Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นุ่น...การปลูกและการจัดการ

นุ่น...การปลูกและการจัดการ

Description: นุ่น...การปลูกและการจัดการ.

Search

Read the Text Version

ทม่ี า : เอกสารเผยแพรกองเกษตรสัมพันธ กรมสงเสริมการเกษตร นนุ …การปลูกและการจัดการ เรยี บเรยี ง : ผ.ศ กณั หา บญุ พรหมมา ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน ค ว า ม รู เ บ้ื อ ง ต น แหลงปลูก นุน เปนพันธไ มย ืนตน ทีใ่ หผลผลิตเสน ใยจากผล หรือฝก สําหรับประเทศไทยผลผลิตสวนใหญใชสนองความตองการภายใน ประเทศ อยใู นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ซง่ึ นยิ มปลกู ไวใ ชส อยใน ครัวเรือนตามหัวไรปลายนา สวนในภาคกลางและภาคใตบาง จังหวัด เชน ประจวบครี ขี นั ธ กาญจนบุรี และนครศรธี รรมราช จะ ปลูกกันเปนแบบการคา ในแตละปไทยจะผลิตนุนไดประมาณ 35,000-40,000 ตน ตลาดสง ออกทส่ี าํ คญั คอื ญี่ปุน ปจจุบัน การผลิต นุนของไทยมีแนวโนมลดลงเพราะเกษตรกรใหความ สําคัญนอยลง หากไมส ง เสรมิ อยา งจรงิ จงั ในอนาคตคาดวา ไทยอาจ ตองนาํ เขา นนุ จากตา งประเทศ การใชประโยชน ทาํ ไสเ บาะ ทน่ี อน หมอน ฯลฯ สกัดเปน นํ้ามนั พชื กากทเ่ี หลอื ใชเ ปน วตั ถดุ บิ ในอุตสาหกรรมอาหารสตั ว ปยุ นนุ เมลด็

ไสนุน ใชเพาะเห็ดฟาง เนื้อไมนุน ทํากระสวนทอผา เยอ่ื กระดาษ สน รองเทา ราก ใชประโยชนในทางการแพทย การจําแนกนุน 1. แยกตามลกั ษณะการแตกกง่ิ 1.1 นนุ ทรงฉตั ร แตกกง่ิ และเจรญิ เตบิ โตในแนวระดบั ขนานกบั พน้ื ดนิ เตบิ โตเรว็ ลาํ ตน สงู มี การแตกกิ่งเปนระยะ แตล ะระยะมี 2-3 กิ่ง 1.2 นนุ ทรงพมุ แตกกง่ิ และกง่ิ จะเจรญิ เปน มมุ แคบกบั ลําตน หรือเกอื บขนานกบั ลําตน แตกกง่ิ มาก และติดฝกตามกิ่งยอยทาํ ให ติดฝก มากและกง่ิ หกั งา ย 2. แยกตามขนาดและความยาวของฝก 2.1 นนุ ขนาดเลก็ ความยาวฝกตา่ํ กวา 15 ซม. ฝก อว นปอ ม แกนไสใหญ มเี ปอรเ ซน็ ตป ยุ นอ ย จดั เปน นนุ พน้ื เมอื ง พบมากใน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เชน นนุ ขน้ี ก นนุ กระจบิ หรอื นนุ พวง 2.2 นุนขนาดกลาง ความยาวฝก 15-24 ซม. มที ง้ั ทรงฉตั รและทรงพมุ เปลอื กบาง เปอรเซ็นตปุยสูงปลูกมากในภาคกลาง มกี ลมุ พนั ธตุ า งๆ มากที่สุด เชน นนุ ลําสี นนุ ตองตน นนุ พวง เปน ตน 2.3 นุนขนาดใหญ ความยาวฝก ตง้ั แต 25 ซม. ขน้ึ ไป สว นใหญเ ปน นนุ ทรงพมุ จงึ มคี วาม ยาวฝก ประมาณ 40-50 ซม. ถา เปน ทรงฉตั ร จะมคี วามยาว 30-40 ซม. พบมากในจังหวัด ประจวบครี ีขันธ เนอ่ื งจากมฝี ก ขนาดใหญ มนี า้ํ หนกั มาก จึงทาํ ใหกิ่งหักงาย ฝกเสียหายมาก เชน นนุ เขมร นนุ เกษตร นนุ โตโก นนุ ญป่ี นุ เปน ตน การปลกู สภาพแวดลอ ม นุนเจริญไดดีในเขตรอนทั่วไป ทนทานตอสภาพดินเลวและแหงแลง ไดด ี สภาพแวดลอ มโดย ทั่วๆ ไปทุกภาคในประเทศไทยสามารถปลูกนุนไดโดยไมมีปญหา

