Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการการผลิตทุเรียน

การจัดการการผลิตทุเรียน

Description: การจัดการการผลิตทุเรียน.

Search

Read the Text Version

พันธุท์ เุ รยี น (1) พันธ์ุทุเรยี น (1) เลอื กพนั ธุ์ท่ีมีคุณภาพและตรงตามความต้องการของตลาด พนั ธุก์ ารค้า ได้แก่ หมอนทอง ชะนี กระดุม กา้ นยาว พันธแ์ุ นะนาของกรมวิชาการเกษตร เชน่ จนั ทบุรี 1 จันทบุรี 2 จันทบรุ ี 3 3

พนั ธุ์ทเุ รียน (2) พันธ์ทุ ุเรยี น (2) ขอ้ ดี และ ลกั ษณะพิเศษของทเุ รยี นแต่ละพนั ธุ์ 4

พนั ธ์ทุ เุ รียน (3) พนั ธท์ุ ุเรยี น (3) ขอ้ ดี และ ลกั ษณะพเิ ศษของทเุ รียนแต่ละพนั ธ์ุ 5

การปลกู (1) พืน้ ทีป่ ลูกที่เหมาะสม  สภาพพืน้ ท่ี ดินมคี วามอดุ มสมบรู ณส์ ูง มีการระบายนา้ ดี หนา้ ดินลึกกวา่ 50 เซนตเิ มตร และมีความเปน็ กรดด่าง 5.5-6.5  สภาพภมู อิ ากาศ อากาศร้อนช้นื ปรมิ าณน้าฝนระหวา่ ง 1,600-3,000 มิลลิเมตร/ปี มชี ว่ งแล้งตอ่ เนอื่ งน้อยกวา่ 3 เดือน/ปี และ ความชน้ื สัมพทั ธ์มากกว่ารอ้ ยละ 30  แหล่งน้า มีนา้ เพียงพอ ประมาณ 600-800 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ ความเป็นกรดด่าง 6.0-7.5 มสี ารละลายเกลอื ไมม่ ากกวา่ 1,400 มลิ ลิโมล 6

การปลูก (2) การเตรยี มพืน้ ทปี่ ลกู  พืน้ ท่ีดอน ไถพรวน ปรบั พน้ื ท่ใี ห้เรยี บเพอ่ื สะดวกในการวางระบบนา้ และการจดั การสวน รวมทง้ั ขุดรอ่ งระบายนา้  พื้นที่ลุ่ม ยกโคกและปลูกดา้ นบน หากมนี า้ ทว่ มขังมากและนาน ควรยกรอ่ งสวนให้มขี นาดสันร่องกวา้ งไม่น้อยกวา่ 6 เมตร รอ่ งกวา้ ง 1.5 เมตร ลกึ 1 เมตร มรี ะบบระบายน้าเขา้ ออกเป็นอย่างดี 7

การปลูก (3) มี 2 ระบบ คือ การวางผงั ปลกู - ระบบสี่เหล่ยี มจตั รุ สั หรือสามเหลี่ยมด้านเท่า ระยะปลูก 8-10 เมตร เหมาะกับพนื้ ท่ี คอ่ นขา้ งเรียบ - ระบบแถวกว้าง ต้นชิด ระยะระหว่างต้นร้อยละ 30-50 ของระยะระหว่างแถว และมี การวางแถวปลกู ในแนวเหนอื ใต้ ผงั ปลกู ระบบสีเ่ หลี่ยมจัตุรัส ผงั ปลูกระบบสามเหลีย่ มด้านเท่า ผังปลูกระบบแถวกว้างตน้ ชิด 8

การปลกู (4) วธิ กี ารปลกู วธิ กี ารปลกู แบบเตรยี มหลมุ ปลกู วิธกี ารปลูกแบบนงั่ แท่นหรอื ยกโคก เหมาะกบั พืน้ ท่ีคอ่ นขา้ งแห้งแล้ง เหมาะกับพื้นทฝ่ี นตกชุก ช่วยให้ดนิ ระบายน้าไดด้ ขี ้ึน 9



