Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการ การผลิตกาแฟอะราบิกา

คู่มือการจัดการ การผลิตกาแฟอะราบิกา

Description: ในปัจจุบันกาแฟ เป็นที่นิยมดื่มกันอย่างแพร่หลายทำให้กาแฟ ราคาพุ่งขึ้น ถ้าเกษตรกรท่านใดอยากปลูกกาแฟ.

Search

Read the Text Version

คู่มอื การจดั การการผลติ กาแฟอะราบิกา ISBN : 978-974-436-925-3 พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2 : กุมภาพันธ์ 2562 จานวน : 1,000 เล่ม ทีป่ รึกษา : นายสมบตั ิ ตงเต๊า ผู้อานวยการสถาบันวจิ ยั พืชสวน นายพิจิตร ศรีปินตา ผ้อู านวยการศูนย์วจิ ัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ นายทวีศักด์ิ แสงอุดม ผู้อานวยการกลมุ่ วชิ าการ นางวิไลวรรณ พรหมคา ผอู้ านวยการสานกั วจิ ัยและพฒั นาอารกั ขาพชื นายชูชาติ วฒั นวรรณ ผอู้ านวยการกองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการ เก็บเกยี่ ว และแปรรูปผลิตผลเกษตร นายสนอง อมฤกษ์ ผู้อานวยการศนู ย์วิจยั เกษตรวศิ วกรรมเชียงใหม่ นายสนอง จรินทร ผอู้ านวยการศูนย์วจิ ยั พชื สวนเชียงราย คณะผจู้ ัดทา : นางสภุ ัทรา เลศิ วฒั นาเกยี รติ รกั ษาการผู้เชีย่ วชาญไม้ผล นางสาวฉตั ต์นภา ข่มอาวธุ ผู้อานวยการกลุม่ วจิ ยั ศนู ย์วจิ ยั เกษตรหลวงเชยี งใหม่ นางสาวศริ ิภรณ์ จรนิ ทร นางศศิธร วรปิติรงั สี นางวิมล แก้วสดี า นายนฤนาท ชยั รังษี นายยุทธศักด์ิ เจียมไชยศรี นายมานพ รกั ญาติ นายโกเมศ สตั ยาวุธ นายปรีชา อานันท์รัตนกลุ นายนัด ไชยมงคล นางสาวอารีรตั น์ การุณสถติ ชัย นายจิรวัสส์ เจยี ตระกลู นางสาวบญุ ปยิ ธดิ า คล่องแคลว่ นายสเุ มธ พากเพยี ร นายสเุ มธ กาศสกลุ นางสาวธารทิพย ภาสษุตร นายเมธาสทิ ธิ์ คนการ นางสุภาภรณ์ สาชาติ สงวนลิขสิทธ์ิ สถาบนั วจิ ัยพชื สวน กรมวิชาการเกษตร 50 พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทร. 0-2579-0583, 0-2940-5484 โทรสาร 0-2561-4667 ปก รปู เลม่ พิมพ์ นางนพดา ไกรรกั ษ์ พิมพ์ที่ การนั ตี GUARANTEE (นนทบุรี) โทรศัพท์ 02 982 8035

คานา ด้วยสถานการณ์ในปัจจุบันกาแฟอะราบิกาเป็นพืชท่ีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ความสาคัญพืชหน่ึง และได้เสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ความเห็นชอบในการ ดาเนินการยุทธศาสตร์ในการพัฒนากาแฟ คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบเม่ือ วนั ที่ 4 ตุลาคม 2559 ดงั นัน้ ในการจดั ทา คมู่ ือการจัดการการผลิตกาแฟอะราบิกา มี วัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เป็นสอ่ื เผยแพร่ในเทคโนโลยีในการจัดการการผลิตกาแฟอะราบิกาที่ ถูกต้องและเหมาะสม ต้ังแต่การเลือกพื้นท่ีปลูก การปลูก การจัดการโรคแมลงท่ีเป็น ปัญหากระจายตัวในพื้นที่ปลูกกาแฟอะราบิกาในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นกระทบต่อคุณภาพ ของกาแฟ ตลอดจนกระบวนการเก็บเกี่ยว และการแปรรูป ทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่า เกษตรกรและผทู้ ่ีเกยี่ วขอ้ งสามารถนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ ในการผลิตกาแฟอะ ราบิกาตามความคาดหวังของการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ และมีส่วนในการ สนับสนุนองค์ความรู้ให้เกษตรกรมีความเข้าใจและให้ความเอาใจใส่ในกระบวนการ ผลติ กาแฟอะราบกิ าคณุ ภาพของไทย (นายสมบตั ิ ตงเตา๊ ) ผอู้ านวยการสถาบันวจิ ยั พืชสวน

คู่มอื การจัดการการผลติ กาแฟอะราบกิ า หน้า สารบัญ 1 1. พ้ืนท่ีปลกู 2 2. พนั ธก์ุ าแฟอะราบกิ า 3 3. การขยายพนั ธ์ุ 7 4. การปลูกและการดแู ลรักษา 7 5. การจดั การรม่ เงา 7 6. การใหน้ ้า 8 7. การใส่ปุ๋ย 10 8. การควบคมุ ทรงพมุ่ การตัดแต่งกิง่ 11 9. ศตั รูและการป้องกนั กาจดั 11 14 9.1 โรค 18 9.2 แมลง 18 9.3 วัชพืช 19 10. การเก็บเกย่ี ว 25 11. การปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เก่ียวและแปรรปู 28 12. แนวทางการผลติ กาแฟปลอดภัย 13. เคร่ืองมือสาหรบั แปรูป 14. เอกสารอ้างอิง

กาแฟอะราบิกา (Coffea arabica L.) พ้นื ทป่ี ลูกกาแฟอะราบกิ า แหล่งปลกู ทเี่ หมาะสมของกาแฟอะราบิกา ต้องพจิ ารณา 1. สภาพพืน้ ทีแ่ ละสภาพภมู ิอากาศ - ควรเป็นพ้นื ทท่ี ่อี ย่ใู นระดับเสน้ รุ้ง 17 องศาเหนอื ขึน้ ไป - อยใู่ นระดับความสงู จากน้าทะเล ต้ังแต่ 700 เมตรขน้ึ ไปจากความสูงจากนา้ ทะเล - มคี วามลาดเอยี งไมค่ วรเกนิ 30 เปอรเ์ ซ็นต์ - อณุ หภมู ทิ ี่เหมาะสมอย่ใู นชว่ ง 15-25 องศาเซลเซยี ส - ความช้ืนสมั พทั ธ์มากกวา่ 60 เปอร์เซน็ ต์ 2. ลักษณะดนิ - ดนิ มคี วามอุดมสมบูรณ์ มชี ้นั ดินลึกไม่ต่ากว่า 50 เซนติเมตร - ความเป็นกรด-ดา่ ง 5.5-6.0 และระบายน้าดี 3. แหลง่ นา้ - บริเวณท่อี าศัยน้าฝน ควรมีปริมาณน้าฝนไม่ตา่ กวา่ 1,500 มลิ ลเิ มตรต่อปี และต้องมกี าร กระจายนา้ ฝนอย่างนอ้ ย 5-8 เดอื น มแี หล่งนา้ สะอาดและมปี รมิ าณเพยี งพอในการให้ นา้ ได้ตลอดชว่ งแลง้ พื้นที่ปลกู ชว่ งท่ี ช่วงที่ อายกุ าร เก็บเก่ยี ว เก็บเกย่ี ว (เดอื น) เหนอื ระดบั น้าทะเล (เมตร) ออกดอก 700-1,000 มี.ค.-เม.ย. ต.ค.-ธ.ค. 5-8 1,100-1,500 ม.ี ค.-พ.ค. ธ.ค.-เม.ย. 9-10 1

พนั ธ์ุกาแฟอะราบิกา พันธก์ุ าแฟอะราบิกาควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี 1. ต้านทานตอ่ โรคราสนิม 2. ผลผลิตมคี ุณภาพการชมิ และเปน็ ทยี่ อมรับ 3. ตน้ เต้ีย ขอ้ สน้ั ผลผลติ สงู สม่าเสมอ 4. ควรเปน็ พนั ธทุ์ ่ีผา่ นการคดั เลอื กพนั ธ์ุ ไดแ้ ก่ พันธุเ์ ชยี งใหม่ 80 และพนั ธ์ุ H420/9 กาแฟอะราบกิ า พนั ธ์ุเชียงใหม่ 80 (พันธรุ์ บั รองกรมวชิ าการเกษตร) คือ สายพนั ธ์ุ คาตมิ อร์ CIFC 7963 ซง่ึ เปน็ พันธุ์ลกู ผสมระหวา่ ง H.W.26/5 (832/1 Hibrido de Timor x 19/1 Caturra) กับพันธ์ุ SL.28 มีลกั ษณะตน้ เต้ีย ขอ้ สน้ั ยอดสีเขยี ว ใบมขี นาดปานกลาง ผลสุกสีแดง ให้ผลผลิตนา้ หนกั แห้งเฉล่ียอยู่ระหวา่ ง 500-900 กรัมต่อต้น เมื่ออายุ 7 ปี ให้ สารกาแฟเฉลี่ย 215 กิโลกรมั ต่อไร่ คณุ ภาพการชิมอยู่ในระดับดปี านกลาง กาแฟอะราบกิ า พันธุ์ H420/9 (พนั ธุ์แนะนากรมวิชาการเกษตร) คอื สายพันธ์ุคาติมอร์ ซึ่งเป็นลูกผสมระหว่างพันธ์ุ Mundo Novo 1535/33 กับพันธ์ุ H.W.26/14 (832/1 Hibrio de Timor x 19/1 Caturra) มลี ักษณะต้นสงู ปานกลาง ข้อยาวปานกลาง ยอดสเี ขยี ว ใบมีขนาดปานกลาง ผลสุกสีแดง ให้ผลผลติ นา้ หนกั แห้งเฉลีย่ อยู่ระหว่าง 400- 550 กรมั ต่อตน้ เมอื่ อายุ 6 ปี ใหส้ ารกาแฟเฉล่ีย 158-222 กิโลกรมั ต่อไร่ คณุ ภาพการชมิ อยู่ ในระดับดปี านกลาง กาแฟอะราบกิ า พันธุ์เชยี งใหม่ 80 กาแฟอะราบิกา พันธ์ุ H420/9 2

