Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดำเนินงานสาวไทยแก้มแดง

คู่มือการดำเนินงานสาวไทยแก้มแดง

Description: เพื่อลดความเสี่ยงจากผลกระทบของภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ กรมอนามัยจึงได้จัดทำโครงการสาวไทยแก้มแดง โดยส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์บริโภคอาหารครบ 5 หมู่ พร้อมส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็กและโฟเลทเป็นประจำสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยมีเป้าหมายของโครงการเพื่อลดปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์.

Search

Read the Text Version

48

การวางแผนครอบครัว เตรียมความพรอ มทางดานสุขภาพกอนแตงงาน 49 เม่ือถึงเวลาทั้งหญิงหรือชายมีความพรอมในดานตางๆและพรอมท่ีจะมีชีวิตคูรวมกันอยางมีความสุขใจ ควรหาโอกาสไปตรวจสขุ ภาพรา งกาย และรบั คาํ ปรกึ ษาจากแพทย เพื่อคน หาและลดการติดตอ ของโรคเอดส หรอื โรคทสี่ ามารถถายทอดถึงทารกในครรภ การใชช ีวิตคูอ ยรู ว มกันของชายหญงิ ควรศึกษาขอ มลู ในหลายเร่อื ง ไดแ ก 1. การปรบั ตวั และความรูเรื่องเพศสาํ หรับชีวิตคู 2. การตรวจสุขภาพทั้งหญิงชาย เชน ตรวจเลือด หาภูมิคุมกันบกพรองเก่ียวกับเอดส โรคติดตอ ทางเพศสมั พันธ ภาวะโลหิตจาง และโรคถายทอดทางพันธุกรรม เปน ตน 3. ควรฉีดวัคซนี ปอ งกันโรคไวรสั ตบั อักเสบบี โรคหัดเยอรมัน ฯลฯ 4. การวางแผนครอบครวั เพ่ือการกําหนดเวลามลี กู ทีเ่ หมาะสม การตรวจสุขภาพกอนแตงงานและมีบตุ ร เรม่ิ ตน ดว ยการตรวจรา งกายและการตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ใหท ราบถงึ ความสมบรู ณค วามพรอ มของรา งกาย ทั้งชายและหญงิ ท่จี ะเปนผูก อกําเนดิ ทารกนอ ยท่ีมสี ุขภาพสมบรู ณและสามารถวินจิ ฉยั โรคบางอยางทแ่ี อบแฝงอยู 1. การตรวจรา งกายทวั่ ไป - สวนสงู (เซนตเิ มตร) - น้าํ หนัก (กิโลกรมั ) - ความดนั โลหิต (มิลลิเมตรปรอท) - ระบบหัวใจ - ระบบหายใจ 2. การตรวจทางหองปฏิบตั ิการ 2.1 การตรวจเลือด - หมูเ ลือด - ความเขม ขน ของเมด็ เลือด Hct (%) - ระดบั นา้ํ ตาลในเลอื ด (FBS) - ภูมิคมุ กันโรคไวรัสตบั อักเสบชนิดบี (Anti HBs) - เลอื ดบวกซฟิ ลสิ (VDRL) - ภมู ติ า นทานไวรัสเอดส (Anti HIV) - ตรวจหา Haemoglobin Typing 2.2 การตรวจปส สาวะ (UA) 2.3 เอกซเรยป อด (Chest X-RAY) 3. อน่ื ๆ