การใสป่ ุ๋ยและใหน้ ้า (1) การใส่ป๋ยุ (1) 11

การใส่ปุย๋ และใหน้ า้ (2) การใส่ป๋ยุ (2) ควรเก็บตัวอย่างดินบริเวณที่เคยใส่ป๋ยุ หลงั การเกบ็ เกย่ี วผลผลิต และเก็บตวั อยา่ งใบเพสลาด ก่อนการออกดอก สง่ วเิ คราะห์ปรมิ าณธาตุอาหาร และใสป่ ุ๋ยให้สอดคล้องกบั ค่าวิเคราะห์ดนิ และใบ 12

การใสป่ ุย๋ และให้นา้ (3) การใหน้ า้ ควรให้นา้ เพียงพอกับความตอ้ งการของทุเรยี นในแต่ละชว่ งการเจริญเติบโต โดยเฉพาะในชว่ งหลงั การออกดอกและการพัฒนาของผล ใชร้ ะบบนา้ แบบ มินิสปริงเกอร์ และควรใหป้ ยุ๋ พรอ้ มระบบนา้ ลดการใชแ้ รงงาน และลดต้นทุนการผลติ ใหน้ า้ มากเกินไป ให้น้าเหมาะสม ให้นา้ นอ้ ยเกนิ ไป 13

การดแู ลรกั ษา (1) การพรางแสง ในชว่ งแรกของการเจรญิ เติบโต ควรให้รม่ เงาหรอื พรางแสง อาจใชว้ ัสดุธรรมชาตชิ ว่ ยพรางแสง หรืออาจปลกู ต้นไมโ้ ตเรว็ ระหว่างแถวทุเรียน เช่น กล้วย ทองหลาง 14

การดแู ลรกั ษา (2) การตัดแตง่ และควบคุมทรงพ่มุ หลงั ปลกู 1-1.5 ปี ควรตัดแต่งใหม้ ลี าตน้ เดี่ยว กาหนดกิ่งประธาน แต่ละกิง่ ควรหา่ งกัน 10-15 เซนตเิ มตร กิ่งประธานแตล่ ะกง่ิ มกี ิง่ รอง 3-4 กงิ่ และก่ิงรองแตล่ ะก่ิงจะมีก่งิ แขนงพอประมาณ และไมบ่ ังแสงซ่ึงกนั และกนั 15

การดูแลรักษา (3) การเตรียมตน้ ให้พรอ้ มสาหรับการออกดอก  ตดั แต่งกงิ่ ท่เี ป็นโรค กง่ิ แห้ง ก่งิ แขนงหลงั การเก็บเกีย่ ว  ใส่ป๋ยุ เพอื่ เพม่ิ ความสมบรู ณต์ ้น และใหแ้ ตกใบอ่อน อยา่ งน้อย 1 ชดุ  ควรให้น้าเมอื่ ฝนท้งิ ชว่ งเกิน 7 วนั  ป้องกนั โรคและแมลงที่สาคญั 16

การดแู ลรกั ษา (4) 17 การจัดการเพ่อื ใหต้ ้นทุเรียนออกดอก และติดผล  ใส่ปยุ๋ เคมที างดนิ ก่อนส้ินฤดูฝนประมาณ 1 เดอื น  งดการให้นา้ ต่อเนือ่ งไม่น้อยกว่า 10 วัน ทาให้ต้นทุเรียนเกิดสภาพเครียด เพอ่ื ชักนาการออกดอก  การปอ้ งกนั กาจดั โรคและแมลงทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่ โรคดอกเนา่ เพลย้ี ไฟ และไรแดง  ในช่วงก่อนดอกบาน 1 สปั ดาห์ ให้น้าเพียง 1 ใน 3 ของการให้นา้ ปกติ เพ่ือชว่ ยใหม้ ี การติดผลดีข้นึ  การชว่ ยผสมเกสร ทาให้ทุเรยี นตดิ ผลดีขึน้

การดแู ลรกั ษา (5) การจัดการเพื่อเพิ่มปริมาณและคณุ ภาพผลผลติ (1)  ตัดแต่งผลอ่อน ที่มีรูปทรงบิดเบ้ียว ผลเล็ก และหนามแดงออก จานวน 5 คร้ัง ตั้งแต่ผลอายุ 4-12 สัปดาห์  ใส่ปุ๋ยหลังการตัดแต่งผลครั้งสุดท้ายเพ่ือส่งเสริม การเจริญเติบโตของผลและคุณภาพเน้อื  ให้น้าอัตราร้อยละ 70 ของการให้น้าปกติเมื่อ ผลอายุครบ 4 สัปดาห์ และเพ่ิมการให้น้าเป็น รอ้ ยละ 85 เมื่อผลมีอายุ 10-11 สปั ดาห์ 18