ต้นพนั ธ์กุ าแฟอะราบิกา ได้จากการขยายพันธุ์กาแฟอะราบกิ า 2 แบบ คือ 1. การขยายพันธโ์ุ ดยอาศัยเพศ (Sexual propagation) โดยใช้เมล็ด ต้องเปน็ เมลด็ จากตน้ พนั ธค์ุ ัดท่เี ปน็ แมพ่ ันธ์ุเท่านนั้ 1.1 เตรียมเมล็ด จากผลกาแฟท่ีสุกเต็มที่ แกะเอาเปลือกออกจะได้เมล็ดที่เรียกว่า “เมล็ดกะลา” คัดเฉพาะเมล็ดท่ีสมบูรณ์ วัสดุเพาะ ได้แก่ ทรายหยาบใหม่ หรือดิน (ต้องเป็นดินใหม่ท่ีปลอดเชื้อโรค) ตะกร้า หรือ อิฐบล็อกพลาสติกดา 70 เปอร์เซ็นต์ ถุงพลาสติกดาขนาด 4 x 6 นิ้ว หรือ 5 x 8 น้ิว ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) ลา้ งเมลด็ ใหส้ ะอาดเรยี งในกระบะเพาะที่มวี ัสดปุ ลกู ในตะกร้า หรอื ในอฐิ บล็อก ภายใต้หลงั คา พรางแสงด้วยพลาสติกดา 70 เปอร์เซ็นต์ ให้นา้ อย่างสมา่ เสมอประมาณ 30 - 45 วัน เมลด็ กาแฟจะเรม่ิ งอกจนถึงระยะหัวไมข้ ีด ก. กาแฟกะลา ข. เตรียมวสั ดุเพาะ ค. กระบะเพาะ (อฐิ บล็อก) คดั เฉพาะเมลด็ ทสี่ มบูรณ์ ทรายหยาบใหม่ ง. การเรยี งเมลด็ จ. การเรียงเมลด็ ฉ. การเรียงเมล็ดในแตล่ ะแถว ช. กลบเมลด็ ด้วยทราย ซ . ใ ห้ น้ า ร ะ บ บ ส ป ริ ง เ ก อ ร์ ภ า ย ใ ต้ ฌ. 30-45 วัน งอกเป็นระยะ หลังคาพรางแสงด้วยพลาสติกดา หัวไม้ขีด 70% ให้นา้ อย่างสมา่ เสมอ 1.2 ระยะปกี ผีเส้ือ (ใบเลีย้ งมีลกั ษณะคล้ายปีกผเี สือ้ ) ขนาด 1-2 คใู่ บ ถอนเพื่อย้ายปลูก ในถุงพลาสติกบรรจุดินขนาด 4x6 น้ิว หรือ 5x8 นิ้ว หรือในแปลงเพาะท่ีเตรียมดินไว้ (ระยะ 30X100 เซนติเมตร) รดนา้ ใหป้ ุย๋ เคมสี ูตร 15-15-15 อัตรา 1 กิโลกรัมต่อน้า 200 ลิตร สลบั กบั ปยุ๋ ยูเรยี อัตรา 1 กิโลกรัมตอ่ นา้ 200 ลิตร รดทกุ 7-10วนั จนกว่าจะยา้ ยต้นกลา้ ปลูก 3

ก. กาแฟระยะปกี ผเี สอื้ ข. ถงุ พลาสตกิ บรรจุดนิ ผสมขนาด 4x6 น้ิว หรือ 5x8 นิ้ว ค. กาแฟระยะปกี ผีเส้อื ในถงุ ง. กาแฟระยะใบจรงิ คู่แรก จ. ต้นกลา้ พร้อมปลูกท่ีมใี บจริง 5-6 คู่ 2. การขยายพันธ์ุโดยไมอ่ าศัยเพศ ข้อดี คอื ได้พันธุ์ลักษณะตรงตามพนั ธุ์ ต้นกาแฟแข็งแรง ให้ผลผลติ เร็วกวา่ ตน้ เพาะเมลด็ ข้อเสยี คอื ไมส่ ามารถขยายไดป้ รมิ าณมากๆ 2.1 การปกั ชา (cutting) คอื การตัดก่ิง ตัดรากหรือตัดใบมาจากต้นแม่แล้วชักนาให้ เกิดรากหรือต้นโดยใช้สารเคมหี รือให้สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม ข้อดี คอื ขยายพันธุ์เร่มิ ตน้ จากตน้ แม่เพียงไม่ก่ีต้นในพื้นท่ีจากัดและทาได้เร็ว ง่าย ใชต้ น้ ทนุ ต่า ไม่ต้องใช้เทคนคิ พิเศษ ไมม่ ีปัญหาเรอ่ื งการเข้ากนั ไม่ได้กับต้นตอหรือรอยต่อไม่ แขง็ แรงระหว่างกงิ่ พันธ์ุกับตน้ ตอ ต้นมีความสม่าเสมอ และมีลักษณะตรงตามพันธ์ุ ขอ้ เสีย คอื ไม่มีระบบรากแกว้ ปักชานานประมาณ 2-6 เดือน ขึ้นกับชนิดของพันธุ์ ช่วงเวลาท่ีดาเนินการ และ เกิดยอดท่แี ตกขึ้นใหม่เปน็ เวลา 6-7 เดอื น 4

ข้อแนะนา คือ ควรใช้ก่ิงยอด (กิ่งตั้ง) ไม่แนะนาให้ใช้ก่ิงที่เป็นกิ่งสร้างดอกหรือกิ่งนอน หรือกิง่ ข้าง พบว่ากิ่งนอนหรือกิ่งข้างน้นั แม้ว่าจะมีการเกิดราก แต่เมื่อนาไปปลูกพบว่า ไม่มี การเจรญิ เตบิ โตหรอื เจรญิ เติบโตช้า ก. กระบะที่มีทราย:แกลบดา (1:1) ข. กง่ิ ท่ีเหมาะสม ค. การเฉือนปลายกง่ิ ง. แช่ในสารชักนารากและ จ. กระบะชาในสภาพปดิ ช. กิง่ ชาทม่ี ีรากทสี่ มบรู ณ์ (อายุ 1 ป)ี ปักชาในกระบะท่มี รี ะบบนา้ 2.2. การเสยี บยอด มหี ลายแบบ ไดแ้ ก่ ฝานบวบ เสยี บลม่ิ และเสียบลิ่มหัวกลับ เป็นต้น แต่ทีเ่ หมาะสม คือ เสยี บล่ิม ก. ตน้ ตออายุ ข. ตน้ ตออายุ 1.5-2 ปี ค. กิง่ ต้งั : ตดั ตน้ ตอท่ี 15 ซม. 10-12 เดือน จากผิวดนิ กรณตี น้ ตอท่มี ีอายมุ าก กงิ่ ต้งั : ตดั ตน้ ตอที่ 30-50 ซม. จากผิวดิน กิ่งแขนง : ตดั ตน้ ตอท่ี 50-100 ซม. จากผิวดิน 5

ง. ผ่ากลางตน้ ตอ 1.5-2 ซม. จ. กิง่ พันธุ์ดี 2 ขอ้ ตอ่ ก่งิ ฉ. เฉือนกิง่ ให้แผลเฉยี งลงยาว 1.5-2 ซม. ช. นากง่ิ เสียบบนต้นตอ ซ. พนั ด้วยเทปพนั กิง่ ฌ. นา เข้ า ก ระโ จ มห รือโ รงอ บคว า มช้ืน ประมาณ 30-45 วนั ตน้ กาแฟทไี่ ดจ้ ากการขยายพันธดุ์ ้วยวธิ ีการเสียบลม่ิ อายุ 1 และ 2 ปี เสยี บยอดด้วยก่ิงต้งั เสียบยอดดว้ ยก่งิ นอน (กิ่งยอด)อายุ 1 ปี (กิ่งแขนง) อายุ 1 ปี เสียบยอดด้วยกง่ิ ต้งั เสยี บยอดดว้ ยกง่ิ นอน (กง่ิ ยอด)อายุ 2 ปี (กิง่ แขนง) อายุ 2 ปี 6

การปลูกและการดแู ลรกั ษา การปลูกตน้ กล้า ที่มีใบจริง 4 - 5 คู่ อายุไม่น้อยกว่า 8 - 12 เดือน ระยะระหว่างต้น - แถว 2x2 เมตร หรือ 400 ต้นต่อไร่ ขนาดหลุมปลูก ดินดี 30x30x30 เซนติเมตร ดินเลว 50x50x50 เซนติเมตร รองกน้ หลมุ ด้วยหนิ ฟอสเฟตหลมุ ละ 100 - 200 กรัม และปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยอินทรีย์ 5 กิโลกรัมต่อหลุม ควรปลูกต้นกาแฟช่วงเดือน พฤษภาคม - กรกฎาคม ซึ่งเปน็ ช่วงตน้ ฤดฝู น หากปลูกที่ลาดชัน ควรวางแนวปลูกขวางความลาดชัน หรือปลูกบนข้ันบันไดที่ทาขึ้น เพื่อขวางความลาดชันของพื้นท่ี เพ่ือชะลอการพังทลายของหน้าดิน ความกว้างของ ข้ันบันไดควรกว้างเท่ากบั ความกว้างของทรงพมุ่ ของต้นกาแฟเมอ่ื โตเต็มท่ี การทาพื้นที่ปลูก เปน็ ขั้นบนั ไดนอกจากจะช่วยชะลอการพังทลายของหน้าดิน ยังช่วยให้การให้ปูน ปุ๋ย และ นา้ มปี ระสิทธิภาพดีขึน้ และการปลกู พืชหมนุ เวียนบนขัน้ บนั ไดจะชว่ ยยดึ หน้าดินไวด้ ้วย การจัดการร่มเงา กาแฟพันธ์ุเชียงใหม่ 80 เป็นพันธุ์ที่ตอบสนองต่อแสงแดดและปุ๋ยสูงจึงไม่ควรปลูก กลางแจ้ง โดยเฉพาะพื้นที่ต่ากว่า 1,000 เมตร ควรปลูกไม้บังร่มเงาก่อนการปลูก กาแฟอะราบิกาจะช่วยให้กาแฟอะราบิกามีการเจริญเติบโตได้ดี แนะนาให้ปลูกใต้ร่ม ไมย้ นื ต้น ไดแ้ ก่ 1. ไม้บังร่มช่ัวคราว ควรเป็นไม้โตเร็ว และเป็นพืชตระกูลถั่ว เช่น ทองหลางไร้หนาม แคฝรั่ง ขี้เหล็กอเมริกัน ควรใช้ในระยะปลูก 4x6 หรือ 6x6 เมตร และปลูกหลายชนิด สลบั กนั 2. ไม้บังร่มถาวร ควรเป็นไม้พมุ่ ใหญ่ ทรงพุม่ กวา้ งและให้ร่มเงาในระดับสูง เช่น ซิลเวอรโ์ อ๊ค พฤกษ์ ถ่อน กางหลวง ถวั่ หูชา้ ง สะตอ เหรยี ง เปน็ ตน้ ระยะปลูก 8x10 เมตร และควร ปลกู หลายชนดิ สลับกันกบั ไม้บังรม่ ชว่ั คราว การใหน้ ้า ส่วนใหญ่พ้ืนที่ปลูกกาแฟอาศัยน้าฝนตามธรรมชาติ พื้นท่ีปลูกควรมีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย อย่างน้อย 1,200-1,500 มิลลิเมตรต่อปี โดยและต้องมีการกระจายน้าฝนอย่างน้อย 5 - 8 เดือน หากชว่ งแลง้ ยาวนาน ควรมีแหล่งน้าสะอาดและมปี รมิ าณเพียงพอในการใหน้ ้าไดต้ ลอด ชว่ งแล้ง ให้น้าในช่วงฤดแู ล้งอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ 1 ครงั้ แต่ในกรณีพนื้ ทป่ี ลกู ไม่มีแหล่งน้าให้ ใช้เศษวัชพืชหรือฟางข้าวคลุมบริเวณโคนต้นตั้งแต่หมดฤดูฝนโดยเฉพาะพ้ืนท่ีปลูกกาแฟ กลางแจง้ ซ่งึ ช่วงท่ีสาคญั ที่ตน้ กาแฟต้องการน้า ได้แก่ 7