การวางแผนเพอ่ื อนาคต คูสมรสควรมีการวางแผนลวงหนามากสําหรับครอบครัววาจะมีลูกก่ีคน มีลูกเมื่อใด และแตละคน ควรหา งกนั กป่ี  สาํ หรบั คสู มรสใหมค วรทจ่ี ะใชเ วลาสกั ระยะหนง่ึ เพอื่ ปรบั ตวั ปรบั ใจเขา หากนั และสรา งฐานะใหม น่ั คง เมือ่ พรอ มแลวแลวตดั สินใจมีลูก ในสภาพสังคมปจจบุ นั คุณหมอมักจะแนะนําใหม บี ุตรครอบครวั ละไมเกนิ 2 คน ลกู คนแรกกบั ลกู คนท่ี 2 ควรหา งกนั อยา งนอ ย 3 ป และมารดาควรมลี กู คนแรกเมอื่ อายเุ กนิ 20 ป หากยงั ไมพ รอ มทง้ั คสู มรสคณุ กาํ หนดไวก อ น เมอื่ อายุ 35 ปข ้นึ ไปกไ็ มค วรมีลูกถา ยังไมเคยก็ควรจะไปปรึกษาแพทยด กู อน วธิ คี ุมกาํ เนดิ ทีเ่ หมาะสมสําหรบั คสู มรสใหม 1. ฝา ยหญิง 1.1 กินยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดฮอรโมนรวม ครั้งแรกควรเลือกยาเม็ดชนิดท่ีมีฮอรโมนประกอบอยูใน ขนาดตาํ่ กอ น เพอ่ื ลดอาการแทรกซอ นและเรมิ่ กนิ ยาเมด็ แรกในวนั แรกทม่ี ปี ระจาํ เดอื นวนั ละ 1 เมด็ เรยี งตามลําดับลูกศร หลงั อาหารเยน็ หรอื กอนนอนทกุ วัน กนิ ติดตอกนั ไปแผงตอ แผง หากลมื กิน 1 เมด็ ใหร บี กนิ ทนั ทที ี่นกึ ได และกนิ เมด็ ตอ ไปตามปกติ หากลมื กนิ 2 เมด็ ใหห ยดุ ใชย าแผงไหม และใชว ธิ คี มุ กาํ เนดิ อนื่ เชน ถงุ ยางอนามยั จนมปี ระจาํ เดอื น จึงเริม่ แผงใหม 50 1.2 นบั วันปลอดภยั โดยมีชว งเวลาปลอดภยั ในการมเี พศสมั พันธ คือ ชวง 7 วันกอ น และ 7 วนั หลงั มปี ระจาํ เดอื น แตว ธิ นี ไี้ ดผ ลไมแ นน อน เพราะรอบเดอื นอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงไดใ นแตล ะเดอื น และ หากมกี ารเจบ็ ปวยหรือความเครยี ดทางอารมณท ที่ ําใหร อบเดือนคลาดเคลือ่ นได 1.3 วธิ คี ุมกําเนิดอื่น ๆ เชน ยาฉดี คมุ กําเนดิ หวงอนามยั ยาฝง คุมกาํ เนิด ไมแนะนาํ ใหคูสมรสใหมใ ช เพราะเปนวิธีทไี่ มเ หมาะสมสาํ หรับผทู ่ไี มเคยมีลกู 2. ฝา ยชาย สวมถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธปองกันการต้ังครรภ และยังสามารถปองกันโรคติดตอทาง เพศสัมพันธแ ละเอดสใดด วย เคลด็ ลับเพอ่ื การมชี ีวิตคทู ย่ี นื ยาว 1. รจู กั พดู ภาษาดอกไม วธิ พี ดู ดว ยนาํ้ เสยี งนมุ นวล สบตาพดู คยุ มคี วามรกั และปรารถนาดตี อ กนั หาโอกาส พดู คยุ เปน ประจาํ พรอ มทจี่ ะรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของอกี ฝา ย เปด โอกาสใหอ กี ฝา ยแสดงความคดิ เหน็ เตม็ ที พูดปลอบใจเมอื่ อีกฝา ยเกดิ ความกงั วล พดู ใหกําลงั ใจหรือพดู สงิ่ ดีๆ สง่ิ ทป่ี ระทับใจในกันและกนั เลนหยอกลอ ดว ยอารมณข นั กนั บา ง