การดแู ลรกั ษา (6) การจัดการเพ่ือเพิ่มปริมาณและคณุ ภาพผลผลิต (2)  ควบคุมการแตกใบออ่ นในระหวา่ งการพัฒนาการของผล โดยพ่นปุ๋ยโพแทสเซยี มไนเตรท (13-0-45) อัตรา 150-300 กรมั ตอ่ น้า 20 ลติ ร ท่ีใบอ่อนในระยะหางปลา  ควบคุมการปอ้ งกันกาจดั โรคและแมลงทีส่ าคัญ ได้แก่ โรคผลเนา่ เพล้ียแปง้ เพล้ยี หอย หนอนเจาะผล และหนอนเจาะเมล็ดทเุ รยี น  โยงผล เพื่อลดการร่วงของผลเน่อื งจากแรงลม 19



การจดั การศัตรูพชื (1) การจัดการโรคพชื ในทุเรยี น โรคทีส่ าคัญและการป้องกนั กาจดั (1) สารวจและประเมนิ ความเสยี หายของการถูกทาลายจากโรคหรือแมลง กอ่ นการใช้สารเคมีป้องกันกาจัด และควรใช้ตามคาแนะนาของกรมวชิ าการเกษตร โรคทส่ี าคญั คอื โรครากเน่าโคนเนา่ ทเุ รียน และโรคใบติดทเุ รียน 21

การจัดการศัตรูพชื (2) การจดั การโรคพืชในทเุ รยี น โรครากเนา่ โคนเนา่ ทุเรยี น (1) (Phytophthora Root and Foot Rot) ลักษณะอาการ บรเิ วณทรงตน้ ด้านบน ใบมีลักษณะดา้ น สลด ไม่เปน็ มันเงาเหมอื นใบปกติ สีใบเริ่มเหลอื งและหลดุ รว่ ง ตน้ ทรุดโทรม บางครั้ง เหลอื แตก่ งิ่ 22

การจัดการศตั รพู ืช (3) การจัดการโรคพชื ในทุเรยี น โรครากเนา่ โคนเนา่ ทุเรยี น (2) (Phytophthora Root and Foot Rot) ลกั ษณะอาการ (ต่อ) บริเวณโคนตน้ เปลือกบริเวณลาตน้ มีสีนา้ ตาลคล้ายมีคราบนา้ เกาะตดิ ในสภาพท่มี อี ากาศชื้นเห็นเป็นหยดของเหลวสีนา้ ตาล อมแดงไหลซมึ ออกมาตามรอยแยกทเ่ี ปลอื ก เม่อื เปิด เปลอื กดา้ นในออก พบเนือ้ เยอื่ เน่าเปลีย่ นเป็นสนี ้าตาล แดง-เข้ม 23

การจัดการศตั รพู ืช (4) การจัดการโรคพืชในทุเรยี น โรครากเนา่ โคนเน่าทเุ รียน (3) (Phytophthora Root and Foot Rot) ลักษณะอาการ (ต่อ) บริเวณรากใตด้ นิ อาการเนา่ เกดิ ขน้ึ กับทั้งรากแขนงขนาดเลก็ และรากฝอย ท่อี ยู่ใกลผ้ ิวดิน เปลือกรากหลดุ ลอ่ น เนื้อเย้อื รากเปอ่ื ยยุ่ย เป็นสแี ดง เมือ่ ดึงเบาๆ ก็หลดุ ขาดจากกันไดง้ ่าย 24

การจัดการศัตรูพชื (5) การจดั การโรคพืชในทเุ รยี น โรครากเนา่ โคนเนา่ ทเุ รยี น (4) (Phytophthora Root and Foot Rot) ลักษณะอาการ (ตอ่ ) บริเวณผล เร่ิมเกิดต้งั แต่ผลออ่ นบนต้น แต่มกั พบว่าเกดิ มากกบั ผล ช่วงอายุ 1 เดอื นกอ่ นเก็บเก่ียว เปลอื กผลเปน็ จุดแผลชา้ สนี า้ ตาลปนเทา แผลค่อยๆ ขยายขนาดออกไปตามรปู รา่ ง ของผล อาการเน่าลุกลามจนผลร่วง เนือ้ ดา้ นในเปลยี่ น เป็นสชี มพูหรอื นา้ ตาล 25

การจดั การศตั รพู ชื (6) การจัดการโรคพืชในทเุ รียน โรครากเน่าโคนเนา่ ทุเรียน (5) (Phytophthora Root and Foot Rot) สาเหตุ: เช้อื รา Phytophthora palmivora (Bultler) Bultler ลักษณะสปอร์ ขยายพนั ธุ์แบบต่างๆ โคโลนเี ชอ้ื ราบน อาหารเลีย้ งเช้อื พดี เี อ 26

การจัดการศตั รพู ชื (7) การจัดการโรคพืชในทุเรียน โรครากเน่าโคนเน่าทเุ รยี น (6) (Phytophthora Root and Foot Rot) การแพรร่ ะบาด เชือ้ ราสาเหตโุ รคอาศัยพกั ตวั ในดนิ เป็นเวลานานในรปู สปอร์ ผนงั หนา เม่อื พบสภาพแวดล้อมเหมาะสม คือ ดนิ มกี าร ระบายน้าไม่ดี มีนา้ ขงั มีความชนื้ สูงสะสมตลอด โดยเฉพาะ สภาพทมี่ ฝี นตกชกุ เชอ้ื จะสร้างสปอรข์ ยายพันธชุ์ นิดมีหาง สามารถว่ายนา้ ได้ แพร่กระจายไปพรอ้ มนา้ หรอื ลม เขา้ ทาลายต้นปกติ นอกจากน้ี เช้ือสาเหตโุ รคอาจตดิ ไปกับ ดินปลูกหรือกง่ิ พันธุ์เปน็ โรคไดเ้ ช่นเดยี วกัน 27

การจัดการศตั รพู ืช (8) การจัดการโรคพชื ในทุเรียน โรครากเน่าโคนเน่าทเุ รียน (7) (Phytophthora Root and Foot Rot) การปอ้ งกนั กาจัด 1. ไมน่ าตน้ พันธ์ุ ก่ิงพนั ธุ์หรอื ดินปลูกจากแหล่งที่มกี ารระบาด เข้ามาในสวน 2. หม่นั สารวจสวนอย่างสม่าเสมอ โดยเฉพาะช่วงฝนตกชุก ทาทางระบายน้าเพอ่ื ป้องกนั น้าทว่ มขัง กาจดั วัชพชื ตัดแต่งสว่ นที่เป็นโรคและนาไปเผาทาลายนอกสวน 3. ทาความสะอาดเคร่อื งมือท่ใี ชต้ ัดก่ิงเป็นโรค หรือสกัดแผลทุกคร้งั ก่อนนาไปใช้ ตัดกงิ่ ปกติ 4. ใสป่ ุ๋ยคอก ปุ๋ยหมกั ปรบั ปรุงสภาพดิน และลดปรมิ าณเชอื้ ราสาเหตโุ รคไฟทอปเทอรา่ ในดิน โดยหวา่ นชวี ภณั ฑเ์ ชอื้ ราไตรโคเดอรม์ ่าบรเิ วณใต้ทรงพ่มุ ทุเรยี นทมี่ ีรากฝอยเจรญิ 28

การจดั การศตั รพู ชื (9) การจัดการโรคพชื ในทุเรียน โรครากเน่าโคนเน่าทเุ รียน (8) (Phytophthora Root and Foot Rot) การปอ้ งกันกาจัด (ต่อ) 5. ต้นเปน็ โรค ใหส้ กดั แผลบรเิ วณลาต้นท่ีเป็นโรคออกจนเห็นเนอ้ื ไม้ กอ่ นทาแผลดว้ ย ปนู แดง หรือสารปอ้ งกนั กาจัดโรคพืชเมทาแลกซิล 25% ดบั เบ้ิลยูพี อัตรา 50-60 กรมั ต่อน้า 20 ลิตร ตน้ ท่มี แี ผลขนาดใหญ่ อาจใชฟ้ อสฟอนกิ แอซดิ 40% เอสแอล อตั รา 5 มิลลลิ ติ ร ต่อน้า 15 มิลลลิ ติ ร ใสเ่ ขม็ ฉีดยาฉดี อดั เข้าบรเิ วณลาตน้ สว่ นท่ีเป็นเน้ือไมใ้ กล้แผล ทุกเดอื น 29

