Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปลาจีน

Description: ปลาจีน.

Search

Read the Text Version

ปลาจนี เผยแพรโดย งานเอกสารคําแนะนํา ฝา ยเผยแพรและประชาสมั พนั ธ กองสง เสรมิ การประมง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ สารบัญ ™ แหลงกําเนดิ ™ ลักษณะทั่วไป ™ การเพาะพนั ธผุ สมเทยี มปลาจนี ™ การอนุบาลลูกปลา ™ การจดั การบอ เล้ียง ™ การเลย้ี งปลาขนาดตลาด ™ การจับและลําเลียงปลาเล็ก ™ การปอ งกนั ™ ขอควรพึงระวังเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาจีน ™ การจําหนาย ™ แนวโนม การเลย้ี งปลาจนี ในอนาคต คํานํา ปลาจีนเปนชื่อทีใ่ ชเรยี กปลา 3 ชนิด คอื ปลาเฉาหรอื เฉาฮอ้ื หรอื ปลากนิ หญา ปลาลน่ิ หรอื ลิ่นฮื้อหรือปลาเกล็ดเงนิ และปลาซงหรอื ซง ฮอ้ื หรอื ปลาหวั โต ปลาทง้ั สามชนดิ นเ้ี ปน ปลาทน่ี ําเขา มาจาก ประเทศจีน เมื่อนํ ามาเลี้ยงในประเทศไทยพบวาปลาท้ัง 3 ชนิดน้ีเจริญเติบโตไดดี

ปลาจนี 2 โดยเฉพาะเล้ียงในบอท่ีมีขนาดใหญ อยา งไรกต็ ามปลาจะไมว างไขใ นบอ เลย้ี ง จึงจําเปน ตอ งเพาะพนั ธุ โดยวธิ กี ารฉดี ฮอรโ มนผสมเทยี ม แหลง กําเนดิ ปลาจีนมถี น่ิ กําเนดิ อยใู นภาคกลาง และภาคใตข องประเทศจนี แถบลมุ แมน ้ําแยงซี ลักษณะทั่วไป ในบรรดาปลาจีนทัง้ 3 ชนดิ น้ี ปลาลน่ิ และปลาซง มลี กั ษณะคลา ยคลงึ กนั มากทส่ี ดุ จะสังเกต ความแตกตางไดจ ากลกั ษณะของหวั ซง่ึ ปลาซง มหี วั คอ นขา งโตเมอ่ื เทยี บกบั ลําตวั จงึ มชี อ่ื อกี ชอ่ื หนง่ึ วา ปลาหัวโต (Big head Carp) ไมม สี นั บรเิ วณทอ ง ตรงกนั ขา มกบั ปลาลน่ิ ซง่ึ มหี วั ขนาดเลก็ กวา และ มีสันแหลมบริเวณทอ ง ปลาทง้ั สองชนดิ นม้ี เี กลด็ สเี งนิ แวววาว แตบ างครง้ั เกลด็ ของปลาซง่ึ จะมสี ดี ําเปน จุดอยูบนเกล็ดบางสวน สําหรบั ปลาเฉานน้ั มเี กลด็ ขนาดใหญ นอกจากนน้ั ลําตวั ยงั กลมและยาวมากกวา สว นหลงั มสี ดี ํา น้าํ ตาล สว นทอ งขาว ปลาเกลด็ เงนิ (ปลาล่นิ ) (Silver carp) มีช่อื วทิ ยาศาสตรว า Hypophthalmichtys molitrix (Cuv.&Val) สวนหวั มขี นาดปานกลาง ปากเชดิ ขน้ึ เลก็ นอ ยอยปู ลายสดุ ของสว นหวั ขากรรไกรลา งเฉยี ง ข้ึนมาเล็กนอย ตาคอ นขา งเลก็ และอยใู ตแ นวระดบั กง่ึ กลางลําตวั สว นหนงั ของเหงอื กไมเ ชอ่ื มสนทิ กับแกมสวนลา ง มอี วยั วะ Super branchial อยู ซก่ี รองเหงอื กตดิ ตอ กนั เหมอื นตะแกรง ท่ีลกั ษณะคลาย ฟองน้ํา ฟน ทค่ี อหอยมขี า งละแถว ๆ ละ 4 ซี่ พน้ื หนา ตดั ของฟน แบนเปน รอ งละเอยี ด ครบี หลงั มกี า น ครีบเดี่ยว 3 กา น และกา นครบี แขนง 7 กา น ครบี กน มกี า นครบี เดย่ี ว 3 กา นและกา นครบี แขนง 11-14 กา น ครบี อกมคี รบี เดย่ี ว 1 กา น และกา นครบี แบบ 17 กา น ครบี ทอ งมกี า นครบี เดย่ี ว 1 กา น และกา นครบี แขนง 8 กา น เกลด็ บนเสน ขา งลําตวั มี 110-123 เกลด็ ลําตวั รปู กระสวยแบนขา ง สวนทอ งเปน สนั ยาวจากอกถงึ รกู น ลําตวั สว นหลงั สดี ํา เทา สว นอน่ื ๆ สเี งนิ ภาพท่ี 1 ปลาเกล็ดเงินหรือปลาลิ่น (Silver carp) ปลาหวั โต (ปลาซง) (Bighead carp) มชี ่ือวทิ ยาศาสตรว า Aristichthys nobilis (Richardson) สวนหัวมีความยาวประมาณ 1 ใน 3 ของลําตวั ปากอยปู