2. หลกี เลี่ยงการพดู จาดูหม่ิน บุคคลทคี่ นรักนบั ถือ ทา ทาย ย่วั โมโห กลา วหา พูดถงึ ความผิดพลาดในอดตี 51 ของอกี ฝาย พูดกลบเกลื่อนหรอื หลกี เล่ียงปญ หา พดู ตาํ หนหิ รือเปรียบเทียบในเชงิ ลบ เอาเร่ืองในชีวติ คู ของตนไปพูดในทางที่เสียหายหรืออับอาย ดาทอหรือพูดโตเถียงเพื่อเอาชนะกัน พรํ่าบน หรือส่ังสอน อกี ฝา ย 3. ควรหลกี เลยี่ งการพดู จาตกลงกนั ในขนาดทตี่ า งฝา ยตา งมอี ารมณโ กรธ พยายามเขา ใจความรสู กึ นกึ คดิ ของอกี ฝา ย อาจจะพดู จาถกเถยี งกนั บา ง แตก ค็ วรใหเ ปน ไปเพอื่ ใหเ กดิ ความเขา ใจกนั มากขนึ้ ไมม งุ เอาชนะกนั หรอื หาทางออกทท่ี งั้ คสู ามารถทาํ ได ทส่ี าํ คญั การขดั แยง จะไมล กุ ลามไปใหญโ ตถา ตา งฝา ยตา งรจู กั ขอโทษ ใหอภยั และไมถ ือโกรธกนั 4. รจู ักสรา งบรรยากาศ • ชักชวนกันผอนคลายความเครยี ด เชน ออกกําลังกายดวยกนั หาเวลาไปดูหนังฟงเพลง ชวนกันดู โทรทัศน ทําอาหารเย็นดว ยกัน ไปจบั จายซอ้ื ของดว ยกัน หรอื นง่ั สมาธิ สวดมนตดว ยกัน • แสดงออกใหอีกฝายรูวารักเสมอ เชน โอบกอด แอบหอมแกม รูจ กั เอาใจใหเกียรติใหค วามสําคญั ซงึ่ กนั และกัน • จัดบานใหน าอยู แตง บา นใหมชี วี ติ ชวี า สดช่ืนดวยดอกไม หรือตดิ มานใหม เปลี่ยนผาปูทีน่ อนใหม • รักษาความสะอาดของสุขภาพอนามยั ของตนเองอยูเสมอ 5. รจู ักหลกั คดิ ทีส่ ําคญั • ใหค วามเห็นอกเห็นใจกนั เวลาท่อี กี ฝายมปี ญหา • มีจติ ใจเขม แขง็ และมัน่ คงไมห ว่ันไหวกบั คําพดู ที่ผอู น่ื ใหร ายกับชวี ติ คขู องตนเอง • ยอมรับความแตกตางระหวางกนั วาเปน ส่งิ ท่ีเขา หรือเธอไมอ าจเปลยี่ นแปลงไดหรือแกไขไมไ ด • มีความรับผดิ ชอบตอ ครอบครวั รว มกันแบงเบาบทบาทการดแู ลบา น คา ใชจา ยและลกู ท่กี ําเนดิ มา • รว มมือกนั แกปญหาดวยการยืดหยุนตามสถานการณ • ทําความรูจักญาติพ่ีนองและคนรอบขางของท้ังคู ไมวาจะเปนเพื่อนรวมงาน เพ่ือนสนิท สมาชิก ครอบครวั ของคนรกั และบคุ คลทค่ี วรรกั ใหค วามนบั ถอื ท่ีมา : สํานักอนามัยเจริญพันธุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