การจดั การศตั รพู ชื (10) การจัดการโรคพชื ในทุเรียน โรครากเนา่ โคนเน่าทเุ รยี น (9) (Phytophthora Root and Foot Rot) การป้องกนั กาจดั (ตอ่ ) 6. ชว่ งที่มีการระบาด พ่นดว้ ยสารป้องกันกาจดั โรคพชื เมทาแลกซิล 25% ดับเบ้ลิ ยูพี อัตรา 50-60 กรัมตอ่ น้า 20 ลิตร หรอื ฟอสอที ิล-อะลูมเิ นียม 80% ดับเบ้ลิ ยูพี อตั รา 80 กรมั ตอ่ นา้ 20 ลติ ร หรอื เมทาแลกซลิ -เอม็ +แมนโคเซบ 68 % ดับเบลิ้ ยูจี อตั รา 30-50 กรัมตอ่ นา้ 20 ลิตร พ่นทกุ 5-7 วัน และหยดุ พ่นก่อนเกบ็ เก่ียวอย่างนอ้ ย 15 วนั 30

การจดั การศตั รพู ืช (11) โรคใบติดทเุ รยี น (1) การจดั การโรคพชื ในทุเรียน (Rhizoctonia Leaf Blight) ลักษณะอาการ พบแผลชา้ คล้ายถูกน้ารอ้ นลวกขนึ้ กระจายบนใบ แผลมี ขนาดไมแ่ น่นอน ต่อมาขยายตัว และเปลี่ยนเป็นสนี า้ ตาล กอ่ นลุกลามไปท่ใี บปกตขิ า้ งเคยี งโดยเชอ้ื สาเหตุสรา้ ง เสน้ ใยยดึ ใบใหต้ ดิ ไวด้ ้วยกัน ใบทเี่ ปน็ โรคจะแหง้ หอ้ ยตดิ อย่กู ับก่ิง ก่อนหลุดร่วงไปสมั ผสั กับใบทีอ่ ยู่ด้านล่าง จนเกดิ การลุกลามของโรคใบไหมเ้ ห็นเป็นหยอ่ มๆ ใบทเ่ี หลือ จะค่อยๆ ร่วงจนเหลอื แตก่ งิ่ ซง่ึ ก็จะแหง้ ตามไปด้วย 31

การจดั การศตั รูพชื (12) โรคใบติดทเุ รียน (2) การจัดการโรคพชื ในทเุ รยี น (Rhizoctonia Leaf Blight) สาเหตุ: เช้ือรา Rhizoctonia solani Kühn การแพรร่ ะบาด เช้ือราสาเหตุโรคอาศัยพกั ตวั ในเศษซากพชื หรืออินทรยี วตั ถุ 32 ในดนิ ได้เป็นเวลานาน เม่ือพบสภาพแวดลอ้ มเหมาะสม คือ สภาพท่ีมีฝนตกชกุ มีความชื้นสูงสะสมใต้ทรงพมุ่ ตลอด เชอ้ื แพรร่ ะบาดไปกบั ดนิ และนา้ สรา้ งเสน้ ใยเข้าทาลายใบ ข้างเคียงต้นปกติ จนหลดุ รว่ งลงดนิ และกลายเปน็ แหล่ง สะสมเชอื้ ต่อไป

การจัดการศตั รูพืช (13) โรคใบตดิ ทุเรยี น (3) การจัดการโรคพืชในทเุ รยี น (Rhizoctonia Leaf Blight) การปอ้ งกันกาจัด 1. ตัดแตง่ ทรงพุ่มใหโ้ ปร่ง โดยเฉพาะใบทีอ่ ยูด่ ้านลา่ งๆ ใหม้ กี ารถ่ายเทของอากาศ ไม่ให้มคี วามช้ืนสะสมใต้ทรงพุ่มมากเกนิ ไป 2. เก็บเผาทาลายเศษซากพืชเปน็ โรคที่รว่ งอยู่ใตต้ ้น เพ่อื ลดประมาณเชอ้ื สะสม 3. ในพ้นื ทปี่ ลกู ท่มี คี วามช้ืนสูงและมกี ารระบาดประจา ไม่ควรใส่ปุ๋ยท่มี คี ่าไนโตรเจนสงู เพอ่ื ลดความสมบูรณข์ องการแตกใบ 4. ช่วงแตกใบออ่ น หม่นั สารวจอาการของโรคอยา่ งสม่าเสมอ หากพบวา่ เริม่ มีการระบาด ใหฉ้ ดี พ่นสารป้องกนั กาจดั โรคพืชวาลดิ ามยั ซิน 3% เอสแอล อตั รา 20 มิลลิตรตอ่ น้า 20 ลติ ร หรอื เฮกซะโคลนาโซล 5% เอสซี อตั รา 20 กรัมตอ่ นา้ 20 ลิตร ทกุ 10 วนั 33

