Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำรับยาห้าราก จากบัญชียาหลักแห่งชาติ

ตำรับยาห้าราก จากบัญชียาหลักแห่งชาติ

Description: ตำรับยาห้าราก เป็นหนึ่งในตำรับยาแผนโบราณของไทยที่ใช้ในการแก้ไข้ ถูกบรรจุอยู่ในบัญชียาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ปี พ.ศ.2559 ของประเทศไทย ตำรับประกอบด้วยรากของสมุนไพร 5 ชนิด ได้แก่ ชิงชี่ ย่านาง คนทา เท้ายายม่อม และมะเดื่อชุมพร บทความนี้ได้รวบรวม และเผยแพร่ รายงานฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เช่น ฤทธิ์แก้ไข้ แก้ปวด แก้ไข้มาลาเรีย ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ การศึกษาทางคลินิก การศึกษาทางพิษวิทยา เป็นต้น ของตำรับยา ผลที่ได้จากการศึกษายืนยันถึงประสิทธิภาพ และความปลอดภัย ของตำรับยาสมุนไพรตามองค์ความรู้ดั้งเดิม ดังนั้นจึงสามารถใช้เป็นวิธีการรักษาทางเลือกนอกเหนือจาการใช้ยาแผนปัจจุบัน และสามารถส่งเสริมการผลิตออกจำหน่ายสู่ท้องตลาดได้.

Search

Read the Text Version

หน่วยการศกึ ษาต่อเนือ่ งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตารับยาหา้ ราก จากบญั ชยี าหลักแหง่ ชาติ รหัสการศึกษาตอ่ เน่อื ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารตั น์ หอมหวล ตำรับยำห้ำรำก จำกบัญชยี ำหลกั แหง่ ชำติ (Ya-Ha-Rak Remedy from the Drug List in Herbal Medicinal Products) รหัสการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 1010-1-000-003-05-2560 จานวน 3.5 หน่วยกติ วนั ทีร่ บั รอง 29 พฤษภาคม 2560 วันที่หมดอายุ 28 พฤษภาคม 2561 โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.สดุ ารัตน์ หอมหวล อาจารย์ กล่มุ วิชาเภสชั เคมีและเทคโนโลยเี ภสัชกรรมคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี *ตดิ ตอ่ ผนู้ พิ นธ:์ สุดารตั น์ หอมหวล คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี 85 ถ.สถลมาร์ค ต.เมอื งศรไี ค อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี 34190 E-mail: [email protected] วัตถุประสงค์ เพื่อให้เภสชั กรมคี วามรู้ และมขี อ้ มลู ประกอบในการตัดสินใจแนะนา สง่ั จา่ ยยาจากสมุนไพรแก้ไข้ ตารบั ยาห้าราก เป็นทางเลอื กนอกเหนือจากการใชย้ าแผนปจั จบุ นั บทคดั ยอ่ ตารับยาห้าราก เป็นหน่ึงในตารับยาแผนโบราณของไทยที่ใช้ในการแก้ไข้ ถูกบรรจุอยู่ในบัญชียาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ปี พ.ศ.2559 ของประเทศไทย ตารับประกอบด้วยรากของสมุนไพร 5 ชนิด ได้แก่ ชิงชี่ ย่านาง คนทา เท้ายายม่อม และมะเด่ือชุมพร บทความน้ีได้รวบรวม และเผยแพร่ รายงานฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เช่น ฤทธิ์แก้ไข้ แก้ปวด แก้ไข้มาลาเรีย ต้านการอักเสบ ฤทธ์ิต้านเช้ือจุลชีพ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ การศึกษาทางคลินิก การศึกษาทาง พษิ วทิ ยา เปน็ ต้น ของตารับยา ผลทีไ่ ด้จากการศึกษายนื ยันถึงประสทิ ธภิ าพ และความปลอดภัย ของตารับยาสมุนไพรตาม องค์ความรู้ด้งั เดมิ ดงั น้ันจงึ สามารถใชเ้ ปน็ วิธกี ารรักษาทางเลอื กนอกเหนือจาการใชย้ าแผนปจั จุบนั และสามารถส่งเสรมิ การ ผลิตออกจาหน่ายสู่ท้องตลาดได้ คำสำคญั : บัญชียาจากสมุนไพร บญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ ยาหา้ ราก Abstract Ya-Ha-Rak remedy is one of Thai traditional formula used as an antipyretic drug. It has been registered as National List of Herbal Medicines Product A.D.2016. The remedy consists of five herbal roots from Capparis micracantha DC., Tiliacora triandra (Colebr.) Diels, Harrisonia perforata (Blanco) Merr., Clerodendrum indicum (L.) Kuntze and Ficus racemosa L. Their pharmacological effects such as antipyretic, analgesic, antimalarial, anti- inflammatory, antimicrobial, anti-free radical, clinical study and toxicity study of remedy have been collected and publicized. The results from this study have confirmed the usage and safety of the remedy which supported the folkloric used of the herbal remedy. So, it should be used as alternative medicine, and manufactured commonly in the market. Keywords : Thailand National List of Essential Medicines (Herbal) Product, Ya-Ha-rak

หน่วยการศกึ ษาตอ่ เน่ืองคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ตารบั ยาหา้ ราก จากบญั ชยี าหลักแห่งชาติ รหสั การศึกษาต่อเนือ่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารตั น์ หอมหวล บทนำ ตารับยาห้าราก เป็นยารักษาอาการไข้ ที่บรรจุอยู่ในบัญชียาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ กลุ่มยาแผน ไทยแกไ้ ข้ ซ่ึงมีท้งั สิ้น 6 ตารับ ได้แก่ ยาเขียวหอม ยาจันทน์ลีลา ยาประสะจันทน์แดง ยาประสะเปราะใหญ่ ยามหานิลแท่ง ทอง และยาห้าราก (คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ, 2559) ยาห้ารากเป็นตารับยาแผนโบราณของไทย ท่ีมีการ นามาใช้รักษาอาการไข้ มาเปน็ ระยะเวลานานแล้ว โดยมชี ื่อเรยี กตารบั ยานี้หลายชอ่ื ได้แก่ ยาเบญจโลกวเิ ชียร ยาแก้วห้าดวง และยาเพชรสว่าง (กองการประกอบโรคศิลปะ, 2542a) ในหนังสือแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ซ่ึงเป็นตารายาแผนไทยท่ีได้รับ การยอมรบั เป็นมาตรฐาน ได้กล่าวถงึ สรรพคณุ ของยาหา้ ราก ในการรักษาอาการไข้ ไว้ในคัมภีร์ตักศิลา โดยให้ใช้ตารับยาน้ี เพ่อื กระทุ้งพษิ ไข้ (การทาใหพ้ ษิ ไขถ้ ูกขับออกมาภายนอก) ใหอ้ อกมาก่อนเป็นลาดับแรก แล้วจงึ ใช้ยาตารับอนื่ ๆ ต่อไป โดย ใช้กับไข้พิษ ได้แก่ ไข้รากสาด ไข้อีดาอีแดง ไข้มาลาเรีย ไข้มหาเมฆ ไข้มหานิล เป็นต้น อาการท่ัวไปของพิษไข้ คือปวด ศีรษะตัวร้อนจัดประดุจเปลวไฟ ปากแห้ง ฟันแห้ง น้าลายเหนียว ตาแดงคล้ายสายเลือดร้อนใน กระหายน้า มือเท้าเย็น มีเม็ดขึ้นตามร่างกาย เม็ดนั้นเล็กบ้าง ใหญ่บ้าง สีต่าง ๆ กัน ดาก็มี แดงก็มี เขียวก็มี เป็นต้น (กองการประกอบโรคศิลปะ, 2542b และ บษุ บา, 2542) ในตาราแพทย์แผนโบราณท่ัวไป สาขาเภสัชกรรม กองการประกอบโรคศิลปะ กล่าวถึง พิกัดยา เบญจโลกวิเชียร (ยาห้าราก) ว่า คือการจากัดจานวนตัวยาเสมอด้วยแก้ววิเชียร 5 อย่าง ได้แก่ รากชิงชี่ รากย่านาง ราก เทา้ ยายม่อม รากคนทา และรากมะเด่ือชุมพร สรรพคุณ ใช้กระทุ้งพิษไข้ต่าง ๆ หรือถอนพิษต่าง ๆ แก้ไข้ต้นมือ แก้ไข้พิษ ไข้กาฬ ไขห้ ัว แก้ไขเ้ พื่อดี และโลหิต (กองการประกอบโรคศิลปะ, 2542a) ไข้ (fever) คืออาการตัวร้อน อุณหภูมิของร่างกายสูงกว่า 37.2ºC (วัดทางปาก) 36.7 ºC (วัดทางรักแร้) หรือ 37.7ºC (วัดทางทวารหนัก) สาเหตุท่ีพบบ่อยได้แก่ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ทอนซิลอักเสบ ไข้มีผื่นหรือตุ่มข้ึน ไข้เลือดออก มาลาเรีย ไทฟอยด์ เปน็ ต้น การรักษา ใชย้ าลดไข้ แกอ้ าการตวั ร้อน ได้แก่ ยาในกลุ่มตา้ นการอักเสบทไี่ ม่ใช่สเตียรอยด์ แต่มี ผลข้างเคียงท่ีพบบ่อยคือ การระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร และยับยั้งการจับตัวของเกล็ดเลือด ทาให้เลือดออกง่าย ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยที่สงสัยมีความเส่ียงต่อภาวะเลือดออก เช่น ไข้เลือดออก โรคเลือดต่าง ๆ บาดแผล และยา พาราเซตามอล ที่มสี รรพคุณลดไข้ แก้ตัวรอ้ น แก้อาการปวด แต่ยาน้ีเป็นพษิ ต่อตับถ้าใชเ้ กนิ ขนาด (มากกวา่ 140 มิลลิกรัม/ กิโลกรมั ) (มก./กก.) อาจทาใหเ้ ซลลต์ บั ถกู ทาลาย กลายเป็นโรคตับวายเฉียบพลัน ในเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ไม่ควรให้เกินวัน ละ 1,200 มก. ผู้ใหญ่ไม่ควรเกินวันละ 4 กรัม และอาจทาให้เกิดตับอักเสบ ถ้าใช้ในขนาด 5-8 กรัม/วัน ติดต่อกันหลาย สัปดาห์ หรือ 3-4 กรัม/วัน ติดต่อกันนาน 1 ปี (สุรเกียรติ, 2553) ดังน้ันการใช้ยารักษาไข้ ด้วยยาจากพืชสมุนไพรจึงเป็น ทางเลือกหน่ึง เพื่อลดอาการข้างเคียงต่าง ๆ ที่เกิดจากยาแผนปัจจุบัน อีกทั้งสมุนไพรแต่ละชนิด มีองค์ประกอบทางเคมีท่ี หลากหลาย จึงสามารถใช้รักษาอาการอ่ืน ๆ ที่สัมพันธ์กับการเกิดไข้ได้ด้วย เช่น ลดการอักเสบ ลดอาการปวดศีรษะ และ อาการทางผิวหนังร่วมในไข้มาลาเรีย ต้านจุลชีพ ที่ทาให้เกิดไข้ เป็นต้น (Nutmakul et al., 2016) ในบัญชียาหลักแห่งชาติ มีรายละเอียดของยาหา้ ราก ดงั นี้

หน่วยการศึกษาต่อเน่อื งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ตารับยาหา้ ราก จากบัญชียาหลักแหง่ ชาติ รหสั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารตั น์ หอมหวล สูตรตำรบั ในผงยา 100 กรัม ประกอบดว้ ย รากยา่ นาง รากคนทา รากมะเด่ือชมุ พร รากชิงชี่ รากไม้เทา้ ยายม่อม หนักสง่ิ ละ 20 กรัม ขอ้ บง่ ใช้ บรรเทาอาการไข้ ขนำดและวิธีใช้ ชนดิ ผง ผู้ใหญ่ รับประทานครง้ั ละ 1 – 1.5 กรัม ละลายนา้ สุก วนั ละ 3 ครั้ง กอ่ นอาหาร เมือ่ มีอาการ เดก็ อำยุ 6 - 12 ปี รับประทานคร้ังละ 500 มิลลกิ รมั – 1 กรมั ละลายน้าสกุ วนั ละ 3 ครงั้ ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ ชนดิ แคปซลู และชนิดเมด็ ผู้ใหญ่ รบั ประทานคร้ังละ 1 – 1.5 กรัม วนั ละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมอ่ื มอี าการ เดก็ อำยุ 6 - 12 ปี รับประทานคร้งั ละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วนั ละ 3 ครงั้ กอ่ นอาหาร เมอื่ มอี าการ ข้อควรระวงั - ไมแ่ นะนาให้ใช้ในผู้ทสี่ งสัยวา่ เปน็ ไขเ้ ลอื ดออก เนือ่ งจากอาจบดบงั อาการของไข้เลือดออก - หากใชย้ าเปน็ เวลานานเกิน 3 วัน แลว้ อาการไม่ดขี นึ้ ควรปรกึ ษาแพทย์ - ไมแ่ นะนาใหใ้ ชใ้ นหญิงที่มีไขท้ บั ระดู หรอื ไข้ระหว่างมปี ระจาเดอื น (คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาต,ิ 2559) ตำรำงแสดงขอ้ มลู ของสมนุ ไพรในตำรบั ยำหำ้ รำก ลำดับ ชอ่ื สมนุ ไพร ช่ือวทิ ยำศำสตร์ ชือ่ วงศ์ ส่วนท่ีใช้ 1 คนทา Harrisonia perforata (Blanco) Merr. Simaroubaceae ราก Capparaceae ราก 2 ชงิ ชี่ Capparis micracantha DC. Moraceae ราก Labiatae ราก 3 มะเด่อื ชมุ พร Ficus racemosa L. Menispermaceae ราก 4 เทา้ ยายม่อม Clerodendrum indicum (L.) Kuntze 5 ย่านาง Tiliacora triandra (Colebr.) Diels รูปรำกเครื่องยำ 5 ชนดิ ทีใ่ ช้ในตำรับยำหำ้ รำก

หน่วยการศกึ ษาต่อเนอ่ื งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี ตารบั ยาห้าราก จากบญั ชยี าหลักแห่งชาติ รหัสการศึกษาตอ่ เนอื่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารัตน์ หอมหวล งำนวจิ ัยทำงวิทยำศำสตร์ของตำรับยำหำ้ รำก ฤทธิ์ทางชีวภาพท่ีสัมพันธ์กับการรักษาไข้ของตารับยาห้าราก อาทิเช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ รวมถึงไข้มาลาเรีย ซึ่งไข้มาลาเรียในมนุษย์ เกิดจากการติดเชื้อ 5 ชนิด ได้แก่ Plasmodium falciparum, P. vivax, P. ovale, P. malariae และ P. knowlesi โดยเชอื้ ท่มี ีความรุนแรงมากที่สุดคือ P. falciparum ทาใหม้ ีอาการไข้ และอาการอน่ื ๆ ที่อาจทาให้รุนแรงถึงขั้น โคมา่ และเสยี ชีวติ ได้ อีกทงั้ ปญั หาสาคัญคือการดือ้ ตอ่ ยาทาให้การพฒั นายาต้านมาลาเรียยงั คงมอี ยู่ (Lin et al., 2010) นอกจากนีก้ ารมไี ข้ยงั เกย่ี วขอ้ งกบั การอกั เสบ ทีอ่ าจมีอาการอ่ืน ๆ รว่ มด้วย เชน่ ตัวรอ้ น ปวดศรี ษะ ปวดกล้ามเน้ือ ซ่งึ การรกั ษาด้วยยาแผนปจั จบุ นั คือใหย้ าท่ีมีฤทธิ์ยบั ย้งั สารพรอสตาแกลนดนิ ทท่ี าใหเ้ กดิ การอักเสบ และมีไข้ตามมา หรือยา ต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ นอกจากนี้ผื่นแพ้ที่ผิวหนัง ที่อาจเกิดร่วมกับการมีไข้ ซึ่งเกิดจากการหล่ังฮิสตามีน ทาให้ เกิดอาการแพต้ า่ ง ๆ หลายประการ เชน่ นา้ มูกไหล จาม คนั อักเสบ และเพ่มิ การหลงั่ ไซโตคายน์ชนิดต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดการ อักเสบ (Juckmeta, et al., 2014) อาการภูมิแพ้จึงสัมพันธ์กับการอักเสบ และอาการไข้ด้วย นอกจากนี้อนุมูลอิสระท่ีมีใน เน้ือเย่ือร่างกายมากเกินไป สามารถเกิดเป็นอนุมูลท่ีว่องไว โดยจับกับไนตริกออกไซด์ ที่หลั่งจากขบวนการอักเสบ และ ทาลายเซลล์ปกติของร่างกายได้ (Juckmeta and Itharat, 2012) การศึกษาวิจัยผลของยาห้ารากจึงมีงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง หลายด้าน ได้แก่ ฤทธิ์ลดไข้ การทดสอบฤทธิ์ลดไข้ของตารับยาห้าราก และสมุนไพรเดี่ยวของตารับ ด้วยวิธีการเหนี่ยวนาให้หนูแรทเป็นไข้ ด้วย lipopolysaccharide (LPS) ขนาด 50 ไมโครกรัม/กิโลกรัม (มคก./กก.) เข้าทางกล้ามเน้ือ หลังจากป้อน 2% Tween 80, แอสไพรินขนาด 300 มก./กก. หรือสารสกัดเอทานอลตารับยา และสมุนไพรเดี่ยว ขนาด 25, 50, 100, 200 และ 400 มก./กก. ไปแล้ว 1 ชั่วโมง โดยจะวัดอุณหภูมิของหนูทางทวารหนักก่อนให้สารและหลังฉีด LPS ทุกช่ัวโมง เป็นเวลา 7 ช่ัวโมง พบว่า สารสกัดจากตารับยา และสมุนไพรเดี่ยว ทุกขนาดท่ีใช้สามารถลดอุณหภูมิของหนูที่เพ่ิมขึ้น ได้อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ ต้ังแต่ช่ัวโมงท่ี 1 หรือ 2 หลังจากฉีด LPS และ สารสกัดจากตารับยาห้าราก ขนาด 400 มก./กก. มีประสิทธภิ าพในการลดไขส้ ูงสุด (Jongchanapong et al., 2010) การศึกษาฤทธลิ์ ดไข้โดยใช้หนูขาวเพศผู้วัดอุณหภูมิกายทางทวารหนักจนได้ค่าคงที่ เป็นอุณหภูมิกายชั่วโมงท่ี 0 (To) ซง่ึ เป็นเวลาเริ่มต้นของการทดลอง จากนั้นฉีด Baker’s yeast เข้าในช่องท้องขนาด 0.135 มิลลิกรัม/กิโลกรัม จากนั้น แบง่ เปน็ 5 กลุ่ม ๆ ละ 5-8 ตัว ดงั นี้ กลุ่มที่ 1 ปอ้ นนา้ เกลือ กลุ่มที่ 2 ป้อนยาแอสไพริน กลุ่มที่ 3 ป้อนยาห้าราก ขนาด 100 มก./กก. กลุ่มท่ี 4 ป้อนยาห้าราก ขนาด 200 มก./กก. และกลุ่มท่ี 5 ป้อนยาห้าราก ขนาด 400 มก./กก. วัดอุณหภูมิกาย ต่อไปทกุ 1 ชว่ั โมง จนถึงช่ัวโมงท่ี 8 หลังให้ยาห้าราก จากน้ันเปรียบเทียบอุณหภูมิกาย ณ ชั่วโมงต่าง ๆ กับอุณหภูมิกาย เร่ิมต้น To เพ่ือประเมินฤทธ์ิลดไข้ จากนั้นศึกษาฤทธิ์ลดไข้ของยาสมุนไพรแต่ละชนิดในขนาดที่ประกอบเป็นขนาดของ ยาห้ารากที่ลดไข้ได้อย่างชัดเจน เพ่ือเปรียบเทียบฤทธ์ิของยาสมุนไพรแต่ละชนิด ผลการศึกษาพบว่า ห นูกลุ่มท่ีได้รับ น้าเกลือร่วมกับ Baker’s yeast (กลุ่มควบคุม) มีระดับอุณหภูมิกายสูงตลอดการทดลอง ส่วนหนูท่ีได้รับยาห้าราก ขนาด 100, 200 และ 400 มก./กก. ร่วมกับ Baker’s yeast มีอุณหภูมิกายลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเม่ือเทียบกลุ่มควบคุม

หน่วยการศึกษาต่อเนอ่ื งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี ตารับยาห้าราก จากบญั ชียาหลักแหง่ ชาติ รหสั การศึกษาตอ่ เนือ่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารัตน์ หอมหวล โดยเฉพาะยาห้าราก ขนาด 200 มก./กก. สามารถลดอุณหภูมิกายของหนูขาวได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับยาห้าราก ในขนาดอนื่ ๆ การศกึ ษาฤทธิ์ลดไขข้ องยาสมนุ ไพรแต่ละชนดิ ในขนาด 40 มก./กก. (ขนาดของสมุนไพรแตล่ ะชนิดที่ประกอบ เป็นยาห้าราก 200 มก./กก.) พบว่า รากย่านาง รากมะเดื่อชุมพร รากคนทา และรากชิงชี่ สามารถลดอุณหภูมิกายของหนู ขาวได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซ่ึงสามารถลดอุณหภูมิกายของหนูขาวได้ต้ังแต่ชั่วโมงที่ 1 หลังจากได้รับยา และยัง แสดงผลต่อเน่ืองไปอีก 7 ช่ัวโมง ส่วนรากไม้เท้ายายม่อมน้ันลดอุณหภูมิกายของหนูขาวได้ในชั่วโมงท่ี 7 และ 8 หลังจาก ไดร้ ับยา หรือช่วั โมงที่ 5 และ 6 หลังการฉีดยสี ต์ จากการศึกษาสรปุ ได้วา่ ยาห้ารากสามารถลดอณุ หภูมิกายของหนขู าวท่ีเหน่ยี วนาใหเ้ กดิ ไขโ้ ดย Baker’s yeast ได้ อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติ และเครื่องยา 5 ชนิดในตารับยาห้าราก ยกเว้นรากเท้ายายม่อม มีผลลดอุณหภูมิกายของหนูขาว ตง้ั แต่ชั่วโมงที่ 1 หลังไดร้ บั ยา (อาภา และคณะ, 2551) ฤทธต์ิ ำ้ นเชอ้ื ไข้มำลำเรยี การทดสอบในหลอดทดลอง ต่อเชื้อ P. falciparum โดยตรวจวัดด้วยเคร่ือง flow cytometer ทดสอบความเป็นพิษ ใช้ peripheral blood mononuclear cells ด้วยวิธีทดสอบ Water soluble tetrazolium salts assay (WST-assay) โดยการ หาค่า safety index หรือ SI (SI = TC50 cytotoxicity/IC50 antiplasmodial activity) พบว่าตารับยาห้ารากที่สกัดด้วยไดคลอ โรมเี ทน ออกฤทธใิ์ นระดับดี โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 2.58±0.39 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร (มคก./มล.) (SI = 5.60) สารสกัดเมทา นอลออกฤทธ์ิในระดับปานกลาง IC50 เท่ากับ 8.84±1.03 มคก./มล. ส่วนผลการทดสอบต่อเชื้อ P. falciparum ชนิดท่ีดื้อต่อ ยา chloroquine (ยาป้องกันและรักษามาลาเรีย) พบว่าสารสกัดไดคลอโรมีเทนออกฤทธ์ิยับยั้งได้ในระดับปานกลาง IC50 เท่ากบั 6.72±1.46 มคก./มล. (Nutmakul et al., 2016) ตารบั ยาห้าราก ทใ่ี ช้สว่ นผสมเป็นลาต้นทั้งหมดแทนราก พบวา่ สารสกัดดว้ ยไดคลอโรมีเทน ออกฤทธ์ิในระดบั ดี ตอ่ เช้ือ P. falciparum โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 4.02±1.57 มคก./มล. (SI = 6.32) สารสกัดเมทานอลออกฤทธิ์ปานกลาง IC50 เทา่ กบั 8.30±3.26 มคก./มล. ส่วนผลการทดสอบตอ่ เชื้อ P. falciparum ชนิดที่ดื้อต่อยา chloroquine พบว่าสารสกัดไดคลอ โรมเี ทนออกฤทธิ์ยบั ยงั้ ไดใ้ นระดับปานกลาง IC50 เทา่ กับ 6.58±1.92 มคก./มล. ท้งั การทดสอบตารับท่ีใช้ราก และตารับท่ีใช้ ลาต้น ในตวั ทาละลายท้ังหมดข้างตน้ มคี า่ SI อยู่ระหวา่ ง 3.55–19.74 (Nutmakul et al., 2016) จากผลการทดสอบตารับยาที่ใช้ราก กับตารับท่ีใช้ลาต้นเป็นส่วนประกอบในตารับ พบว่าออกฤทธิ์ได้ใกล้เคียงกัน จึงสามารถใช้สว่ นลาต้นทดแทนรากได้ เพ่อื ลดความเสี่ยงตอ่ การสญู พนั ธ์ุของพืช ฤทธล์ิ ดปวด ฤทธิ์ระงับปวดของสารสกัดเอทานอลของตารับยาห้าราก และสมุนไพรเด่ียวของตารับ ในขนาดต่าง ๆ ด้วยวิธี hot-plate โดยจับเวลาท่ีหนูเม้าส์เพศผู้สายพันธุ์ ICR สามารถทนอยู่บนแผ่นความร้อน (hot-plate latencies) ได้ก่อนให้ นา้ เกลือทางช่องท้อง หรือมอร์ฟีนขนาด 10 มก./กก. ทางช่องท้อง 2% Tween 80 โดยการป้อนสารทดสอบ ในขนาด 25, 50, 100, 200 และ 400 มก./กก. และจับเวลาที่หนูสามารถทนอยบู่ นแผ่นความร้อนไดท้ เ่ี วลา 15, 30, 45, 60, 90, 120 และ 240 นาที หลงั ได้รับสารทดสอบ พบวา่ เกือบทกุ ขนาดของสารสกดั รากชิงช่ี คนทา ยา่ นาง และมะเดือ่ ชมุ พร มฤี ทธร์ิ ะงับปวด

หน่วยการศึกษาต่อเน่อื งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ตารบั ยาหา้ ราก จากบญั ชยี าหลักแห่งชาติ รหัสการศึกษาต่อเนอ่ื ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารตั น์ หอมหวล อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิ สว่ น สารสกัดตารับยาห้าราก และรากเทา้ ยายม่อม ในขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เท่านั้นท่ีจะมี ฤทธิ์ระงับปวดอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และพบว่าฤทธ์ิระงับปวดของชิงชี่ ขนาด 200 มก./กก. และ คนทา, ย่านาง, เทา้ ยายม่อม และมะเดอื่ ชมุ พร ขนาด 400 มก./กก. ถกู ยบั ยั้งได้ด้วยนาลอกโซน (opioid antagonist) แสดงวา่ กลไกการออก ฤทธิร์ ะงับปวดของสมุนไพรในตารบั นา่ จะเกีย่ วขอ้ งกบั ตวั รบั opioid (Jongchanapong et al., 2010) การทดสอบด้วยวธิ ี tail-flick ทาการจับเวลาทหี่ นเู มา้ ส์ทนตอ่ รงั สีความรอ้ นไดโ้ ดยไมก่ ระดกหางหนี (tail-flick latencies) ก่อนให้น้าเกลือทางชอ่ งทอ้ ง มอรฟ์ ีนขนาด 10 มก./กก. ทางช่องทอ้ ง หรอื 2% ทวีน 80 โดยการปอ้ น สารสกดั ตารับยาห้า ราก และสมุ นไพรเด่ยี ว ในขนาด 25-400 มก./กก.โดยการปอ้ น และทาการทดสอบหลงั ได้รับสารทดสอบอกี 7 ครงั้ ในชว่ ง เวลา 4 ชว่ั โมง พบวา่ สารสกดั ตารับยา และสมุนไพรเดีย่ ว ไดแ้ ก่ เท้ายายม่อม คนทา ยา่ นาง และมะเดอื่ ชมุ พร มฤี ทธร์ิ ะงบั ปวดอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ แต่ชงิ ช่ี ทกุ ขนาดทใี่ ห้ไม่มฤี ทธิ์ระงับปวดในการทดสอบนี้ (Jongchanapong et al., 2010) การทดสอบฤทธร์ิ ะงับปวดโดยเหนย่ี วนาใหห้ นเู มา้ ส์เกดิ ความเจบ็ ปวดจนเกิดอาการบิดงอลาตวั (writhing) ด้วย กรดแอซีตกิ จะทาการฉีดกรดแอซีตกิ 0.6% ในขนาด 10 มก./กก. เขา้ ทางชอ่ งทอ้ งของสัตวท์ ดลองท่ีเวลา 30 นาที หลงั จาก ป้อน 2% Tween 80, อนิ โดเมทาซิน หรอื สารสกดั ตารับยาหา้ ราก และสมุนไพรเด่ยี วของตารบั ขนาด 25-400 มก./กก. แลว้ นบั จานวนครงั้ ทหี่ นูเกิดการบดิ งอลาตัวเป็นเวลา 30 นาที พบวา่ เกอื บทุกขนาดของสารสกดั พืชเดย่ี ว และตารับยา สามารถลดจานวนคร้ังของการบดิ งอลาตัวของหนไู ดอ้ ยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ เิ ม่อื เปรยี บเทยี บกบั กลุ่มควบคมุ (Jongchanapong et al., 2010) ฤทธิ์ตำ้ นกำรอกั เสบ การทดสอบในหลอดทดลอง พบว่าสารสกดั เอทานอลของตารบั ยาหา้ ราก ยับยง้ั การสร้างไนตรกิ ออกไซด์ (NO) ซ่ึง เป็นสารทท่ี าใหเ้ กิดการอกั เสบ ซง่ึ หลัง่ จาก macrophage ของหนูทถี่ กู กระตุน้ ด้วย LPS พบวา่ สารสกดั จากตารบั ยา ยบั ยงั้ การสรา้ ง NO โดยมีคา่ IC50 เท่ากบั 40.36±1.99 มคก./มล. (ยามาตราฐาน Indomethacin IC50 เท่ากับ 20.32±3.23 มคก./ มล.) (Juckmeta and Itharat, 2012) การทดสอบยาจากสมุนไพรตารบั อายุรเวทศริ ิราชหา้ ราก ในหลอดทดลองในเซลล์ พบว่าทค่ี วามเขม้ ข้น 1 และ 10 มคก./มล. มีผลตา้ นการอักเสบของเซลลท์ ่ถี กู กระต้นุ ด้วย IL-1β ผา่ นการยับยัง้ cox-2 ในข้นั ตอนก่อนการแปลรหสั โปรตนี (pretranslation level) (พินภทั ร, 2553) ฤทธ์ติ ้ำนอนุมลุ อิสระ การทดสอบในหลอดทดลอง สารสกดั เอทานอลของตารับยาหา้ ราก สามารถยับยงั้ อนุมูลอสิ ระ DPPH (2, 2- diphenyl-1-picrylhydrazyl) ซงึ่ เปน็ chemical free radical ได้ในระดับปานกลาง โดยมคี า่ EC50 เทา่ กบั 40.93±1.25 มคก./ มล. (สารมาตราฐาน BHT คา่ EC50 เทา่ กับ 12.75±0.46 มคก./มล.) (Juckmeta and Itharat, 2012) การทดสอบสารสกดั เอทานอลของตารบั ยาห้าราก และสมนุ ไพรเดย่ี วในตารบั ในการยบั ยั้งอนมุ ลู อสิ ระ DPPH พบวา่ สารสกดั เอทานอลของตารับยาหา้ ราก, สารสกดั เอทานอลคนทา, สารสกัดเอทานอลย่านาง, สารสกัดน้ามะเดือ่ ชมุ พร,

หน่วยการศกึ ษาตอ่ เน่ืองคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ตารับยาห้าราก จากบัญชยี าหลักแหง่ ชาติ รหสั การศึกษาต่อเนอื่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารัตน์ หอมหวล สารสกดั เอทานอลมะเดื่อชุมพร, สารสกัดเอทานอลเทา้ ยายมอ่ ม และสารสกัดนา้ คนทา มีคา่ EC50 เทา่ กับ 83.53, 71.46, 83.64, 93.15, 111.87, 249.10 และ 404.64 มคก./มล. (สารมาตราฐาน quercetin และ BHT คา่ EC50 เท่ากับ 0.45 และ 3.47 มคก./มล. ตามลาดับ) (Singharachai, et al., 2011) การศึกษาผลของสารสกัดจากตารับยาอายุรเวทศริ ริ าชหา้ ราก ซง่ึ มีการนามาใชเ้ พ่ือลดการเข้มขน้ึ ของสีผิว โดย ศกึ ษาบทบาทตอ่ การตา้ นอนมุ ูลอิสระ และความสามารถในการยบั ยั้งการเขม้ ข้นึ ของเม็ดสี ศึกษาฤทธ์ิการต้านอนมุ ลู อิสระ และปริมาณของสารประกอบphenolic ในสารสกัดของตารบั ยาอายรุ เวทศิรริ าชห้า ราก และองค์ประกอบทง้ั 5 โดยวิธี DPPH และ Folin- Ciocalteau ตามลาดับ จากผลการศึกษาพบวา่ สารสกดั จากตารับยา ห้าราก และองค์ประกอบ มีความสามารถกาจัด DPPH radical และประกอบไปด้วย phenolic compound การศกึ ษาผลของ สมุนไพรตอ่ ภาวะ oxidative stress ของเซลล์ และผลตอ่ การทางานของเอน็ ไซมท์ ่ีมีผลต่อการตา้ นอนุมูลอิสระ คอื catalase และ glutathione, peroxidase รวมทงั้ ศกึ ษาปรมิ าณของ glutathione ภายในเซลล์ โดยใช้ caffeic acid เป็นสารมาตรฐาน พบวา่ สารสกัดจากตารบั ยา และ caffeic acid สามารถป้องกนั การลดลงของปรมิ าณของ glutathione และการทางานของ เอน็ ไซม์ catalase และ glutathione peroxidase ศกึ ษาฤทธิ์การยับยั้งเอนไซมไ์ ทโรซิเนสในหลอดทดลองโดยใช้ mushroom tyrosinase พบวา่ มเี พยี งสารสกัดจาก ตารับยาหา้ ราก, มะเดื่อชุมพร, ย่านาง และ caffeic acid ที่สามารถยบั ยง้ั mushroom tyrosinase ได้ นอกจากนไ้ี ด้ ทาการศกึ ษาบทบาทของการยับยง้ั การเพม่ิ ขนึ้ ของเมด็ สีที่เหนยี่ วนาโดยรงั สีอัลตราไวโอเลตชนิดเอ โดยใชเ้ ซลล์ melanoma และทาการประเมนิ พษิ ของสารสกดั ต่อเซลลโ์ ดยวิธี 3-[4,5-dimethylthiazol-2yl]-2,5 diphenyl tetrazolium bromide (MTT), เมือ่ ทาการศึกษาความสามารถในการยบั ย้งั ผลของรังสีอัลตราไวโอเลตชนิดเอ ตอ่ การเพ่มิ ขึ้นของเม็ดสีพบวา่ ทัง้ สารสกดั จากตารับยาห้าราก และ caffeic acid ไม่สามารถยบั ยง้ั การเพม่ิ ขนึ้ ของเอ็นไซมไ์ ทโรซิเนส และปริมาณของเมลานินภายใน เซลล์ แต่สามารถลดภาวะ oxidative stress ในเซลล์ melanoma ท่ถี ูกเหนย่ี วนาดว้ ยรังสีอลั ตราไวโอเลตชนิดเอ จาก การศึกษานสี้ ามารถสรุปได้วา่ สารสกัดจากตารับยาห้าราก และ caffeic acid มีความสามารถในการปรบั ปรงุ ระบบการตา้ น อนุมูลอิสระภายในเซลล์ อนั เน่ืองมาจากองคป์ ระกอบของสารต้านอนุมลู อิสระในตารบั ยา ทาใหส้ ามารถป้องกนั การเกดิ ภาวะ oxidatives stress ทถี่ กู เหนยี่ วนาด้วยรงั สอี ลั ตราไวโอเลตชนิดเอได้ (กมลรัตน,์ 2553) ฤทธติ์ ำ้ นเชือ้ แบคทีเรีย และควำมเปน็ พษิ ตอ่ เซลลม์ ะเร็ง จากการสัมภาษณ์แพทย์แผนไทยพบว่า ยาห้ารากนิยมนาไปใช้เป็นยาลดไข้ในผู้ป่วยโรคมะเร็งวัตถุประสงค์ของ การศกึ ษาน้ีเพ่ือศกึ ษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดเอทานอลของตารับยาห้าราก ต่อเชื้อแบคทีเรีย 4 ชนิด ได้แก่ S. aureus, B. subtilis, E. coli และ C. albicans โดยใช้วิธี disc diffusion และศึกษาฤทธ์ิความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอด (COR-L23), มะเร็งเต้านม (MCF-7) และเซลล์ปอดปกติ (MRC-5) โดยใช้วิธีทดสอบ SRB assay จากการศึกษาพบว่าราก ย่านางออกฤทธิ์สูงสุดในการยับยั้ง S. aureus, B. subtilis, E. coli และ C. albicans (โดยมี clear zone เท่ากับ 11.12, 13.80, 9.50 และ 20.50 มิลลิเมตร ตามลาดับ) รากคนทา และรากชิงชี่ มีฤทธ์ิต้านเชื้อแบคทเี รียเฉพาะแบคทีเรยี แกรมบวก ซ่ึงรากย่านาง และรากคนทานั้นมีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7) สูง โดยมีค่า IC50= 7.90 และ 27.70 มคก./ มล. ตามลาดับ มีความเปน็ พษิ ต่อเซลล์มะเร็งปอด (CORL-23) ท่ีค่า IC50=5.50 และ 32.07 มคก./มล. ตามลาดับ แต่ไม่พบ ฤทธท์ิ าลายเซลล์ปอดปกติ (MRC-5) โดยพบว่าค่า IC50 > 50.00 มคก./มล. จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า รากย่านางมี

หน่วยการศึกษาต่อเนือ่ งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี ตารับยาหา้ ราก จากบัญชยี าหลักแห่งชาติ รหสั การศึกษาต่อเนือ่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารตั น์ หอมหวล ฤทธต์ิ า้ นจลุ ชพี และมีความเป็นพิษตอ่ เซลล์มะเรง็ ซงึ่ จากผลการศึกษานั้นเป็นขอ้ มลู สนบั สนุนในแพทยแ์ ผนไทยซึ่งนาพชื ไป ใช้เป็นยาแกไ้ ข้ (Itharat et al., 2010) การศกึ ษาฤทธิต์ ้านเช้ือแบคทีเรียของสารสกัดเอทานอล และน้าของตารับยาห้าราก และสมุนไพรในตารับ โดยใช้ วิธี disc diffusion พบว่าสารสกัดเอทานอลของตารับ, สารสกัดเอทานอลของย่านาง และสารสกัดน้าของชิงชี่ และยา มาตรฐาน gentamicin มีฤทธิต์ ้านเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก Streptococcus pyogenes โดยมี clear zone เท่ากับ 13.0±1.4, 16.3±0.6, 14.7±0.6 และ 16.0±1.2 มิลลเิ มตร ตามลาดับ (Nuaeissara et al., 2011) ฤทธต์ิ ้ำนภูมิแพ้ การทดสอบในหลอดทดลอง สารสกัดเอทานอลของตารับยาห้าราก เมื่อศึกษาฤทธิ์ต้านภูมิแพ้ โดยวัดการยับย้ัง การหลัง่ เอนไซม์ทชี่ ว้ี ดั การเกดิ ภมู แิ พ้ คอื เอนไซม์ β –hexosaminidase ซง่ึ เปน็ เอนไซม์ทห่ี ลง่ั มาจาก RBL-2H3 basophilic leukemia cell line ของหนู พบว่าสามารถยับย้ังโดยมีค่า IC50 เท่ากับ 39.8±1.3 มคก./มล. เม่ือทาการแยกสารบริสุทธ์ิจาก ตารบั ยา พบสารตา้ นภูมแิ พ้ 2 ชนดิ ท่อี อกฤทธต์ิ ้านการแพ้ได้ดีกว่าสารสกัดรวมของตารับ ได้แก่ Pectolinarigenin และ O- methylalloptaeroxylin สารทงั้ สองมคี า่ IC50 เทา่ กบั 6.3±0.7 มคก./มล. และ 14.2±0.9มคก./มล. ตามลาดับ ซึ่งออกฤทธ์ิได้ ดีกว่ายามาตรฐานคลอเฟนริ ามนี (IC50 เท่ากบั 16.2±2.5 มคก./มล.) จงึ มีความนา่ สนใจเนอื่ งจากตารับยาจากสมุนไพรไม่ทา ให้เกิดผลข้างเคียงเหมือนยาแผนปจั จบุ ัน (Juckmeta et al., 2014) ผลตอ่ กำรเกำะกลุ่มของเกลด็ เลือด การทดสอบยาจากสมนุ ไพรตารบั อายุรเวทศิริราชห้าราก ในอาสาสมัครสุขภาพดีพบว่า 32 ชั่วโมง หลังการกินยา ในขนาด 1,500 มก. สามคร้ัง ทุก 8 ชั่วโมง พบว่าไม่มีผลต่อการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดที่ถูกกระตุ้นด้วย ADP หรือ adrenaline ภายใน 1 สัปดาห์หลังกินยา และมีผลลดการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดที่ถูกกระตุ้นด้วยคอลลาเจนเพียงเล็กน้อย (พนิ ภทั ร, 2553) กำรศกึ ษำทำงคลินกิ การศกึ ษาตารับยาห้ารากพบว่ามีการนามาใช้แกแ้ พ้ ในกรณมี ีผดผนื่ คัน ตามผิวหนังโดยการนาผงยามาละลายกับ นา้ ตม้ สกุ ทาบรเิ วณท่มี ีอาการคัน จึงได้มีการศกึ ษาฤทธ์ิกอ่ การแพ้แบบปฏกิ ริ ยิ าอิมมูนโดยดผู ลการยบั ย้ังการหล่ังเอนไซม์ β -hexosaminidase (คอื เอนไซม์ทีป่ ลดปลอ่ ยออกมาจาก mast cell เมื่อเกิดการแพ้แบบทันทีทันใดภายหลังได้รับแอนติเจน) และทดสอบการกอ่ การระคายเคอื งต่อผิวหนงั ด้วยการปิดสารทดสอบบนผวิ หนงั ผลการทดสอบความปลอดภัยต่อผิวหนังใน อาสาสมัครสุขภาพดีจานวน 10 คน เป็นเพศชาย 4 คน เพศหญิง 6 คน อายุระหว่าง 21-28 ปี อายุเฉล่ีย (mean ± SDI) = 24.9 ± 2.024 ปี ทดสอบความปลอดภยั ต่อผวิ หนงั ด้วยวิธกี ารปิดสารทดสอบ พบว่าสารสกัดเอทานอลของตารับยา ที่ความ เข้มข้นร้อยละ 10 และ 20 ไม่พบปฏิกิริยาการระคายเคืองของสารสกัดตารับยาและสมุนไพรเดี่ยวทุกชนิด ผลการทดสอบ การกอ่ การแพแ้ บบปฏกิ ริ ิยาอมิ มูน สารสกัดตารบั ยาหา้ ราก ใหผ้ ลเปน็ ลบในอาสาสมคั รทุกคน พบผลการทดสอบเป็นบวกใน รากคนทา (ความถี่ 3/10) และรากชิงช่ี (ความถ่ี 1/10) ให้ผลบวกไม่ชัดเจนในรากมะเด่ือชุมพร (ความถ่ี 2/10) ราก เทา้ ยายม่อมและรากยา่ นาง (ความถี่ชนดิ ละ 1/10) ผลการทดสอบของชุดสารทดสอบมาตรฐานสาเร็จรูป (TRUE test®) ไม่

หน่วยการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี ตารบั ยาห้าราก จากบญั ชยี าหลักแห่งชาติ รหสั การศึกษาต่อเน่อื ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารัตน์ หอมหวล พบการระคายเคือง แต่พบการแพ้แบบปฏิกิริยาอิมมูน สารที่ให้ผลการทดสอบเป็นบวกคือ thiomersal (ความถ่ี 5/10), nickel sulphate (ความถี่ 3/10) และ colophony, cobalt chloride, mercaptobenzothiazole และ thiuram mix (ความถ่ชี นิด ละ 1/10) สารท่ีให้ผลบวกไม่ชัดเจน คือ quaternium-15 (ความถี่ 2/10) neomycin sulphate, wool alcohol, carba mix, fragrance mix, thiomersal, ethylenediamine dihydrochloride (ความถชี่ นิดละ 1/10) โดยสรุปสารสกัดตารับยาห้าราก และสารสกดั สมุนไพรเดี่ยว ท่ีเป็นส่วนประกอบของตารับ มีฤทธ์ิต้านการแพ้แบบ ปฏิกิริยาอิมมูน ไม่พบปฏิกิริยาการก่อการระคายเคืองต่อผิวหนังคน จึงมีความปลอดภัยในการใช้เตรียมยาใช้ภายนอกกับ ผวิ หนัง ยกเวน้ รากคนทามีโอกาสกอ่ การแพแ้ บบปฏิกริ ิยาอิมมูนสูง เพราะให้ผลบวกโดยมีความถีก่ ับโลหะนิกเกิล (3/10) ซ่ึง เป็นสารทีเ่ ป็นสาเหตุท่พี บบ่อยท่สี ุดของโรคผิวหนงั อักเสบชนดิ ผ่ืนแพส้ ัมผสั จึงไมเ่ หมาะสมในการใช้เฉพาะทกี่ ับผวิ หนัง (Suwannarat et al., 2012) กำรศึกษำควำมเปน็ พิษ การทดสอบยาจากสมุนไพรตารับอายุรเวทศิรริ าชห้าราก (300, 1000, 3000 มก./กก.) เปน็ เวลา 14 วันในหนูขาววิ สตาร์ ไม่พบความเปน็ พิษของอวยั วะ (พนิ ภัทร, 2553) การศึกษาความปลอดภัยของตารับยาห้าราก และสมุนไพรแต่ละชนิดในตารับ โดยการทดสอบความเป็นพิษต่อ เซลล์ ด้วยวิธีทดสอบการตายของไรทะเล (Artemia salina L.) ทดสอบการก่อกลายพันธุ์ด้วยการทดสอบเอมส์ (Ames mutagenicity assay) โดยใช้ Salmonella typhimurium และการกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายต่อดเี อน็ เอด้วยวิธโี คเมต ตามลาดบั สารตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ไม่มีความเป็นพิษต่อไรทะเล ยกเว้นสารสกัดเอทานอลจากรากย่านาง และคนทา ซึ่งมีค่า LC50 เท่ากบั 44, 600 มคก./มล. ตามลาดับ ( LC50 > 1000 มคก./มล., ไม่เป็นพิษ และไม่มีฤทธ์ิก่อกลายพันธ์ุโดยตรง แต่มีฤทธ์ิ ก่อกลายพันธุ์ทางอ้อมหลงั จากการเกิดปฏกิ ิรยิ าไนโตรเซชนั ดงั น้ันผบู้ รโิ ภคควรพิจารณาถึงผลขา้ งเคียงจากการใชย้ าตารบั นี้ ร่วมกับ nitrite ซึ่งเจือปนอยู่ในอาหาร แต่อย่างไรก็ตาม สารสกัดจากตารับยาห้าราก และสารสกัดจากรากสมุนไพรแต่ละ ชนดิ แสดงฤทธิ์ยบั ย้งั การก่อกลายพนั ธุ์ต่อผลติ ภัณฑท์ เ่ี กดิ จากปฏิกิริยา ของอมิโนพัยรนี ทาปฏกิ ิรยิ ากบั ไนไตรท และมเี พยี ง สารสกัดด้วยน้า และเอทานอลจากรากชิงช่ี และสารสกัดด้วยน้าจากรากย่านางท่ีแสดงฤทธ์ิท่ีทาให้เกิดความเสียหายต่อดี เอ็นเอในระดับสูง เทียบเท่ากับไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ซ่ึงถูกใช้เป็นตัวควบคุมบวก ในกรณีของการทดสอบฤทธ์ิต่อการ แบ่งตัวของเซลล์ พบว่าสารสกัดตัวอย่างเกือบท้ังหมดมีค่าความเข้มข้นท่ีทาให้เกิดเซลล์ตายร้อยละ 50 (LD50) มากกว่า 2,000 มคก/มล ในขณะที่ สารสกัดจากตารับเบญจโลกวิเชียร แสดงค่า LD50 มากกว่า 20,000 มคก/มล จึงเป็นหลักฐานท่ี สนับสนนุ ขอ้ มูลทางด้านความปลอดภัย (Singharachai et al., 2011) โดยสรปุ จากการรายงานฤทธท์ิ างเภสัชวิทยา ได้แก่ ฤทธิ์แก้ไข้ แก้ปวด แก้ไข้มาลาเรีย ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้าน เช้อื จุลชีพ ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ การศึกษาทางคลินิก การศึกษาทางพิษวิทยา เป็นต้น ของตารับยา ผลที่ได้จากการศึกษา ยืนยนั ถงึ ประสทิ ธภิ าพ และความปลอดภัย ของตารับยาสมุนไพรตามองค์ความร้ดู ั้งเดิม ดงั นนั้ จงึ สามารถใช้เปน็ วิธีการรักษา ทางเลือกนอกเหนือจาการใช้ยาแผนปัจจุบัน และสามารถส่งเสริมการผลิตออกจาหน่ายสู่ท้องตลาดได้ ปัจจุบันมีรูปแบบ ผลิตภัณฑ์ยาห้ารากจาหน่ายอยู่ในท้องตลาด ที่ได้รับการข้ึนทะเบียนจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ให้มีการ

หน่วยการศึกษาตอ่ เน่ืองคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ตารบั ยาหา้ ราก จากบญั ชียาหลักแห่งชาติ รหัสการศึกษาต่อเนือ่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารัตน์ หอมหวล อนญุ าตผลติ และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ เป็นยาสามัญประจาบ้านแผนโบราณ พบว่ามีข้อมูลการข้ึนทะเบียนผลิตภัณฑ์ท้ังส้ิน 19 เลขทะเบยี นตารับ (งานบรกิ ารข้อมูลสุขภาพผ่านอินเทอร์เน็ต, 2559) จึงสามารถแนะนาให้ประชาชนใช้ ในสรรพคุณลด ไขไ้ ด้เชน่ เดยี วกับยาแผนปัจจบุ นั แต่ไม่เป็นอนั ตรายต่อตับหลงั การใชร้ ะยะยาว และใช้เป็นขอ้ มูลสนับสนุน และเผยแพร่การ ใชต้ ารบั ยาแผนโบราณของไทยตารับสู่ประชาชน และบุคลากรสาธารณสขุ ไดต้ ่อไป

หน่วยการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ตารับยาห้าราก จากบัญชียาหลักแห่งชาติ รหสั การศึกษาต่อเนอื่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารัตน์ หอมหวล เอกสำรอำ้ งอิง 1. กมลรัตน์ กองตาพนั ธุ์. การศึกษาฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากตารับยาห้ารากและคาเฟอิก แอซิด ต่อการยับย้ัง ผลของรังสีอัลตราไวโอเลตชนิดเอ ในการกระตุ้นการเข้มข้ึนของเม็ดสีผิว. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (เภสัชวิทยา) มหาวิทยาลยั มหิดล. 2553. 2. กองการประกอบโรคศิลปะ. ตาราแพทย์แผนโบราณท่ัวไป สาขาเภสัชกรรม. สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี; 2542a. 3. กองการประกอบโรคศิลปะ. ตาราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเวชกรรม เล่ม 1. สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นนทบรุ ี; 2542b. 4. คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่องบัญชียาจากสมุนไพร แนบท้ายประกาศบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2559. ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ 133 ตอนพิเศษ 86 ง., หน้า 11 , ลงวนั ที่ 12 เมษายน 2559. 5. งานบรกิ ารขอ้ มลู สุขภาพผา่ นอินเทอรเ์ น็ต สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา. [cited 2016 May 4]. Available from: http://fdaolap.fda.moph.go.th/logistics/drgdrug/DSerch.asp. 6. บษุ บา ประภาสพงศ.์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์:ภมู ิปัญญาทางการแพทย์ และมรดกทางวรรณกรรมของขาติ. โรงพิมพ์คุรุ สภาลาดพรา้ ว กรุงเทพมหานคร; 2542. 7. พนิ ภทั ร ไตรภทั ร. รายงานวิจยั เร่ืองการศกึ ษาฤทธิ์ของสมนุ ไพรตารบั หา้ รากอายุรเวทศิริราช ในการตา้ นอนมุ ูลอิสระ ต้าน การอักเสบ และตา้ นเกล็ดเลือด. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ; 2553. 8. สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. ตาราการตรวจรักษาโรคท่ัวไป 1 แนวทางการตรวจรักษาโรค และการใช้ยา. พิมพ์คร้ังท่ี 5 พิมพ์ดี กรุงเทพมหานคร; 2553. 9. อาภา คนซื่อ, ชยันต์ พิเชียรสุนทร, จินตนา สัตยาศัย, ประภาวดี พัวไพโรจน์, ศุภชัย ติยวรนันท์. การศึกษาฤทธ์ิลดไข้ ของยาเบญจโลกวิเชียรในสัตว์ทดลอง. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ฉบับเสริม) 2551; 6(2).41. 10. Itharat A, Reuangnoo S, Panthong S, et al. Antimicrobial and cytotoxic activities of five Thai plants used as antipyretic drug. Planta Med. 2010;76(12):1215-1219. 11. Jongchanapong A, Singharachai C, Palanuvej C, Ruangrungsi N, Towiwat P. Antipyretic and antinociceptive effects of Ben-cha-lo-ka-wi-chian remedy. J Health Res. 2010;24(1):15-22. 12. Juckmeta T, Itharat A. Anti- inflammatory and antioxidant activities of Thai traditional remedy called “Ya-ha- rak”. J Health Res. 2012;26(4): 205-210. 13. Juckmeta T, Thongdeeying P, Itharat A. Inhibitory Effect on β-Hexosaminidase Release from RBL-2H3 Cells of Extracts and Some Pure Constituents of Benchalokawichian, a Thai Herbal Remedy, Used for Allergic Disorders. Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine. 2014;2014:1-8. 14. Lin JT, Juliano JJ, Wongsrichanalai C. Drug-resistant malaria: the era of ACT. Curr Infect Dis Rep 2010;12:165–173.

หน่วยการศกึ ษาตอ่ เน่อื งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตารับยาห้าราก จากบญั ชียาหลักแห่งชาติ รหัสการศึกษาตอ่ เนือ่ ง 1010-1-000-003-05-2560 สุดารัตน์ หอมหวล 15. Nuaeissara S, Kondo S, Itharat A. Antimicrobial Activity of the Extracts from Benchalokawichian Remedy and Its Components. J Med Assoc Thai. 2011;94(Suppl.7): S172-S177. 16. Nutmakul T, Pattanapanyasat K, Soonthornchareonnon N, Shiomi K, Mori M, Prathanturarug S. Antiplasmodial activities of a Thai traditional antipyretic formulation, Bencha-Loga-Wichian: A comparative study between the roots and their substitutes, the stems. J Ethnopharmacology 2016;193: 125-132. 17. Singharachai C, Palanuvej C, Kiyohara H. Yamada H, Ruangrungsi N. Safety evaluation of Thai traditional medicine remedy: Ben-cha-lo-ka-wi-chian. J Health Res. 2011;25(2):83-90. 18. Suwannarat w, Achariyakul M, Itharat A, Somboon Kiettinun. A clinical study phase I on safety of Thai medicinal formula “Benjalokawichien (Ha-Rak)” and each plant component extract. Thammasat Medical Journal 2012;12(4): 767-776.