- ชว่ งหลงั จากดอกพกั ตวั สมบูรณ์และจะออกจากการพักตัว หากมีน้าไมเ่ พียงพอต้องให้น้า เพม่ิ เติม มิฉะน้ันดอกและผลพฒั นาไดไ้ ม่เตม็ ท่ี ดอกจะเห่ยี วและฝอ่ ไป ทาให้ไมม่ ีการติดผล เกษตรกรควรให้น้าเพ่อื ชว่ ยให้ดอกมกี ารพัฒนาและตดิ ผลไดด้ ี - ชว่ งพฒั นาผล ในชว่ งเรม่ิ ติดผล หลังจากดอกไดร้ ับการผสมเกสรแล้ว เกดิ การตดิ ผลขนาดเล็ก มากอยเู่ บียดกนั เป็นกลมุ่ หากความชนื้ ไม่เพียงพอ ดอกท่เี ริ่มตดิ แล้วอาจจะฝอ่ หรอื เหลอื งรว่ ง หลุดไป หากใหน้ า้ แล้วในช่วงดอกบานและดินยงั ช้นื อย่ไู มจ่ าเปน็ ต้องให้นา้ หากไม่ไดใ้ หน้ ้ามา กอ่ นและฝนทง้ิ ชว่ งนานกว่า 3 สปั ดาห์ ควรใหน้ ้าทุก 3-4 สปั ดาห์ - ชว่ งทผี่ ลกาลงั ขยายตวั อย่างรวดเรว็ และช่วงทผี่ ลสะสมนา้ หนักแห้งเป็นช่วงสาคญั ท่สี ดุ ตน้ กาแฟไม่ควรขาดนา้ ในชว่ งน้ี (อายุ 3 - 4 เดอื นหลงั ดอกบาน) เพราะผลจะขยายตวั อย่าง รวดเร็วจากขนาดเมล็ดพรกิ ไทย ขยายขนาดโตข้นึ เรอื่ ยๆ เปน็ เวลา 3 เดอื น ผลจะสรา้ งเน้ือเยอื่ รอบๆเมลด็ มากกวา่ เนอื้ เมลด็ และสร้างช่องวา่ งไว้ให้เมล็ดเติบโตมีขนาดเลก็ หากขาดน้าจะทา ใหเ้ มล็ดมีขนาดเลก็ ทาให้มีผลผลิตต่า หากฝนไม่ตกในช่วงนค้ี วรตอ้ งใหน้ ้าแกต่ น้ กาแฟ และช่วง ท่ีผลสะสมน้าหนกั แห้ง ซ่ึงเปน็ ชว่ งระยะต่อจากช่วงผลขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ และในชว่ งทีผ่ ล สร้างเน้อื เมลด็ ในช่วงนด้ี ินควรจะมคี วามช้ืน และหากฝนมกี ารทิ้งช่วงนานกว่า 3 สัปดาห์ควร ใหน้ ้าชว่ ย การใสป่ ยุ๋ กาแฟเปน็ พชื ทต่ี อ้ งการปยุ๋ ค่อนขา้ งสูง โดยเฉพาะชว่ งเรม่ิ ออกดอก ติดผล ธาตุอาหารท่ีพชื ต้องการ มี 3 กลมุ่ คือ 1) กลุ่มธาตุหลกั ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โปแตสเซียม 2) กลุ่มธาตุรอง แคลเซียม แมกนีเซยี ม ซลั เฟอร์ 3) กลุ่มจุลธาตุ เหลก็ แมงกานสี สงั กะสี ทองแดง โบรอน โมลดิ ิบนมั คลอไรด์ การใสป่ ุย๋ ตามค่าวิเคราะห์ดนิ และความตอ้ งการของพชื เพอ่ื ลดการใช้ปุ๋ยมากเกินความจาเปน็ 8

การตัดแต่งกิ่งแบบตัดฟื้นต้น เหมาะสาหรับต้นกาแฟอะราบิกาท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ไม่ให้ผลผลิต หรือมีผลผลิตลดลง พบว่า เริ่มให้ผลผลิตหลังจากตัดแต่ง 2 ปี ขึ้นกับการ ปฏิบัติหลังการตดั แต่ง (การจัดการนา้ และปยุ๋ ) ศัตรูและการป้องกนั กาจดั โรคสาคญั ของกาแฟอะราบกิ า 1. โรคราสนมิ (Coffee leaf rust) เชอ้ื สาเหตุ: Hemileia vastatrix ลักษณะอาการ ใบออ่ นและใบแกด่ ้าน บนใบจะมสี เี หลอื ง ส่วนดา้ นใต้ใบตรง จดุ เดียวกนั มักพบสปอร์ (แผล) สสี ้ม เม่อื อาการรุนแรงจดุ นีจ้ ะขยายไปท่ัว ทงั้ ใบทาใหใ้ บร่วงผลผลิตกาแฟลดลง การปอ้ งกนั กาจัด 1. ใช้พันธุต์ า้ นทานโรค 2. ดแู ลรกั ษาใหต้ น้ กาแฟแขง็ แรง เช่น การใส่ป๋ยุ การตัดแต่งให้ทรงพ่มุ โปรง่ เพอ่ื ลดความชน้ื 2. โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose) เช้ือสาเหตุ: Colletotrichum gloeosporioides อาการบนใบ เรยี กวา่ “โรคใบไหม้สนี า้ ตาล” (brown blight) ลักษณะอาการ จะเกิดจุดกลมสีน้าตาลแล้ว ขยายใหญ่ข้ึนเน้ือเยื่อกลางแผลจะตายมีสี น้าตาลไหม้เม่ือแผลแต่ละจุดขยายจนติดกันจะ มีอาการเหมือนใบไหม้ทั่วไปในสภาพอากาศ แหง้ ติดต่อกันเปน็ ระยะเวลานาน 11

อาการบนผล เรยี กวา่ “โรคผลเน่า” (fruit rot) ลักษณะอาการ จะเห็นเป็นจดุ กลมสีน้าตาลเข้มด้านใดดา้ นหนง่ึ ของผลจดุ แผลเหลา่ น้ี แล้วจะขยายใหญ่ข้นึ และติดกัน มีอาการเน้ือเยื่อยุบต่อมาผลจะหยุดการเจริญเติบโตและ เปลีย่ นเป็นสีดาแตผ่ ลยังคงตดิ อยูบ่ นก่ิงกาแฟ อาการบนก่ิง เรยี กวา่ “โรคกิ่งแห้ง”(die back) ลกั ษณะอาการ ปรากฏอาการไหม้บนกงิ่ สีเขยี ว ข้อและปล้องของต้นมีสีเหลืองซีด และขยายไป ตามกิง่ ใบเหลอื งและร่วง ในเวลาตอ่ มาก่ิงจะเหีย่ ว และแห้ง ตาดอกเหี่ยว การป้องกนั กาจัด 1. เกบ็ ผลและตัดแตง่ กิ่ง ใบ ที่เป็นโรคไปเผานอกแปลงปลูก 2. ควรรักษาระดับร่มเงาให้เหมาะสม (ควรมีไม้บังร่ม) และคลุมดินใต้ทรงพุ่ม เพื่อรักษา ระดับความชน้ื และปอ้ งกนั การเกดิ โรค 3. หลงั เก็บเกย่ี วผลกาแฟควรตดั แตง่ กงิ่ และให้ปยุ๋ บารุงตน้ เพือ่ ใหต้ ้นกาแฟมคี วามแข็งแรง แปลงเกษตรอนิ ทรยี ์ ใหป้ ฏิบตั ติ ามข้อ 1-3 แปลง GAP ถ้าพบอาการโรคไม่รุนแรงในช่วงออกดอกและติดผลอ่อน ควรพ่นด้วยสารป้องกัน กาจัดโรคพืช แมนโคเซบ 80 เปอร์เซ็นต์ดับเบ้ิลยูพี (%wp) อัตรา 50 กรัมต่อน้า 20 ลิตร ถ้าพบอาการโรครุนแรงควรพ่นด้วยสารป้องกันกาจัดโรคพืช อะซอกซี่สโตรบิน + ไดฟีโนโคโซล 20 เปอร์เซ็นต์ + 12.5 เปอร์เซ็นต์ ดับเบิ้ลยู/วี เอสซี (%W/V SC) อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้า 20 ลิตร หรือ เบโนมิล 50 เปอร์เซ็นต์ ดับเบิ้ลยู/พี (%WP) อัตรา 20 กรัมต่อน้า 20 ลิตรและปฏิบัติตาม ขอ้ 1-3 12

3. โรคใบจดุ ตากบ (Brown eye spot) เชื้อสาเหตุ : Cercospora sp. ลักษณะอาการ จะเกิดจุดกลมขนาด 3-15 มิลลิเมตร ขอบสีน้าตาลมีวงเหลืองล้อมรอบ กลางแผลมีสีเทา จนถึงสีขาวตรงกลางของแผล อาจจะเห็นจุดเล็กๆ สี ดา ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ท่ั ว ไ ป การป้องกนั กาจัด 1. ดูแลให้ต้นกาแฟแข็งแรงโดยใส่ปุ๋ยให้ต้นกาแฟสมบูรณ์ไม่ขาดธาตุอาหาร ไม่ควรใส่ปุ๋ย ไนโตรเจนมากเกนิ ไป 2. เก็บใบท่เี ป็นโรคทิง้ ทาลายนอกแปลงปลูก 4. ใบจุด (Pestalotiopsis Leaf Spot) เช้ือสาเหตุ : Pestalotiopsis sp. ลักษณะอาการ แผลสีน้าตาลขนาดใหญ่ ขอบแผลสีน้าตาลเขม้ มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ตรงกลางของแผลอาจจะเห็นจุดเล็กๆ สีดา กระจายอย่ทู ั่วไป การปอ้ งกันกาจดั 1. ตัดแตง่ ให้ทรงพมุ่ โปรง่ เพอื่ ลดความช้นื 2. เกบ็ ใบที่เปน็ โรคทิ้งทาลายนอกแปลงปลูก 13

แมลงศัตรสู าคัญกาแฟอะราบิกา 1. มอดเจาะผลกาแฟ (Coffee Berry Borer; CBB) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hypothenemus hampei Ferrari อนั ดบั : Coleoptera วงศ์ : Scolytidae มอดเจาะผลกาแฟเป็ นแมลงศัตรูท่ีสาคัญ ตอ่ การปลกู กาแฟในหลายพนื ้ ที่ สร้างความเสียหาย ให้กับผลผลิตกาแฟได้มากถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ผลกาแฟที่ถูกเจาะจะเป็ นช่องทางให้ เชื อ้ รา และเชือ้ แบคทีเรียเข้าทาลายซา้ ผลร่วงเสียหาย ผลผลติ และคณุ ภาพของกาแฟลดลง มอดเจาะผลกาแฟเป็นแมลงปีกแข็งขนาดเล็ก ขนาด 1.2 - 1.5 มิลลเิ มตร ลาตัวสดี า ขยายพันธ์ุได้ 8 - 9 รุ่นต่อปี เพศเมียวางไขไ่ ด้ 20 - 80 ฟอง วงจรชีวิต 28 - 34 วนั ขน้ึ อยู่กบั สภาพแวดล้อม ลักษณะการเข้าทาลาย - ระยะผลออ่ น ความเสียหายรนุ แรงจะเกดิ กบั เน้อื เยอื่ ภายในผล - ระยะผลกาลังสุก ทาให้เมล็ดเป็นรูพรุน โรคพืชต่างๆ เข้าทาลายซ้า เมล็ดเสียคุณภาพ และทาให้ผลร่วงหลน่ ก่อนกาหนด การป้องกันกาจดั 1. สารวจการระบาดของมอดเจาะผลกาแฟอยา่ งสมา่ เสมอ 2. รักษาความสะอาดแปลง ตัดแต่งกิ่งและทรงพุ่มให้โปร่ง เก็บเกี่ยวผลกาแฟให้หมดต้น เก็บผลกาแฟท่ีถกู มอดเจาะทาลายออกไปทาลายนอกแปลง เพอื่ ลดการระบาดของมอดเจาะ ผลกาแฟทอี่ ยใู่ นผล 3. วางกับดักและสารล่อมอดเจาะผลกาแฟ (เมทิลแอลกอฮอล์ : เอทิลแอลกอฮอล์ อตั ราสว่ น 1 : 1) อัตรา 5-10 จุดตอ่ ไร่ และเติมสารล่อทกุ ๆ 2 สัปดาห์ 4. ใช้เชือ้ รา บวิ เวอเรยี บาสเซียนา สายพันธ์ุ ดโี อเอบี 4 (Beauveria bassiana สายพนั ธ์ุ DOA B4) ซึ่งมีความ เฉพาะเจาะจงกบั มอดเจาะผลกาแฟ อัตรา 1 ถุง (200 กรมั ) ต่อนา้ 10 ลติ ร ฉีดพ่น เดือนละ 1 ครง้ั ในชว่ ง ติดผลจนถึง เก็บเกีย่ วผลผลติ ** คาแนะนา : ควรทาการปอ้ งกันกาจัดรว่ มกนั แบบผสมสาน 14

2. หนอนเจาะก่งิ กาแฟ/หนอนกาแฟสแี ดง (Red Coffee Borer) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Zeuzera coffeae Nietner อันดบั : Lepidoptera วงศ์ : Cossidae ลักษณะการเขา้ ทาลาย หนอนเจาะเข้าไปกินเน้ือเย่ือภายในกิ่งและลาต้น ทาให้ กิ่งและลาต้นแห้งตาย ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน ปีกสขี าวมีจดุ ประท่วั ทั้งปกี วางไข่บริเวณเปลอื กของลาตน้ ไข่มีสีเหลือง ตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 300-500 ฟอง ระยะไข่ 7-10 วัน ตัวหนอนมีลาตัวสแี ดง เจาะเข้าไปกัดกิน เน้ือเย่ือภายในกิ่งและลาต้นกาแฟ ระยะหนอน 2-5 เดือน ระยะดกั แด้ 2-3 สัปดาห์ ระบาดมากช่วง เดือน เมษายน - มิถนุ ายน และ เดือน กันยายน การปอ้ งกันกาจดั 1 . ทาความสะอาดแปลงและตรวจดตู ามกง่ิ และลาต้นกาแฟอยเู่ สมอ 2. หากพบการเข้าทาลายของหนอนเจาะกิ่งกาแฟ/หนอนกาแฟสีแดง ให้ตัดกิ่งและลาต้น ออกไปเผาทาลายนอกแปลง 3. ใช้สารฆ่าแมลง คลอร์ไพรีฟอส 40 เปอร์เซ็นต์อีซี (%EC) ใช้แบบเข้มข้น อัตรา 3-5 มิลลิลิตร ฉีดเข้าตามรูที่หนอนเจาะเข้าไปทาลายแล้วใช้ดินน้ามัน หรือ ปนู ปาสเตอรอ์ ดุ รูไว้ 3. ดว้ งหนวดยาวกาแฟ (White Coffee Stem-borer) ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Xylotrechus quadripes Cherrolat อนั ดบั : Coleoptera วงศ์ : Cerambycidae ลักษณะการเขา้ ทาลาย ด้วงหนวดยาวกาแฟเป็นแมลงท่ีสาคัญและสร้างความเสียหายอย่างมาก พื้นท่ีส่วน ใหญเ่ ปน็ กาแฟทปี่ ลูกในสภาพกลางแจง้ โดยเฉพาะกาแฟท่ีมีอายุมากกว่า 5 ปี ตัวเต็มวัย สีขาวอมฟ้า มสี ีขาวคาดท่ลี าตัวและปีก ยาว 15-20 เซนติเมตร ต้นกาแฟที่ถูกหนอนเจาะ ทาลายจะแสดงอาการใบเหลือง เหี่ยว และมีอาการยืนต้นตายในท่ีสุด พบร่องรอยการ คว่ันของหนอนเจาะลาต้นกาแฟต้ังแต่บริเวณโคนต้นขึ้นมาจนถึงกึ่งกลางต้น ตัวเต็มวัย จะกดั กินเน้อื ไมใ้ นลักษณะการควนั่ ไปรอบลาตน้ และเจาะเขา้ ไปกินในต้น 15

การปอ้ งกันกาจัด 1. หมั่นสารวจการเข้าทาลายภายในแปลงอย่างสมา่ เสมอ หากพบการเข้าทาลาย ให้ตัดก่ิงและลาต้นออกไปเผาทาลายนอกแปลง 2. พ่นสารฆ่าแมลง อิมิดาคลอพริด 10 เปอร์เซ็นต์เอสแอล (%SL) อัตรา 30 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร หรือ ใช้สารฆ่าแมลง คลอร์ไพรีฟอส 40 เปอร์เซ็นต์อีซี (%EC) เข้มข้น อัตรา 3-5 มิลลิลิตร ฉีดเข้าตามรูที่หนอนเจาะเข้าไปทาลายแล้วใช้ดินนา้ มัน หรือ ปนู ปาสเตอร์อุดรูไว้ 6. เพล้ียหอยเขียว (Green Coffee Scale) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Coccus viridis อนั ดบั : Homoptera วงศ์ : Coccidae ลักษณะการเข้าทาลาย เป็นเพล้ียหอยเกราะอ่อน รูปร่างรี สีเหลืองปนเขียว หลังนูน ท้ังตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้าเลี้ยงบริเวณก่ิง ก้าน และใบ ทาให้ใบร่วง ต้นกาแฟชะงักการเจริญเติบโต และทรุดโทรมลง หากระบาดในระยะติดผลจะทาให้ผล อ่อนมีขนาดเล็กลง เมล็ดลีบและผลร่วง นอกจากนี้เพลี้ย หอยเขียวยังถ่ายน้าหวาน (honey dew) ข้ึนปกคลุมผิวใบ ส่งผลให้พื้นท่ีในการสังเคราะห์แสงลดลง และเป็นแหล่ง เพาะราดา การป้องกนั กาจัด 1. ทาความสะอาดแปลงและหมนั่ ตรวจดูตามยอดออ่ น ใบอ่อน กง่ิ กา้ น ใบ ของกาแฟอยเู่ สมอ 2. เมื่อพบการเขา้ ทาลาย ใหต้ ัดบริเวณที่ถูกทาลายออกไปเผาทาลายนอกแปลง 3. พน่ ไวทอ์ อย 67 เปอร์เซน็ ต์อีซี (%EC) อัตรา 100 มิลลลิ ิตร/น้า 20 ลิตร 16

7. เพล้ียแปง้ กาแฟ (Coffee Mealybug) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Planococcus lilacinus (Cockerell) อันดับ : Homoptera วงศ์ : Pseudococcidae ลักษณะการเข้าทาลาย เป็นเพล้ียแป้งรูปไข่ สีชมพูปนม่วงอ่อน มีไขสีขาวปกคลุมอยู่รอบลาตัว มีขนาดส้ัน ไขทางปลายยาวกว่าเล็กน้อย ไขบนหลังบางจนเห็นเป็นเส้นจางๆ กลางลาตัว และมีขนแข็ง (setae) ค่อนข้างยาว ทั้งตัวอ่อนและ ตัวเต็มวัยดูดกินนา้ เลี้ยงบริเวณยอดอ่อน กิ่ง ก้าน ใบ ทาให้ยอดหงิกงอผิดรูป ต้นชะงักการเจริญเติบโตและทรุดโทรมลง มีการถ่ายนา้ หวาน (honey dew) ขน้ึ คลมุ ผวิ ใบ ทาให้พื้นที่สงั เคราะห์แสงลดลง และเปน็ แหล่งเพาะราดา การป้องกนั กาจัด 1. ทาความสะอาดแปลงและหม่ันตรวจดูตามยอดอ่อน ใบออ่ น ก่ิงก้าน ใบ ของกาแฟอยูเ่ สมอ 2. เมอื่ พบการเข้าทาลาย ให้ตัดบริเวณทีถ่ ูกทาลายออกไปเผาทาลายนอกแปลง 3. พ่น ไวท์ออย 67 เปอร์เซ็นต์อีซี (%EC) อัตรา 100 มิลลิลิตรต่อน้า 20 ลิตร หรือ พ่นสารฆ่าแมลง ไดแ้ ก่ ไดโนทีฟูแรน 10 เปอร์เซ็นต์ดับเบิ้ลยูพี (%WP) อัตรา 20 กรัมต่อ น้า 20 ลิตร ไทอะมีโทแซม 25 เปอร์เซ็นต์ดับเบ้ิลยูจี (%WG) อัตรา 3 กรัมต่อน้า 20 ลิตร และ อิมิดาโคลพริด 70 เปอร์เซ็นต์ดับเบิ้ลยูจี (%WG) อัตรา 4 กรัมต่อนา้ 20 ลิตร 8. เพลีย้ ออ่ นสม้ สีดา (Black Citrus Aphid) ช่ือวิทยาศาสตร์ : Toxoptera aurantii (Boyer de Fonscolombe) อนั ดับ : Homoptera วงศ์ : Aphididae ลกั ษณะการเขา้ ทาลาย เพล้ียอ่อนมีสีค่อนข้างดาทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินนา้ เลี้ยงบริเวณยอด อ่อน และใบอ่อน ทาให้ยอดอ่อนและใบอ่อนชะงักการเจริญเติบโตและโทรมลง นอกจากนี้ เพล้ยี ออ่ นยังถ่ายน้าหวาน (honey dew) ขึ้นปกคลุมผิวใบ ส่งผลให้พ้ืนที่ในการสังเคราะห์แสง ลดลง และเปน็ แหล่งเพาะราดา เพล้ยี ออ่ นชนิดน้ีเปน็ พาหะนาโรคไวรัสมาสูก่ าแฟอกี ด้วย การปอ้ งกันกาจดั 1. ทาความสะอาดแปลงและหม่ันตรวจดตู ามยอดอ่อน ใบอ่อน ของกาแฟอยูเ่ สมอ 2. เมอ่ื พบการเขา้ ทาลาย ให้ตัดบริเวณทถี่ กู ทาลายออกไปเผาทาลายนอกแปลง 3. พน่ สารฆา่ แมลง ได้แก่ ไซเพอรเ์ มทริน 6.25 เปอรเ์ ซ็นต์อีซี (%EC) อัตรา 40 มิลลิลิตร ตอ่ น้า 20 ลิตร อิมิดาโคลพริด 10 เปอร์เซ็นต์เอสแอล (%SL) อัตรา 20 มลิ ลิลิตรตอ่ นา้ 20 ลิตร และ ฟโิ ปรนิล 5 เปอรเ์ ซน็ ต์เอสซี (%SC) อัตรา 40 มิลลิลติ รตอ่ นา้ 20 ลิตร 17

การใสป่ ุ๋ย : ปที ี่ ปุ๋ย ปริมาณป๋ยุ (กรมั / พ.ค. ส.ค. ต.ค. ต้น/ป)ี กรมั /ตน้ กรมั /ต้น กรมั /ตน้ 1 15-15-15 100 100 - - - 46-0-0 100 50 50 50 50 2 46-0-0 150 50 50 - 50 3 46-0-0 200 50 100 50 - 18-46-0 60 30 30 50 50 0-0-60 100 - 50 - 100 4 46-0-0 200 50 100 50 - 18-46-0 60 30 30 100 50 0-0-60 100 - 50 - 100 5 46-0-0 200 50 100 50 - 18-46-0 100 50 50 100 0-0-60 150 - 50 6 46-0-0 200 50 100 18-46-0 100 50 50 0-0-60 150 - 50 7 46-0-0 200 50 100 18-46-0 100 50 50 0-0-60 150 - 50 8 46-0-0 200 50 100 18-46-0 100 50 50 0-0-60 150 - 50 โดยใส่ปยุ๋ อินทรยี ์ 3-5 กโิ ลกรมั ต่อต้นหลงั เกบ็ เกี่ยว แลว้ ใส่ปุ๋ยเคมตี ามอัตราแนะนา หมายเหตุ 1. ในกรณที พ่ี ืชแสดงอาการขาดธาตอุ าหารหลกั หรอื ธาตอุ าหารรอง ใหใ้ สป่ ุ๋ยที่เป็น ธาตอุ าหารหลักเพ่ิมขึ้นหรอื ธาตุอาหารรองเสริมซง่ึ มที ้งั ในรูปปยุ๋ เม็ด หรือปุ๋ยเกลด็ ทฉ่ี ดี พ่นทาง ใบ โดยคานึงถึงลกั ษณะของดินและความชืน้ ในดนิ ในขณะทใี่ ส่ 2. ระยะเวลาในการใส่ปุ๋ยกาแฟอะราบิกา ขึ้นอยู่กับระดับความสูงของสถานที่ปลูก ซึง่ จะมผี ลต่ออายกุ ารเกบ็ เกีย่ ว ระดบั ความสงู 700-900 เมตร จากระดับน้าทะเล ควรใส่ปุ๋ยช่วงเดือนพฤษภาคม กรกฎาคม และกนั ยายน อายุการเก็บเกีย่ ว (ตง้ั แต่ติดผล - ผลสุก) ประมาณ 6 เดอื น ระดับความสูง 1000 เมตร จากระดับน้าทะเล ควรใส่ปุ๋ยช่วงเดือนพฤษภาคม สงิ หาคม และตลุ าคม อายกุ ารเกบ็ เก่ียว (ตงั้ แต่ติดผล - ผลสกุ ) ประมาณ 9 เดือน 9

การควบคุมทรงพุ่ม การตัดแตง่ กงิ่ ต้นกาแฟปลูกใหม่ : ในช่วงปีแรกควรใช้ระบบกาแฟลาต้นเดี่ยว แล้วปล่อยให้ระดับ ความสงู ตามต้องการ หลงั จากนนั้ จึงทาการตดั ยอด ตน้ กาแฟอายุมาก : มี 2 วิธที ีแ่ นะนาคือ 1. การตัดแต่งกง่ิ แบบบังคบั ทรงพมุ่ เป็นการตัดยอดไม่ให้ต้นสูงเกินไป ต้นเก็บเกี่ยวง่าย โดยตัดท่ีความสูง 150 - 160 เซนติเมตร มีการตัดแต่งและเล็มก่ิงที่แห้งท่ีไม่ให้ผลผลิตออก และเพื่อให้ต้นกาแฟเจริญไปทางกิ่งแขนง และตัดปลายกิ่งแขนงที่ 1 เพ่ือกระตุ้นให้เกิดกิ่งแขนงที่ 2 เป็นการเพ่ิมพ้ืนที่ติดผลมากข้ึน และเพิ่มทรงพุ่มให้แน่นข้ึน ช่วยในการกาจัดส่วนที่เป็นโรคและแมลง ช่วยให้อากาศถ่ายเท สะดวก แสงแดดส่องท่ัวถึง เป็นการรักษาสมดลุ ระหวา่ งใบให้เหมาะสมและยังสร้างกิ่งใหม่ซ่ึง มคี วามสมบูรณ์ เหมาะสาหรับตน้ กาแฟอะราบกิ าทีม่ อี ายุ 8 ปขี ึ้นไป แต่ให้ผลผลติ อยู่ พบว่าทาให้ผลผลิต กาแฟอะราบิกาเพิ่มขึ้น ประมาณ 80-95 เปอร์เซ็นต์ ขึ้นกับการปฎิบัติหลังการตัดแต่ง (การจัดการนา้ และปุ๋ย) การเปรียบเทียบผลผลติ กาแฟอะราบิการะหวา่ งการตัดแตง่ กงิ่ แบบควบคุมทรงพุม่ และไม่ตดั แตง่ ก่งิ พืน้ ที่ กรรมวธิ ี ผลผลติ ผลผลติ ผลผลิตเฉลีย่ ผลผลติ เพม่ิ ขนึ้ ปี 2556/57(กก./ไร่) ปี 2556/58(กก./ (กก./ไร่) (เปอร์เซน็ ต์) จ. ไม่ตดั แตง่ 143 ไร่) 145 84.1 เชยี งใหม่ ตัดแต่งกิง่ 256 147 267 จ.เชยี งราย ไม่ตดั แตง่ 200 278 ตดั แตง่ กง่ิ 383 206 203 95.3 จ.นา่ น ไมต่ ดั แตง่ 116 410 396.5 ตดั แต่งกง่ิ 205 122 222 119 79.4 213.5 2. การตัดฟ้นื ต้น เป็นการตัดต้นทรงพุ่มกาแฟออกหมด หรือเกือบหมดทั้งทรงพุ่ม โดยตัดลาต้นที่โคนต้น ระดับสงู จากผิวดิน 30-50 เซนตเิ มตร เลอื กกิ่งท่มี ีลักษณะสมบรู ณ์แข็งแรง ไว้ประมาณ 2–3 กิ่ง เว้นระยะห่างให้ทั่วพุ่ม ให้ลาต้นอยู่ตรงข้ามกัน ก่ิงท่ีเหลือที่ไม่ต้องการให้เอาออก เพื่อให้กาแฟ แตกลาต้นขึ้นใหม่ และไดเ้ ปรยี บกวา่ การปลกู ตน้ ใหม่ 10

วัชพืช หญา้ ขจรจบ การกาจดั วชั พืช หญ้าคา วัชพืช วัชพืชใบแคบ มีทั้งอายุปีเดียวและข้ามปี เช่น หญ้าคา หญ้าขจรจบ หญ้าตีนกาและ หญา้ เหบ็ เป็นตน้ สาบแรง้ สาบกา สาบเสอื วัชพืชใบกว้าง มีท้ังอายุปีเดียวและข้ามปี เช่น สาบแร้งสาบกา สาบเสือ กระดุมใบ เลก็ และกระดมุ ใบใหญ่ เปน็ ตน้ การปอ้ งกนั กาจดั ใชแ้ รงงานและเครือ่ งจักรกลตัด • ใชส้ ารป้องกันกาจดั วัชพชื ควรใชเ้ ท่าที่จาเป็นเพราะมผี ลกระทบกบั รากของกาแฟเน่อื งจาก กาแฟมรี ากหาอาหารใกลผ้ ิวดนิ เป็นจานวนมาก การเกบ็ เก่ียว การเก็บเกี่ยว ควรเก็บเฉพาะผลสุก 80 เปอร์เซ็นต์ขึ้น ไป ท่ีมีสีแดง และผลท่ีมีสีเหลือง-เหลืองเข้ม โดยเก็บทีละข้อ ไม่ควรเก็บแบบรูด ดัชนีการเก็บเกี่ยวกาแฟอะราบิกาท่ี เหมาะสมอาจสุ่มโดยใช้น้าค้ันจากเน้ือผลมาวัด กับเคร่ืองวัด ปริมาณน้าตาล เพื่อวดั หาปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ ควร มีปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้อย่างน้อย 17 องศาบริกซ์ (สถาบนั วจิ ยั พืชสวน, 2562) ทั้งนี้หลังเก็บเกี่ยวควรแปรรูปทันที ไม่ควรทิ้งผลกองรวมกันมากกว่า 24 ชั่วโมง เนื่องจากจะเกิดกระบวนการหมกั ในผลกาแฟที่เก็บเกย่ี วกองรวมไว้ จะทาให้เกดิ การดดู กลนื กลิ่น ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ เช่น กลิ่นกระสอบ กลิ่นเชอร์รี่เน่า กลิ่นดิน และเพื่อให้กาแฟอะราบิกาที่ เกบ็ เกีย่ วสามารถคงคณุ ภาพไว้ได้ (สถาบันวจิ ยั พชื สวน, 2561) 18

ผลของการเกบ็ เกย่ี วตอ่ คณุ ภาพเมล็ด การเก็บเกีย่ วกาแฟ ผลลัพธท์ ่ีได้ เก็บผลเขยี ว มีรสชาตเิ ฉพาะเมลด็ กาแฟออ่ น(เขยี ว:Green Flavor) เกบ็ ผลสุกงอม มรี สชาตเิ ฉพาะเมลด็ สุกงอม(หมัก:Fermented) เกบ็ ผลร่วงตามพนื้ มรี สชาติหมักและเกิดราทาให้มีรสชาติเฉพาะกล่ินรา (Fermented, Mouldy หรอื Musty) เก็บผลสดไว้นานหลาย มรี สชาติหมกั และรสชาติกลิ่นรา (Fermented และ Mouldy) วันก่อนนาออกตาก การปฏบิ ัตกิ ารหลงั การเก็บเกย่ี วและแปรรปู การผลติ สารกาแฟมี 5 วิธี ไดแ้ ก่ 1. การแปรรูปโดยวธิ แี ห้ง โดยทว่ั ไปในกาแฟอะราบกิ าไมน่ ิยมการแปรรูปแบบแหง้ ทาใหค้ ุณภาพของกลิน่ และรสชาตขิ องกาแฟอะราบิกาดอ้ ยลง และมี body ทห่ี นักเกินไป วธิ กี ารแปรรูปโดยแหง้ ดงั น้ี (1) ลอยน้าเพอ่ื คัดเมล็ด (2) ลอกเปลือกนอกดว้ ยเคร่ืองสี (3) ตากบรเิ วณทีม่ อี ากาศถา่ ยเทไดด้ ี ลอยนา้ แยก-เมลด็ ดี-เมลด็ เสีย ปอก หรอื ลอกเปลือกด้วยเครื่องสี ตากบรเิ วณท่ีมีอากาศถา่ ยเทได้ดี ยกพื้นสูง มีหลังคากันฝนและความช้นื ควรหา่ งไกลจากถนน 19

2. การผลติ สารกาแฟวิธเี ปยี ก แนะนาคอื (1) ลอยนา้ เพอื่ คัดเมล็ด (2) ลอกเปลอื กนอกด้วยเคร่ืองสี (3) ลอยนา้ และคดั เลือกเปลือกผลกาแฟ (เชอร์ร่ี) ออก (4) หมักจนเมือกหลดุ โดยปกตใิ ชเ้ วลาประมาณ 24 - 48 ชวั่ โมง (ขน้ึ กับสถานทแี่ ละสภาพแวดล้อม) (5) ล้างขดั เมอื กใหส้ ะอาด (6) ตากบนแคร่ยกพ้ืนสูง อากาศถ่ายเท สะดวก หรือพื้นปูนปูพื้นด้วยแผ่นพลาสติก ควรห่างไกลจากถนน คาแนะนา นาผลกาแฟที่สุกไปลอยนา้ เพ่ือคัดแยกเมล็ดไม่สมบูรณ์ที่ลอยน้าท้ิง แล้วนาเข้าเคร่ืองลอกเปลือกนอกออก นาไปลอยน้าอีกคร้ังเพื่อเอาเปลือกนอกท่ีลอยน้าท้ิง จากนัน้ นาไปแชใ่ นน้าทีส่ ะอาด 24-48 ชั่วโมง (ในสภาพน้าไหล) กรณีน้านิ่ง ให้เปลี่ยนน้าทุก 24 ชั่วโมง ขัดเมือกและล้างด้วยน้าสะอาด แล้วนามาตากในที่ร่ม หรือแดดราไร ท่ีมีการ ระบายอากาศดี บนแครไ่ มไ้ ผ่ หรือชั้นวางท่ีมีความสูงจากพื้นดิน 1.5-2 เมตร ที่มีตาข่ายตาถี่ วางข้างบนประมาณ 7-10 วันข้ึนไปจนเมล็ดกาแฟกะลามีความชื้นประมาณ 10-12 เปอร์เซ็นต์ จึงนาไปเก็บในถงุ ตาข่ายหรอื ถุงพลาสตกิ แลว้ วางบนชัน้ ในโรงเก็บท่ีมอี ากาศถา่ ยเท ได้สะดวก ลอยน้าเพอ่ื คดั เมล็ด ลอกเปลอื กนอกด้วยเครอื่ งสี ลอยนา้ หมัก 2 คืน (เปล่ยี นนา้ ใหมท่ กุ 24 ชว่ั โมง) ขัดเมอื ก ล้างขดั เมือกให้สะอาด ตากบนแคร่ยกพนื้ สงู อากาศถา่ ยเท สะดวก 20

ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคนิคการหมักกาแฟเอเอเอฟ (Accelerated Arabica Fermentation : AAF techniques) โดยการใช้จลุ นิ ทรยี ์ แซคคาโรมยั เซส ซรี ีวิเซยี สายพนั ธ์ุ บีเอไวน์ (Saccharomyces cerevisiae strain BAwine) ที่เป็นสายพันธุ์แนะนาของกรม วิชาการเกษตร โดยผสมผสานกับกระบวนการสร้างความเป็นกรด (Acidification) ที่ระดับ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ไม่น้อยกว่า 4.5 และการเติมอากาศ (Aeration) โดยให้อากาศไม่ นอ้ ยกว่า 6 ลิตรต่อนาที จะสามารถช่วยเร่งการหมักได้ไม่เกิน 18 ชั่วโมง ซ่ึงจะสามารถผลิต กล่ินรสท่ีเหมาะสมในการหมกั กาแฟอะราบิกาได้ (Satayawut et al., 2018) ท้ังนีผ้ ลพลอยได้จากการหมกั กาแฟอะราบิกา สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ประโยชน์อน่ื ๆ ได้ (Zero waste; สถาบันวิจยั พืชสวน, 2561) เช่น o เปลือกผลกาแฟ (เชอร์ร่ีกาแฟ) ไปใช้ในการผลิตสารแต่งกลิ่นรส สารก่อเจลและสาร ยบั ย้ังศัตรูพชื o เมอื กกาแฟ ไปใช้ในการผลติ สารก่อเจลและสารเคลือบผลติ ภณั ฑ์ o น้าเสียจากการผลติ กาแฟ สามารถลดปรมิ าณนา้ เสยี และนากลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ 3. การผลิตสารกาแฟวิธีการใช้เอนไซม์ (Bio Processing) โดยการประยุกต์ใช้เอนไซม์ ชนดิ เพคติเนส เซลลเู ลส และ เฮมิเซลลูเลส ในการใช้ในการย่อยเมือกกาแฟและการพัฒนา กลนิ่ รสโดยปัจจุบันจะใช้ในอตั ราส่วน 200 ppm 4. การผลิตสารกาแฟกระบวนการผสมผสาน (Semi- Dry/ Wet/Bio Processing) โดยการประยุกต์ใช้กระบวนการหมักแบบแห้งและเปียก เพ่ือการพัฒนากลิ่นรสใหม่โดย ปัจจุบันมีการพัฒนากระบวนการหมักที่ช่ือว่า “Honey Process” โดยเป็นการผลิตกาแฟ แบบกง่ึ หมกั โดยใชเ้ มือกกาแฟเปน็ การพัฒนากลนิ่ รสและเพมิ่ มูลคา่ สงู ในการผลิตกาแฟ 5. การใช้เครอื่ งขดั เมอื ก (Demucilage machine) เป็นการประยุกต์ใช้เครื่องสีเมือก ในการ ขดั เมือกกาแฟทันทีจากการสเี ปลือกผลกาแฟ โดยในปจั จบุ ันจากงานวิจัยพบว่าเมือก กาแฟท่ีหลุดลอกจากเคร่ืองจักรจะหลุดเพียงร้อยละ 80 (Turbidity >1,200) ซึ่งต่างกับการ หมักกาแฟที่หลุดมากกว่าร้อยละ 98 (Turbidity > 1,500) โดยคุณภาพเมือกที่หลุดมีผลต่อ การผลติ กลิ่นรสของสารกาแฟทท่ี าการแปรรปู ตอ่ ไป (Satayawut et al., 2018) การผลิตแบบแหง้ (Dry Processing) กระบวนการแบบเปยี ก (Wet Processing) 21

ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของการผลติ เมลด็ กาแฟดว้ ยกระบวนการแบบเปียก และแบบแห้ง วิธีการผลติ ข้อดี ข้อเสีย แบบแหง้ 1. เป็นวิธีที่งา่ ย และต้นทุนต่า 1. เมลด็ กาแฟดิบท่ีได้มี คณุ ภาพตา่ กวา่ วธิ เี ปียก 2. ผลกาแฟไม่จาเป็นตอ้ งสุกสมา่ เสมอ กนั 2. ใช้เวลาในการตากนาน 3. ไม่ต้องใชค้ วามรคู้ วามชานาญมาก 4. เหมาะสมกบั พ้ืนทที่ ่มี นี า้ จากดั แบบเปยี ก 1. ใช้เวลาและพนื้ ทีใ่ นการตากน้อยกวา่ 1. ตน้ ทนุ สงู ต้องใช้ความรู้ ไม่ วิธแี ห้ง สามารถทาได้กบั ผลกาแฟดิบ 2. มีเมลด็ แตกหกั น้อยกวา่ ในขน้ั ตอน 2. ต้องใช้น้าปรมิ าณมาก การคว่ั 3. เมลด็ กาแฟมีคณุ ภาพดกี ว่าวธิ ีแหง้ การคัดเกรด : นาเมล็ดสีเอากะลาออกโดยใช้เครื่องสีกะลาและได้สารกาแฟท่ีมีสีเขียวอมเทา หรือเขยี วอมฟา้ คัดแบง่ เกรดสารกาแฟ ตามมาตรฐาน มกษ. 5701-2561 รหสั ขนาด ขนาดของเมล็ดกาแฟอะราบกิ า ขนาดของตะแกรงรอ่ น (sieve (มม.) No.) 1 2 ≥7.14 18 3 6.75 - <7.14 17 4 6.35 - <6.75 16 5 5.95 - < 6.35 15 6 5.56 - < 5.95 14 7 4.76 – < 5.56 12 - <4.76 ทมี่ า: สานักมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหช่ าติ 22

การบรรจุ บรรจุสารกาแฟในถุงแล้วใส่ในถุงกระสอบป่าน (กระสอบปอ)อีก 1 ชั้นเพื่อ ป้องกันแสง แล้วเก็บไว้บนช้ันไม้ในโรงเก็บที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกและป้องกันการ ปนเป้ือนสารกลุ่มโพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons : PAHs) และความชื้นไม่เกนิ ร้อยละ 12 เพอื่ ลดปริมาณสารออกคราทอกซนิ (Ochratoxin A) ปัจจุบันมีถุงชนิดแอคทีฟ พีเอ แอลดีพีอี (Active Packaging (PA-LDPE)) ที่สามารถเก็บสารกาแฟได้เป็นเวลานาน ท้ังน้ีหากการเลือกบรรจุภัณฑ์ไม่เหมาะสมในการ บรรจุสารกาแฟ จะสามารถทาให้ผลการทดสอบทางประสาทสัมผัสลดลงได้ ปีละไม่ต่ากว่า 10 คะแนน (โกเมศและคณะ, 2556 และ Satayawut., 2016) การบรรจุ บรรจสุ ารกาแฟในถงุ แลว้ ใส่ในถงุ กระสอบป่าน (กระสอบปอ) ข้อบกพรอ่ งและเกณฑ์การยอมรับของเมลด็ กาแฟอะราบกิ า ข้อบกพรอ่ ง เกณฑก์ ารยอมรับ ( % โดยมวล ) เมลด็ ดา 0.5 เมลด็ ข้นึ รา 0.5 ชิน้ เมลด็ แตก 2.0 เมล็ดถกู แมลงทาลาย 0.5 ผลกาแฟแหง้ 0.5 ส่ิงแปลกปลอม 0.5 เมลด็ อ่อนและ/หรือเมลด็ ไมส่ มบูรณ์ ขอ้ บกพร่องรวม ไม่กาหนดเกณฑส์ ูงสุด 4 ทีม่ า : สานกั งานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ หมายเหตุ: ข้อบกพร่องแต่ละรายการต้องตรวจพบได้สงู สดุ ไม่เกินเกณฑ์ท่ีกาหนดเฉพาะ และข้อบกพร่องรวม ต้องไมเ่ กินร้อยละ 4 โดยมวล 23

รูปภาพตวั อยา่ งเมล็ดกาแฟ เมลด็ กาแฟ เมล็ดดา กาแฟกะลา เมลด็ ข้นึ รา ชิน้ เมลด็ แตก เมลด็ ไมส่ มบูรณ์ เมลด็ ถูกแมลงทาลาย ส่ิงแปลกปลอม ผลกาแฟแห้ง ทมี่ า : ไดร้ บั ความอนุเคราะหภ์ าพจากมลู นธิ โิ ครงการหลวง และศูนย์วิจยั เกษตรหลวงเชยี งใหม่ กรมวิชาการเกษตร : สานักงานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 24

แนวทางการผลิตกาแฟปลอดภัย อุตสาหกรรมกาแฟของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมแปรรูปขั้นต้นที่นาเอา กาแฟสดมาแปรรปู ใหอ้ ยใู่ นสภาพทเ่ี หมาะสมและสะดวกในการนาไปใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลิต ผลิตภัณฑ์กา แฟต่อไปซึ่งตล อดกร ะบว นการ ผลิตนี้จะก่อให้เ กิดส ารใน กลุ่ม ของโ พลี ไ ซ คลิกอะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbon : PAHs) เป็น ต้นเหตุของลักษณะทางพิษวิทยาในการเกดิ โรคมะเร็งได้ ดังนัน้ การประเมินค่าสารกลุ่ม PAHs และการควบคมุ กระบวนการผลติ จึงเป็นแนวทางปฏิบัตทิ ่ีนักวชิ าการ เกษตรกร ผปู้ ระกอบการ ด้านการแปรรูปกาแฟจะตอ้ งนาไปประยกุ ตใ์ ช้ เพ่ือให้ได้กาแฟคุณภาพท่ีปลอดภัยต่อผู้บริโภค จึงเป็นการส่งเสริมและเพ่ิมมูลค่าอุตสาหกรรมกาแฟให้มีความย่ังยืน และสร้างความมั่นคง ตลอดห่วงโซ่การผลิต โดยการวเิ คราะหส์ ารกลมุ่ PAHs ในกาแฟคั่วบดโดยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การสกัดโดยใช้วิธีทา Saponification แล้วใช้สารละลายผสมระหว่างเฮกเซนกับ อะซีโตน อัตรา 50 : 50 ปริมาตรต่อปริมาตร (v/v) สกัดด้วยวิธี Extraction Liquid-Liquid กับความร้อนท่ี 150 องศาเซลเซียสช่วยสกัดแลว้ ท้งิ ไว้ 48 ชว่ั โมงกอ่ น (2) นามาทาบรสิ ทุ ธ์ิด้วย Semi-phase extraction ชนิด PS-DVB และ (3) ใช้สารละลายผสมระหว่างเมทานอลและ เททราไฮโดรฟูราล อัตรา 90 : 10 ปริมาตรต่อปริมาตร (v/v) ในการชะสารสกัดออกมาแล้ว วิเคราะห์ด้วย HPLC-UV DAD โดยใชโ้ ปรแกรมวเิ คราะหท์ ่ี 30 นาทแี ละเม่ือตอ้ งการหาปริมาณ ท่ีแมน่ ยาดว้ ย GC-MS สาร PAHs ปริมาณท่ีพบ (หน่วย ng/l) ปริมาณแนะนา (หน่วย ng/l) ฟลโู อแรนทีน 0.21 – 10.65 ng/l 2-3 (Fluoranthene) 0.14 – 4.85 ng/l (สหภาพยุโรป) เบนโซ เอ เพียวรนี (Benzo[a]pyrene) 0.85 – 1 (สหภาพยุโรปและสหรฐั อเมริกา) ตวั อย่างกาแฟและการสกัดสารกลมุ่ PAHs เพอ่ื การทดสอบและการพัฒนาสเกลความขม 25

การเกิดสารกลุ่ม PAHs น้ันสามารถเกิดจากสารประกอบหลายชนิดได้แก่ ไขมัน คาร์โบไฮเดรต สเตอรอยต์ โพลีฟีนอลหรือกรดอะมิโนโดยใช้ความร้อนสูง อย่างไรก็ตามหาก พิจารณาจากกระบวนการผลิตกาแฟแล้วนั้น (1) กระบวนการหมักกาแฟไม่ส่งผลต่อการ เกิดข้ึนของสารกลุ่ม PAHs มากนัก (2) แต่กระบวนการหมักกาแฟส่งผลโดยตรงต่อการผลิต สาร โอคลาทอกซิน เอ (Ochratoxin A : OTA) เป็นสาคญั (3) ซ่ึงพบวา่ การหมักแบบเปียกไม่ ส่งผลต่อการเพิ่มข้ึนของปริมาณ OTA เน่ืองจากพบปริมาณของจุลินทรีย์กลุ่ม Aspergillus spp. ที่สามารถสร้างพิษน้อยมากถึงเกือบไม่พบเลยในระหว่างการหมัก (4) ส่วนในกรณีการ ตากแห้งและการเก็บรักษายังพบการปนเปื้อนของสารกลุ่ม PAHs จากปัจจัยภายนอก โดยเฉพาะจากเคร่ืองจักรที่ใช้ในการทางาน ซ่ึงหากดาเนินการด้วยแรงงานคนทดแทนการ ปนเปอื้ นจะลดลง การควบคุมกระบวนการผลิตกาแฟ : คณุ ภาพสารกาแฟ การเก็บรักษากาแฟและการค่ัวกาแฟ แนวทางการควบคุมการปนเปื้อนสารกลมุ่ PAHs ให้ต่า การเก็บรักษาสารกาแฟในกระสอบป่าน ท่ีมีความถ่วงจาเพาะ 1.48 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร และควบคุมความช้ืนท่ีสภาวะมาตรฐานได้ไม่เกินร้อยละ 12 แม้ว่าปริมาณสาร OTA จะลดลง แต่หากนาไปค่ัวในความร้อนในการค่ัวสูงกว่า 300 องศาเซลเซียส สารกลุ่ม PAHs กลับเพ่ิมข้ึน โดยหากค่ัวกาแฟไม่เกิน 20 นาที ท่ีอุณหภูมิต่ากว่า 260 องศาเซลเซียส จะสามารถควบคมุ ปรมิ าณสารกลมุ่ PAHs ท่เี ปน็ พษิ ได้ จึงกาหนดจดุ วิกฤตของการควั่ เพอ่ื ลดสาร OTA และการระงบั การเพิ่มปรมิ าณสารกลมุ่ PAHs ทอ่ี ุณหภมู ิ 240 องศาเซลเซียสในเวลาไม่เกิน 20 นาทีในการผลิตกาแฟท่ีมคี ุณภาพทมี่ ปี ริมาณ สาร OTA และ PAHs ท่ีเหมาะสมและไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อผูบ้ รโิ ภค 26

pinterestpapercup.co.uk 27

เคร่ืองมอื สาหรับแปรรปู กรมวิชาการเกษตรโดยสถาบันเกษตรวิศวกรรมได้ร่วมดาเนินการวิจัยและออกแบบ เคร่อื งจักรกลการเกษตรทใ่ี ชส้ าหรบั กาแฟอาราบิกา ดงั น้ี เคร่ืองมือเกบ็ เก่ยี วกาแฟ ใช้ในการเก็บเกี่ยวผลกาแฟสุก ลักษณะตัวเครื่องเป็นแบบ ตัวเคร่ืองมีก้านรูดผลกาแฟ 2 ก้าน โดยรอบตัวเคร่ืองติดร้ิวพลาสติกเพื่อป้องกันผลกาแฟกระเด็น ใช้แบตเตอรี่แห้ง 12 โวลต์ ใหก้ าลงั ไฟฟา้ ผลการทดสอบเครื่องในการเก็บเก่ียวผลกาแฟพันธุ์อะราบิกา โดยใช้ ตาข่ายไนล่อนขนาด 1.2 x 1.5 เมตร รองรับผลกาแฟขณะเก็บเก่ียว พบว่าเครื่องมีความสามารถ ในการทางานมากกว่าคนเก็บประมาณ 2 เท่า การใช้งานควรใช้เก็บเก่ียวในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม คือ ผลกาแฟสุกแก่ทั้งต้นหรือสุกแก่มากกว่า 70 % ของต้นจะทาให้เก็บเกี่ยวได้รวดเร็ว ช่วยแก้ไขปญั หาขาดแคลนแรงงาน และลดต้นทนุ การผลิต เคร่ืองคดั แยกกาแฟผลอ่อน ใช้ในการคัดแยกผลกาแฟสุกและผลอ่อน/ผลเขียวออกจากกัน ก่อนเข้าสู่ขั้นตอนการสี เปลือกสด ตัวเคร่ืองประกอบด้วยลูกกล้ิงรีดผลกาแฟทรงกระบอก ติดร้ิวหรือครีบตามความ ยาว ลูกกลิ้งหมุนอยู่ภายใน เสื้อตะแกรงทรงกระบอกทาด้วยเหล็กเส้นกลมจัดเรียงเป็นช่อง ตะแกรง ขนาด 7 มลิ ลเิ มตร มีหลกั การทางาน คือ ผลกาแฟสุกท่ีมีลักษณะน่ิมจะถูกลูกกล้ิงรีด ให้ลอดผ่านช่องตะแกรง โดยผลกาแฟสุกส่วนใหญ่จะถูกรีดจนเมล็ดกะลาเมือกปล้ินออกจาก เปลือก ส่วนผลกาแฟผลอ่อน/ผลเขียว มีลักษณะแข็งไม่สามารถรีดให้ลอดผ่านรูตะแกรงได้ จะถกู พาให้แยกออกทางช่องดา้ นปลายของเคร่อื ง ซึ่งเคร่อื งมคี วามสามารถในการทางานเฉลี่ย 929 กโิ ลกรัม/ช่วั โมง ประสทิ ธิภาพในการคัดผลอ่อน 90.50 เปอรเ์ ซ็นต์ 28

เครอ่ื งคดั แยกเมลด็ กาแฟอะลาเมอื ก ใช้ในการคัดแยกเมล็ดออกจากผลท่ีไม่ถูกลอก เปลือก หรือมีเปลอื กปะปนมากบั เมลด็ กาแฟกะลาเมือก ในข้ันตอนการสีเปลือกสด ตัวเคร่ืองมีลักษณะเป็น ตะแกรงทรงกระบอกหมุนในแนวนอน ขนาดรูตะแกรง 8 x 20 มิลลิเมตร เคร่ืองมีความสามารถในการทางาน ประมาณ 1,200 กิโลกรัมผลสด/ช่ัวโมง ประสิทธิภาพ การคดั แยก 78 เปอรเ์ ซ็นต์ เครอ่ื งขัดล้างเมอื กกาแฟอะราบกิ าระดบั เกษตรกร เครื่องขัดล้างเมือกกาแฟ ช่วยลดข้ันตอน และระยะเวลาในการขัดล้างเมือกกาแฟจากวิธี ปกตติ วั เคร่อื งทางานด้วยแกนขัดหมุนในแนวต้ัง โดยป้อนกาแฟเมือกเข้าทางด้านล่างและไหล ออกทางด้านบน แกนขัดทาด้วยท่อกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 48 มิลลิเมตร ยาว 570 มิลลิเมตร และติดด้วยก้านกวนเมล็ดกาแฟรอบแกน ส่วนล่างของแกนขัดเป็นใบเกลียวทา หน้าที่ลาเลียงเมล็ดกาแฟจากด้านล่างขึ้นสู่ด้านบน แกนขัดหมุนอยู่ภายในเส้ือตะแกรง ทรงกระบอกขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 120 มิลลเิ มตร ทาดว้ ยแผน่ ตะแกรงสแตนเลส ขนาดรู 2 x 20 มิลลิเมตร โดยจัดวางรูตะแกรงในแนวต้ัง มีท่อน้าเจาะรูติดกับผนังตะแกรงด้านนอก สาหรับให้นา้ ชว่ ยในการขัดล้างเมอื กโดยไมใ่ ช้ปม๊ั น้า ความสูงของช่องทางออกของเมล็ดกะลาท่ี ขดั ลา้ งเมอื กแลว้ สามารถปรบั ระยะได้ ทาให้สามารถควบคมุ ระดับการขัดล้างเมอื กได้ ซึง่ เคร่ือง มีความสามารถในการทางานเฉล่ีย 700 กิโลกรัม/ชั่วโมง และมีเปอร์เซ็นต์แตกของเมล็ด กาแฟหลังคดั เมอื ก 1.90 เปอร์เซ็นต์ใช้มอเตอร์ 2 แรงม้าเป็นตน้ กาลงั 29

การเกบ็ เกยี่ วผลกาแฟโดยใชเ้ ครือ่ งมอื กาแฟผลออ่ น/ผลสีเขียว การใช้เคร่อื งคดั แยกเมลด็ กาแฟกะลาเมอื ก การใช้เครอื่ งขัดล้างเมอื กกาแฟอะราบิการะดบั เกษตรกร สอบถามขอ้ มูลเพิม่ เติมได้ท่หี น่วยงานของกรมวชิ าการเกษตร ดงั นี้ พนั ธุ์ การให้ปยุ๋ การให้น้า และการดูแลรกั ษา สถาบนั วจิ ยั พืชสวน โทร. 0 2940 5484-5 ศนู ยว์ ิจัยเกษตรหลวงเชยี งใหม่ โทร. 0 5311 4133 โรค แมลงศัตรูและวชั พชื สานกั วจิ ัยพฒั นาการอารักขาพชื โทร. 0 2579 8584 วิเคราะหค์ ณุ ภาพและคณุ สมบัตทิ างเคมี กองวจิ ัยและพฒั นาวิทยาการหลังการเกบ็ โทร. 0 2529 0663 เกีย่ วและแปรรูปผลผลติ เคร่ืองมือเก็บเกี่ยวและแปรรูป ศนู ย์วจิ ัยเกษตรวศิ วกรรมเชียงใหม่ โทร. 0 5311 4119 สถาบนั วิจัยเกษตรวิศวกรรม 30

เอกสารอ้างอิง โกเมศ สัตยาวธุ ปยิ นุช นาคะ และมานพ หาญเทวี. 2555. ศึกษาสารไพรีนและปัจจัยท่ีส่งผล ต่อความขมในกาแฟคั่วบด ใน การประชุมวิชาการกาแฟ “กาแฟเป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อม เพ่อื เฉลมิ พระเกียรติ” วนั ที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงแรมฮอล์ลิเดย์ อินน์ อาเภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่. โกเมศ สัตยาวุธ วมิ ลวรรณ วัฒนวจิ ิตร ปิยนุช นาคะ มานพ หาญเทวี และสรัญญา อปุ รักขติ านนท.์ 2556. การผลิตกาแฟท่ีมีสารกลุ่ม Polycyclic Aromatic Hydrocarbon ต่า ใน รายงานการประชมุ วชิ าการสานกั วทิ ยาการหลังการเก็บเก่ียวและแปรรูปผลิตผลเกษตร ณ โรงแรมชะอาบีสรสี อรท์ จงั หวัดเพชรบุรี. สถาบันวิจัยพืชสวน. 2553. การจัดการความรู้ เทคโนโลยีการผลิตกาแฟครบวงจร. กรมวชิ าการเกษตร. 86 หน้า. สถาบันวิจัยพืชสวน. 2561. รายงานแผนบูรณาการงานวิจัยพืชสวนอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่ม ประสิทธภิ าพการผลิต. กรมวชิ าการเกษตร. สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2561. มาตรฐานสินคาเกษตร มกษ. 5701-2561 เมลด็ กาแฟอะราบกิ า. กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ ISBN 978- 974-403-676-7. ศูนย์วจิ ยั เกษตรหลวงเชยี งใหม่. 2549. การผลติ กาแฟอะราบกิ า อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม. กรมวิชาการเกษตร. 40 หน้า. ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่. 2558. คู่มือการขยายพันธุ์กาแฟอะราบิกา ฉบับปรับปรุง คร้ังที่ 1 ผลงานวจิ ยั ในโครงการวิจัยและปรับปรุงพันธ์ุกาแฟอะราบิกาโดยวิธีการผสม พันธ์ุ ท่ีได้รับทุนจากสานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน). เอกสาร ประกอบการฝึกอบรม เทคโนโลยีกาแฟแบบครบวงจร วนั ท่ี 5 –7 มีนาคม 2558 ณ ศนู ยว์ ิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ กรมวิชาการเกษตร. 9 หน้า. Nasanit R., Satayawut K. 2014. Microbial communities during wet fermentation process of Coffea arabica var. chiangmai 80. Kasetsart University Journal. Satayawut K.. 2016. Production of low-polycyclic aromatic hydrocarbons coffee (Low PAHs Coffee). Proceeding of Food innovation conference 2016. Bangkok, Thailand. Satayawut K.. 2017. Accelerated Arabica Fermentation. Proceeding of Fermentation of Value-addition international conference 2017. Khonkaen, Thailand. Satayawut K., Nitiyon S., Khomarwut C., & Lertwattanakiat S. 2018. Novel Techniques: Accelerated Arabica Fermentation techniques (AAF techniques) for new coffee fermentation approach. Proceeding Re:Co symposium 2019, Boston, USA.