การจัดการศัตรูพชื (14) แมลงศตั รพู ชื ในทเุ รยี น (1) การจัดการแมลงศัตรูพชื ในทุเรียน แมลงศัตรทู สี่ าคัญและทาความเสยี หายทางเศรษฐกจิ ให้แกท่ เุ รียนมี 6 ชนดิ ได้แก่ หนอนเจาะ เมลด็ ทุเรยี น เพล้ยี ไก่แจ้ หนอนเจาะผลทเุ รียน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไฟ และมอดเจาะลาต้น นอกจากนย้ี ังมแี มลงศตั รูทุเรยี นชนิดใหมท่ ีไ่ ม่เคยเป็นปญั หามาก่อน คือ หนอนด้วงหนวดยาว เจาะลาตน้ ทุเรยี น ซง่ึ เดิมเป็นแมลงศัตรปู ่าไม้และไดเ้ กิดการระบาดในพน้ื ท่ปี ลกู ทุเรียน ทว่ั ประเทศในปี 2546 โดยเฉพาะในภาคตะวนั ออกและภาคะวนั ออกเฉยี งเหนือที่มีการระบาด อยา่ งรนุ แรง ส่วนแมลงศตั รบู างชนิดพบระบาดในพ้นื ท่จี ากดั เชน่ หนอนด้วงปีกแขง็ กินรากทเุ รียน 34

การจดั การศัตรูพืช (15) แมลงศัตรูพืชในทเุ รียน (2) การจดั การแมลงศัตรพู ชื ในทเุ รยี น ปรมิ าณประชากรของแมลงศตั รูทเุ รยี นจะผนั แปรตามระยะการเจริญเติบโต  เพลย้ี ไก่แจจ้ ะระบาดเฉพาะระยะท่ที ุเรยี นแตกใบออ่ นเทา่ น้ัน  หนอนเจาะเมล็ดและหนอนเจาะผลจะระบาดในชว่ งทเุ รียนติดผล  เพล้ียแปง้ และเพล้ยี ไฟจะระบาดระยะต้นทุเรียนแตกยอด ดอก และผล  มอดเจาะลาต้น หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลาต้นทเุ รยี น และหนอนด้วง ปกี แข็งกินรากทุเรียน จะพบระบาดตลอดปี 35

การจัดการศตั รพู ืช (16) แมลงศตั รพู ืชในทุเรยี น (3) การจัดการแมลงศตั รพู ชื ในทเุ รียน ตารางแสดงปรมิ าณประชากรของแมลงศตั รูทเุ รียนจะผนั แปรตามระยะการเจรญิ เติบโต 36

การจดั การศตั รพู ืช (17) การจัดการแมลงศัตรูพชื ในทเุ รยี น หนอนเจาะเมล็ดทเุ รยี น (durian seed borer) (1) ผีเสื้อหนอนเจาะเมลด็ ทเุ รยี น แม่ผเี สือ้ วางไข่เปน็ ฟองเดย่ี วๆ 37

การจัดการศตั รพู ืช (18) การจัดการแมลงศัตรพู ชื ในทุเรียน หนอนเจาะเมลด็ ทเุ รยี น (durian seed borer) (2) หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน หนอนใชด้ ินหุ้มตัวเพือ่ เขา้ ดักแด้ 38

การจดั การศัตรูพืช (19) การจัดการแมลงศัตรพู ืชในทุเรยี น หนอนเจาะเมลด็ ทุเรยี น (durian seed borer) (3) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Mudaria luteileprosa Holloway. ความสาคญั และลักษณะการทาลาย หนอนชนิดนเ้ี มือ่ เขา้ ทาลายผลทเุ รียนจะไม่สามารถสงั เกตจากภายนอกได้ หนอนทเี่ จาะเขา้ ไปในผลทุเรยี น ถา่ ยมลู ออกมาปะปนอยกู่ ับเนือ้ ทเุ รียนทาให้ เนื้อทเุ รยี นเสยี คุณภาพ กระท่ังเมอื่ หนอนโตเตม็ ที่พร้อมเข้าดักแด้ จะเจาะเปลือก เป็นรูออกมาและท้งิ ตัวลงบนพ้ืนดินเพ่อื เขา้ ดกั แด้ในดนิ เกษตรกรเหน็ แต่รไู ม่พบ ตัวหนอนอยู่ภายในหรอื บางครงั้ พบความเสียหายเม่ือเก็บเก่ยี วผลผลติ เรยี บร้อยแลว้ หลงั จากหนอนเจาะออกมาจึงเรยี กหนอนชนิดนอี้ ีกช่ือวา่ “หนอนร”ู 39

การจัดการศัตรพู ชื (20) การจัดการแมลงศตั รพู ชื ในทเุ รียน หนอนเจาะเมลด็ ทุเรียน (durian seed borer) (4) รเู จาะออกของหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน 40

การจัดการศัตรูพชื (21) การจดั การแมลงศัตรพู ืชในทเุ รียน หนอนเจาะเมล็ดทเุ รียน (durian seed borer) (5) พชื อาหาร พบว่าหนอนชนิดนีม้ พี ืชอาศยั อยา่ งเดียวคือ ทุเรยี น ศัตรธู รรมชาติ ยงั สารวจไมพ่ บ การปอ้ งกนั กาจัด 1. เกษตรกรไม่ควรขนย้ายเมล็ดทุเรียนจากที่อนื่ เข้ามาในแหลง่ ปลูก ถ้ามคี วามจาเปน็ ควรทาการคัดเลือกเมลด็ อย่างระมดั ระวงั หรอื แช่เมลด็ ดว้ ยสารฆ่าแมลง เช่น มาลาไทออน อตั รา 40 มิลลิลติ รต่อน้า 20 ลิตร หรอื คารบ์ ารลิ อัตรา 50 กรัมต่อ นา้ 20 ลิตร กอ่ นทาการขนย้ายจะชว่ ยกาจัดหนอนได้ 41

การจดั การศตั รพู ืช (22) การจดั การแมลงศัตรูพชื ในทเุ รียน หนอนเจาะเมลด็ ทุเรียน (durian seed borer) (6) ความเสยี หายท่ีเกิดจากหนอนเจาะเมลด็ ทุเรยี น หนอนเจาะเมลด็ ทเุ รียน กัดกินในเมลด็ 42

การจดั การศัตรูพชื (23) การจัดการแมลงศัตรูพชื ในทเุ รยี น หนอนเจาะเมล็ดทเุ รยี น (durian seed borer) (7) การปอ้ งกันกาจดั (ตอ่ ) 2. การหอ่ ผลระยะยาวโดยใชถ้ ุงพลาสติกสขี าวขนุ่ ขนาด 40x75 เซนตเิ มตร เจาะก้นถงุ เพอ่ื ระบายน้า สามารถปอ้ งกันไม่ให้ตวั เตม็ วัยมาวางไขไ่ ด้ โดยเรมิ่ ห่อผลตง้ั แต่ ผลทุเรยี นมีอายุ 6 สัปดาห์ เป็นต้นไปจนถงึ เกบ็ เก่ียว ก่อนหอ่ ตรวจสอบผลทุเรยี น ที่จะห่อให้ปราศจากเพลย้ี แปง้ ถ้ามีให้กาจดั โดยใชแ้ ปรงปัดออก แลว้ พ่นดว้ ย สารคลอรไ์ พรฟิ อส อัตรา 30 มลิ ลลิ ติ รต่อน้า 20 ลติ ร 43

การจัดการศตั รพู ืช (24) การจัดการแมลงศตั รพู ืชในทเุ รียน หนอนเจาะเมลด็ ทุเรียน (durian seed borer) (8) การห่อผลเพอื่ ป้องกนั หนอนเจาะเมลด็ ทุเรียน 44

