏิญาณตนโดยพร้อมเพรยี งกนั ดงั น้ี “ในนามของผู้ตัดสินและเจ้าหน้าท่ีทุกคน ข้าขอสัญญาว่า จะปฏิบัติหน้าท่ีในการแข่งขัน ชงิ แชมป์โลก (หรอื การแขง่ ขนั อ่ืน ๆ ที ่ FIG รบั รอง) อยา่ งถูกต้องเท่ียงตรง เคารพและปฏิบัติตามกตกิ า ทกี่ าำ หนดไว ้ ด้วยน้าำ ใจของนักกฬี าอย่างแท้จรงิ ” คมู่ อื ฝกึ อบรมผตู้ ัดสนิ กฬี ายิมนาสตกิ 21

บทท่ี 1 ทที่ 3 บ จิตวทิ ย�สำ�หรบั ผู้ตัดสินกฬี �ยิมน�สตกิ ผตู้ ดั สินกีฬายิมนาสติก คือ ผทู้ าำ หนา้ ทีต่ ัดสนิ และควบคุมการแขง่ ขนั กีฬายมิ นาสตกิ ให้เป็น ไปอย่างถูกต้อง ยุติธรรม และมีประสิทธิภาพสูง ในสถานการณ์ของการตัดสิน ผู้ตัดสินจะเผชิญกับ สงิ่ แวดลอ้ มทที่ าำ ใหเ้ กดิ ความเครยี ดและความกดดนั หลากหลายจากการแขง่ ขนั ผตู้ ดั สนิ จะตอ้ งสามารถ ควบคุมเกมการแข่งขัน ให้ดำาเนินไปได้ด้วยความเรียบร้อย จึงต้องฝึกควบคุมอารมณ์ให้มั่นคง และสามารถตัดสินใจแก้ปัญหาได้ในทุกสถานการณ์การแข่งขัน ผู้ตัดสินกีฬาจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับ จิตวิทยาการกีฬาเพ่ือสามารถนาำ มาใช้ให้เป็นประโยชนใ์ นการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ตามหลักจิตวิทยาหรือตามหลักการโดยทั่วไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นผู้เข้าแข่งขันท้ังสองฝ่าย หรือผู้ดูท่ัวสนามก็ตาม ต่างก็คอยจับตามองตลอดเวลาว่าใครจะมาเป็นผู้ตัดสินในคู่ท่ีแต่ละคน ให้ความสนใจหรือมีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ด้วยความกระวนกระวายใจ ทั้งนี้รวมถึงตัวผู้ฝึกสอนของทั้งสอง ฝ่ายด้วย ฉะน้ัน ผู้ตัดสินไม่ควรแสดงออกในอาการท่ีทำาให้คนอื่นมองเห็นแล้วหมดศรัทธา ผู้ตัดสิน จะต้องประพฤติปฏิบัติกิริยาที่สำารวม เรียบร้อย การวางตนที่เหมาะสม เมื่อมีผู้พบเห็นจะบังเกิด ความศรทั ธาประทับใจ ความวติ กกงั วลและการควบคุม โดยทว่ั ไป ความวติ กกงั วล (Anxiety) หมายถงึ ความรสู้ กึ กลวั ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการคาดเหตกุ ารณ์ ล่วงหนา้ วา่ จะผิดหวงั ล้มเหลว หรอื เปน็ อันตราย ทุกคนคงจะมีประสบการณ์เกี่ยวกับความวิตกกังวลในการสอบไล่ การสอบสัมภาษณ์ เข้าทำางาน การพบปะบุคคลสำาคัญ การกล่าวสุนทรพจน์ หรือการเล่นกีฬาในการแข่งขันที่สำาคัญ บางคนมีความวิตกกังวลสูงมาก จะมีอาการนอนไม่หลับ ต้องรับประทานยานอนหลับเพื่อให้ร่างกาย พักผ่อน บางคนทนต่อความรู้สึกวิตกกังวลไม่ได้ ความวิตกกังวลสูงจะมีผลระยะส้ัน ทำาให้การแสดง ความสามารถของผู้ตัดสินตำ่ากว่ามาตรฐาน และมีผลก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายและจิตใจ ในระยะยาว อาการตอบสนองทางร่างกายและจติ ใจตอ่ ความวิตกกังวล แมว้ า่ จะเกดิ ความวติ กกงั วลขน้ึ ในสถานการณท์ แ่ี ตกตา่ งกนั คนเราจะมอี าการคลา้ ยคลงึ กนั ทีแ่ สดงวา่ เกดิ ความวติ กกังวลข้นึ อาการทางร่างกาย ได้แก่ - กล้ามเนื้อตึงเครยี ด - เหน่ือย 22 คมู่ อื ฝกึ อบรมผตู้ ดั สินกีฬายมิ นาสตกิ

- กระสบั กระสา่ ย - ปากแหง้ - หนาว - มือและเท้าเยน็ - ตอ้ งการปัสสาวะ - ตาพรา่ - กล้ามเน้ือสนั่ และกระตกุ - หน้าแดง - เสียงสน่ั - ทอ้ งกระอักกระอว่ นและอาเจียน - หายใจลึกและถ่ี - อตั ราการเตน้ ของหวั ใจเพ่ิมข้ึน อาการทางจิต ได้แก่ - รูส้ กึ สับสน - ลมื รายละเอยี ด - ขาดสมาธิ - ใชน้ ิสัยเดมิ - ลงั เลใจ ชนดิ ของความวติ กกงั วล โดยปกติ คนเราจะมคี วามวิตกกังวลอยู่ 2 ชนดิ ดว้ ยกัน คือ 1. ความวติ กกงั วลซงึ่ เปน็ ลักษณะประจำ� ตวั ของบุคคล (Trait Anxiety) ความวิตกกังวลชนิดน้ีมีลักษณะค่อนข้างถาวร ไม่ว่าจะท�ำกิจกรรมใดๆ ก็จะเกิด ความวิตกกังวลอยู่เสมอ ผู้ที่มีความวิตกกังวลชนิดนี้มักจะเป็นบุคคลท่ีมีความหวังสูงและรู้สึกกลัว ท่ีจะผดิ หวัง 2. ความวิตกกงั วลตามสถานการณ์ (State Anxiety) เป็นความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นตามสถานการณ์ ถ้าสถานการณ์มีความส�ำคัญมาก เช่น การตดั สนิ การแขง่ ขนั ระดบั นานาชาติ กจ็ ะมคี วามวติ กกงั วลสงู แตถ่ า้ สถานการณไ์ มส่ ำ� คญั หรอื กจ็ ะเกดิ ความวิตกกังวลต่ำ� เปน็ ตน้ การควบคมุ ความวิตกกังวล เพ่ือให้มีความวิตกกังวลที่เหมาะสม ผู้ตัดสินควรจะรู้วิธีควบคุมความวิตกกังวลซ่ึงมีวิธีการ ดงั ต่อไปนี้ คมู่ ือฝึกอบรมผูต้ ัดสินกฬี ายมิ นาสติก 23

1. วธิ กี ำรแบบง่ำย (Simple Method) ก. วิธีการทางร่างกาย 1) การออกกำาลังกายเคลื่อนไหวเปน็ จังหวะ 2) การออกกำาลังกายเพิม่ ชว่ ง 3) การหายใจลกึ ๆ ข. วธิ ีการทางจิตใจ 1) การยอมรับ 2) การเบย่ี งเบนความคิด 3) การคิดในทางที่ดี 4) การหัวเราะ 2. วธิ กี ำรผ่อนคลำยกล้ำมเน้อื (Muscle Relaxation Method) เปน็ การผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ต่อเนือ่ งกันจากกลุม่ หนงึ่ ไปยังอีกกลมุ่ อ่นื ๆ โดยการฝึกการรับรู้ ความแตกต่างระหว่างความเครียดและความผ่อนคลายของกล้ามเนื้อเหล่าน้ัน โดยการผ่อนคลาย กล้ามเน้อื แตล่ ะส่วนจะมีผลทาำ ใหจ้ ิตใจรสู้ ึกผอ่ นคลายดว้ ย 2.1 ประโยชนข์ องการผ่อนคลายกล้ามเนอ้ื 2.1.1 ช่วยลดความวติ กกังวล 2.1.2 ชว่ ยใหก้ ารฟ้นื ตวั ได้เร็ว 2.1.3 ช่วยประหยดั พลังงาน 2.1.4 ช่วยทาำ ใหน้ อนหลบั 2.1.5 ช่วยขจัดความเครียดจากกลา้ มเนือ้ 2.2 ขั้นตอนการฝึกผอ่ นคลายกลา้ มเน้ือ 2.2.1 กระทาำ ตอ่ เนือ่ งจากกล้ามเนื้อกลุ่มหน่งึ ไปยังกลมุ่ อื่นๆ 2.2.2 ทำาใหก้ ล้ามเนอ้ื เครียด และรับรคู้ วามเครยี ด 2.2.3 ผ่อนคลายความเครียดทเ่ี กดิ ขนึ้ และรบั รคู้ วามผอ่ นคลาย 2.2.4 รบั รู้ความแตกตา่ งระหวา่ งความเครียดและความผอ่ นคลาย 2.2.5 เมื่อฝึกจนสามารถรับรู้ความเครียดระดับต่างๆ ได้แล้ว ให้เข้าสู่สภาวะ การผ่อนคลายไดเ้ ลย 2.3 ขน้ั ตอนการฝกึ การผอ่ นคลายกล้ามเนอื้ 2.3.1 ขยายเครอ่ื งแตง่ กายท่ีรัดแนน่ 2.3.2 ถอดรองเทา้ 2.3.3 ถอดคอนแทคเลนส์ 2.3.4 นัง่ อยู่ในท่าสบาย 24 ค่มู อื ฝกึ อบรมผตู้ ัดสินกฬี ายิมนาสติก

3. วิธกี ำรฝกึ สมำธ ิ (Meditation Method) ในสถานการณ์ที่ฝึกสมาธิ จะสามารถลดความวติ กกงั วลใหอ้ ยู่ในระดบั เหมาะสม ซง่ึ จะ เป็นผลให้แสดงความสามารถได้สูงสุด นอกจากนี้ยังช่วยให้มีสมาธิในการตัดสิน ช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และช่วยใหน้ อนหลบั พกั ผ่อนอย่างเต็มท่ี ในทนี่ จ้ี ะบอกกล่าวถงึ การฝกึ สมาธิตามแนวตา่ งๆ เพียง 2 แบบฝึก และแบบฝกึ ทน่ี ำามา ใชน้ กี้ เ็ ปน็ การยอ่ มาจากการปฏบิ ตั ทิ สี่ มบรู ณ์ รายละเอยี ดนอกจากนจี้ ะหาไดจ้ ากเอกสารอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง แบบฝึกท่ ี 1 การกำาหนดลมหายใจ แบบฝกึ นีเ้ ปน็ การฝกึ สมาธิตามแนวอานาปานสต ิ ซ่ึงมีวิธีการฝึก ดังน้ี 1. นั่งวางมือขวาทับมือซ้ายไว้บนหน้าตัก ให้ปลายนิ้วหัวแม่มือท้ังสองชนกัน ตัวตรง ไมเ่ อียงไปมา หลับตา 2. กาำ หนดลมหายใจเขา้ ออก สดู ลมหายใจเข้าลกึ ๆ และหายใจออกลึกๆ 3. ให้มีสติอยู่ท่ีลมหายใจ หายใจเข้าก็รู้ หายใจออกก็รู้ โดยใช้ความรู้สึกที่ปลายจมูก หรอื ริมฝปี าก 4. ทาำ เป็นเวลา 5 นาที แบบฝึกที่ 2 การกำาหนดเครื่องหมาย แบบฝึกน้เี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการฝึกสมาธิตามแนวพระธรรมกาย ซึ่งมวี ธิ กี ารฝึกตอ่ ไปนี้ 1. นงั่ มอื ขวาทบั มือซา้ ยไว้บนหน้าตกั ให้ปลายนิ้วหัวแม่มอื ทง้ั สองชนกนั ตัวตรงไม่เอยี ง ไปเอียงมา หลับตา 2. กำาหนดเครื่องหมายเปน็ ลูกแก้วใสเท่าตาดาำ ของคนขึ้นในใจ 3. สร้างภาพในใจของตนเอง ตงั้ แต่สะดอื ขึ้นมา 4. สรา้ งภาพในใจชอ่ งวา่ งกลางลำาตวั ตัง้ แตส่ ะดือขึ้นมา 5. กำาหนดใหล้ กู แก้วอยูใ่ นช่องกลางลำาตัว ณ ท่ีจดุ สูงกว่าสะดอื 2 น้ิว 6. เพง่ สติอยทู่ ี่ลูกแกว้ ตรงจดุ น้นั 7. ทำาเปน็ เวลา 5 นาที วิธีการควบคุมความวิตกกังวลท้ังสามวิธีที่กล่าวมาแล้วน้ี ต้องฝึกหัดทำาเป็นประจำา จะช่วยให้ท่านทำาได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ตรงกันข้าม ถ้าท่านหยุดละเว้นการฝึกหัดก็จะเกิด การลืมไดเ้ ช่นเดยี วกนั แรงจูงใจ (Motive) แรงจงู ใจ (Motive) หมายถงึ สงิ่ กระตุ้นใหบ้ ุคคลแสดงพฤตกิ รรมไปสู่เป้าหมาย การจูงใจ (Motivation) หมายถึง กระบวนการท่ีบุคคลถูกกระตุ้นให้แสดงพฤติกรรม ไปสู่เปา้ หมาย ค่มู ือฝกึ อบรมผ้ตู ัดสินกีฬายิมนาสติก 25

อทิ ธพิ ลของแรงจูงใจ แรงจงู ใจมีอทิ ธิพลตอ่ พฤตกิ รรมของบุคคลดงั ต่อไปนี้ 1. การเลอื กกจิ กรรม เมอื่ บคุ คลมแี รงจงู ใจตอ่ กจิ กรรมหนงึ่ เขาจะเลอื กกระทาำ กจิ กรรมนนั้ จากหลายๆ กิจกรรมทม่ี อี ยู่ 2. การยนื หยดั ตอ่ กจิ กรรม บคุ คลจะมคี วามสนใจตอ่ กจิ กรรมนน้ั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลานาน 3. การทมุ่ เทความพยายาม แรงจงู ใจทส่ี งู จะทาำ ใหบ้ คุ คลทมุ่ เทความพยายามเพอ่ื ทจ่ี ะพฒั นา ความร้แู ละทกั ษะในกจิ กรรมน้ัน 4. ระดับการแสดงความสามารถ แรงจูงใจภายในบุคคลในขณะที่แสดงความสามารถ จะมอี ทิ ธิพลตอ่ คณุ ภาพของกจิ กรรมท่ีเขากระทำา ชนิดของแรงจูงใจ แรงจงู ใจอาจแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คือ 1. แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) หมายถงึ แรงจงู ใจทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในตวั ของบคุ คล การท่ีบุคคลกระทำาสิ่งหน่ึงเพื่อตนเอง เกิดจากแรงจูงใจภายใน เช่น การเรียนหนังสือเพ่ือความรู้ การเข้าร่วมการเล่นกีฬาเพ่ือความสนุกสนาน ความพึงพอใจ การพัฒนาทักษะของตนเอง สุขภาพ การลดน้าำ หนกั ความสมบูรณ์ทางกาย การทา้ ทายตนเอง การประสบความสาำ เร็จแห่งตน และอื่นๆ 2. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) หมายถึง แรงจูงใจท่เี กิดข้ึนจากภายนอก การทบี่ คุ คลพยายามทาำ กจิ กรรมหนง่ึ เพอ่ื สงิ่ ของทจี่ ะไดร้ บั จากการกระทาำ นนั้ เกดิ จากแรงจงู ใจภายนอก เช่น การเรียนหนังสือเพื่อเกรด A การเข้าร่วมการเล่นกีฬาเพื่อการยอมรับ การมีชื่อเสียง เงินรางวัล ถ้วยรางวัล และอื่นๆ โดยทั่วไปแรงจูงใจภายในเป็นส่ิงท่ีพึงปรารถนามากกว่าแรงจูงใจภายนอก เพราะแรงจูงใจ ภายในจะทำาให้พฤติกรรมดำาเนินต่อไป และมีประสิทธิภาพเป็นเวลานาน ในขณะท่ีแรงจูงใจภายนอก มีผลต่อพฤติกรรมชั่วระยะหนึ่งเท่านั้น ถ้าไม่ได้รับแรงจูงใจพฤติกรรมนั้นก็จะลดลงและหยุดไปในที่สุด สังคมของเราอยู่ภายใต้อิทธิพลของแรงจูงใจภายนอกตลอดเวลา เราได้รับรางวัลเป็นส่ิงของตั้งแต่เป็น เดก็ เลก็ อยา่ งไรกต็ ามเราควรตระหนกั วา่ ในหลายสถานการณท์ ง้ั แรงจงู ใจภายในและแรงจงู ใจภายนอก มีอิทธิพลตอ่ พฤตกิ รรมของเรา กำรต้งั เป้ำหมำย (Goal Setting) การตั้งเป้าหมาย หมายถึง การกำาหนดสิ่งที่บุคคลกำาลังพยายามที่จะกระทำาหรือกระทำาให้ สำาเรจ็ หรืออีกความหมายหนึ่ง การตัง้ เปา้ หมาย คอื การคาดหวงั ท่ีจะบรรลมุ าตรฐานของความสามารถ ในกรอบเวลาทก่ี าำ หนด ศิลปชัย สุวรรณธาดา (2535) กล่าวว่า การต้ังเป้าหมายเป็นเทคนิคการให้แรงจูงใจ อยา่ งหนง่ึ เปน็ การต้งั ระดบั ของความสาำ เรจ็ ทผี่ เู้ รียนคาดว่าจะได้รบั ในอนาคต 26 คูม่ ือฝึกอบรมผู้ตัดสินกฬี ายิมนาสตกิ

ชนิดของเปำ้ หมำย (Type of Goals) นกั จติ วิทยา ได้แบง่ เปา้ หมายออกเป็น 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1. เปา้ หมายเชงิ อตั นยั (Subjective Goal) เปน็ เปา้ หมายทม่ี ลี กั ษณะเปน็ นามธรรม กวา้ งๆ เช่น เพ่ือความสนุกสนาน เพอื่ ความสมบูรณ์ของรา่ งกาย พยายามทำาดีทสี่ ุด เป็นตน้ 2. เปา้ หมายเชิงปรนยั ท่วั ไป (General Objective Goal) เปน็ เปา้ หมายท่มี ลี กั ษณะเป็น รูปธรรมมากข้นึ แต่มีลักษณะกวา้ ง 3. เปา้ หมายเชงิ ปรนยั เฉพาะ (Specific Objective Goal) เปน็ เปา้ หมายทมี่ ลี กั ษณะเจาะจง เช่น ยงิ ประตูลกู โทษบาสเกตบอลเขา้ 8 ลกู จาก 10 ลูก เสิรฟ์ เทนนสิ ลกู แรกลง 8 ครั้ง จาก 10 คร้ัง นอกจากน ้ี นกั จติ วทิ ยาบางท่าน ไดแ้ บ่งเปา้ หมายออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื 1. เป้าหมายผลลัพธ์ (Outcome Goal) หมายถึง เป้าหมายของความสามารถที่มุ่งเน้น ผลลัพธ์ในการแข่งขัน เช่น การชนะ การเฆ่ียนคูต่ อ่ สู้ 2. เปา้ หมายการกระทาำ (Performance Goal) หมายถึง เป้าหมายท่ีมุง่ เนน้ ถงึ พฒั นาการ ของการแสดงความสามารถที่สัมพันธ์กับการแสดงความสามารถที่ผ่านมา เช่น ลดความเร็วในการวิ่ง 100 เมตร เป็นเวลา 3/10 วินาที ลดความเร็วในการวา่ ยนำา้ ท่าผเี สอื้ 50 เมตร เปน็ เวลา 1/10 วินาที กำรจินตภำพ (Imagery) การจินตภาพ (Imagery) หมายถึง การสร้างภาพในใจของบุคคล วัตถุ สิ่งของ สถานท่ี การเคลอ่ื นไหวและอ่ืนๆ การจินตภาพเกีย่ วข้องกับความร้สู ึก (Sensation) ต่างๆ ของร่างกาย แมว้ า่ การจนิ ตภาพ (Imagery) มคี วามหมายถงึ การมองเห็นภาพในใจ (Visualization) แต่ไม่ได้หมายความว่า การมองเหน็ เป็นความรู้สึกที่สำาคัญ ความรู้สึกต่อไปนี้มีความสำาคัญ ได้แก่ 1) ความรู้สึกของการมองเห็น (Visual Sensation) 2) ความรสู้ ึกของการได้ยิน (Auditory Sensation) 3) ความรสู้ ึกของการสมั ผัส (Tactile Sensation) 4) ความรสู้ กึ ภายในเกี่ยวกบั การเคล่ือนไหวของรา่ งกาย (Proprioceptive Sensation) 5) ความรู้สึกของกลิ่น (Olfactory Sensation) 6) ความรู้สึกของรส (Taste Sensation) และ 7) ความรสู้ กึ เกย่ี วขอ้ งกับประสบการณ์ในสถานการณ์นน้ั ๆ ประโยชนข์ องกำรจินตภำพ การจนิ ตภาพมีประโยชน์ดังตอ่ ไปนี้ 1. ชว่ ยในการจาำ สง่ิ ทเ่ี รยี นรไู้ ดน้ าน การสรา้ งภาพในใจของสงิ่ ตา่ งๆ เปน็ การบนั ทกึ ความจาำ ในลักษณะของภาพ จะทำาให้การคงอยู่ของการเรียนรู้ได้นาน และช่วยในกระบวนการเรียนรู้ ให้มีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน คูม่ ือฝึกอบรมผูต้ ดั สนิ กีฬายิมนาสติก 27

2. ชว่ ยพฒั นาความตงั้ ใจและสมาธติ อ่ สง่ิ ทก่ี าำ ลงั กระทาำ อย ู่ การจนิ ตภาพเปน็ การสรา้ งภาพ ของความจาำ ข้ึนมาใหม่ และอาจเปน็ การสรา้ งสิง่ ใหม่จากการผสมผสานขอ้ มลู ตา่ งๆ อยู่ในความทรงจำา ซึ่งต้องใชก้ ระบวนการความจาำ และสมาธิเป็นเคร่ืองมอื 3. ช่วยในการผ่อนคลายลดความวิตกกังวล การจินตภาพเป็นเทคนิคการผ่อนคลาย ความวิตกกังวลที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการจินตภาพตนเองอยู่ในสถานท่ีพักผ่อนและในสภาวะท่ี ผอ่ นคลาย นอกจากนก้ี ารแขง่ ขนั ทมี่ คี วามสาำ คญั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความวติ กกงั วลในระดบั สงู จาำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ ง ลดระดบั ความวติ กกงั วลใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเหมาะ 4. ช่วยในการคาดการณ์ล่วงหน้า สร้างความคนุ้ เคยกับเหตุการณ์ท่ีไม่เคยประสบมากอ่ น 28 คู่มอื ฝกึ อบรมผตู้ ดั สนิ กฬี ายิมนาสติก

บทท่ี 1 ทที่ 4 บ กตกิ �กฬี �ยมิ น�สตกิ กตกิ ำกีฬำยิมนำสติกศิลปช์ ำย ส่วนท่ี 1 ขอ้ บังคบั เก่ยี วกบั การเขา้ ร่วมการแข่งขัน หมวดที่ 1 วัตถุประสงค์ ขอ้ 1.1 วัตถปุ ระสงคเ์ บื้องต้นของกติกำยิมนำสติกเพือ่ 1. ประเมินท่าชุดแข่งขนั ในทกุ ระดบั การแขง่ ขัน 2. เป็นมาตรฐานในการตัดสินท้ัง 4 รอบของการแข่งขัน ตามระเบียบ FIG. คือ รอบคดั เลอื ก (C-1) ชงิ ชนะเลิศประเภททีม (C-IV) คะแนนรวมบุคคล (C-II) และบุคคล เฉพาะอปุ กรณ์ (C-III) 3. ยนื ยันได้วา่ ในทกุ รายการแข่งขนั จะได้นักกีฬาทด่ี ที ีส่ ดุ 4. เปน็ แนวทางสาำ หรับโค้ชและนกั กีฬาในการประกอบทา่ ชุดแข่งขัน 5. เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู เกยี่ วขอ้ กบั เทคนคิ ระเบยี บการแขง่ ขนั สาำ หรบั ผตู้ ดั สนิ โคช้ และนกั กฬี า หมวดที่ 2 ระเบียบข้อบังคับนกั กีฬำ ข้อ 2.1 สทิ ธขิ องของนักกีฬำ บททวั่ ไป 1. ได้รบั การตัดสินอยา่ งถูกต้องยตุ ิธรรมตามเง่อื นไขของกติกา 2. ไดร้ ับค่าคะแนนสาำ หรับทา่ ใหม่ภายในเวลาทีก่ ำาหนดตามท่เี ขยี นร้องขอกอ่ นการแข่งขัน 3. มผี ลการแขง่ ขนั ในทนั ทหี ลงั เสรจ็ การแขง่ ขนั หรอื ตามขอ้ บงั คบั ของการแขง่ ขนั ครง้ั นน้ั ๆ 4. ไดร้ บั การแสดงทา่ ชดุ ใหม ่ ถา้ เกดิ เหตกุ ารณน์ อกเหนอื การควบคมุ หรอื ไดร้ บั อนญุ าตจาก หัวหน้าผูต้ ดั สนิ (Superior jury) 5. การออกจากสนามแข่งขันต้องได้รับอนุญาตจากประธานผู้ตัดสิน (chair of the superior jury) 6. ตวั แทนคณะผู้นำานกั กีฬา จะได้รับผลการแขง่ ขันทีถ่ ูกตอ้ งทง้ั หมด คมู่ ือฝึกอบรมผตู้ ัดสินกฬี ายมิ นาสตกิ 29

อปุ กรณก์ ำรแข่งขัน นักกีฬำจะไดร้ ับสทิ ธเิ ก่ียวกบั 1. อุปกรณ์ในห้องฝึกซอ้ ม ห้องอบอนุ่ ร่างกาย และสนามแขง่ ขัน ท่ไี ด้มาตรฐานการแขง่ ขนั ตาม FIG 2. เพ่ิมเบาะฟองนำ้าหนา 10 ซ.ม. วางด้านบนของเบาะ (หนา 20 ซ.ม.) ที่อุปกรณ์ โต๊ะกระโดด และราวเดย่ี ว 3. มผี ชู้ ว่ ยสง่ นกั กฬี าขน้ึ ทอี่ ปุ กรณห์ ว่ งและราวเดยี่ ว โดยทจ่ี ะเปน็ ตวั กฬี าหรอื โคช้ ในชว่ งเรมิ่ ต้นการแขง่ ขัน 4. มีผคู้ อยชว่ ยเหลือได้ 1 คน ทอี่ ปุ กรณห์ ว่ ง ราวเดย่ี ว 5. หลังจากตกจากอุปกรณ์การแขง่ ขัน มเี วลาพักได ้ 30 วินาที 6. ปรึกษากับผฝู้ กึ สอนไดห้ ลงั จากตกจากอุปกรณก์ ารแขง่ ขนั ภายในชว่ งเวลา 30 วินาที หรือระหว่างการกระโดดครัง้ แรกกับครัง้ ท ่ี 2 ของโตะ๊ กระโดด 7. ร้องขออนุญาตในการปรับความสูงของ ราวเด่ียว และ/หรือ หว่ งตามความเหมาะสม กำรอบอุ่นร่ำงกำย ในรอบคัดเลอื ก (C-I) คะแนนรวมบุคคล (C-II) และชงิ ชนะเลิศประเภททมี (C-IV) - นักกฬี าแต่ละคนทีท่ ำาการแขง่ ขนั (รวมทง้ั การเปลีย่ นตวั นกั กีฬาทีบ่ าดเจ็บ) จะต้องเข้า อบอุ่นร่างกายในทนั ทบี นสนามแขง่ ตามข้อกาำ หนดการแขง่ ขนั - 30 วนิ าทีทกุ อปุ กรณ ์ ยกเว้นราวคู่ - 50 วินาทบี นราวคู ่ รวมทั้งการปรบั แต่งราว หมายเหตุ - ในรอบคัดเลือกและชิงชนะเลิศประเภททีม ทีมท่ีเข้าร่วมการแข่งจะต้องใช้เวลาอบอุ่น รา่ งกายให้เหมาะสม ใหน้ กั กีฬาได้อบอุน่ รา่ งกายต้ังแต่คนแรกไปจนถงึ คนสุดทา้ ยตามลำาดบั - สำาหรับในกลุ่มท่ีมีทีมรวมกัน การอบอุ่นร่างกายจะเรียงลำาดับตามรายการท่ีนักกีฬา แขง่ ขนั - เม่ือส้ินสุดการอบอุ่นร่างกายหรือช่วงระหว่างเวลาแข่งขัน อาจเตรียมอุปกรณ์ได้ แต่ไม่ใหใ้ ช้อุปกรณ์ - ต้องเหน็ สญั ญาณทชี่ ัดเจนจาก ผตู้ ดั สนิ D1 (สญั ญาณไฟเขียว จากเจ้าหน้าท)่ี 30 วินาที ก่อนเร่มิ ทาำ การแขง่ ขนั 30 คมู่ ือฝึกอบรมผูต้ ัดสนิ กฬี ายิมนาสติก

ข้อ 2.2 ควำมรบั ผดิ ชอบของนกั กฬี ำ 1. รกู้ ติกา 2. เขยี นเสนอทา่ ใหม ่ หรอื ใหโ้ คช้ เขยี นเสนอทา่ ใหม ่ กอ่ นการอบอนุ่ รา่ งกาย บนสนามแขง่ ขนั (podium training) ต่อประธานผู้ตัดสินเพื่อประเมินค่าคะแนนท่า อย่างน้อยก่อน 24 ชัว่ โมง 3. เขียนหรือให้โค้ชเขียนคำาร้องขอปรับความสูงของ ห่วง และ/หรือราวเดียวอย่างน้อย 24 ช่วั โมง ก่อนการอบอุน่ ร่างกายบนสนามแข่งขนั โดยเสนอต่อฝา่ ยเทคนคิ ของการจดั การแขง่ ขันในครงั้ น้ันๆ ข้อ 2.3 หน้ำท่ีของนกั กีฬำ บททั่วไป 1. แสดงตนด้วยความสภุ าพ (ยกมือขนึ้ ) ก่อนและหลงั การแสดงท่าชุดแข่งขัน 2. เร่ิมต้นแสดงท่าชุดแข่งขันภายใน 30 วินาทีเม่ือสัญญาณไฟเขียวหรือสัญญาณ จากผู้ตดั สนิ D1 (ทุกอุปกรณ์) 3. หลงั จากตกหรือลม้ จากอุปกรณ์ให้ข้ึนไปเลน่ ใหม่ได้ภายใน 30 วนิ าท ี (จับเวลาเม่ือเท้า นักกฬี าเริม่ ยนื หลังจากล้ม) ในช่วงเวลานี้ นักกีฬา สามารถปรกึ ษากับโค้ชได้ 4. ออกจากสนามแขง่ ขนั ทันทหี ลังจากทำาการแข่งขันเสร็จ 5. หลกี เลยี่ งจากการปรับความสูงของอปุ กรณ ์ การปรับความสูงต้องไดร้ บั อนญุ าตก่อน 6. ไมพ่ ดู คุยกบั ผตู้ ัดสินระหว่างการแข่งขนั 7. ไม่ทำาให้การแข่งขันล่าช้า เช่น อยู่บนสนามแข่งขันนาน ข้ึนไปบนสนามแข่งขัน หลงั จากแข่งเสรจ็ รวมทงั้ การฝ่าฝืนอื่นๆ ทเี่ กยี่ วข้องกบั การเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั เป็นต้น 8. ไม่ทำาพฤติกรรมท่ีมีไม่ระเบียบวินัย หรือพฤติกรรมที่ไม่ดีต่างๆ หรือการฝ่าฝืนอ่ืนๆ ในการเข้าร่วมแข่งขัน (ใช้แมกนีเซียมทำาเครื่องหมายบนฟลอร์ฯ ทำาความเสียหาย ในสว่ นของอปุ กรณก์ ารแขง่ ขนั หรอื ถอดสปรงิ ออกจากกระดานสปรงิ การฝา่ ฝนื ทส่ี ง่ ผล ต่ออุปกรณ์ จะถูกตัดคะแนนในระดบั มาก (0.5 คะแนน) 9. ถ้ามีความจำาเป็นต้องออกจากสนามแข่งขันจะต้องแจ้งให้หัวหน้าผู้ตัดสินทราบ แต่ตอ้ งไมท่ ำาใหก้ ารแขง่ ขันลา่ ช้า 10. เอาเบาะเสริมออก (สาำ หรบั ลงยืน) ระหว่างเขา้ แขง่ ขัน 11. แต่งกายเข้าร่วมพธิ กี ารแขง่ ขันตามขอ้ กำาหนดของ FIG คูม่ อื ฝึกอบรมผตู้ ดั สนิ กีฬายมิ นาสตกิ 31

ชุดแขง่ ขัน 1. นักกีฬาจะต้องสวมกางเกงยมิ ส์ขายาว และถุงเท้าบนอปุ กรณ์ มา้ หู ห่วง ราวค่แู ละราวเดีย่ ว ไมอ่ นญุ าตใหส้ วมกางเกงขายาวและถงุ เทา้ หรอื รองเทา้ ยมิ สท์ ม่ี สี ดี าำ หรอื เฉดสนี าำ้ เงนิ เขม้ น้ำาตาล หรือสเี ขยี ว 2. นักกีฬาจะเลือกใส่กางเกงขาสั้น ใส่หรือไม่ใส่ถุงเท้าหรือรองเท้ายิมส์ ที่อุปกรณ์ ฟลอร์เอก็ เซอรไ์ ซส ์ และโตะ๊ กระโดด 3. ใส่เส้อื กลา้ มแข่งขนั ในทกุ อปุ กรณ์ 4. นักกีฬาสามารถเลอื กใสถ่ ุงเทา้ หรือรองเท้ายิมสก์ ไ็ ด้ 5. นกั กฬี าตอ้ งตดิ หมายเลขตามท่ีฝา่ ยจัดการแขง่ ขันกำาหนด 6. ต้องตดิ เคร่อื งหมายประจำาชาติหรือสัญลกั ษณบ์ นเส้ือกล้าม ตามระเบยี บของ FIG 7. ตอ้ งตดิ สญั ลกั ษณ ์ การโฆษณาและสัญลกั ษณ์ของผู้สนบั สนนุ ตามกฎของ FIG 8. รอบท ่ี 1 (C-I) รอบท ่ี 4 (C-IV) ชดุ แขง่ ขนั ในทมี ตอ้ งเหมอื นกนั สว่ นทมี ทส่ี ง่ บคุ คลเฉพาะอปุ กรณ์ อาจใส่ชดุ ทีไ่ มเ่ หมอื นกนั กไ็ ด้ 9. อนญุ าตให้ใส่แผน่ หนงั รองมือ ผา้ ยดื รัดตวั (body bandages) และผา้ พนั ขอ้ มือ (wrist wraps) ซงึ่ จะตอ้ งอยใู่ นสภาพทด่ี ี มคี วามปลอดภยั และไมร่ บกวนการแสดงความสามารถ ของนกั กีฬา ขอ้ 2.4 กำรท�ำโทษ 1. การทำาโทษจากการฝ่าฝืนกฎ มีอยู่ในข้อ 2 และข้อ 3 ตัด 0.3 จากการฝ่าฝืน ทางดา้ นพฤติกรรม ตัด 0.5 จากการฝ่าฝืนดา้ นทเ่ี ก่ียวกบั อปุ กรณจ์ ะถูกตดั โดยผ้ตู ดั สิน D1 ออกจากคะแนนสดุ ท้าย และแจ้งใหห้ ัวหนา้ ผู้ตัดสนิ ทราบ 2. บทลงโทษอ่ืนๆ มขี ้อสรปุ ตามตารางที่ระบุไว้ 3. ในขณะเดียวกัน การทำาโทษอาจกระทำาโดยผู้ตัดสิน D1 สำาหรับคะแนนสุดท้าย ของชุดการแข่งขัน 4. ในกรณีร้ายแรง อาจจะเพ่มิ โทษ โดยการเชญิ นักกีฬาหรอื โค้ชออกจากสนามแขง่ ขนั 5. การฝา่ ฝืนและการเชอ่ื มโยงบทลงโทษ มดี งั น้ี 32 คูม่ ือฝกึ อบรมผู้ตัดสินกีฬายมิ นาสติก

ก�รละเมิด ก�รลงโทษ ก�รละเมิดทเ่ี กยี่ วข้องกบั พฤติกรรม เครอื่ งแต่งกาย (ข้อ2.3) 0.30 คะแนน จากคะแนนสดุ ท้าย (ตดั คร้งั เดียวใน การแขง่ ขันแต่ละรายการ) โดยประธานผู้ตัดสนิ ไม่แสดงตวั ตอ่ ผู้ตัดสนิ D1 ก่อนและหลัง 0.30 คะแนน จากคะแนนสุดทา้ ย โดยผตู้ ดั สนิ D1 การแข่งขนั เวลาเกนิ 30 วนิ าทีหลงั จากตกจากอุปกรณ์ การแข่งขันสน้ิ สุด การแขง่ ขัน 0.30 คะแนน จากคะแนนสดุ ท้าย โดยผู้ตดั สิน D1 โคช้ พดู กบั นักกฬี าระหว่างแขง่ ขนั ไม่เหมาะสม ก�รละเมดิ ทเี่ กี่ยวข้องกับอปุ กรณ์ ผูช้ ่วยขนึ้ บนสนามแขง่ ขนั โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต 0.50 คะแนน จากคะแนนสดุ ทา้ ย โดยผตู้ ัดสิน D1 ใช้ผงแมกนีเซียมไมถ่ ูกต้องและ/หรอื 0.50 คะแนน จากคะแนนสดุ ท้าย โดยผู้ตดั สนิ D1 ทาำ อปุ กรณ์เสยี หาย ใช้เบาะรองผิดระเบียบหรอื ไมใ่ ช้ในทคี่ วรจะใช้ 0.50 คะแนน จากคะแนนสุดทา้ ย โดยผูต้ ัดสนิ D1 โค้ชเคลอ่ื นย้ายเบาะเสรมิ ระหวา่ งการแข่งขนั 0.50 คะแนน จากคะแนนสุดท้าย โดยผู้ตดั สนิ D1 เปลี่ยนความสงู ของอุปกรณโ์ ดยไม่ได้ 0.50 คะแนน จากคะแนนสุดทา้ ย โดยผตู้ ัดสิน D1 การจัดการหรือเอาสปริงออกจากกระดานสปริง 0.50 คะแนน จากคะแนนสุดท้าย โดยผู้ตัดสนิ D1 ก�รละเมดิ ส่วนบคุ คลอ่นื ๆ หายไปจากพืน้ ทแ่ี ข่งขนั โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ตัดสทิ ธิ์การแข่งขนั โดยประธานผตู้ ดั สนิ และกลับมาเมอื่ สน้ิ สดุ การแข่งขนั แล้ว หายไปจากพิธรี บั เหรียญรางวัล ผลคะแนนสุดท้ายจะถูกยกเลกิ และลบออกจาก คะแนนทมี และคะแนนเฉพาะบคุ คล (โดยหัวหน้า ผ้ตู ัดสนิ ) แข่งขันโดยไม่มสี ัญญาณ หรือไฟเขยี ว คะแนนสดุ ทา้ ย = 0 คะแนน ก�รละเมิดเกี่ยวกบั ทมี ทมี นักกฬี าแข่งขันผดิ อันดับบนอุปกรณ์ 1.0 คะแนน จากคะแนนรวมทมี ในอุปกรณ์น้ัน (โดยประธานผูต้ ัดสิน) เครื่องแตง่ กายผดิ ระเบียบท่ีอยู่ในทมี 1.0 คะแนน จากคะแนนรวมทีม ต่อการแขง่ ขัน แต่ละคร้งั โดยประธานผตู้ ดั สิน คู่มือฝึกอบรมผูต้ ัดสินกีฬายิมนาสติก 33

ขอ้ 2.5 คำ� ปฏญิ ำณของนักกฬี ำ ในนามของนกั กฬี า ขา้ พเจา้ สญั ญาวา่ จะทาำ หนา้ ทใ่ี นการแขง่ ขนั ....(ชอ่ื รายการแขง่ ขนั )...ดว้ ย ความเคารพและปฏบิ ตั ติ ามกฎกติกา ปราศจากการใชส้ ารกระตนุ้ และยาเสพตดิ ทำาการแข่งด้วยน้าำ ใจ นักกีฬาเพ่อื เกียรติและศกั ดิศ์ รีของนกั กฬี าอยา่ งแทจ้ รงิ หมวดที ่ 3 กติกำสำ� หรบั ผู้ฝึกสอน ข้อ 3.1 สทิ ธิของโค้ช โคช้ มสี ทิ ธิดังน้ี 1. ชว่ ยเหลอื นกั กฬี าหรอื ทมี ทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของตนในการเขยี นคาำ รอ้ งขอปรบั อปุ กรณ์ และระดับค่าคะแนนของท่าใหม่ 2. ชว่ ยเหลอื นกั กฬี าหรอื ทมี ทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของตนในชว่ งการอบอนุ่ รา่ งกายบนสนาม แข่งขัน 3. ชว่ ยเหลอื นักกฬี าหรอื ทมี เตรยี มอุปกรณ์สาำ หรับการแขง่ ขนั 4. ยกตวั นกั กีฬาในตำาแหนง่ การห้อยตัวบนอปุ กรณ์ห่วงและราวเด่ียว 5. แสดงตัวบนสนามแข่งหลงั สญั ญาณไฟเขียว และเคลือ่ นย้ายกระดานสปรงิ ท่ีราวคู่ 6. แสดงตัวบริเวณห่วงและราวเด่ียวระหว่างที่นักกีฬาทำาการแข่งขันด้วยเหตุผล เพ่อื ความปลอดภยั 7. ช่วยเหลือแนะนำานักกีฬาในช่วง 30 วินาทีหลังจากตกจากอุปกรณ์และระหว่าง การกระโดดคร้งั ที ่ 1 และครั้งที ่ 2 ของโตะ๊ กระโดด 8. มคี ะแนนของนกั กฬี าปรากฏตอ่ สาธารณะทนั ทหี ลงั จากทแ่ี ขง่ ขนั เสรจ็ หรอื ตามระเบยี บ การแข่งขันในคร้ังนั้นๆ 9. จะแสดงตัวในทุกอุปกรณ์เพ่ือช่วยเหลือในกรณีท่ีนักกีฬาบาดเจ็บหรือเกิดข้อบกพร่อง ของอปุ กรณ์ 10. สอบถามคะแนนจากหวั หน้าผตู้ ัดสนิ ในการประเมนิ บริบทของคะแนนท่าชดุ แข่งขัน 11. ร้องขอตอ่ ประธานผู้ตดั สนิ ขอดูการตัดคะแนน เวลา และเสน้ ข้อ 3.2 ควำมรบั ผิดชอบของโค้ชมดี งั น้ี 1. รูก้ ติกาและปฏิบัตติ าม 2. ยอมรับรายการแข่งขันและข้อเสนอแนะอ่ืนๆที่สอดคล้องกับกติกาหรือตามฝ่าย จดั การแข่งขันครง้ั นั้นๆ กาำ หนด 3. ละเวน้ จากการเปลยี่ นความสงู ของอปุ กรณห์ รอื เพมิ่ สปรงิ หรอื เอาสปรงิ ออกจากกระดาน สปริง 34 คมู่ ือฝกึ อบรมผู้ตดั สินกฬี ายมิ นาสติก

4. ละเวน้ จากการท�ำให้การแข่งขนั ล่าชา้ ขดั ขวางการมองเหน็ ของผู้ตัดสิน และจากการใช้ สทิ ธิในทางทผี่ ิด 5. ละเว้นจากการพูดกับนักกีฬาหรือการช่วยเหลือในทุกกรณีระหว่างการแข่งขัน (ใหส้ ัญญาณ ตะโกนเชยี ร์ หรืออื่นที่คลา้ ยกนั ) 6. ละเว้นจากการชักจูงคนเข้าร่วมวิจารณ์การปฏิบัติหน้าท่ีของผู้ตัดสินทั้งภายใน และภายนอกพ้นื ท่รี ะหว่างการแข่งขนั (ยกเว้นแพทย์ ตัวแทนทมี ) 7. ละเว้นจากการขาดระเบยี บหรอื พฤตกิ รรมที่ไมพ่ งึ ประสงค์ 8. ประพฤติปฏิบัติด้วยความยุติธรรม แสดงกิริยาด้วยความมีน�้ำใจนักกีฬาตลอดเวลา ระหวา่ งการแข่งขนั 9. เข้ารว่ มแสดงความมีนำ้� ใจในการมอบเหรยี ญทกุ คร้ัง หมายเหต ุ ดกู ารตดั คะแนนสำ� หรบั การฝ่าฝืนและพฤตกิ รรมของการไมม่ นี ้ำ� ใจนักกีฬา จำ� นวนของโค้ช ทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตในการแขง่ ขนั แตล่ ะรอบ รอบคดั เลือก (C-1) และทีมชงิ ชนะเลศิ (C-4) - นกั กีฬาเตม็ ทมี - โค้ช 1 หรอื 2 คน - เดี่ยว/บุคคล - โค้ช 1 คน คะแนนรวมบคุ คล (C-2) และ รอบชิงชนะเลิศเฉพาะอปุ กรณ์ (C-3) - นักกีฬาแต่ละคน - โคช้ 1 คน ขอ้ 3.3 บทลงโทษ พฤตกิ รรมสำ� หรับโคช้ โดยประธานของหวั หน้าผู้ตดั สิน สำ� หรบั เจ้าหน้าท่ี FIG และลงทะเบียนเขา้ รว่ ม (โดยการปรึกษาหารอื กับหัวหน้าผตู้ ดั สนิ ) การแข่งขนั พฤติกรรมของโค้ชทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อความสามารถของนักกีฬา หรอื ทีม พฤติกรรมของโคช้ ท่ไี มเ่ หมาะสม ครง้ั ที่ 1 ใหใ้ บเหลือง (เตือน) (ทกุ ช่วงของการแขง่ ขนั ) ครัง้ ที่ 2 ให้ใบแดงและเชญิ ออกจากการสนามแขง่ ขนั พฤตกิ รรมของโคช้ ทไ่ี ม่เหมาะสมอยา่ งชดั เจน ให้ใบแดงสำ� หรบั โคช้ ทันทแี ละเชญิ ออกจาก (ทุกชว่ งของการแข่งขนั ) การแขง่ ขัน คมู่ ือฝึกอบรมผ้ตู ัดสินกีฬายิมนาสตกิ 35

พฤติกรรมของโคช้ ท่สี ง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ คว�มส�ม�รถของนักกฬี � หรอื ทีม พฤติกรรมของโคช้ ทไ่ี มเ่ หมาะสม เชน่ 0.50 คะแนน สาำ หรับคร้งั แรก มีขอ้ อา้ งทาำ ให้การแข่งขนั ล่าชา้ หรือขัดจงั หวะของการแข่งขัน (จากนักกฬี า/ทมี ทอ่ี ุปกรณน์ ้ัน) พดู เก่ียวกบั การปฏบิ ตั งิ านของผ้ตู ัดสินระหว่างการแข่งขนั ยกเวน้ และ ใหใ้ บเหลอื ง (เตอื น) ผู้ตดั สนิ D1 (อนุญาตใหส้ อบถามเท่านนั้ ) ถา้ โคช้ พดู ถึงการปฏบิ ัตหิ น้าที่ พดู กับนักกีฬา ใหส้ ญั ญาณ ตะโกน (เชยี ร)์ ของผตู้ ัดสิน (จากนักกีฬา/ทีมท่ีอปุ กรณ์นัน้ ) และให้ใบเหลอื ง (เตอื น) ถ้าโคช้ พูดกา้ วร้าวการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ขี อง ผตู้ ัดสนิ 1.00 คะแนน สำาหรบั คร้ังท่ี 2 (จากนกั กฬี า/ทีมที่อุปกรณ์น้นั ) และใหใ้ บแดงสำาหรับโคช้ และ เชญิ ออกจากพนื้ ทีแ่ ข่งขนั 1.00 คะแนน (จากนกั กีฬา/ทีม อืน่ ๆ ท่ีปรากฏชัดเจน ไมม่ ีระเบยี บวนิ ยั และพฤติกรรม ทอ่ี ปุ กรณน์ น้ั ) และใหใ้ บแดง หมน่ิ ประมาท เชน่ ใชส้ ิทธิในการแสดงตัวไม่ถูกตอ้ งของ สำาหรับโคช้ และเชญิ ออก บุคคลทไ่ี มม่ สี ทิ ธิ์ในรอบระหว่างการแขง่ ขัน และอ่นื ๆ จากพื้นทีแ่ ข่งขนั หม�ยเหตุ ถา้ โคช้ หนง่ึ ในสองทถ่ี กู ปลดออก (หมดหนา้ ท)่ี จากทมี จากรอบการแขง่ ขนั นน้ั ใหโ้ คช้ อกี คนทำาหน้าทีแ่ ทนช่วงเวลาหน่ึงระหว่างการแข่งขัน ความผดิ ครัง้ แรก = ใบเหลอื ง ความผดิ ครง้ั ที่ 2 = ใบแดง ซงึ่ ในเวลานนั้ กจ็ ะถกู แยกตวั ออกไปในชว่ งเวลาพกั การแขง่ ขนั * ถ้ามีโค้ชคนเดียวก็ยังคงให้ปฏิบัติหน้าที่ แต่จะไม่ให้ได้รับแต่งต้ังให้ปฏิบัติหน้าท่ีใน การแข่งขันชิงแชมป์โลกและโอลิมปิกคร้งั ตอ่ ไป 36 คมู่ ือฝึกอบรมผตู้ ัดสินกฬี ายมิ นาสตกิ