ลายสงู สดุ และเชดิ ขน้ึ ขา งบน ขากรรไกรลา ง เฉียงขึ้นขางบนเล็กนอย ตาคอ นขา งเลก็ อยตู ่ําเยอ้ื งมาทางสว นหนา ซก่ี รองเหงอื กถแ่ี ละมขี นาดเลก็ แตไมติดกัน ทค่ี อหอยมฟี น ขา งละแถว ๆ ละ 4 ซี่ พน้ื หนา ตดั ของฟน แบนและเรยี บ ครบี บนหลงั มกี า น ครีบเด่ียว 3 กา นและกา นครบี แขนง 7 กา น ครบี กน มคี รบี กา นเดย่ี ว 3 กา น และกา นครบี แขนง 11-14 กา น ครบี อกมกี า นครบี เดย่ี ว 1 กา น และกา นครบี แขนง 17 กา น ครบี ทอ งมกี า นครบี เดย่ี ว 1 กา น และกา นครบี แขนง 8 กา น เกลด็ เลก็ ทเ่ี สน ขา งลําตวั มี 95-105 เกลด็ ลําตวั รปู กระสวย ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 3 สวนทองเปนสนั ตง้ั แตค รบี ทอ งถงึ ครบี กน หางแบนขา งและเปน สดั สว นหลงั จะมสี คี ล้ําและจดุ ดําบาง แหง ทองเหลอื ง ภาพท่ี 2 ปลาหัวโตหรือปลาซง (Bighead carp) ปลากนิ หญา (ปลาเฉา) (Grass carp) มชี ่อื วิทยาศาสตรวา Ctenopharyngodon idellus (Cuv.& Val) สว นหวั คอ นขา งแบน ปากอยปู ลายสดุ เฉยี งขน้ึ เลก็ นอ ย ขากรรไกรลา งสน้ั กวา ขากรรไกรบน ตาเล็ก ซ่เี หงอื กติดตอ กบั แกม ซก่ี รองเหงอื กหา งและสน้ั ฟนทห่ี อหอยมอี ยู 7 แถว คลายหวี ขา งซา ย มี 2-5 ซี่ ขา งขวามี 2-4 ซี่ ครบี หลงั สน้ั มกี า นครบี เดย่ี ว 3 กา น และกา นครบี แขนง 7 กา น ครบี กน มีกานครีบเดย่ี ว 3 กา น และกา นครบี แขนง 8 กา น ครบี อกมกี า นครบี เดย่ี ว 2 กา น กา นครบี แขนง 14 กาน ครบี ทอ งมกี า นครบี เดย่ี ว 1 กา น และกา นครบี แขนง 8 กา น เกลด็ ขนาดใหญบ รเิ วณขา งลําตวั 34-35 เกลด็ ลําตวั รปู กระสวยคลา ยทรงกระบอก หางแบนขาง สว นหลงั มสี ดี ํา น้าํ ตาล ทอ งมขี าว ภาพท่ี 3 ปลากินหญาหรือปลาเฉา (Grass carp) การเพาะพันธุผสมเทยี มปลาจนี 1. การเลย้ี งพอ แมพ นั ธุ ควรเล้ียงในบอ ดนิ ขนาดประมาณ 800 ตารางเมตร ขน้ึ ไป ปลาจนี ทง้ั 3 ชนิดน้ี สามารถปลอ ยรวมกนั ได ในอตั รา 50-80 ตวั /ไร (ปลาขนาด 2-3 กก.) ในเรอ่ื งอาหารนน้ั ควรเตรยี มอาหารธรรมชาติ โดยใสปุยคอก 250 กก./ไร ประมาณ 5-7 วัน น้าํ จะเขียว เมอ่ื เลย้ี งไปสกั ระยะหนึ่งนํ้าจะเรม่ิ จาง กเ็ ตมิ ปยุ คอกในอตั ราครง่ึ หนง่ึ ของทใ่ี สค รง้ั แรก สาํ หรบั ปลาเฉานน้ั ควรให ขาวเปลือกงอกเปน อาหารเสรมิ อยา งไรกต็ ามเพอ่ื ความสะดวกอาจใหอ าหารเมด็ สําหรับปลากนิ พืชใน อัตรา 1-2 เปอรเ ซน็ ต ของน้าํ หนักตัวก็ได ในระหวา งการเลย้ี งควรมกี ารถา ยเทน้ํา (หรอื เตมิ น้ํา) เขา บอ 3-4 คร้ัง/เดอื น โดยเฉพาะในชวง 1-2 เดอื น กอ นฤดกู ารเพาะพนั ธสุ ําหรบั อายแุ มป ลานน้ั แมป ลาทม่ี ี อายุประมาณ 1-2 ป จะใหไขที่มีคุณภาพดี 2. การคดั พอ แมพ นั ธุ เพ่ือความสะดวกและเขา ใจงา ยจะแสดงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงความแตกตา งระหวา งเพศของปลาลน่ิ , ปลาซง และปลาเฉา ชนดิ ลักษณะของปลาเพศผู ลักษณะของปลาเพศเมยี ปลาลน่ิ 1. กานครบี หสู ว นใหญม ปี มุ สาก เมอ่ื ลบู 1. ครีบหมู ปี มุ สากเฉพาะกา นครบี บรเิ วณ ดจู ะรูส กึ สากมอื ของครบี เทา นน้ั กา นครบี อน่ื ๆ เรียบ 2. ทองแฟบ เมื่อรีดเบา ๆ บริเวณ 2. ทองอูมเปง ชองเพศและทวารหนัก ชองเพศ จะมีน้ําเชอ้ื