การจดั การศตั รพู ชื (25) การจดั การแมลงศัตรูพชื ในทเุ รยี น หนอนเจาะเมลด็ ทเุ รียน (durian seed borer) (9) การปอ้ งกันกาจดั (ต่อ) 3. การป้องกันกาจัดด้วยวิธีผสมผสาน โดยการพ่นสารฆ่าแมลงไซเพอรเ์ มทริน/ โฟซาโลน อัตรา 40 มลิ ลลิ ติ รต่อน้า 20 ลติ ร หา่ งกนั ครง้ั ละ 1 สัปดาห์ เริม่ เมอื่ ผล อายุ 6 สปั ดาห์ และหอ่ ด้วยถงุ พลาสตกิ ขาวขุ่น ขนาด 40x75 เซนติเมตร เจาะมมุ กน้ ถุงเพ่ือระบายน้า เม่ือผลอายุ 10 สปั ดาห์ โดยเลอื กห่อเฉพาะผลท่มี ขี นาดและ รปู ทรงได้มาตรฐาน กอ่ นห่อผลควรมกี ารสารวจเพลี้ยแปง้ และพน่ สารคลอร์ไพริฟอส เมื่อพบเพลี้ยแปง้ ระบาด 45

การจดั การศตั รพู ืช (26) การจัดการแมลงศัตรูพืชในทเุ รียน หนอนเจาะเมล็ดทเุ รียน (durian seed borer) (10) การปอ้ งกันกาจดั (ตอ่ ) 4. การใชก้ ับดกั แสงไฟแบลค็ ไลท์ (black light) เป็นเครอื่ งมือตรวจการระบาด ของผีเส้ือหนอนเจาะเมล็ดทุเรยี น เพอ่ื ใหท้ ราบว่ามีการระบาดในชว่ งไหน สามารถช่วยให้การใชส้ ารฆา่ แมลงมีประสิทธิภาพมากขนึ้ สามารถลดจานวน การพน่ สารฆ่าแมลงจากทเ่ี กษตรกรนยิ มปฏบิ ตั อิ ยู่ทพี่ ่นต้งั แต่ทเุ รยี นเรม่ิ ออกดอก 46

การจดั การศตั รูพชื (27) การจัดการแมลงศัตรพู ืชในทเุ รียน หนอนเจาะเมล็ดทเุ รยี น (durian seed borer) (10) 5. การป้องกันกาจัดโดยใช้สารฆ่าแมลง เมือ่ พบว่าตัวเต็มวัยเริ่มระบาดให้ใช้สารคาร์ บาริล เดลทาเมทริน แลมบ์ดา-ไซฮาโลทริน เบตา-ไซฟลูทริน และ ไซเพอร์เมทริน/โฟซาโลน อัตรา 50 กรัม 15, 20, 20 และ 40 มิลลิลิตรต่อน้า 20 ลิตร ตามลาดับ ห่างกันครั้งละ 1 สัปดาห์ เร่มิ เม่ือผลอายุ 6 สัปดาห์ 47

การจัดการศัตรพู ชื (28) การจดั การแมลงศัตรูพืชในทุเรียน เพล้ยี ไกแ่ จ้ทเุ รยี น (durian psyllids) (1) เพลี้ยไกแ่ จด้ ูดกนิ น้าเล้ยี งบนใบออ่ นทเุ รียน ตวั เต็มวยั เพล้ียไก่แจ้ทเุ รียน 48

การจดั การศตั รูพชื (29) การจดั การแมลงศัตรพู ืชในทเุ รียน เพล้ยี ไก่แจ้ทเุ รียน (durian psyllids) (2) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allocaridara malayensis Crawford. ความสาคัญและลักษณะการทาลาย : เพล้ียไก่แจ้ทุเรียน พบระบาดทาความ เสียหายให้กับทุเรียนอย่างมากในแหล่งปลูกทุเรียนทั่วไป ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูด กินน้าเล้ียงจากใบอ่อน ทาให้ใบอ่อนเป็นจุดสีเหลือง ไม่เจริญเติบโต เม่ือระบาด มากๆ ทาให้ใบหงกิ งอ และถา้ เพลีย้ ไก่แจ้เขา้ ทาลายในช่วงทใ่ี บออ่ นยงั เล็กมากและ ยังไม่คลอี่ อกจะทาให้ใบแหง้ และรว่ ง 49

การจัดการศตั รพู ืช (30) การจดั การแมลงศัตรพู ืชในทุเรียน เพลย้ี ไก่แจท้ เุ รยี น (durian psyllids) (3) เพล้ยี ไก่แจว้ างไขเ่ ขา้ ไปในเน้ือเยอ่ื ใบทุเรยี น ไข่เพลี้ยไกแ่ จท้ เุ รยี น 50