เอกสารอา งองิ 1. World Health Organization: WHO. Anaemia. Retrieved Feb 15, 2018, from www.who.int/topics/ anaemia/en/ และ WHO. Global nutrition targets 2025: anaemia policy brief (WHO/NMH/ NHD/14.4). Geneva: World Health Organization; 2014. 2. สํานักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. คูม่ ือ แนวทางการควบคุมและปอ องกันโลหิตจางจากการ ขาดธาตเุ หล็ก. แหลงอาหารธาตเุ หล็ก. 2556; 6-20. 3. World Health Organization: WHO. Anaemia. Retrieved Feb 15, 2018, from www.who.int/topics/ anaemia/en/ 4. World Health Organization: WHO. Global nutrition targets 2025: anaemia policy brief (WHO/ NMH/NHD/14.4). Geneva: World Health Organization; 2014. 5. Abbaspour N, et al.. Review on iron and its importance for human health. J Res Med Sci. 2014;19:164–174. 6. World Health Organization: WHO. Intermittent iron and folic acid supplementation in menstruating women. Retrieved Feb 15, 2018, from www.who.int/elena/titles/guidance_summaries/ 52 iron_women/en/ 7. World Health Organization: WHO. Promoting fruit and vegetable consumption around the world. Retrieved Feb 15, 2018, from http://www.who.int/dietphysicalactivity/fruit/en/ 8. He FJ, Nowson CA, MacGregor GA. Fruit and vegetable consumption and stroke: Meta-analysis of cohort studies. Lancet. 2006; 367: 320-326. 9. Lock K, Pomerleau J, Causer L, Altmann DR, McKee M. The global burden of disease attributable to low consumption of fruit and vegetable: implications for global strategy on diet. Bull World health Organ. 2005; 83: 100-108. Ref: Boeing H, Bechthold A, Bud A, Ellinger S, Haller D, Kroke A, Leschik-Bonnet E, Muller MJ, Oberritter H, Schulze M, Stehle P, Watzl B. Critical review: vegetable and fruit in the prevention of chronic disease. Eur J Nutr. 2012; 51: 637-663. 10. คณะทาํ งานจดั ทาํ ขอ ปฏิบัติการกนิ อาหารเพอ่ื สขุ ภาพทีด่ ีของคนไทย. คูมือธงโภชนาการ กนิ พอดี สขุ ขที ั่วไทย. กองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2551. 11. สาํ นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . กนิ หวาน...แคไ หนไมใ หป ว ย. วนั ทเี่ ขา ถงึ 15 กมุ ภาพนั ธ 2561. เขา ถงึ ไดท :ี่ http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/pictures/%เขา ถงึ ไดท :ี่ http://bit.ly/2OuQT7H

12. World Health Organization: WHO. Physical Activity and Adults. Global Recommendation on Physical Activity for Health, pp. 23-27. Switzerland, 2010. 13. กองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ทาออกกําลังกายในสถานประกอบการ. นนทบรุ :ี โรงพิมพองคการรับวง สนิ คา และพสั ดภุ ัณฑ, 2548. 14. LaMontagne AD, Martin A, Page KM, et al. Workplace mental health: developing an integrated intervention approach. BMC Psychiatry. 2014;14:131. 15. สํานักสงเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.แบบประเมิน/500-แบบประเมิน ความเครยี ด. วนั ทเี่ ขา ถงึ 15 กมุ ภาพนั ธ 2561.เขา ถงึ ไดจ าก:http://www.sorporsor.com/component/ content/article/182-สอื่ สงิ่ พมิ พ/ แบบประเมนิ /500-แบบประเมินความเครียด.htm 16. สํานักอนามัยการเจริญพันธุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กอนจะแตง...ครวรจะตรวจ. พิมพคร้ังท่ี 8. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช มุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั , 2559. 17. สํานักอนามัยการเจริญพันธุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ส่ือรัก สรางครอบครัว. พิมพครั้งที่ 7. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช มุ นมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั , 2559. 53

ดาวนโ หลดเอกสาร เอกสารโครงการสาวไทยแกมแดง http://nutrition.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=440 เอกสารเผยแพรดา นอาหารและโภชนาการ โดยสํานกั โภชนาการ 54 http://nutrition.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=386 เอกสารเผยแพรด า นอนามัยวยั เจรญิ พนั ธุ โดยสาํ นักอนามยั เจริญพันธุ กรมอนามัย http://rh.anamai.moph.go.th/main.php?filename=totaldownload เอกสารเผยแพรด านการดแู ลสขุ ภาพจติ โดยสํานกั สง เสรมิ และพัฒนาสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ http://www.sorporsor.com/วัยทาํ งาน-15-59ป.html

สำนกั โภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