ทข่ี าวขนุ มีสแี ดงเรอ่ื ๆ ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 4 ชนดิ ลักษณะของปลาเพศผู ลักษณะของปลาเพศเมยี ปลาซง 1. กานครบี หสู ว นใหญม ปี มุ สากเมอ่ื ลบู ดู 1. ครบี หไู มม ปี มุ สาก เชนเดียวกับกระดกู จะรูสึกสากมือและกระดูกปดเหงือก ปดเหงือกและหัว ในปลาท่โี ตเต็มวยั จะสากมอื 2. ทองแฟบเมอ่ื รดี ดเู บา ๆ บรเิ วณชอ ง 2. ชองเพศและทวารหนักพองมสี แี ดงเรอ่ื ๆ เพศ จะมีนํ้าเชอ้ื สขี าวขนุ ไหลออก ปลาเฉา 1. ระหวางฤดูกาลวางไขครีบหูดานบน 1. มีปุมสากเกิดข้ึนเล็กนอยบริเวณสวนบน จะมีปุมสากเชนเดียวกับกระดูกปด ของครีบหู แตบริเวณกระดูกปดเหงือก เหงอื กบรเิ วณหวั ปุมเหลานี้จะพบชัด และหวั ดา นบนไมม ปี มุ สาก เจนในน้ําเชื้อเจริญดี 2. เมอ่ื รดี เบา ๆ บรเิ วณชอ งเพศ จะมีน้ํา 2. ทองอมู เปง จะนม่ิ เช้ือสขี าวขนุ ไหลออกมา ภาพท่ี 4 เปรียบเทียบลักษณะเพศของปลาลิ่น ภาพท่ี 5 เปรยี บเทยี บลกั ษณะเพศของปลาเฉา กอนท่ีจะคัดพอ แมพ นั ธตุ อ งงดใหอ าหาร 1 วัน เพอ่ื สามารถสงั เกตทอ งปลาไดแ นน อน ในกรณี ที่เลี้ยงโดยการใสปุยคอกนําพอ แมป ลามาขงั ไวใ นบอ พกั กอ นการคดั ประมาณ 5-6 ชั่วโมง แมป ลาทม่ี ี ไขแกจัดสังเกตไดจ ากสว นทอ งอมู เปง ผนงั ทอ งบาง จบั ดรู สู กึ นม่ิ หยนุ มอื ชองเพศและชองทวารหนัก บวมพองมสี แี ดงเรอ่ื ๆ สําหรบั ปลาเพศผไู มค อ ยมปี ญ หามากนกั อาจจะรองรดี น้ําเชอ้ื ดเู ลก็ นอ ยหากมี น้ําเช้ือมสี ขี าวขนุ หยดลงน้ําแลวกระจายดีก็ใชได แตหากนํ้าเชอ้ื คอ นขา งใสมสี อี มเหลอื งหรอื อมชมพู หยดลงน้ําและกระจายไมสม่ําเสมอไมค วรนําตวั ผนู น้ั มาผสมเทยี ม 3. การฉีดฮอรโมน ในการเพาะพันธุป ลาจนี นน้ั ในอดตี นยิ มใชต อ มใตส มองรว มกบั HCG แตใ นปจ จบุ นั นยิ มใช ฮอรโมนสังเคราะห LHRH-a รว มกบั ยาเสรมิ ฤทธ์ิ Dompericone โดยอตั ราฉดี พอสรปุ ดงั น้ี ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาซง เพศเมีย เขม็ ท1่ี ปลาจนี 5 ปลาลน่ิ เขม็ ท่ี 2 ฮอรโ็ มน + ยาเสริมฤทธิ์ 5 Mg + 10 mg/แมปลา 1 กก. ฮอรโ็ มน + ยาเสริมฤทธิ์ 5 Mg + 10 mg/แมปลา 1 กก. ปลาเฉา ฮอรโ็ มน + ยาเสริมฤทธิ์ 5 Mg + 10 mg/พอปลา 1 กก. เพศผู ระหวา งเขม็ ท่ี 1 กับเข็มที่ 2 เวนระยะ 6 ชั่วโมง หลงั จากฉดี เขม็ ท่ี 2 แลวจะผสม เทยี มไดภ ายในเวลา 4-9 ชั่วโมง ภาพท่ี 6 การฉีดฮอรโมนในการเพาะพันธุปลาจีน 4. การผสมพนั ธุ เมื่อไดเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง หลังจากการฉีดแมปลาควรเร่ิมสังเกตอาการของแมปลา เม่ือแมปลามอี าการกระวนกระวายผดิ ปกติ วา ยน้ําไปมาอยา งรนุ แรง ควรตรวจสอบแมป ลาโดยใชเ ปลผา ตักแมปลาขึ้นมาตรวจสอบ เม่ือพบวาไขไหลพุงออกมาอยา งงายดาย กน็ ํามารีดและทําการผสมเทียม กบั น้ําเชอ้ื ปลาตวั ผู ภาพที่ 7 การรดี ไขเ พอ่ื ผสมเทยี ม ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 6 ภาพที่ 8 ลางไขที่ผสมกับนํ้าเชอ้ื แลว 5. การฟก ไข เน่ืองจากไขของปลาทง้ั 3 ชนดิ นเ้ี ปน ไขค รง่ึ จมครง่ึ ลอย จึงตอ งพักในระบบกรวยฟก เชนเดียวกับ ปลาตะเพียนขาว เพยี งแตต อ งลดปรมิ าณไขใ นแตล ะกรวยใหน อ ยลง เนอ่ื งจากไขป ลาเหลา นม้ี ขี นาดใหญ กวาไขป ลาตะเพยี นขาว โดยกรวยฟก ขนาดเสน ผา ศนู ยก ลาง 40 ซ.