การเตรยี มดนิ มีการไถพรวนและปรบั พน้ื ทเ่ี ชน เดยี วกบั การปลกู ไมผ ลอน่ื ๆ โดยเตรยี มหลมุ ปลกู ขนาด 50x50 x50 ซม. ระยะปลูก 6x6 เมตร จนถงึ 8x8 เมตร เมอ่ื นนุ ยงั เลก็ อาจปลกู พชื ไรอ ายสุ น้ั แซมระหวา งแถว นนุ การเตรยี มวสั ดปุ ลกู ก. ปลูกดวยกลาจากเมล็ดเพาะกลาในกระบะเพาะ หรือในถงุ พลาสติก จนกลา มคี วามสงู 80-150 ซม. (หรือ 6-12 เดอื น) จึง ยายลงปลกู ในไร ข. ปลูกดวยก่ิงปกชํา เลือกตัดกิ่งแขนงของก่ิงใหญไปปกชําใน แปลงปก ชาํ ทเ่ี ตรยี มดนิ อยา งดี หา งกนั ประมาณ 10-15 ซม. หมน่ั รดน้าํ ดแู ลใหด ี ประมาณ 2-4 เดอื น กน็ ําไปปลกู ในแปลงได การดแู ลและกําจดั ศตั รนู นุ ควรหมั่นกําจัดวัชพืชในแปลงเสมอ มีการดายหญา พรวนดินรอบหลมุ ปลกู จะชว ยใหต น นนุ เตบิ โตเรว็ ควรมกี ารใส กําจดั วชั พชื และใสป ยุ ปุยนุนทั้งปุยคอกและปุยวิทยาศาสตร อยา งนอ ยปล ะครง้ั โดยโรย ปุยคลุกดนิ รอบๆ ตน อยาใหปุยที่โคนโดยตรง ควรใสปยุ หลังเก็บ ศตั รนู นุ เก่ียว หรือกอนเขาฤดูฝนนับวาเหมาะที่สุดควรหม่นั กําจัดวัชพืช ในแปลงเสมอ มีการดายหญา พรวนดนิ รอบหลมุ ปลกู จะชวยให ตนนุนเติบโตเร็ว ควรมีการใสปุยนุนทั้งปุยคอกและปุยวิทยา ศาสตร อยา งนอ ยปล ะครง้ั โดยโรยปยุ คลกุ ดนิ รอบ ๆ ตน อยาให ปุยที่โคนโดยตรง ควรใสปุยหลังเก็บเกี่ยว หรอื กอ นเขา ฤดฝู นนบั วาเหมาะที่สุด

โรคไมคอยรายแรง สวนใหญที่พบเกิดจากเชื้อราที่ใบ เชน โรคใบเหลอื ง สว นโรคใบจดุ และโรค รากเนาเกดิ จากสภาพดินท่ีมีการระบายน้ําไมด ี แมลงศัตรู ที่สําคัญคือ หนอนของดว งหนวดยาวเจาะลํา ตน พบมากกบั ตน นนุ ทม่ี อี ายมุ าก นนุ ทรงพมุ จะพบมากกวา ทรงฉตั ร เพราะมีกิ่งหนาทึบกวา และยังมี หนอนของดว งหนวดยาวอกี 2-3 ชนิด เขาทาํ ลายกง่ิ ทาํ ใหก ิง่ หักแตไ มรายแรงมากนัก แกไขโดยการอัด หรือกรอรสารฆาแมลงชนิดผงหรือน้ําเขาไปในรู เมื่อถูกตัวหนอนจะตายได หนอนผีเส้ือเจาะฝกนุน ทําลายฝกนุนทาํ ใหป ยุ นนุ สกปรก พบระบาดทั่วไปในจังหวัดกาญจนบุรี และระบาดรนุ แรงในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ แกไขโดยพนเซพวินในระยะที่นุนติดฝกแลว 7-15 วัน และหลังจากเก็บฝกแลวควรขุด ดินรอบโคนตน ลกึ 3-4 นว้ิ เพอ่ื เกบ็ ดกั แดข องหนอนทาํ ลายทง้ิ เสยี การเกบ็ เกย่ี ว นุนที่ปลูกจากเมลด็ จะเรม่ิ ใหผ ลผลติ เสน ใยเมอ่ื มอี ายุ 3 ปข น้ึ ป ถา ดแู ลรกั ษาดอี าจใหผ ลเรว็ ขน้ึ นุน ทป่ี ลกู จากกง่ิ ปก ชําจะใหผลเร็วกวา 1-2 ป ควรทยอยเก็บเฉพาะฝกที่แกเต็มที่ อยาเก็บพรอ มกันท้งั หมดเพราะนนุ จะออกดอกและแกไ มพ รอ มกนั นนุ อายุ 3 ป จะใหผ ลผลติ 200-350 ฝก ตอ ตน ถาอายุ 4-5 ป จะใหผ ลผลติ 400-500 ฝก ตอ ตน และจะเกบ็ ไดอ ยา งนอ ย 600 ฝก ตอ ตน เมอ่ื นนุ มอี ายปุ ท ่ี 10 ซึ่งเปนระยะที่ใหผลผลิตสูงสุด ตอ จากนน้ั ผลผลติ จะลดลง จึงควรโคนทาํ ลายตน นนุ และปลกู ทดแทน ใหมเ มอ่ื มอี ายุ 13-15 ป จดั ทําเอกสารอิเลก็ ทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร