Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือส่งเสริมไอคิวและอีคิวเด็กสำหรับครู/พี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

คู่มือส่งเสริมไอคิวและอีคิวเด็กสำหรับครู/พี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

Description: คู่มือส่งเสริมไอคิวและอีคิวเด็กสำหรับครู/พี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก.

Search

Read the Text Version

การเขาใจและเหน็ ใจผอู นื่ โดยธรรมชาติเด็กเลก็ จะหวงของ และยึดตนเองเปน ศูนยก ลาง ดงั นนั้ การทะเลาะกนั หรอื การแยง ของเลน กนั จงึ เปน เรอื่ งธรรมดาทเี่ กดิ ขน้ึ ได การฝก ใหเ ดก็ เขาใจและรจู กั เหน็ อกเหน็ ใจผอู น่ื ตอ งเรมิ่ จากการใหเดก็ รจู กั แบงปนสิ่งของและชวยเหลือพี่นอง เพ่ือนบาน เด็กอาจรสู ึกฝนใจที่จะ แบงปน แตเ ดก็ สามารถเรยี นรูการแบง ปน ได ถาชใี้ หเดก็ เห็นวาการแบงปน จะทําใหเขามีเพ่ือนเลน หรือเม่ือเขาไดรับคําชมเชยจากผใู หญ ซึ่งเปน การเสรมิ แรงทเ่ี ดก็ ตอ งการ เมอ่ื เด็กไดร ับการสงเสรมิ ใหร จู ักแบงปน ผูอ ่ืน การยึดตนเองเปนศูนยกลางก็จะลดนอยลงและพัฒนาไปสูการใสใจ การเขา ใจอารมณผ อู น่ื และรสู กึ เหน็ อกเหน็ ใจผูอ น่ื การเรยี นรกู ฏเกณฑ วนิ ัย การเรียนรูว าอะไรผิดอะไรถกู และการยอมรับผดิ การสอนให เด็กรูวาอะไรควรและไมควร ครู/พ่ีเลี้ยงควรกําหนดขอบเขตเบ้ืองตน ใหเด็กรูว าอะไรท่ีทาํ ได ทําไมไดในเรื่องงายๆ ในชีวิตประจาํ วัน โดยที่ คร/ู พเ่ี ลยี้ งเปนคนคอยควบคมุ เดก็ ใหอ ยูใ นขอบเขตทเี่ หมาะสม เพราะวา เดก็ ยังควบคมุ ตนเองไมได และทสี่ าํ คญั ครู/พเ่ี ลีย้ งตอ งทําเปนตัวอยา งใหก ับ เด็กดว ย และควรสอนเด็กเรอื่ งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในชีวติ ประจําวัน คร/ู พเี่ ลยี้ งควรมเี วลาคยุ กบั เดก็ บอยๆ เชน การพดู กบั เด็กเกยี่ วกบั สภุ าษติ คูมือสงเสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สําหรบั ครู/พ่เี ลย้ี งศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็ก 51 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 51 13/6/2548, 15:44

คําพงั เพย การเลา นิทาน พดู คยุ กบั เดก็ ทุกวัน การหยบิ ยกขาวสารมาพดู เด็กๆ จะคอยๆ ซึมซับคาํ สอนเหลาน้ัน ในเด็กเล็กเมื่อเด็กยังทําสิ่งท่ี เหมาะสมไมได ก็ไมควรใชเ หตุผลที่ยืดยาว เขา ใจยากอธบิ ายใหเดก็ ฟง ใชเ พียงเหตผุ ลงายๆ สนั้ ๆ แลวควบคมุ เด็ก โดยจบั เด็กไว แยกออกไป หรือเบยี่ งเบนความสนใจเรอ่ื งอื่น และเมื่อเดก็ ถึงวัยเดก็ โต พอทจี่ ะเขา ใจ จงึ คอ ยอธบิ ายเดก็ ก็จะเขา ใจเหตผุ ลมากขนึ้ กวา เดมิ การฝก วนิ ยั คร/ู พเ่ี ลยี้ งควรฝก ใหเ ดก็ ควบคมุ ความประพฤตติ นเอง ดว ยการทคี่ ร/ู พเี่ ลยี้ งจะตอ งเปน คนชว ยควบคมุ ความประพฤตอิ ยา งเสมอตน เสมอปลาย เมอื่ เดก็ โตขึ้นจะเรยี นรทู ่จี ะควบคมุ ตัวเองไดใ นทสี่ ดุ เดก็ ควร มวี ินยั ในเรอื่ งเหลานี้ - วนิ ยั ในความประพฤตทิ วั่ ไป เชน เกบ็ ขา วของเขา ที่ ตรงตอ เวลา ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ รูจ กั กาลเทศะ ประพฤติตนเหมาะกับวัย ทํากิจวตั ร ตามเวลา ชวยเหลอื ตนเองไดตามวยั - วนิ ยั ในการเรยี น การทาํ งาน เชน รบั ผดิ ชอบงานทไี่ ดร บั มอบหมาย การรกั ษาคาํ พดู - วนิ ยั ในการควบคมุ ตนเอง เชน ควบคมุ อารมณไ ดด ตี ามวยั และ อดทนตอ ความลาํ บากตามวยั 52 คูมือสงเสริมไอคิวและอีควิ เด็ก สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 52 13/6/2548, 15:44

มงุ มั่น มานะ อดทน แรงจูงใจท่ีจะมุมานะพยายามในการทาํ ส่ิงตางๆ ใหส าํ เร็จโดย ไมเ ลกิ ลม กลางคนั แมจ ะพบปญ หาอปุ สรรค เปน คณุ ลกั ษณะทต่ี อ งเสรมิ สรา ง ตง้ั แตเ ด็กอยา งคอยเปน คอ ยไป เรม่ิ ต้ังแตเด็กเลก็ วัย 3–5 ป ครู/พีเ่ ล้ียง ควรมที า ทสี นใจรบี ตอบสนองเมอื่ เดก็ มขี อ สงสัยหรอื ขอซกั ถาม เพราะเดก็ วัยน้มี ักมีความสนใจ อยากรูอยากเห็นส่งิ แปลกใหมรอบตัว การใหอิสระ เดก็ ไดท ดลองทําอะไรดว ยตนเอง แลวครู/พีเ่ ล้ียงใหก ารสนบั สนุนชมเชย เมื่อเดก็ มีความพยายาม ใหก าํ ลังใจเมือ่ เดก็ มีความพยายาม ใหก ําลังใจ เมื่อเด็กเรม่ิ ทอ แท จะชว ยใหเ ด็กอยากทาํ อะไรใหส าํ เรจ็ มากขนึ้ ชวยเพ่ิม ความอดทนและมงุ มน่ั พยายาม พฒั นาเปน แรงจงู ใจทจี่ ะทําสงิ่ ตา งๆ ใหส ําเรจ็ เมอ่ื เตบิ โตเปน ผใู หญ คูม ือสง เสริมไอควิ และอคี วิ เด็ก สําหรับครู/พเี่ ล้ยี งศนู ยพัฒนาเดก็ เล็ก 53 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 53 13/6/2548, 15:44

54 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 54 13/6/2548, 15:44

การปรบั ตวั ตอ ปญหา ความสามารถในการกลา ตดั สนิ ใจและการจดั การกบั ปญ หาอยาง เหมาะสมในวัยผูใหญมาจากพ้ืนฐานความสามารถในการปรับตัวตอการ เปลยี่ นแปลงในวยั เดก็ เล็ก และเมอื่ เดก็ โตขนึ้ กฝ็ ก หดั ใหเ ดก็ รูจ กั คดิ เปน และตดั สนิ ใจเปน รวมทงั้ การชว ยเหลอื ตนเองได ในวยั เด็กเลก็ ควรฝก หดั การปรับตัวตอการเปล่ียนแปลง ธรรมชาติของเด็กเล็กมักจะเกิดความ หวน่ั ไหว เมื่อมีการเปล่ียนแปลงใดๆ ครู/พี่เล้ียงควรฝก ใหเด็กปรับตัว ไดงา ย โดยการพาเด็กไปพบเห็นสง่ิ ตางๆ ในศนู ย เม่อื เดก็ เกดิ ความกลัว ครู/พ่ีเลี้ยงควรใหการปลอบใจ และใหความม่ันใจเด็กดวยคาํ พูดและ การโอบกอด เพอ่ื ใหเ ดก็ รสู กึ อบอนุ ใจ การฝก เชน นจ้ี ะทาํ ใหเ ดก็ ปรบั ตวั ไดง า ย และเดก็ ไดเ รยี นรูเกย่ี วกบั การอยรู ว มกบั คนอนื่ หรอื สง่ิ แวดลอมรอบตวั กลา แสดงออก การฝก ใหเ ดก็ กลาแสดงออก เด็กตอ งมคี วามพรอ ม ความมน่ั ใจ และมที ักษะการสอ่ื สารทดี่ ี ความสามารถในการสอื่ สารตองเรม่ิ มาจากการ ฝกฝนตั้งแตเด็กเล็ก ใหเด็กสื่อสารเพ่ือใหเกิดความเขาใจกับผูอื่นได อยา งเหมาะสม ทงั้ คาํ พดู ทา ทาง ในเดก็ เลก็ ควรฝก เดก็ ใหก ลาพดู กลา บอก ความรสู ึกและความตองการดานความคิดและเหตุผลมากข้ึน ฝกเด็ก ใหก ลา พดู กลา บอกเลา ถงึ ความคดิ เหน็ ของตนเองในทศิ ทางทผี่ อู นื่ ยอมรบั ได คมู ือสง เสริมไอคิวและอีควิ เดก็ สําหรบั ครู/พีเ่ ล้ยี งศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ 55 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 55 13/6/2548, 15:44

ความสขุ ความพอใจ ความสุขของบุคคลเกิดจากการท่ีบุคคลมีความพอใจในตนเอง มคี วามภาคภมู ใิ จ การสรา งความรสู กึ ความภาคภมู ใิ จในตนเองตอ งเรม่ิ จาก วัยเด็กเล็ก ที่เด็กไดรับความรัก ความสนใจ ความชื่นชม การชมเชย จากผใู หญ เกดิ การรับรูว า ตนเองมคี ุณคา มคี วามสาํ คญั มคี ุณคา เปนที่ ตองการของคนรอบขา ง ความสขุ ความพอใจในชวี ติ เกดิ จากการที่พอ แม ผดู แู ล ถา ยทอดมมุ มองความคิดดานบวกตอ สงิ่ ตางๆ ไมว า จะแสดงออก ดว ยคําพดู และการกระทํา ความอบอุน ใจ ชวี ติ คนรายอ มพบความไมส มหวงั หรอื พบอปุ สรรคตางๆ พอ แม ผดู แู ลเด็กมีสวนสําคัญในการสรา งความรูส กึ ที่ดี ใหเดก็ ยังคงมคี วามรูส กึ อบอุนใจแมจ ะพบกับความไมสมหวัง ดวยการฝกใหเด็กมองดานบวก ของชีวิต เชน เม่ือเด็กไมพอใจที่ถูกดุ ก็ใหม องอีกดา นวา ที่พอแมห รือ คร/ู พเ่ี ลยี้ งดกุ เ็ พราะครสู นใจ เอาใจใส เมอื่ ไมช อบใจทเี่ พอื่ นพดู จาไมไพเราะ กใ็ หมองเห็นขอ ดที เี่ พอื่ นเปน คนตรงไปตรงมา และมีความจรงิ ใจ ความสนกุ สนานราเรงิ ความสุขของเด็กเปนความสุขแบบสนุกสนานเพลิดเพลิน คือ สุขสนุกจากการเลนไมว าจะเปนการเลนตามลําพังหรือเลน กับกลุมเพ่ือน เดก็ ทมี่ โี อกาสไดเ ลน สนกุ สนานจะมจี ติ ใจ รา เรงิ แจม ใส มพี นื้ ฐานอารมณดี 56 คูมือสง เสริมไอคิวและอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ล้ียงศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 56 13/6/2548, 15:44

• ปจ จยั สาํ คญั ในการพฒั นา ไอควิ /อีควิ 1. ความรคู วามเขา ใจและทักษะในการเลี้ยงดเู ดก็ คร/ู พี่เล้ยี ง ควรมคี วามรูค วามเขา ใจและทกั ษะในการเลยี้ งดเู ดก็ ทเี่ หมาะสม ตอ งพฒั นา ตนเองใหมีทกั ษะในการจดั กิจกรรมตางๆ รวมถึงใหความใกลชดิ มเี วลา พอเพยี งทจี่ ะอบรม ชแ้ี นะ ฝก หดั ใหก บั เดก็ และควรศกึ ษาวธิ กี ารเลยี้ งดเู ดก็ แตละวยั ทมี่ คี วามแตกตา งกนั 2. ตัวแบบหรือแบบอยางทีด่ ี เดก็ เขา ศนู ยพ ฒั นาเด็กเลก็ เพื่อ ศึกษาเลาเรยี นและเรยี นรูก ารอยูร ว มกนั ในสงั คม เดก็ จะเรยี นรแู ละซึมซบั จากแบบอยา งในการปฏบิ ตั ขิ องคร/ูพเ่ี ลยี้ งและผดู แู ล ดงั นน้ั การพฒั นาความ ฉลาดทางอารมณต นเองของคร/ู พเ่ี ลย้ี ง จงึ สง ผลตอ การสรา งบรรยากาศและ ส่ิงแวดลอ มรอบตัวเดก็ ในศนู ยพัฒนาเดก็ เล็กทเี่ อื้อตอ การพฒั นาเด็กดว ย นอกจากนค้ี ร/ู พเี่ ลย้ี งยงั มสี ว นชว ยเหลอื ใหเ ดก็ ทมี่ สี ตปิ ญญาและความฉลาด ทางอารมณบ กพรอ งในบางดา นไดร บั การปรบั ปรงุ ไปในแนวทางทดี่ ขี น้ึ และ สง เสรมิ สตปิ ญ ญาและความฉลาดทางอารมณท ดี่ รี ว มกบั พอ แมใ หอยยู ง่ั ยนื ไดดวย ในรูปแบบกิจกรรมตางๆ ท่ีครู/พี่เลี้ยงสรางหรือประยุกตข้ึน ทงั้ ในและนอกแผนการสอนทมี่ อี ยู 3. การพฒั นาเดก็ แบบบรู ณาการ เปน การพฒั นาเดก็ แบบองคร วม คือ การพัฒนาท้ังดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญา ไปพรอมๆ กัน โดยสอดแทรกการพฒั นาในกจิ กรรมประจําวัน กิจกรรม คมู ือสง เสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สําหรบั ครู/พี่เลย้ี งศนู ยพัฒนาเดก็ เล็ก 57 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 57 13/6/2548, 15:44

58 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 58 13/6/2548, 15:44

บรู ณาการ นอกจากนย้ี งั สามารถจดั การเรยี นรูใ หส อดคลอ งกบั วถิ ใี นชมุ ชน และเชอื่ มโยงกบั ภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่ ทงั้ รปู แบบ นทิ านพนื้ บา น ดนตรี และ การละเลนพนื้ บาน วัฒนธรรมประเพณที ดี่ งี ามของทอ งถน่ิ 4. การเขา ใจธรรมชาตขิ องเดก็ แตล ะวยั คร/ู พเี่ ลยี้ งควรมคี วามเขา ใจ ธรรมชาตขิ องเดก็ แตล ะวยั ดวยการศกึ ษาหาความรูเ พมิ่ เติมทมี่ สี ว นพฒั นา เรอ่ื งนี้ เชน พฒั นาการ สขุ ภาพจติ จติ วทิ ยา ฯลฯ เปน การเตรยี มความพรอม เพ่อื สรางหรือจดั กจิ กรรมใหเ หมาะสมกับวัย วุฒภิ าวะ ทจี่ ะพัฒนาใหเปน ไปอยางตอ เนื่องจากวัยหน่ึงสวู ัยหน่ึง หรือชว งอายุหน่ึงสชู ว งอายุถัดไป ตลอดจนความตอ เนอ่ื งของการมีสวนรวมทุกฝา ยทเ่ี ก่ียวขอ ง พอแม ครู บุคลากรสาธารณสุข เปนตน 5. การตดิ ตามและประเมนิ ผล การพฒั นาสตปิ ญ ญาและความฉลาด ทางอารมณ ควรดาํ เนนิ ควบคูไ ปกบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู และดาํ เนนิ การ ติดตามการจัดกิจกรรมเปนระยะ รวมท้ังมีการประเมินผลการพัฒนา ความฉลาดของเด็กดวยวิธีการทหี่ ลากหลายอยางตอเนอ่ื ง เพ่อื เปน ขอ มลู ในการปรบั ปรงุ วธิ กี ารจดั กจิ กรรมของคร/ู พเี่ ลยี้ งและพฒั นาการดําเนนิ งาน ใหมปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขน้ึ คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สาํ หรับครู/พีเ่ ล้ยี งศนู ยพัฒนาเด็กเล็ก 59 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 59 13/6/2548, 15:44

• เกดา็กรกบอารูารยณพุัฒา1กน1าา/ส2รตก-ิปจิ5ญกปญรราแมลกะคาวราเมรฉียลนาดรทูสาํางหอารรบั มณเด็ก อายุ 11/2 – 5 ป สามารถบรู ณาการในกจิ กรรมการเรียนรใู น 2 รปู แบบ ไดแก 1. บูรณาการในการทาํ กจิ วัตรประจําวัน ดว ยการทค่ี รู/พี่เล้ียง จดั กจิ กรรมกจิ วตั รประจาํ วนั ตามหลกั การพฒั นาสตปิ ญ ญาและความฉลาด ทางอารมณเด็กตามวยั ไดแ ก • การฝก หดั ใหร จู กั มารยาททางสงั คมในการอยูร ว มกบั ผอู น่ื เชน - การไหว กลา วทกั ทายสวสั ดี ขอโทษ ขอบคณุ - มารยาทในการรบั ประทานอาหาร ไมเ ลน กนั ขณะรบั ประทาน อาหาร ไมท านอาหารมมู มาม - มารยาทในหอ งเรยี น ไมส งเสยี งดงั รบกวนเพอื่ น รจู กั หยดุ นงิ่ รบั ฟง ผอู นื่ - ขออนญุ าตเมอื่ จะเขา หอ งนา้ํ หรอื ออกจากหอ งเรยี น • ฝกหดั การมรี ะเบยี บวนิ ยั - การเขา แถว - การทํากจิ วตั รตา งๆ เปน เวลา และตรงตอ เวลา - ฝก การเกบ็ ของเลน และของใชเ ขา ทใี่ หเ รยี บรอ ย 60 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สําหรบั ครู/พเี่ ลีย้ งศนู ยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 60 13/6/2548, 15:44

• ฝก หดั การรบั ผดิ ชอบ เชน - ใหเ ดก็ รูจ กั นาํ ถาดอาหารไปเกบ็ เอง - ฝกหดั ใหเ ดก็ ชว ยเหลอื ตนเองตามวยั ได เชน แปรงฟน เอง ตกั อาหารทานเอง ทําความสะอาดรางกายไดเ อง - รูจ กั เกบ็ รกั ษาขา วของของตนเอง - ไมห ยบิ ของผอู นื่ โดยไมข ออนญุ าต และรูจ กั คนื ใหเ จา ของ • ฝก หดั การกลา พดู กลา บอก - ใหย กมอื เมอ่ื ตอ งการพดู • ฝก หดั การควบคมุ ตนเอง - ฝก การสวดมนต ทาํ สมาธิในชว งส้นั ๆ 1 – 5 นาที 2. บรู ณาการในกจิ กรรมหลกั 6 กิจกรรม ไดแก 2.1 กจิ กรรมการเคลอื่ นไหวและจงั หวะ เปนกจิ กรรมทจ่ี ัดใหเ ด็กไดเคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรา งกาย ตามจังหวะ ตามเสียงดนตรี บทเพลง โดยจดั ใหเด็กเคล่อื นไหวทกุ เชา ในรปู แบบตา งๆ เชน การเคลอ่ื นไหวอยา งอสิ ระ การเคลอ่ื นไหวตามคําสงั่ การเคลอ่ื นไหวแบบเปนผูน าํ และผูตาม การเคลอ่ื นไหวเลยี นแบบ ฯลฯ คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี ิวเดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ลยี้ งศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็ก 61 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 61 13/6/2548, 15:44

วัตถปุ ระสงคเ พอื่ :- 1. ไดพ ฒั นากลา มเนอ้ื เลก็ กลามเนอื้ ใหญ และอวยั วะทกุ สวน ใหม คี วามสมั พนั ธก นั 2. ตอบสนองความตองการตามธรรมชาติ ความสนใจ ทําให เดก็ สนกุ สนาน มคี วามซาบซง้ึ มสี นุ ทรยี ภาพ ไดผ อ นคลาย ความตงึ เครยี ด 3. เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดแ สดงออก และมคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา งสรรค 4. พฒั นาการดา นสงั คม การปรบั ตวั และความรว มมอื ในกลมุ 2.2 กจิ กรรมสรางสรรค เปน กจิ กรรมทใ่ี หเ ดก็ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเกย่ี วกบั งานศลิ ปะตา งๆ เชน การวาด ภาพระบายสี การปน การพมิ พภ าพ การพบั ฉกี ตดั ปะกระดาษ และงานประดษิ ฐเ ศษวสั ดุ ฯลฯ วัตถุประสงค เพือ่ :- 1. พฒั นาความคดิ สรา งสรรค และจนิ ตนาการ 2. การรับรเู กยี่ วกบั ความงาม รจู กั ชนื่ ชมความงาม 3. ใหเดก็ ไดแสดงออกตามความรูส กึ ละความสามารถของตน 4. พฒั นาทกั ษะทางภาษา ดว ยการบอกอธบิ ายผลงานของตน 5. พฒั นากลา มเนอ้ื เลก็ ประสานสมั พนั ธร ะหวา งมอื กับตา 62 คูม ือสงเสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สําหรับครู/พเ่ี ล้ียงศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 62 13/6/2548, 15:44

6. พฒั นาทางสงั คม รจู กั การปรบั ตวั ในการทํางานรว มกบั ผูอ น่ื มคี วามเออื้ เฟอ เผอื่ แผแ ละมคี วามรบั ผดิ ชอบ 2.3 กิจกรรมเสรี (เลนตามมมุ ) เปนกจิ กรรมที่จดั ใหเ ด็กไดเลอื กเลน ส่ือและเครื่องเลน อยาง อสิ ระในมมุ การเลนตามความสนใจ และความสามารถของเดก็ แตล ะคน โดยคร/ู พีเ่ ลย้ี งเปนผจู ดั มมุ ประสบการณเ หลา นีใ้ นหองเรยี น เชน มุมบา น มมุ หมอ มมุ รา นคา มุมครัว ฯลฯ วตั ถุประสงคเพื่อ:- 1. พฒั นาทกั ษะทางภาษา คอื การฟง การพดู บอกอธบิ ายเรอ่ื งราว 2. พฒั นาทกั ษะทางสงั คม คอื การปรับตวั การเลน และ การทาํ งานรว มกบั ผูอ นื่ 3. พฒั นาทักษะทางอารมณ คอื ฝก การรูจ กั รอคอย เออื้ เฟอ เผอ่ื แผ แบง ปน การเสยี สละ และใหอ ภัย 4. พัฒนาการมีระเบียบวินัย และความรับผิดชอบ คือ การเก็บของเลนเขา ทเี่ ดิม ไมน าํ ของเลน กลบั บาน การรูจ กั ดูแลรกั ษาของเลนที่ใชร ว มกนั ฯลฯ คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เด็ก สาํ หรบั ครู/พเ่ี ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเลก็ 63 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 63 13/6/2548, 15:44

2.4 กิจกรรมเสรมิ ประสบการณช วี ิต (กจิ กรรมวงกลม) เปน กจิ กรรมทค่ี ร/ู พเี่ ลยี้ งและเดก็ รว มแลกเปลยี่ นประสบการณ ขา วสารตา งๆ ดว ยรปู แบบตา งๆ เชน การสนทนา การอภปิ ราย ทศั นศกึ ษา การเลา นิทาน การรองเพลง การสาธติ การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง เปน ตน วัตถปุ ระสงคเ พอ่ื :- 1. สนบั สนนุ ใหเ ดก็ มคี วามรอบรูและสนใจสงิ่ แวดลอ ม 2. ฝก ทกั ษะการพดู การฟง การกลาแสดงออก 3. เรยี นรูก ารคดิ อยา งมเี หตผุ ล และการสรปุ ความคดิ รวบยอด 4. รูจกั มารยาทในการฟง การพดู การสงั เกต 5. การเรยี นรใู นการรบั ฟง ใหค วามสนใจ และยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู นื่ 6. การเรยี นรูคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จากการทคี่ รพู เี่ ลย้ี งคอยบอก สอน และการคดิ วเิ คราะหผ า นเรอ่ื งราวทนี่ ํามาเรยี นรูต า งๆ 2.5 กจิ กรรมกลางแจง เปน กจิ กรรมทจ่ี ดั ใหเ ดก็ ไดอ อกนอกหอ งเรยี นไปสสู นามเดก็ เลน ทงั้ บรเิ วณกลางแจง และในรม โดยศนู ยพัฒนาเด็กจดั กิจกรรมใหม ีความ หลากหลาย เพอื่ เปดโอกาสใหเ ด็กไดเ ลนสนกุ สนานอยา งเสรี ตามความ สนใจและความสามารถของเด็กแตล ะคน เชน การเลนนํา้ เลน ทราย 64 คมู ือสง เสริมไอคิวและอีคิวเด็ก สาํ หรับครู/พเ่ี ล้ียงศนู ยพ ัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 64 13/6/2548, 15:44

การเลนอสิ ระ การเลน เคร่ืองเลนสนาม การเลน อปุ กรณกีฬา การละเลน พ้นื เมอื ง เกมการละเลน ตางๆ วัตถุประสงคเพอื่ :- 1. พฒั นากลา มเนอ้ื เลก็ กลา มเนอื้ ใหญ ใหส ามารถเคล่อื นไหว ไดค ลอ งแคลว 2. พฒั นาประสาทสมั พนั ธร ะหวา งมอื กบั ตา 3. เรยี นรูก ารปรบั ตวั ในการเลน และการอยูร วมกบั ผอู นื่ 4. เสริมสรางอารมณสนุกสนาน ราเรงิ ตามวยั 5. การรจู กั ผอนคลายความเครยี ด 6. พฒั นาทกั ษะการเรยี นรตู า งๆ เชน การสงั เกต การเปรยี บเทยี บ คูมือสง เสริมไอคิวและอีควิ เดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ลยี้ งศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ 65 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 65 13/6/2548, 15:44

66 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 66 13/6/2548, 15:44

2.6 เกมการศกึ ษา เปน กจิ กรรมการเลนทเี่ ปน เกมประเภทตางๆ เชน เกมการจบั คู ภาพเหมือน เกมโดมิโน เกมตอ ภาพ เกมเรยี งลําดับ เกมการจดั หมวด หมู เกมพนื้ ฐานการบวก ฯลฯ วัตถปุ ระสงคเพือ่ :- 1. เกดิ การเรยี นรู และมคี วามคิดรวบยอดในสงิ่ ทเี่ รยี น 2. ฝก การสงั เกต การจาํ แนก การเปรยี บเทยี บ การคดิ หาเหตผุ ล 3. เรียนรูทกั ษะพ้นื ฐานตา งๆ เชน คณิตศาสตร ภาษาไทย การรจู กั สญั ลกั ษณตางๆ 4. ฝกประสาทสมั พนั ธร ะหวางมอื กบั ตา 5. การเรยี นรูคณุ ธรรมตางๆ เชน การรจู กั รอคอย มคี วามรบั ผดิ ชอบ มรี ะเบยี บวินยั • การสง เสรมิ การเลน การเลนทําใหเ ดก็ พรอ มทจี่ ะเปน ผูใ หญท ถี่ งึ พรอมดว ยความเชอื่ มน่ั ในตนเอง จากการฝกฝนท้ังการเคล่ือนไหว การพดู การใชจ ินตนาการ เลยี นแบบสงิ่ ตา งๆ จากผูใหญ ทําใหต อกยา้ํ ความคดิ ของตนเองวา เราทาํ ได แนวทางทจี่ ะใหเ ดก็ ไดพ ฒั นาสตปิ ญ ญาและความฉลาดทางอารมณผ า นการ เลน นนั้ คอื คูม ือสง เสริมไอควิ และอีควิ เดก็ สําหรบั ครู/พ่เี ลย้ี งศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ 67 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 67 13/6/2548, 15:44

1.ใหอ สิ ระแกเ ดก็ ในการเลน พอสมควร อยา ปด กนั้ การเลนของเดก็ โดยคดิ วา เปน เร่อื งไรสาระ ไรสมอง เดก็ จะพลาดโอกาสในชวี ติ เมอ่ื โตเปน ผูใหญ อาจเปน คนทขี่ าดความพอดี เลน ไมเ ลกิ เชน คลง่ั ทํางานโดยไมส นใจ รบั ผดิ ชอบครอบครวั 2. สนบั สนนุ ใหเ ดก็ ไดเลน กบั เพอื่ นทงั้ วยั เดยี วกนั และตา งวยั ใหเ ลน หลายๆ แบบ ท้ังกีฬาในรม ซึ่งฝกทกั ษะทางความคิดข้นั สงู ไดดี ในขณะท่ี การเลน นา้ํ เลน ทราย สรา งจนิ ตนาการและความคดิ สรา งสรรคทดี่ ใี หก ับเดก็ การเลน เกมสมมตติ า งๆ หรอื เลนละครคิดกนั เอง ยอ มเปน การจาํ ลองโลก ของผใู หญท เี่ ขาเขา ใจ ระบายออกมาเปน ความรสู กึ นกึ คดิ ของตวั เขาเองทงั้ สน้ิ • การเลา นทิ าน การเลา นทิ านเปนสงิ่ จาํ เปน สาํ หรบั เดก็ เดก็ วยั กอ นเรยี นจะสนใจ และชอบหนังสอื นทิ าน ชอบเลา เรอื่ งตา ง ๆ เปนการแสดงการใหค วามรกั การดแู ลเอาใจใสต อเด็ก การเลาเรือ่ งตางๆ จะชวยพัฒนาการดา นภาษา และขณะเดยี วกนั กเ็ ปน การสง เสรมิ การเรยี นรเู กย่ี วกบั ชวี ติ ประจาํ วนั พฒั นา ระบบการคิด การจนิ ตนาการและเกิดความคดิ สรา งสรรค และทําใหเ ด็ก สนกุ สนาน 68 คูม ือสง เสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรบั ครู/พเ่ี ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 68 13/6/2548, 15:44

จุดมุงหมายการเลานทิ าน 1. สง เสรมิ การคดิ คาํ นงึ จนิ ตนาการ 2. สงเสรมิ การฟง และเกดิ ความสนกุ สนานเพลิดเพลิน 3. สอนเดก็ ใหเ ดก็ ทราบวา อะไร ดไี มดี เสรมิ สรางคุณธรรม และ จรยิ ธรรม 4. ชว ยสง เสรมิ การเรยี นรคู ําและภาษาพดู ใหมๆ 5. ชว ยใหเ ด็กมคี วามกลา ทจี่ ะแสดงออกอยา งมน่ั ใจ 6. กระตุนใหเด็กเลียนแบบในสิ่งท่ีดีของนิทาน เชน “หนูออ กวาดบาน” “ลกู หมปี วดฟน” “หบุ เขาแหง ความดี” 7. สรา งประสบการณใ นการรบั ฟง และเพมิ่ คําศพั ทใ หมๆ 8. อธบิ ายและสอนเดก็ ในเรอื่ งตา งๆ 9. ชว ยแกไ ขปญ หาพฤตกิ รรมทไ่ี มด ขี องเดก็ ได เชน นทิ านสอนเรอ่ื ง การไมร งั แกเพอื่ น การไมด อื้ 10. เนนการชว ยกระตนุ ใหเ ด็กพยายามหัดอา นหนังสือทางออ ม เนอื่ งจากเมอ่ื เดก็ เหน็ หนงั สอื นทิ าน เดก็ อยากจะรูเ รอ่ื งอาจนํามา ใหผ ูใหญอา นใหฟ ง ทําใหเ ดก็ อยากรูเ รอื่ งดว ยตัวเอง เดก็ กจ็ ะ นาํ หนงั สอื นน้ั ใหผ ูใ หญส อนใหต นหดั อา น คมู ือสง เสริมไอควิ และอีคิวเด็ก สาํ หรบั ครู/พ่เี ล้ยี งศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็ก 69 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 69 13/6/2548, 15:44

70 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 70 13/6/2548, 15:44

การเลอื กหนงั สอื นทิ าน 1. ขนาดของหนงั สอื เหมาะสมกบั กลุม ผูฟง หนงั สอื นทิ านเลมเลก็ เหมาะกับการเลากับเด็กกลุม เล็ก หรือเลา แบบตัวตอตัว แตไ มเหมาะกับ การเลา ใหเ ดก็ กลุม ใหญเ กิน 10 คนฟง เพราะเด็กจะมองไมเห็นภาพ 2. รปู ภาพและสี ภาพและสีเปน องคป ระกอบทสี่ ําคญั ของหนงั สอื นทิ านทสี่ ามารถดงึ ดดู ความสนใจของผฟู งได หนงั สอื นทิ านทเี่ หมาะกบั เดก็ จงึ ควรเปนภาพทีส่ อ่ื ความหมายไดชดั เจน และสีสันสดใส สวยงาม 3. เนอ้ื หาของนทิ านไมค วรยาวจนเกนิ ไป ซงึ่ อาจทาํ ใหผ ฟู ง เกดิ ความ เบอื่ หนา ยกอ นจะฟง จบ และตวั หนงั สอื ควรเปน ตวั พมิ พท มี่ ขี นาดใหเ ดก็ เหน็ ไดช ดั เจน แนวทางปฏบิ ัตใิ นการเลานิทาน การเลา นทิ านใหเ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ จาํ เปน ตอ งใชศ าสตรแ ละศลิ ป ในการเลา ผเู สนอควรพจิ ารณาถงึ สงิ่ ตา งๆ กอนการเลอื กนทิ านมาเลา คอื จะเลา เรื่องอะไร เลา ทาํ ไม เพ่อื อะไร เลา อยางไร เดก็ เรยี นรูหรอื ไดอะไร บา งจากการฟง นทิ าน เมอ่ื เลอื กเรอื่ งทจี่ ะเลา ได สง่ิ ทผี่ ูเลาตอ งทาํ เปนอนั ดบั แรกคือการเตรียมเด็กใหสงบพรอมท่ีจะฟง เมื่อเด็กพรอมรับฟงแลว จงึ เลา นทิ านตอดว ยเทคนคิ วธิ กี ารตา งๆ คูมือสง เสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรบั ครู/พีเ่ ลีย้ งศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ 71 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 71 13/6/2548, 15:44

แนวทางปฏิบตั ิในการเลา นทิ าน ไดแ ก 1. การถือหนงั สือนิทาน ตองอยูใ นระดับสายตา หรอื อาจจะสงู กวาไมเกนิ 1 ฟตุ ของผูฟง 2. การจดั ทนี่ งั่ ของผฟู ง ควรจดั ใหน ง่ั เปน รปู ตวั ยู หรอื ครง่ึ วงกลม จะเหมาะกวาการนง่ั เปนแถว เพราะผูฟ ง ทกุ คนจะไดเ ห็นผเู ลาโดยท่วั ถึง ทาํ ใหส นใจฟง ยงิ่ ขนึ้ 3. การเตรยี มตวั ของผูเ ลา เชน การอา นนทิ านลว งหนา การเตรยี ม วธิ กี ารทจี่ ะใชใ นการเลาตลอดจนเตรยี มสอื่ และอปุ กรณต า ง ๆ ทใี่ ชป ระกอบ การเลา นทิ าน 4. วธิ ีการเลานิทาน การเลา นทิ านควรใชเสยี งทม่ี กี ารเนนระดับ เสยี งสงู ตาํ่ หนกั เบา ใหส อดคลองเหมาะสมกบั อารมณ ความรสู กึ และ วัยของตัวละครในนิทาน การเลาแบบนี้จะเนนการฟงอยางสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ ใหผ ูฟ ง มคี วามรูส กึ เกดิ อารมณร ว มกบั ผเู ลา และตวั ละครในนทิ าน 5. การกระตุน ความสนใจของเด็ก หากเด็กไมสนใจพดู คยุ เลน กนั ในขณะเลานทิ าน ผูเ ลาอาจใชเ ทคนคิ หนงึ่ คอื การเรยี กชอื่ ตวั ละครเปน ชอ่ื เดก็ ทกี่ ําลงั พดู หรอื เลน หรอื อาจใชคําถามความคดิ เหน็ แทรกโดยใหผูท ่ี กําลงั คุยเปนผตู อบหรือแสดงความคิดเหน็ ฯลฯ ซง่ึ เปน วิธกี ารที่ไมทําให เนอื้ หาของนทิ านขาดตอน และไมเ ปน การขดั จงั หวะของเดก็ สว นใหญท สี่ นใจ ทําใหไ มเ สยี อรรถรสในการฟง นทิ าน 72 คมู ือสง เสริมไอคิวและอีควิ เดก็ สาํ หรับครู/พีเ่ ลยี้ งศนู ยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 72 13/6/2548, 15:44

สว นการอา นนทิ าน จะเปน การอา นตามบทในหนงั สอื นทิ านทกุ คาํ โดยไมเ นน การใชเ สยี งสงู ตา่ํ จะอา นแบบใชน า้ํ เสยี งราบเรยี บเหมอื นการอาน โดยปกตทิ วั่ ไป การอา นแบบนเ้ี นน ในเรอ่ื งของการสง เสรมิ พฒั นาการทางภาษา มากกวา ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ รปู แบบการเลานทิ าน การเลา นทิ านสามารถใชม รี ปู แบบและวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย เชน • เลา นทิ านหรอื อา นจากหนงั สอื นทิ านโดยตรง • การเลา นทิ านโดยใชแ ผน ภาพประกอบ แผน ปา ยผา สาํ ลปี ระกอบ • การใชห นุ ตา งๆ เชน หนุ มอื หนุ ถงุ หุน นว้ิ มอื หุน ชกั ประกอบ การเลา • การวาดภาพบนนวิ้ มอื แลว สมมตใิ หน วิ้ มอื เปน ตวั ละครตา ง ๆ • การเลา ปากเปลา และใชท าทางประกอบบางตามโอกาส • การวาดภาพบนกระดานดาํ ใหเ ดก็ คอยตดิ ตามเหตกุ ารณข องเรอื่ ง • การเลา ไปวาดไปคอื นทิ านทชี่ วนใหต ดิ ตามโดยมเี นอ้ื หาเชอื่ มโยง กบั การสอนใหเ ดก็ วาดภาพ คูม ือสง เสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สําหรบั ครู/พ่เี ลยี้ งศนู ยพ ัฒนาเดก็ เลก็ 73 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 73 13/6/2548, 15:44

วิธกี ารทกี่ ลา วมาขางตน ผูเลาควรพจิ ารณาเลอื กวิธที ีถ่ นดั หรือ เหมาะสมกบั บคุ ลกิ และความสามารถของตวั เอง การสงเสรมิ การเรยี นรจู ากนิทาน หลงั จากการเลา นทิ านจบ ผูเ ลา ควรใชค าํ ถามตาง ๆ เพอื่ ทดสอบ วา เดก็ ไดเ กดิ การเรยี นรแู ละเขา ใจเนอื้ หาของนทิ านหรอื ไม การใชค าํ ถามเปน ส่ิงทีส่ าํ คัญซึ่งสมควรปฏิบตั ิทุกคร้งั หลังการสอนหรือการจัดกจิ กรรมใด ๆ กต็ าม และควรเปน คาํ ถามทหี่ ลากหลาย ทงั้ คาํ ถามปลายเปด ถามความจํา ถามความคิดเห็น ถามเชงิ อุปมาอปุ ไมย ถามเชงิ คดิ วิเคราะห ฯลฯ การใชค ําถามขัน้ พน้ื ฐานใหเดก็ เกดิ กระบวนการคิด เชน อะไร ทไี่ หน เมอื่ ไร ทําไม อยา งไร เกดิ อะไรขน้ึ ฯลฯ โดยครูสามารถประเมิน ผลสําเร็จของการเลานิทานไดจากความสนใจในการเขารวมกิจกรรม การสนทนา ซักถาม แสดงขอคดิ เหน็ การตอบคาํ ถาม มารยาทในการฟง พูด การกลา พูด กลาแสดงออกของเดก็ 74 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สําหรบั ครู/พี่เล้ียงศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 74 13/6/2548, 15:44

• การสง เสรมิ กจิ กรรมเพลงและดนตรี ดนตรพี ฒั นาทงั้ ไอควิ และอคี วิ ดนตรชี ว ยพฒั นาสมองทงั้ ซกี ซา ย และซกี ขวา ขณะทฟี่ ง ดนตรสี มองทงั้ ซกี ซา ยและซกี ขวาจะทาํ งานไปพรอ มกนั เพราะดนตรมี ีทัง้ ความไพเราะ ใหความรสู กึ สบาย ชวยกระตุนการทาํ งาน ของสมองซกี ขวา สวนตวั โนตและจังหวะเคาะซง่ึ คลายกบั การอา นหนงั สอื แตละตัว ชวยกระตนุ การทํางานของสมองซีกซาย ซ่ึงเกี่ยวกับเหตุผล และภาษา การทาํ งานของสมองนน้ั หากไดร บั การกระตนุ ทเี่ หมาะสมจากดนตรี ในระดบั หนงึ่ กจ็ ะเกดิ การผสมผสานเปน หนง่ึ เดยี ว ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน ของสมองทเี่ ก่ียวขอ งกบั สวนตา งๆ จะกลมกลนื สอดคลองกนั การฟง ดนตรี จะทําใหร ูสกึ เพลิดเพลินกบั ความไพเราะของเสยี ง และเกดิ จินตนาการตา งๆ เก่ียวกบั เสียง ท้ังนี้เพราะผปู ระพันธเ พลงจะ ถา ยทอดอารมณค วามรูส กึ ของตนเองผา นเสยี งดนตรที มี่ คี วามหมายตางๆ ดนตรที มี่ จี งั หวะชา อยา งเหมาะสม จะกระตุน ใหเ กดิ คลน่ื สมองทชี่ ว ยเรยี บเรยี ง ความคดิ การใชเ หตุผล มคี วามคิดสรางสรรค ตลอดจนทบทวนความจาํ ซงึ่ นําไปสูก ารเขา ใจตนเองและผอู น่ื คูมือสงเสริมไอคิวและอคี วิ เด็ก สาํ หรบั ครู/พ่เี ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเลก็ 75 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 75 13/6/2548, 15:44

คเพุณลคงทา ใี่ขชอส งอดนนเดตก็รีกมับเี นกอื้ ารรอเรงียทนชี่ วกยาสรสงเอสนรมิเดพ็กฒั น1า1/ก2-าร5แลปะใหค วาม รูแกเ ดก็ หลายดา น เชน 1. ดานรา งกายหรอื ดานพลานามยั เสียงเพลงและเสียงดนตรี จะกระตุนใหเ ด็กมีการเคลื่อนไหว ในการสอนเด็ก ผสู อนตองใชท า ทาง ประกอบ เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องเดก็ จะชอบการเคลอื่ นไหว ไมช อบอยูน ง่ิ ใน การรอ งเพลงควรทาํ ทา ประกอบดว ย เดก็ จะไดท าํ ทา ทางตามคร/ู พเี่ ลย้ี งหรอื คดิ ทา ทางขน้ึ เองตามความคดิ และจนิ ตนาการของตนเอง ใหเ ขา กบั จงั หวะและ เนอื้ เพลง เปน การสงเสรมิ พฒั นาการการใชประสาทสมั ผสั ของรา งกาย 2. ดา นอารมณ เสยี งเพลงและเสยี งดนตรี เปน ศาสตรแ ละศิลป ทสี่ ามารถขบั กลอ มเปลยี่ นแปลงอารมณข องเดก็ สง เสรมิ ใหเ ดก็ มสี นุ ทรยี ภาพ เกดิ ความสขุ และความเพลดิ เพลนิ ไมเ บอื่ หนา ยในการเรยี นรู และสามารถ ผอนคลายความตึงเครียด ขณะทเี่ ดก็ รวมรอ งเพลงหรือทาํ ทาทางประกอบ เพลง เดก็ จะแสดงพฤตกิ รรมทร่ี า เรงิ แจม ใส สนกุ สนาน ดวงตาเปน ประกาย อยา งมีความสุขเม่ือเด็กทําไดหรือไดรับคาํ ชมเชยจากคร/พี่เลี้ยงู มีทา ที ผอนคลายและสนกุ สนานไปตามจงั หวะดนตรี 3. ดา นสงั คม เมอ่ื เดก็ มาศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ นบั วา เปน การเปลยี่ นแปลง ครั้งยิ่งใหญในชีวิตเด็กเพราะเด็กจะตองจากบานมาสูศ ูนยพัฒนา เด็กเล็ก ซึ่งเปนสังคมใหม ประกอบไปดวยสถานที่ใหม เพื่อนใหม 76 คมู ือสงเสริมไอควิ และอีควิ เดก็ สาํ หรับครู/พีเ่ ลี้ยงศูนยพ ัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 76 13/6/2548, 15:44

ครู/พเี่ ล้ียง หรอื คนอนื่ ๆ ทที่ ําหนา ท่ใี นศูนยพ ัฒนาเด็กเลก็ สงิ่ ที่จะชว ยให เดก็ คุน เคยและเขา กบั ผูอนื่ ไดโ ดยการใชเ พลงเปน ส่อื ทางสังคม ซ่ึงจะชวย ใหเ ด็กไดสนิทสนมใกลช ิดกับครู/พเี่ ลี้ยงกบั เพ่ือน ชวยใหเ ด็กปรับตัวกับ สงั คมทีศ่ นู ยพฒั นาเด็กเลก็ ไดง ายขน้ึ ทงั้ ยังไดความรูจากเนอื้ เพลงดวย 4. ดา นสตปิ ญ ญา เพลงชวยใหเดก็ มคี วามรคู วามเขาใจเรอื่ งราว ตาง ๆ ไดด ี ทงั้ ชว ยใหจาํ ไดเ รว็ กวา การบอกเลา ฝกใหร จู กั คดิ และไดเ รยี นรู เรอื่ งตา งๆ เชน คณติ ศาสตร เพลงชว ยใหเ ดก็ มคี วามเขา ใจและจดจาํ เกย่ี วกบั จาํ นวนหรอื ความหมายของคาํ ทางคณติ ศาสตรแ ละผสู อนอาจจะสงั เกตวา เดก็ เขา ใจความหมายของเนอื้ เพลงไดเ พยี งไร จากการทเี่ ดก็ แสดงทา ทางประกอบ เพลง เสยี งเพลงและเสยี งดนตรีเปนสิ่งทช่ี วยสงเสรมิ ความคิดสรางสรรค ทําใหเ ดก็ เกดิ จนิ ตนาการและมองเหน็ ภาพได จะเหน็ ไดว า เพลงใหค ณุ คาแกเ ดก็ มากมาย การทเี่ ด็กไดร อ งเพลง ไดทาํ ทาทางตามเน้ือเพลงหรือตามจังหวะจะชว ยไมใหเ ด็กเบ่ือการเรียน ทงั้ ยงั ชว ยใหท กุ ๆ สว นของกลา มเนอื้ ตลอดจน ตา หู มอื เทา มคี วามคลอ งแคลว วองไว ซึ่งเปน การชวยพฒั นาการใชประสาทสัมผัสของเดก็ ไดเ ปนอยางดี เพลงจึงเปนส่ืออีกอยางหน่ึงที่ผูสอนทุกคนควรพิจารณาคัดเลือกมาจัด ประสบการณใ หเ ดก็ เรยี นรูอ ยา งมคี วามสขุ คมู ือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรบั ครู/พ่ีเลยี้ งศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ 77 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 77 13/6/2548, 15:44

78 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 78 13/6/2548, 15:44

เทคนคิ และวธิ กี ารจดั กจิ กรรมการรอ งเพลง การสอนโดยใชเพลงและดนตรเี ปนส่อื การสอนใหแ กเ ด็กอยางมี ประสิทธิภาพเพื่อใหเด็กเกิดการเรียนรูอยางมีความสุขได ควรคาํ นึงถึง สง่ิ ตา งๆ ดงั น้ี 1. อายุของกลมุ เด็กที่จะทําการสอน เพราะเด็กแตละวัยมี คณุ ลกั ษณะและความสามารถทแี่ ตกตา งกนั 2. เพลงทมี่ เี นอ้ื รองและทาํ นองงา ยๆ 3. วัตถุประสงคข องการใชเ พลงน้ัน เชน บางครั้งอาจใชก าร รอ งเพลงเพอื่ เปน การเรยี กความสนใจของเดก็ กอ นเรยี นรสู งิ่ อน่ื ๆ ในลกั ษณะ การนําเขา สูบทเรยี นหรืออาจใชเปนการสรุปทบทวนขอ ความรเู มอ่ื เสรจ็ สิ้น กจิ กรรมหนง่ึ ๆ 4. เทคนคิ การจดั กจิ กรรมการรอ งเพลงทเี่ หมาะสม ผสู อนควรเลอื ก ใชเ ทคนคิ การสอนตามความถนดั ของตนเอง และเหมาะสมกบั กลุม เดก็ ซงึ่ มวี ธิ ีการทหี่ ลากหลาย เชน คมู ือสง เสริมไอควิ และอคี วิ เด็ก สําหรับครู/พีเ่ ล้ยี งศนู ยพัฒนาเดก็ เล็ก 79 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 79 13/6/2548, 15:44

• ใหเ ดก็ ฟงและรองไปพรอมๆ กับผสู อนไดโ ดยไมจาํ เปนตอง จดจาํ เนอ้ื รอ งใหไ ดก อ น • ผสู อนบอกเน้ือเพลงใหเดก็ ฟงท่ลี ะบท จนเด็กจาํ เนอ้ื เพลงได แลวคอ ยสอนรองใสท าํ นองเพลง • ผูส อนสอนใหร อ งเพลงพรอ มทาํ ทา ทางประกอบไปพรอ มกนั อาจ เปน เทคนคิ หนง่ึ ทชี่ วยใหเ ดก็ จาํ เนอ้ื เพลงไดจ ากทา ทางประกอบเพลง • ใชว ธิ กี ารกระตนุ ใหเ ดก็ ทกุ คนมสี ว นรว ม โดยอาจแบง กลมุ เดก็ เทา จํานวนบทในแตล ะเพลง เชน เพลงสวสั ดี (อ.ศรนี วล รัตนสวุ รรณ) สวัสดี สวัสดี ยนิ ดที พี่ บกนั เธอกับฉนั พบกันสวัสดี 80 คูม ือสง เสริมไอคิวและอคี ิวเดก็ สําหรับครู/พ่ีเลยี้ งศูนยพัฒนาเดก็ เล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 80 13/6/2548, 15:44

จากเพลงน้จี ะพบวา มี 4 บท หรือ 4 ทอน ใหแ บง เด็กเปน 4 กลมุ และใหเดก็ แตล ะกลุมรอ งกลมุ ละทอ น ตามลําดบั 1 2 3 4 เมอ่ื รองครง้ั ที่ 2 ใหกลมุ ท่ี 2 รอ งทอ นท่ี 1 กลุม 3 รอ งทอ นท่ี2 กลมุ 4 รอ งทอนท่ี 3 กลมุ 1 รอ งทอ นที่ 4 เวยี นจนทกุ กลมุ ไดร อ งครบทกุ ทอ นแลว จงึ ใหร องพรอ มกนั โดย ผูส อนอาจตกลงกบั เดก็ กอ นวา เมอ่ื กลมุ ใดรอ ง กลมุ ทไี่ มไดร องตอ งเปนผูฟง วธิ นี จ้ี ะเปน การกระตุน ใหเ ดก็ ทกุ คนมสี ว นรว มมากทสี่ ดุ และสามารถจดจาํ เนอื้ เพลงไดเรว็ ทงั้ ยงั เปน การฝกมารยาทในการฟง ไปพรอ มกบั เดก็ ไดรบั ความ สนกุ สนานเพลิดเพลิน • ผูส อนใชส อ่ื เทคโนโลยี เชน เทปเพลงสาํ เร็จรูป วธิ ีน้ีเหมาะ สําหรับผูที่รองเพลงไมไ ด หรือ รอ งแลวทาํ นองผิดเพ้ียน (ยกเวนเพลง ทผี่ สู อนแตง เองใสท าํ นองเอง) ซงึ่ เปน สง่ิ ทผี่ สู อนทกุ คนควรคํานงึ ถงึ กอ นการ สอนรอ งเพลง และตอ งยอมรบั วา ความสามารถในการรอ งเพลงเปน พรสวรรค อยา งหนง่ึ ไมไ ดเ กิดข้ึนในทุกคน ซึ่งควรคํานงึ ถงึ เด็กวา มคี วามสามารถใน ดา นนแ้ี ตกตา งกนั ดวย ดงั นน้ั การสอนโดยใชเ ทปเพลงจงึ เหมาะสมกวา การ สอนเองอยา งผดิ เพยี้ น ซง่ึ จะทาํ ใหเ ดก็ รบั รแู ละเรยี นรใู นสง่ิ ทผี่ ดิ เพยี้ นไปดว ย • ผูสอนอาจเปล่ียนบรรยากาศในสอนรองเพลง โดยเชิญ ผปู กครองหรอื รุน พภ่ี ายในโรงเรยี นทมี่ คี วามสามารถในการรอ งเพลง ครดู นตรี สอนเดก็ บา ง ครสู อนขับรองมาสอนเดก็ บา ง คูมือสง เสริมไอคิวและอีคิวเด็ก สาํ หรับครู/พเี่ ล้ยี งศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ 81 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 81 13/6/2548, 15:44

82 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 82 13/6/2548, 15:44

• การสอนในบรรยากาศทสี่ อดคลองกับเพลงที่จะสอน เปนอีก เทคนคิ หนงึ่ ทีจ่ ะทําใหเ ดก็ ไดเ หน็ ภาพไปดวย เชน สอนเดก็ รองเพลงตน ไม ผูสอนอาจพาเด็กไปจัดกิจกรรมใตตนไม ในสวนหรือเรือนเกษตรของ ศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ 5. การสอนเพลงในแตละครงั้ ควรสอนครัง้ ละ 1 – 2 เพลง ไม ควรมากกวา นเ้ี พราะเดก็ อาจเกดิ ความสบั สนและจาํ เนอื้ เพลงไมไ ด 6. เปด เพลงใหเดก็ ฟง เมอื่ มเี วลาวา ง เชน กอนนอน หรอื เปด เพลง บรรเลงขณะเด็กปฏิบัติกิจกรรมศิลปะ เชน ขณะวาดภาพระบายสี ฉกี ปะ ฯลฯ กจ็ ะเปน การสงเสรมิ การเรยี นรเู รอื่ งเพลง และอาจสงผลใหเ ดก็ เพลดิ เพลินกับการปฏิบตั ิกจิ กรรมศลิ ปะใหดี ใหส วยงามยง่ิ ขนึ้ ได คมู ือสง เสริมไอควิ และอคี ิวเดก็ สําหรบั ครู/พ่ีเลย้ี งศูนยพัฒนาเดก็ เล็ก 83 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 83 13/6/2548, 15:44

              84 คูมือสง เสรมิ ไอควิ /อคี ิว สาํ หรบั ครู/พ่ีเลย้ี งศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 84 13/6/2548, 15:44

• กจิ กรรม การทอ งคําคลอ งจอง คาํ คลองจอง หมายถงึ คําประพนั ธ อาจเปน โคลง กลอน ฯลฯ ซง่ึ ใชค าํ งา ยๆ และมคี วามยาวไมม ากนกั มเี นอื้ หาสาระงา ยๆ สอื่ ความหมายได เดก็ ทอ งแลว เกดิ ความสนกุ สนาน คณุ คา ของกจิ กรรม 1. สง เสรมิ พฒั นาการทางภาษา 2. สง เสรมิ พฒั นาการดา นสตปิ ญ ญา ดา นความคดิ และฝก ความจาํ 3. สงเสรมิ พฒั นาการทางอารมณ ใหเ ดก็ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ 4. สงเสริมพัฒนาการทางสังคม ความมีระเบียบวินัยและ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมรว มกบั ผูอนื่ คูม ือสงเสรมิ ไอควิ /อคี ิว สาํ หรบั ครู/พเี่ ล้ียงศนู ยพฒั นาเด็กเล็ก 85 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 85 13/6/2548, 15:44

เนอ้ื หา คาํ คลองจองอาจแยกไดเปน 2 ประเภทใหญ คือ 1. มเี นอ้ื หาสมั พนั ธก บั เรอื่ งทสี่ อน คําคลอ งจองบางบทมขี อ ความ ที่สัมพันธกับเนื้อหา ในหนวยการสอน ทําใหเด็กมีความเขาใจและ จดจําเร่ืองราวตา งๆ ท่ีเก่ียวขอ งกับหนว ยการสอนไดร วดเร็วยิ่งขึ้น เชน หนว ยแมเ หลก็ คาํ คลองจอง แมเ หลก็ (ไมท ราบนามผแู ตง) แมเ หลก็ นน้ั หนา หนา ตาหลายอยาง ดดู เกาะไมว าง พวกเหลก็ ดวยกนั สวนไมกระดาน อโลหะน้นั เลกิ สนใจพลนั ฉันไมดดู เลย 2. ไมสมั พนั ธกบั เรอื่ งทสี่ อน แตเปน คาํ คลอ งจองทคี่ รใู หเ ดก็ ทอ ง เพอ่ื ความสนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ และผอ นคลายความตงึ เครยี ดในขณะทํา กิจกรรมทตี่ อ งใชส มาธมิ ากๆ เชน คาํ คลองจอง “หงิก หงิก งอ งอ” คาํ คลอ งจอง “หงิก หงิก งอ งอ” (ไมทราบนามผแู ตง ) หงิก หงิก งอ งอ หวั รอ คิก คกิ สา ยหวั ดุกดกิ๊ หงิก หงกิ งอ งอ 86 คูมือสงเสริมไอควิ และอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พีเ่ ลย้ี งศูนยพ ัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 86 13/6/2548, 15:44

เทคนคิ การดําเนนิ กจิ กรรม ในการสอนคําคลอ งจองใหกับเดก็ ผูสอนสามารถใชเ ทคนิค วิธกี ารตางๆ เฉพาะตวั ไดอ ยางหลากหลาย เชน • สอนตามลําดบั ขนั้ ตอน คอื 1. คร/ู พเี่ ลยี้ งจะพดู คําคลอ งจองใหเ ดก็ ฟง กอ น 2. คร/ู พเี่ ลย้ี งพดู คาํ คลอ งจองใหเดก็ พูดตามทีละวรรคจนจบบท ใหเด็กพูดคําคลองจองตามซ้ําอีก 2–3 คร้ัง เม่ือเด็กจาํ ไดบ า งแลว จงึ ใหพ ดู พรอ มๆ กบั คร/ู พเี่ ลย้ี ง 3. ขณะทพี่ ดู คาํ คลอ งจองคร/ู พเ่ี ลยี้ งอาจใหเดก็ ทําทา ทางประกอบ ไปดวยถาทาํ ได เพราะถา คร/ู พเ่ี ล้ียงทําใหด ู เดก็ กจ็ ะทําทา ทาง ประกอบตามคร/ู พเี่ ลยี้ ง 4. เมอื่ เดก็ จําคาํ คลอ งจองและทาทางประกอบไดแลว จงึ ใหเด็ก พดู คาํ คลอ งจอง และทาํ ทาประกอบเอง โดยคร/ู พ่ีเลี้ยงคอย แนะนาํ อยูใ กลๆ • ใชว ธิ กี ารกระตนุ ใหเ ดก็ ทกุ คนมสี ว นรวม โดยอาจแบง กลมุ เดก็ เทาจํานวนประโยคของคําคลองจองในแตละบท เชน คําคลองจอง บา นแสนสวย ฉนั คอื บานแสนสวย มปี ระตดู ว ยชา งงามนา ดู มเี ดก็ เลก็ เล็กนงั่ อยู มีพ้ืนงามหรูทงั้ หมด 10 คน คูมือสง เสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สาํ หรับครู/พ่ีเลยี้ งศนู ยพ ัฒนาเดก็ เลก็ 87 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 87 13/6/2548, 15:44

จากคาํ คลองจองบทน้ี จะพบวา มี 4 บท หรือ 4 ทอน ให แบงเดก็ เปน 4 กลมุ และใหผสู อนบอกใหเ ดก็ แตล ะกลมุ พดู ตามทลี ะทอ น ตามลาํ ดบั 1 2 3 4 เม่ือพูดครง้ั ที่ 2 ใหกลมุ ท่ี 2 พดู ทอ นท่ี 1 กลมุ ที่ 3 พดู ทอนท่ี 2 กลุมท่ี 4 พดู ทอนที่ 3 กลุม 1 พูดทอ นที่ 4 เวียนจนทกุ กลมุ ไดท อ งครบทุกทอ นแลวจงึ ใหพูดคําคลองจองทงั้ บทพรอมกนั โดยผสู อน อาจตกลงกบั เด็กกอนวา เมอื่ กลมุ ใดกําลงั พดู กลุม ทไี่ มไดพ ูดตอ งเปน ผูฟง วิธีนี้จะเปนการกระตุนใหเ ด็กทุกคนมีสว นรวมมากท่ีสุด และ สามารถจดจาํ คําคลอ งจองไดร วมเร็ว ทัง้ ยงั เปนการฝก มารยาทในการฟง ไปพรอ มกบั เด็กไดร บั ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ • การสอนคาํ คลองจองในแตละครัง้ ควรสอนคร้งั ละ 1–2 บท ไมค วรมากกวานเี้ พราะเดก็ อาจเกดิ ความสบั สนและจําไมไ ด 88 คมู ือสง เสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรบั ครู/พ่เี ล้ียงศูนยพ ัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 88 13/6/2548, 15:44

คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 89 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 89 13/6/2548, 15:44

90 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 90 13/6/2548, 15:44

• การสง เสรมิ กจิ กรรมศลิ ปะ ศลิ ปะเปน เครอื่ งมอื ทชี่ ว ยใหเ ดก็ ฉลาด พฒั นาความคดิ สรา งสรรค สรา งจนิ ตนาการ และชว ยใหเ ดก็ ออ นโยน มที ศั นคตติ อ โลกและเพอื่ นมนษุ ย ทดี่ ี อยางพรอมจะเปน สว นหนงึ่ ของสังคมไดดว ย พฒั นาการทางศลิ ปะของเดก็ เด็กวัย 2-4 ป เปน วัยแหง การขดี เขีย่ ดว ยเปนวัยทเ่ี ดก็ เรม่ิ มี การพฒั นาทางรา งกายที่สมบรู ณม ากข้นึ ทงั้ สายตา มอื และการเคลอ่ื นไหว ตางๆ เร่มิ แรกอาจจะเปนการขดี เขี่ยทีไ่ รก ารควบคมุ แตหากเด็กไดท ําซาํ้ กันบอยๆ ก็จะสามารถควบคุมมือ และถายทอดความรสู ึกภายใน ออกมาได การเรม่ิ ตน สรา งงานศลิ ปะของเดก็ เลก็ จะเรม่ิ ตงั้ แตก ารสรางเสน และรปู ทรงงา ยๆ และเรม่ิ สรา งรปู รา งทหี่ ลากหลายจากเสนตา งๆ เด็กวัย 4-7 ป เปนวัยแหง การถา ยทอดความรขู องตนท่ีมีตอ สงิ่ ตางๆ ออกเปน สญั ลักษณ เด็กจะเตม็ ไปดว ยจนิ ตนาการ แสดงออกดว ย ภาพทมี่ ชี นดิ และรปู รา งทหี่ ลากหลาย และเมอื่ ใหเ ดก็ เลา ทมี่ าของการสรา งภาพ ในชว งนอี้ อกมา กจ็ ะสามารถเลา ไดอ ยา งเปนเรอื่ งเปน ราว เดก็ จะสนกุ กบั ภาพ ในจนิ ตนาการระยะหนงึ่ จากนน้ั จะเรมิ่ หนั เหความสนใจไปสสู ง่ิ ทเี่ ปน กฏเกณฑ และความเหมือนจริงย่ิงขึ้น เด็กจะแสดงออกในส่ิงท่ีตนชอบและสนใจ เชน เครอ่ื งบนิ จรวด มนษุ ยก บ รวมไปถงึ การต นู จากโทรทศั น เดก็ จะวาดรปู ตามแบบอยา งทเี่ ขาชอบและเพยี รพยายามวาดใหเ หมอื นจรงิ ทสี่ ดุ คูมือสงเสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สําหรับครู/พ่เี ลี้ยงศนู ยพ ัฒนาเดก็ เล็ก 91 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 91 13/6/2548, 15:44

การสง เสรมิ พฒั นาการทางศลิ ปะอยา งเปนขนั้ ตอน 1. การเริ่มตน เริ่มตน ดวย การวาดรูปทรงงายๆ เชนวงกลม เปน สง่ิ ทเี่ ปนเดก็ อายุ 2-3 ป ถายทอดออกมาไดมากทสี่ ดุ การที่เด็กบังคบั มอื ใหส ามารถสรา งวงกลมไดเ ปน การพฒั นาทนี่ า ชนื่ ชมยงิ่ เสน ตรง เปนเสน ทเี่ ดก็ เรยี นรูใ นอนั ดบั ตอ มา และเมอื่ เดก็ สามารถ นําเสน ตรงเหลา นม้ี าผสมกับวงกลมจนไดร ปู รา งงา ยๆ ของคน สิ่งของ และ สัตวต า งๆ ก็คอื ความสาํ เร็จอกี ขนั้ หนงึ่ การใหเดก็ ขดี เสน ตามรปู รางของวัสดทุ ี่ทาบบนกระดาษ เปน การ สรางสรรคอยา งหนง่ึ ของเด็กเล็กๆ เด็กวัย 2-3 ขวบ ชอบเลยี นแบบส่งิ ท่ี พบเห็นมาก และคืองานสรางสรรคอยางหน่ึงของเด็ก เด็กไดเรียนรวู า รูปทรงของส่งิ ตางๆ เปนอยางไร และตลอดเวลาทีเ่ ด็กไดลากเสนไปตาม วัตถุนนั้ เดก็ ไดส มั ผัสถงึ รายละเอยี ดอยางแทจ รงิ ไปในตัว ทําใหไ ดค วามรู ใหมเ พมิ่ พนู ขน้ึ โดยไมร ูต วั 92 คูมือสงเสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สาํ หรับครู/พเ่ี ลยี้ งศนู ยพัฒนาเดก็ เล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 92 13/6/2548, 15:44

2. พัฒนาจากงาน 2 มิติ เปน 3 มติ ิ การหนั เหจากการสรางงาน ศิลปะของเด็ก จากงาน 2 มิติ มาเปน การใชเ ศษวัสดตุ า งๆ ประดษิ ฐเ ปน ของเลน ดวยตัวเอง สรา งเปน งาน 3 มติ ิ เอาเศษกระดาษสรา งเปน รปู สงิ่ ของ และสัตวตามจินตนาการของเด็ก เด็กจะรูจ ักการสรางสรรคดัดแปลง การออกแบบ ซงึ่ เปน การพฒั นาสมองทดี่ ี ในการทํางานศลิ ปะเหลาน้ี ผูใ หญ อาจเปน ผูเ รมิ่ ตน และคอยชว ยเหลอื บา งตามสมควร จนเดก็ รูส กึ สนกุ กบั การ สรา งสรรคด ว ยตวั เองแลว จงึ วางมอื ใหร ะวงั อยา ไปทําใหเ ดก็ ตงั้ แตต น จนจบ 3. ใหอ สิ ระเดก็ ในการสรา งสรรคศ ลิ ปะ ศลิ ปะในหวั ใจเดก็ ไมจ าํ กดั วาตอ งเปนการวาดภาพระบายสี หรือปนแกะสลกั เทานน้ั เดก็ อาจคน พบ วิธีการทํางานศิลปะดว ยตัวเอง ซึ่งการคนพบนี้เปนส่ิงท่ีนาต่ืนเตนและ สนกุ สนานสําหรับเดก็ เชน การสอดวสั ดุบางอยา ง เชน หวี เหรยี ญ และ สิง่ อน่ื ๆ เขา ไปใตแ ผนกระดาษขาว และใชป ลายดินสอฝนลงไปทวี่ ัตถุนนั้ เกดิ ภาพเสมอื นจรงิ ของวัตถนุ นั้ ขน้ึ มาก การวางมอื บนกระดาษและลากเสน ตามโครงรางน้ิวมือ แลวระบายสีในรูปมือ การใชสีทาบนวัสดุตางๆ แลว ทาบบนกระดาษ เกดิ ภาพเหมอื นลกั ษณะการพมิ พ คมู ือสง เสริมไอควิ และอคี ิวเดก็ สาํ หรบั ครู/พ่ีเล้ยี งศูนยพ ัฒนาเด็กเลก็ 93 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 93 13/6/2548, 15:44

4. ใชธ รรมชาตใิ นการแสดงออกทางงานศลิ ปะของเดก็ จะเพมิ่ พนู ความคดิ จินตนาการ การเรยี นรแู ละการแกไ ขปญหา เชน เมื่อจะใหเ ด็ก วาดภาพใบไม กใ็ หเดก็ ไปสัมผัสและเรยี นรูก ับพืชชนดิ นั้นๆ จริงๆ วา เปน อยา งไร ปจจยั เสรมิ สรา งพฒั นาการดา นศลิ ปะของเดก็ 1. เรม่ิ ตนฝก หดั ตงั้ แตว ยั เดก็ เลก็ การใหเด็กแสดงออกทางศิลปะเด็กสามารถทําไดแมวาทักษะ การใชมือยังไมคลองแคลว นัก ควรใหสีและดินสอแกเด็กในทันทีที่เด็ก สามารถใชน ้วิ ทง้ั 5 ได เรม่ิ ตน ตงั้ แต 2 ขวบ ไปถงึ 4 ขวบ มีผลการทดลอง ที่ยืนยันวา เด็กท่ีไดรับการฝกในการลากเสนตางๆ มาตั้งแตยังเด็กๆ จะสามารถเขยี นหนงั สอื และใชม อื ทํางานตางๆ ไดอ ยา งคลอ งแคลว ทงั้ ยงั มี พฒั นาการทรี่ วดเรว็ มากกวา เดก็ ทเี่ พงิ่ มาเรม่ิ ตน จบั ดนิ สอเมอ่ื อายเุ ขา เรยี นแลว 94 คมู ือสง เสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สําหรับครู/พเี่ ล้ียงศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 94 13/6/2548, 15:44

2. ใหอ สิ ระเดก็ โดยไมสะกดั กนั้ ความคดิ และจนิ ตนาการของเดก็ เด็กเล็กท่ีเพ่ิงเร่ิมเรียนรูการใชมือ มักขีดเข่ียดินสอไปอยางไร ทิศทางและไมสนใจที่จะเปล่ียนสีสันของดินสอใหแปลกไปกวาเดิม การขดี เขย่ี เสนอยา งไมประณตี งดงามของเด็กเลก็ ๆ นี้ แมจะดูเปนส่งิ งาย แสนงาย แตน นั่ คอื ชยั ชนะอันยงิ่ ใหญใ นชวี ติ ของเด็กทเี ดยี ว ในขณะที่เดก็ เรมิ่ ตน ขดี เขยี นอยา งไรท ศิ ทางเชน น้ี ครไู มค วรรบี รอ นเรยี กรอ งใหเ ดก็ สรา ง รปู ทรงอยา งรวดเรว็ เกนิ ไป ดว ยคาํ ถาม เชน “ทาํ ไมไมเ ปน อยา งนน้ั ละ ” หรอื “จะตองเปน อยา งน้ซี ิถึงจะถกู ” “ เขียนน่ีซิลกู หรอื ดอกไมต องมีสีแดงซจิ ะ” “ ปลาทําไมไมม คี รบี ” และถอ ยคําอนื่ ๆ ทสี่ ะกดั กนั้ ความคดิ และจนิ ตนาการ ของเด็ก การมองผลงานสรางสรรคของเด็กเล็กดวยสายตาของผใู หญ ไมใ ชส ิง่ ทีถ่ ูกตอง เพราะจะทาํ ใหเกดิ คาํ สงั่ และกตกิ าตางๆ เกิดขึ้นมากมาย ซงึ่ ทกุ อยางลว นแตเปน เรอ่ื งยากเกนิ ไปสําหรบั เดก็ 3. ใชว สั ดอุ ปุ กรณท หี่ ลากหลาย ชวยกระตนุ การเรยี นรดู า นศลิ ปะ * ใหเ ด็กเรยี นรคู วามแตกตา งของสตี า งๆ โดยจัดหาสมี าวางไว ใกลมือ เดก็ จะสนกุ สนานกบั การเปลยี่ นสแี ตล ะเสน คูมือสง เสริมไอควิ และอีคิวเด็ก สําหรบั ครู/พเ่ี ล้ยี งศนู ยพัฒนาเดก็ เล็ก 95 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 95 13/6/2548, 15:44

* การเปลยี่ นวัสดุ จากดนิ สอสีไปสูสีชอลก หรอื สีเทียนก็เปน เคร่ืองกระตุนใหเด็กสนุกสนานกับความแปลกใหมมากข้ึน วัยอนุบาล กส็ ามารถเลน สนี า้ํ ไดแ ลว การเปลยี่ นสไี ปหลายๆ อยา งเปน การสอนใหเ ดก็ เรยี นรวู สั ดุในการสรางสรรค รวมไปถงึ ทําใหเดก็ ไดร บั กระบวนการใหมใ น การทาํ งาน * อปุ กรณอื่นๆ ทเี่ ดก็ ทาํ งานศิลปะที่ครูควรจัดเตรยี มไดแ ก ดิน น้าํ มนั และกระดาษสชี นดิ ตางๆ ทส่ี มควรจัดไวใ กลมือเดก็ การบีบนวด ดนิ นาํ้ มันชว ยใหเด็กไดพัฒนากลามเน้ือใหแ ขง็ แรง การขยํารูปทรงตางๆ ทาํ ใหเ ด็กเรียนรรู ูปทรง 3 มติ ิ ที่มีทง้ั ความกวาง ความยาวและความสูง เชนเดียวกับการฉกี กระดาษสีใหเกิดเปนรปู รา งตาง รวมไปถงึ การขยาํ ขย้ี การพบั หักงอ กล็ ว นแลว แตเ ปน ส่ิงท่ีเด็กโปรดปราน 4. การใหค าํ ชมเชย รบั ฟงความคิดเห็น ใหเด็กอธบิ ายสิ่งที่ ทาํ อยา งอสิ ระ ทําใหส มองเดก็ มกี ารแตกกงิ่ กานสาขามากขนึ้ 5. หลกี เลี่ยงการเปรยี บเทยี บผลงานของเดก็ แตล ะคน ซึง่ ใช มมุ มองการตดั สนิ ของผูใ หญ การสงั เกตพฒั นาการของเดก็ ควรเปรยี บเทยี บ กบั ตวั ของเดก็ เอง ในความกาวหนา ทเี่ ขาทําไดแ ตละขนั้ 6. ฝก การมีระเบียบวนิ ัยในขณะทาํ งานศลิ ปะ เชน ใหเด็กขดี เขยี นในกระดาษทีเ่ ตรยี มไว ไมขดี เขียนบนฝาผนัง ใหเ กบ็ ขยะ และเศษ อปุ กรณต างๆ ทําความสะอาดอปุ กรณ และเกบ็ อปุ กรณต า งๆ ใหเ รยี บรอ ย เมอ่ื ทํางานเสรจ็ แลว 96 คูม ือสง เสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สําหรบั ครู/พี่เลี้ยงศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 96 13/6/2548, 15:44

                                                           คมู ือสง เสริมไอคิวและอีควิ เด็ก สาํ หรบั ครู/พี่เล้ียงศูนยพ ัฒนาเดก็ เลก็ 97 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 97 13/6/2548, 15:44

98 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 98 13/6/2548, 15:44

บรรณานุกรม กมลพรรณ ชวี พนั ธศุ ร,ี รศ.พญ. สมองกบั การเรยี นรู. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั พรการพมิ พจ าํ กดั . ไมปรากฏปพ ิมพ. ไกรสทิ ธ์ิ ตนั ตศิ ริ นิ ทร,ศ.นพ. ไอคิวและอคี วิ ประตูสคู วามสาํ เรจ็ ของลกู . กรงุ เทพฯ : บริษัทแปลนพบั ลิชชิง่ จาํ กัด . 2542. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารสขุ . ไอคิวและอีควิ ชองทางสคู วามสาํ เรจ็ . กรงุ เทพฯ : บริษัทบยี อนด พับลิสชิ่ง จํากดั . 2547. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารสุข. คูม อื ความรูเ พือ่ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ ในเด็กอายุ 3–5 ป สําหรับพอแมผปู กครอง. กรุงเทพฯ : สํานักงานกิจการ โรงพิมพอ งคกาสงเคราะหทหารผา นศกึ . 2546. จนั ทฑ ิตา พฤกษานานนท. การสรางนสิ ยั รกั การอานใหลูก. นิตยสารใกลหมอ ปที่ 24 ฉบับ 8 สงิ หาคม 2543. จติ ตินนั ท เดชะคปุ ต. เอกสารการสอนชดุ วิชาฝก อบรมครู และผเู ช่ียวชาญกับการอบรม เลย้ี งดูเด็กปฐมวัย (หนวยที่ 6 – 10 ) สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรนนทบุรี. สาํ นกั พมิ พ มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. 2533. จติ ตนิ นั ท เดชะคปุ ต. คูม อื การสรา งเสรมิ ศกั ยภาพสมองลกู รกั วยั 0 – 6 เดอื นใหรดุ หนา. กรุงเทพฯ : บริษทั แปลน พลับลชิ ชงิ จํากดั . 2544. ณปญ วรรณคาํ . อา นใจลกู เดาใจเด็ก . กรุงเทพฯ : แมเนเจอร มเี ดยี กรปุ . 2545. นภิ า ธนาม.ี นทิ านสรรคสรางพฒั นาการเดก็ . จดหมายขา วกรมอนามยั 2544 : 2(12) ; 2 - 3 นัยพินิจ คชภกั ดี, รศ.ดร. พัฒนาสมองลูกใหลา้ํ เลิศ. กรุงเทพฯ :บริษัท แปลน พริน้ ทตงิ้ จาํ กดั . 2539. บญุ ยาพร อนู ากลู . ปลกู MQ ใหง อกงาม. นติ ยสารรกั ลกู ปท ี่ 20 ฉบบั ท่ี 240 มกราคม 2546. คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สําหรับครู/พีเ่ ลี้ยงศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็ก 99 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 99 13/6/2548, 15:44

มานพ ถนอมศรี. ศลิ ปะเลย้ี งลกู ใหฉ ลาด. กรุงเทพฯ : บริษทั เลฟิ แอนดล พิ เพรส จาํ กดั . 2540. ศนั สนยี  ฉตั รคปุ ต, รศ.พญ. เทคนคิ สรา ง IQ EQ AQ 3Q เพอ่ื ความสาํ เรจ็ . กรงุ เทพฯ : บริษัทอมรนิ ทร บคุ เซน็ เตอร จํากัด. ไมป รากฏปพิมพ. ศรีเรือน แกว กังวาล, ดร. จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกชวงวยั . กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร. 2544. สังเวยี น ธาํ รงวจนเมธาวี. คมู ือสง เสรมิ พฒั นาการลกู นอยวยั แรกเกดิ ถึง 6 ป สําหรับ พอ แม ผปู กครอง.เชียงใหม : บเี อสการพิมพ. 2541. สภุ าวดี หาญเมธ.ี เสรมิ สรา งIQ .EQ ใหล กู วยั เรยี น. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั พมิ พด ี จาํ กดั . 2546. สนั ต สงิ หภ กั ด.ี สูอ จั ฉรยิ ะดว ยสมองสองซกี . กรงุ เทพฯ : ซ.สามคั คสี าร (ดอกหญา ). 2537. สพุ ัตรา สภุ าพ. นิทานชว ยใหเ ดก็ ฉลาดขน้ึ ไหม. นติ ยสารแมและเดก็ ปท ่ี 21 ฉบบั ที่ 315 พฤษภาคม 2541. สมศักดิ์ ภวู ภิ าดาวรรธน, รศ.ดร. เทคนคิ การสง เสริมความคิดสรา งสรรค. กรุงเทพฯ: บริษทั โรงพิมพไ ทยวฒั นาพานชิ จํากดั . 2542. อมั พล สอู าํ พนั , นพ. EQ ลูก เร่มิ ท่รี ักจาก…พอ แม. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทพิมพดี จํากัด. 2544 อมั พล สอู ําพัน, นพ. พอ แมมคี วามสุข ลูกมีคณุ ภาพ. กรงุ เทพฯ : บริษัทแปลน พริ้นทต้งิ จาํ กัด. 2540. อลิสา วัชรสินธุ. จติ เวชเดก็ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ หง จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั . 2546. อษุ ณยี  โพธิสขุ , ผศ.ดร. สรางรากฐานอจั ฉรยิ ภาพใหล กู นอย. กรงุ เทพฯ: บริษัทเยลโล การพมิ พ จาํ กัด. 2542. อุสา สุทธิสาคร, ผศ. ดนตรี พฒั นาปญญา (IQ) อารมณ (EQ ). กรุงเทพฯ : บริษทั พิมพด ี จํากัด. 2544. Landreth, C. Preschool learning and teaching. New York : Harper and Row, 1972 100 คูมือสงเสริมไอควิ และอีคิวเด็ก สาํ หรับครู/พเ่ี ล้ียงศนู ยพ ัฒนาเดก็ เล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 100 13/6/2548, 15:44