ม. ลกึ 60 ซ.ม. จะฟกไขปลาจีนได ประมาณ 30,000-50,000 ฟอง เมอ่ื ระยะเวลาผา นไปประมาณ 20-24 ชั่วโมง จะฟกเปนตัว ทอี่ ณุ หภูมนิ ้ํา 28-30 องศาเซลเซยี ส การอนบุ าลลกู ปลา ลูกปลาทั้ง 3 ชนิด เมอ่ื แรกออกจากไขม ลี กั ษณะคลา ยคลงึ กนั มาก จะเรม่ิ กนิ อาหารภายในระยะ เวลา 2-3 วัน การอนบุ าลลกู ปลาทง้ั 3 ชนดิ น้ี ในระยะเวลา 2-3 วนั แรกจะใหก นิ ไขแ ดงตม ละลายน้ํา ฉีดใหกินวันละหลายคร้ัง หลงั จากนน้ั จงึ ยา ยลกู ปลาลงบอ อนบุ าล ซง่ึ เปน บอ ดนิ ทเ่ี ตรยี มไวอ ยา งดคี อื กําจัดศัตรูปลา โรยปนู ขาว และใสป ยุ จนน้ํามสี เี ขยี ว ในระยะแรกยงั ใหไ ขเ ปน อาหารอยจู ากนน้ั จงึ คอ ย ๆ เปล่ียนเปน รําผสมปลาปน ถา ปลอ ยลกู ปลาในอตั รา 1,000-1,500 ตวั /ตารางเมตร อนบุ าล 3-4 สัปดาห จะไดล กู ปลาขนาดประมาณ 2.5 ซ.ม. หรือนําพันธุปลาที่ซื้อจากฟารมจําหนา ยลกู ปลา ซง่ึ สว นใหญจ ะมขี นาด 3-5 ซ.ม. มาเลย้ี งโดย เล้ียงลูกปลารวมกนั ในอตั ราสว นปลาเฉา 5-7 ตวั /ตรม. ปลาซง 12-15 ตวั /ตรม. หรือปลาเฉา 5-7 ตัว/ตรม. กบั ปลาลน่ิ 12-15 ตวั /ตรม. เมอ่ื เลย้ี งไดข นาด 10-15 ซม. จงึ คดั ขนาดลงในบอ เลย้ี ง ปลา เพระปลาขนาดนม้ี พี ฒั นาการทางดา นรา งกายสมบรู ณ เชน ปลาเฉา มีฟนที่คอหอยที่สมบูรณพอที่ จะตัดบดหญา หรือวัชพืชนํ้าได เมอ่ื คดั ปลาขนาด 10-15 ซ.ม. ออกไปเลย้ี งหรอื จําหนายแลว ควรปลอ ย ปลาเล็กทดแทนตามจํานวนปลาที่คัดออกไป พรอมท้ังใสปุยคอกและใหอาหาร ไดแก กากถ่ัวลิสง ราํ ละเอยี ด แหนเปด ผาํ น้าํ วัชพืช น้าํ และหญา เปน อาหารเพม่ิ เตมิ การจดั การบอ เลย้ี ง จากสถติ ผิ ลผลติ การเลย้ี งสตั วน ้ําจืด ป 2539 พบวาประเทศไทยมีฟารมเล้ยี งปลาจนี ทั้งสาม ชนดิ อยู 779 ฟารม รวมเนอ้ื ท่ี 9,335.45 ไร มผี ลผลติ 1,772.97 ตนั และจากการศึกษาพบวา ปลาจีนท้ังสามชนดิ นน้ั จะเจรญิ เตบิ โตไดเ รว็ มากถา หากไดร บั การเลย้ี งอยา งถกู วธิ ี ซึ่งพอจะจําแนกปจจัย ที่ทําใหก ารเลย้ี งไดผ ลผลติ สงู ดงั น้ี 1. ความลกึ ของน้ํา 1.5-2.0 เมตร 2. ขนาดของบอ ควรมขี นาด 2-5 ไร 3. คุณสมบัติของดิน ดนิ ปนทรายดที ส่ี ดุ เพราะทําใหก ารเนา สลายของพวกอนิ ทรยี ส ารดี มกี าร ดูดซึมพวกปยุ และการคงไวข องพวกเกลอื แรอ ยา งดี ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 7 4. รูปแบบบอควรเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา (ความยาว:ความกวา ง:3:2) ซง่ึ งา ยและสะดวกตอ การจัดการ 5. การทําความสะอาดบอ หลงั จากการเลย้ี งปลาไประยะหนง่ึ พน้ื กน บอ จะมตี ะกอนเพม่ิ ขน้ึ เปน จํานวนมาก ดงั นน้ั ควรจะมกี ารลอกเลนกําจดั ตะกอนทเ่ี กดิ ขน้ึ ออกจากบอ 6. คุณสมบัติของนํ้า ควรมคี วามเปน กรดเปน ดา ง 7-8.5 และปรมิ าณออกซเิ จนทล่ี ะลายอยใู น น้ําระหวา งการเลย้ี ง ควรสงู กวา 2 ppm. เพราะถา ปรมิ าณออกซเิ จนในน้ําต่ํากวา 2 ppm. ปลาจะกิน อาหารนอยลง และจะหยุดกินอาหาร เมอ่ื ออกซเิ จนต่ํากวา 1 ppm. ปลาจะลอยหวั และตายเมอ่ื อกซเิ จน ในน้ําอยรู ะหวาง 0.2-0.5 ppm. ดงั นน้ั ถา สงั เกตเหน็ วา ปลาทเ่ี ลย้ี งมกี ารลอยหวั จะตอ งทําการเปลย่ี นน้ํา หรือฉีดพนผา นอากาศลงในบอ เพอ่ื เพม่ิ ออกซเิ จนอณุ หภูมทิ เ่ี หมาะสมอยูระหวาง 25-30 องศาเซลเซยี ส 7. การเตรยี มบอ ในกรณีท่ีเปนบอ เกา ควรปรบั ปรงุ บอ โดยนําโคลนหรอื ซากอนิ ทรยี ว ตั ถทุ เ่ี หลอื อยใู นบอ ออกเสยี กอนท่ีจะปลอ ยปลาลงเลย้ี ง ถา หากอุณหภูมิสงู ขนึ้ สารพิษตาง ๆ เชน กรดอนิ ทรยี  ไฮโดรเจนซลั ไฟด และแกสมีเทน ฯลฯ จะสลายออกมาจากสารเนา เปอ ยไดง า ยและเรว็ ขน้ึ สําหรบั บอ ซง่ึ เคยมปี ญ หาเรอ่ื ง โรคปลาควรมีการฆา เชื้อเสียกอน และเมอ่ื พบรอยรว่ั หรอื รตู ามคนั บอ ใหรีบซอมแซมทันที หลังจากทํา ความสะอาดบอ แลว จงึ ทําการตากบอ โดยใชปูนขาวและกากชากําจดั ศตั รู ในกรณีท่ีเปนบอใหมถ า ดนิ เปน กรดมาก ควรใสป นู ขาวเพอ่ื แกส ภาพความเปน กรดของดนิ ให เจือจางหรอื หมดไป อตั ราสว นการใชป นู ขาว 1 ก.ก. ตอ เนอ้ื ทบ่ี อ 10 ตารางเมตร การใสป ุยใหร ะบายนํ้าเขา บอ ประมาณ 30-40 ซ.ม. แลวใสปุยตากแดดทิ้งไว 3-5 วัน จะมี ไรนํ้าเกดิ ขน้ึ ใหป ลอ ยปลาลงเลย้ี ง การเลย้ี งปลาขนาดตลาด การเล้ียงปลาจนี ไมไ ดจ ํากัดอยูแตร ปู แบบใดรปู แบบหนึ่งเทา นั้น การพจิ ารณาการเลย้ี งปลา ยังตองคํานึงถงึ เรอ่ื งการตลาดวา เมอ่ื เลย้ี งปลาจนี ชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ ออกมาแลว สามารถจําหนายไดหรือ ไม ดังน้ันเกษตรกรจงึ ควรเลอื กเลย้ี งปลาจนี ชนดิ ไหนกไ็ ดต อบสนองตลาดไดดี สําหรับรูปแบบการเลี้ยง น้ัน นอกจากจะพจิ ารณาลกั ษณะบอ แลว ตอ งพจิ ารณาลกั ษณะการกนิ อาหารของปลา ซง่ึ จะกลา วตอ ไป โดยสงั เขป ปลาลน่ิ เปนปลากนิ แพลงกต อน โดยปลาทม่ี อี ายตุ ง้ั แต 1-8 วัน จะกนิ แพลงกต อนสตั ว (Zooplankton) เปน หลกั แตเ มอ่ื อายมุ ากกวา น้ี จะกินแพลงกตอนพืช (Phytoplankton) หรอื น้ําเขียว เปนหลัก และกนิ แพลงกต อนสตั วร องลงมา ปลาซง เปนปลากินแพลงกต อน โดยจะกนิ แพลงกต อนสตั วเ ปน หลกั ตง้ั แตเ ลก็ จนโต ปลาเฉา ปลาขนาดเลก็ ทม่ี ขี นาดเลก็ กวา 15 ซ.ม. จะกินอาหารจําพวกเดียวกับปลาล่ิน และ ปลาซงคือ แพลงกต อนสตั ว และแพลงกต อนพชื แตเ มอ่ื มขี นาดโตขน้ึ กนิ อาหารพวกพนั ธไุ มน ้ํา และหญา จากลักษณะการกนิ อาหารของปลาจนี ทง้ั สามชนดิ พอเปน แนวทางในการจดั บอ เลย้ี ง อนั ไดแ ก การใสปุยคอกใหเ หมาะสม จะเหน็ วา การเลย้ี งปลาจนี ทง้ั สามชนดิ ตอนทม่ี ขี นาดเลก็ นน้ั ไมค วรเลย้ี งรวม กัน แตเม่ือปลาโตขน้ึ กส็ ามารถนํามาเลย้ี งรวมกนั ได แตต อ งเตรยี มอาหารในบอ ใหถ กู ตอ งกบั ลกั ษณะ การกินอาหารของปลาที่เลี้ยง ปจ จบุ นั การเลย้ี งปลาควรหนั มาสนใจเรอ่ื งตลาดใหม ากขน้ึ เพราะวาการ ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 8 จัดการเร่ืองอาหารปลานน้ั สามารถใหอ าหารสมทบ หรอื อาจเปน อาหารสําเรจ็ รปู ของปลากนิ พชื โดยให ในอตั รา 1-2 % ของน้าํ หนกั ตวั ปลาทป่ี ลอ ย สําหรบั รปู แบบการเลย้ี งนน้ั จะไดย กตวั อยา งดงั ตอ ไปน้ี ภาพท่ี 9 การหวานอาหารรอบ ๆ บอ เลย้ี ง ภาพท่ี 10 การใหอาหารเปนจุด เพื่อทดสอบปริมาณอาหาร 1. การเล้ียงปลาจนี แบบรวมกนั เอง ใชบอ ขนาดตง้ั แต 1 ไรข น้ึ ไป ปลอ ยปลาเฉา ล่ิน ซง และ ปลาไน อตั ราสว น 2:1:1:1 อตั ราปลอ ยปลา 1 ตวั /4ตารางเมตร สาํ หรบั ปลาทป่ี ลอ ยควรมี ขนาด 10-15 ซ.ม. (ไดจ ากที่กลาวมาแลว) โดยใชห ญา สดเปนอาหารและใสป ุย คอกเปน หลัก นอกจากนน้ั ใหอ าหารสมทบแกป ลาปรมิ าณ 2 % ของน้าํ หนกั ปลา 2. การเลี้ยงปลาจีนในคอก โดยเลอื กแหลง น้ําทเ่ี ปน อา งทม่ี คี วามลกึ ในระดบั 3-5 เมตร และ ในที่ดังกลาวควรมีระดับนํ้าต่ําสดุ ประมาณ 1.5 เมตร ขนาดของคอกควรมพี น้ื ทป่ี ระมาณ 200-1,600 ตารางเมตร โดยใชอ วนพลาสตกิ ขนาดชอ งตาประมาณ 2.5-5.0 ซ.ม. ตาม ขนาดปลาท่ีเล้ียง การปลอ ยควรปลอ ยปลาเฉาเปน หลกั (ถา แหลง น้ํานน้ั มพี รรณไมม าก) ขนาดปลาเฉาทป่ี ลอ ย ควรมขี นาดไมต ่ํากวา 15 ซ.ม. สาํ หรบั ปลาชนดิ อน่ื ๆ เชน ลน่ิ ซง และปลาไน ควรปลอ ยรวมกนั ประมาณ 30 % ของปลาทง้ั หมด อตั ราทป่ี ลอ ยปลาในคอก ประมาณ 1-2 ตวั /ตารางเมตร 3. การเล้ียงปลาจนี รว มกบั ปลาชนดิ อน่ื ๆ วิธีน้ีเปน ทน่ี ยิ มกนั มากในปจ จบุ นั เพราะเปน การ เพิ่มผลผลิตปลาในบอ เชน การเลย้ี งปลาสวาย หรอื ปลานลิ จะปลอ ยปลาซง ไปในอตั ราสว น 10 % ของปรมิ าณปลาทป่ี ลอ ยไปทง้ั หมด การเลย้ี งแบบนใ้ี ชม ลู สกุ รสําหรบั เปน อาหารปลา สวาย และปลานลิ สว นปลาซง เปน ปลาทช่ี ว ยกนิ แพลงกต อนในบอ หรอื การเลย้ี งปลาสวาย ในบอรวมกับปลานิล โดยใชเศษอาหารที่เหลือจากรานอาหาร โดยจะปลอยปลาเฉา ปลาลน่ิ ปลาซง และปลาไน เพม่ิ ขน้ึ อกี ประมาณ ไรล ะ 20 ตวั ทง้ั นเ้ี มอ่ื รวมลกู ปลาทป่ี ลอ ยลงทง้ั หมดประมาณ 5 ตวั /ตารางเมตร โดยมกี ารจดั การทด่ี ใี นดา นอาหารปลา และควรรักษาคุณ สมบัติของนํ้ าในบอ ผลผลิตของปลาโดยการเล้ียงปลาแบบรวมน้ีจะไดประมาณ ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 9 1,000-2,000 ก.ก./ป ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู บั อาหารทใ่ี ชเ ลย้ี ง และสถานทต่ี ง้ั ของบอ ทส่ี ามารถ ถา ยเทน้ําไดสะดวกทุกฤดูกาล อยางไรก็ตาม ในการปลอ ยปลาลงเลย้ี งทง้ั สามวธิ นี น้ั ควรมรี ะบบการจดั การอยา งหนง่ึ เพม่ิ เตมิ เขาไปคือ การคดั ปลาขนาดตลาดออกจําหนา ย แลว ปลอ ยปลารนุ ใหมล งทดแทนเพราะนอกจากทําให สามารถเพ่ิมผลผลติ ปลาในบอ ใหม ากขน้ึ แลว ยงั สามารถเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ปล ะหลาย ๆ ครง้ั ตารางประเภทการเลย้ี งปลาไดด งั น้ี ประเภทการเลย้ี ง เนอ้ื ท่ี อาหารหลกั อาหารสมทบ 2% อัตราปลอ ย 1. ปลาจีนแบบรวม 1 ไรข น้ึ ไป 1 ตวั ตอ หญาสด รํ า แ ล ะ ป ล า ย ปลาเฉา 2 สวน ปุย คอก ข  า ว ต  ม สุ ก ห รื อ 4 ตารางเมตร ปลาจนี 1 สวน อาหารเม็ดสํ าเร็จ ปลาซง 1 สวน รปู ปลาไน 1 สวน 2. ปลาจนี ในคอก 200-1,600 1-2 ตวั ตอ ตาราง เมตร 10% ของปลา ปลาเฉา,ลน่ิ ,ซง,ไน ตารางเมตร ปลาที่ปลอยทั้งหมด 3 . ป ล า จี น ร  ว ม กั บ ป ล า มลู สกุ ร ชนดิ อน่ื ๆ : สวาย , เศษอาหาร นลิ ภาพท่ี 11 ผลผลิตของการเลี้ยงปลาจีนรวมกับปลาชนิดอื่น ๆ ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 10 ภาพท่ี 12 ผลผลิตปลาลิ่น การจบั และลําเลยี งปลาเลก็ เน่ืองจากพันธุป ลาจนี เปน ปลาทต่ี ายงา ย การจบั และลําเลยี งตอ งระมดั ระวงั ใหม ากเพอ่ื มใิ หป ลา บอบช้ํา สาเหตุที่ปลาบอบชํ้ามหี ลายประการ 1. เครื่องมือจับปลา ตองเลือกเคร่ืองมอื ทเ่ี หมาะสม เชน อวน ควรเลอื กขนาดทป่ี ลาไมต ดิ ชองตาอวน หรือจะใชยอ อวนปา นเปล สวนแหไมเหมาะสมที่จะนํามาใช 2. วิธตี อี วน แมจะเปน เครอ่ื งมอื ทด่ี ี แตถ า คนตอี วน ๆ ไมเ ปน แลว ปลาจะไดร บั ความบอบช้ํา 3. การตกั และนบั ปลา เม่ือไดตีอวนรวบปลามาอยใู นถงุ อวนแลว ควรพกั ลกู ปลาใหข บั ถา ย ของเสียสักระยะหนึ่งกอน และควรมนี ้ําพนเปนฝอยเพื่อชว ยเพิ่มอากาศใหปลาหายใจ การตักและนับปลาตอ งระมดั ระวงั เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชค วรเปน กระสอบผา ไนลอนเนอ้ื นม่ิ หรือ จานสังกะสีเคลือบ ไมค วรใชม อื หรอื กระชอนไมไ ผเ ปน อนั ขาด 4. การลําเลยี ง ปจจบุ นั นยิ มใชล ําเลยี งโดยถงุ พลาสตกิ อดั แกส ออกซเิ จน การปอ งกนั เมื่อไดปลอยปลาลงเลี้ยง การปอ งกนั ควรมลี วดตาขา ยถห่ี รอื อวนกน้ั ลอ มขอบบอ จะชวยใหปลา รอดตายมากขึ้น ฤดูรอ นปลากนิ อาหารดี มอี ตั ราเจรญิ เตบิ โตเรว็ กวา ฤดฝู นและฤดหู นาว ในฤดฝู นเวลา เชาปลามดั จะลอยบนผวิ น้ําเปนประจํา เนอ่ื งจากอากาศครม้ึ ออกซเิ จนในน้ํามนี อ ยไมเ พยี งพอกบั ความ ตองการของปลา สว นฤดรู อ นและฤดหู นาวอากาศแจม ใสมแี สงแดด พนั ธไุ มน ้ําและพชื ทม่ี สี ีเขียวสามารถ ปรุงอาหารได ในเวลาเดยี วกนั กจ็ ะคายออกซเิ จนออกมา ซง่ึ จะเปน ประโยชนต อ ปลาและสง่ิ ทม่ี ชี วี ติ ซง่ึ อาศยั อยใู นน้ํา ขอ ควรพงึ ระวงั เกย่ี วกบั การเลย้ี งปลาจนี 1. ศตั รู ผูเลย้ี งปลาจะประสบความสําเร็จและไดผ ลกําไรมากหรอื นอ ยนน้ั ศตั รเู ปน สง่ิ สําคญั ขอแรกที่ควรระมัดระวัง ไดแก นก งู กบและปลากนิ เนอ้ื บางชนดิ เชน ปลาชอ น ปลาไหล ฯลฯ 2. นํ้าเสยี เม่ือสังเกตเหน็ ปลาลอยหวั บนผวิ น้ําตดิ ๆ กนั ถงึ 3 วนั ในเวลาเชาแสดงวา น้ําเสยี ปริมาณออกซเิ จนไมเ พยี งพอกบั ความตอ งการของปลา ควรเปลย่ี นน้ําใหม 3. อาหาร ควรใหอาหารประจําทุกวัน และกําจัดเศษอาหารที่เหลือ หากปลอ ยทง้ิ ไวน้ํา อาจเสียได 4. ขโมย เน่ืองจากเปน ปลาราคาดี และจําหนา ยไดง า ย ผเู ลย้ี งมกั จะถกู แกลง และถกู ขโมย ซึ่งเปน เหตุใหผเู ลี้ยงขาดทนุ ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 11 การจําหนา ย ปจจุบัน ปลาจนี มกี ารจําหนา ย 2 รูปแบบ คอื ขนาด 7-8 ขดี นําไปประกอบอาหารโตะ จีน และ ขนาด 1 1/2 - 2 กิโลกรัม เชน ปลานง่ึ หัวปลาหมอไฟ ฯลฯ แนวโนม การเลย้ี งปลาจนี ในอนาคต แนวโนมดานการตลาดของปลาจนี ยงั คงอยใู นสภาวะทด่ี มี ปี รมิ าณความตอ งการบรโิ ภคสูง เนอ่ื ง จากเปนปลาที่มีรสชาติดี ราคาไมแ พงมากนกั และนยิ มประกอบอาหารเปน ปลาจานระดบั ภตั ตาคาร อยางไรก็ตาม การเลย้ี งปลาจนี ในขณะน้ี สว นใหญม ไิ ดเ ลย้ี งเปน ปลาหลกั แตจ ะปลอ ยเสรมิ เพอ่ื การใช ประโยชนจากทรัพยากรในแหลงนํ้าโดยมใิ หเ กดิ ความสญู เปลา เนอ่ื งจากปลาจนี จะกนิ อาหารตา งระดบั กับปลาหลัก มอี ตั ราเจรญิ เตบิ โตเรว็ ไมคอยพบปญหาโรคระบาด ดงั นน้ั ปลาจนี จงึ เปน ปลาน้ําจดื ชนดิ หนึ่ง ซ่ึงมีตลาดคอ นขา งจะแนน อนอนั จะเสรมิ สรา งความมน่ั ใจใหแ กผ เู ลี้ยง คําแนะนํา การปอ งกนั สตั วน ้ําจากภยั ธรรมชาติ “ภัยธรรมชาติ” หมายถึง อันตรายจากสง่ิ ทเ่ี กดิ มแี ละเปน อยตู ามธรรมดา ของสง่ิ นน้ั ๆ โดยมไิ ด มีการปรุงแตง อาทิอทุ กภัย และฝนแลง เปน ตน กรมประมง จงึ ขอเสนอแนวทางปอ งกนั หรอื ลดความ สูญเสียและความเสียหายแกเกษตรกร ผเู พาะเลย้ี งสตั วน ้ําจากการประสบภาวะฝนแลง ฝนตน ฤดแู ละ อุทกภัย ดงั น้ี ภาวะฝนแลง ภ าว ะ ฝ นแ ลงและฝนทิ้งชวงทํ าใหปริมาณนํ้ ามีนอยทั้งในแหลงน้ํ าธรรมชาติและแหลงน้ํ า ชลประทานซง่ึ เปน แหลง น้ําสําคญั ทใ่ี ชใ นการเพาะเลย้ี งสตั วน ้ําและเกดิ ผลกระทบตอ การประมง ตลอดจน สภาพแวดลอ มไมเ หมาะสมตอ การแพรข ยายพนั ธแุ ละการเจรญิ เตบิ โตของสัตวน ้ํา โดยมวี ธิ กี ารปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ควบคมุ การใชน ้ําและรกั ษาปรมิ าณน้ําในทเ่ี ลย้ี งสตั วน ้ําใหม กี ารสญู เสยี นอ ย เชน การรวั่ ซึม การกาํ จัดวัชพืช 2. ทํารม เงาใหส ตั วน ้ําเขา พกั และปอ งกนั การระเหยน้ําบางสว น 3. ลดปรมิ าณการใหอ าหารสตั วน ้ําท่มี ากเกนิ ความจําเปนจะทําใหน ้ําเสยี 4. เพ่ิมปริมาณออกซเิ จนโดยใชเ ครอ่ื งสบู น้ําจากกน บอ พน ใหส มั ผสั อากาศแลว ไหลคนื ลงบอ 5. ปรับสภาพดนิ และคณุ สมบตั ขิ องน้ํา เชน น้าํ ลกึ 1 เมตร ใสป นู ขาว 50 กก./ไร ถา พน้ื บอ ตะใครห รอื แกส มากเกนิ ไปควรใสเ กลอื 50 กก./ไร เพื่อปรับสภาพผิวดินใหดีขึ้น 6. จับสัตวนํ้าทไ่ี ดข นาดขน้ึ จําหนา ยหรอื บรโิ ภคในเวลาเชา หรอื เยน็ เพอ่ื ลดปรมิ าณสตั วน ้ําในบอ 7. ตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องน้ําจากภายนอกที่จะสูบเขาบอเลี้ยง เชน พบวา มตี ะกอนและแรธ าตุ ตาง ๆ เขม ขน ควรงดการสบู น้ําเขา บอ 8. งดเวน การรบกวนสตั วน ้ําเพราะการตกใจจะทําใหส ตั วน ้ําสญู เสยี พลงั งานและอาจตายได 9. งดเวนการขนยายสัตวน้ําโดยเดด็ ขาด หากจําเปน ตอ งทําอยา งระมดั ระวงั ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ

ปลาจนี 12 10. แจงความเสียหายตามแบบฟอรม กรมประมง เพอ่ื การขอรบั ความชว ยเหลอื อยา งถกู ตอ ง และรวดเรว็ ภาวะฝนตนฤดู การเตรยี มการรบั ภาวะฝนตน ฤดู เกษตรกรผเู ลย้ี งสตั วน ้ําควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ไมค วรสบู น้ําฝนแรกเขา บอ เพราะน้ําจะพัดพาสง่ิ สกปรกจากผิวดินลงสูแหลง น้ําธรรมชาติ ควรปลอ ยใหน ้ํามปี รมิ าณเพม่ิ ขน้ึ จึงนําน้าํ ไปใชใ นการเพาะเลย้ี งสตั วน ้ํา 2. ควรสูบนํ้าในบอ ใหส มั ผสั อากาศจะเพม่ิ ปรมิ าณออกซเิ จนและปอ งกนั การแบง ชน้ั ของน้าํ 3. ปองกันการไหลของนํ้าฝนท่ีจะชะลางแรธาตุและสารเคมีจากผิวดินลงสูบอ ซึ่งอาจเปน อันตรายตอ สตั วน ้ําได 4. งดการรบกวน การจบั และขนยา ยสตั วน ้ํา ควรรอจนกวา คณุ สมบตั ขิ องน้ํามสี ภาพดเี ปน ปกติ 5. งดจับสัตวนํา้ เพอ่ื การอนรุ กั ษ เนอ่ื งจากสตั วน ้ําจะผสมพนั ธหุ ลงั จากฝนตกใหม ๆ ภาวะอทุ กภยั การปองกันสัตวนํ้าสูญหายจากภาวะอุทกภัยควรปฏิบัติตามสภาวะการณกอนเกิดภาวะอุทกภัย คือใหจับสัตวนํ้าทไ่ี ดข นาดตลาดตอ งการออกจําหนา ย กอ นชว งมรสมุ ในฤดฝู น พรอ มทง้ั สรา งกระชงั ในลอน กระชงั เนอ้ื อวน บอ ซเี มนต หรอื ขงึ อวนไนลอน เพอ่ื กกั ขงั สตั วน ้ํา “สัตวนํ้าจะปลอดภยั ใหปองกันหม่ันดแู ล” ® กลบั ไปหนา กอ นน้ี ¯ หนา ถดั ไป กลบั หนาหลัก/สารบัญ จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook