Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปลากัด

Description: ปลากัด.

Search

Read the Text Version

ปลากดั (Betta splendens Regan) จัดทาํ : กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ จดั ทาํ เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ สโ ดย : สํานักสง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร สารบัญ 2 3 U คํานํา 10 U พันธปุ ลากัด 11 U การเลย้ี งพอ แมพ นั ธปุ ลากัด 12 U ลักษณะทดี่ ขี องปลากัด 13 U ลกั ษณะทไี่ มด ขี องปลากดั 15 U ลกั ษณะสีของปลากดั 15 U วธิ กี ารเพาะพันธุ 16 U การอนบุ าลลกู ปลา 17 U โรคทพ่ี บในปลากดั และการปอ งกนั รกั ษา 19 U วธิ กี ารแปลงเพศปลากดั U เทคนิคการฝก หัดปลากดั เพื่อการแขงขันหรอื ปลาเกง

ปลากดั 2 คาํ นํา ปลากัด Betta splendens Regan เปนปลาพ้ืนเมืองของไทยท่ีนิยมเพาะเล้ียงเปนเวลาหลาย รอยปมาแลว ท้ังน้ีเพื่อไวดูเลนและเพื่อกีฬากัดปลาและเปนที่รูจักกันดีในตางประเทศมานาน เชนกัน ปจจุบันประเทศไทยมีการเพาะเลี้ยงปลากัดกันอยางแพรหลาย เน่ืองจากเปนปลาท่ีเล้ียง และเพาะพันธุไดงาย ปหนึ่ง ๆ ประเทศไทยไดสงปลากัดไปขายตางประเทศคิดเปนมูลคาไมนอย กวา 20 ลา นบาท ปลากัดพันธุด้ังเดิมในธรรมชาติ มีสีน้ําตาลขุนหรือสีเทาแกมเขียว ครีบและหางสั้น ปลา เพศผูมีครีบและหางยาวกวาปลาเพศเมียเล็กนอย จากการเพาะพันธุและการคัดพันธุติดตอกันมา นาน ทําใหไดปลากัดที่มีสีสวยงามหลายสี อีกทั้งลักษณะครีบก็แผกวางใหญสวยงามกวาพันธุ ด้ังเดิมมาก และจากสาเหตุนี้ทําใหมีการจําแนกพันธุปลากัดออกไปไดเปนหลายชนิด เชน ปลากัด หมอ ปลากดั ทุง ปลากดั จนี ปลากดั เขมร เปนตน การแพรกระจายของปลากัดพบทั่วไปทุกภาคของ ประเทศไทยอาศัยอยูใ นอา งเกบ็ นา้ํ ทะเลสาบ หนอง บงึ แองนา้ํ ลาํ คลอง ฯลฯ ในการเลี้ยงปลากัดเพื่อการตอสู มีการคัดเลือกพันธุใหมีคุณสมบัติเฉพาะที่สามารถใชใน การตอ สู โดยเรมิ่ ตนจากการรวบรวมปลาจากแหลงน้ําธรรมชาติเรียกกันวา ปลากัดปาหรือปลากัด ทุง ที่มีลําตัวคอนขางเล็กบอบบางสีน้ําตาลขุนหรือเทาแกมเขียว นํามาเพาะเลี้ยงและคัดพันธุหลาย ช่ัวอายุ จนไดปลาที่รูปรางแข็งแรง ลําตัวหนาและใหญขึ้น สีสันสวยสด เชน สีแดงเขม สีน้ําเงินเขม นํ้าตาลเขม หรือสีผสมระหวางสีดังกลาว และเรียกปลากัดท่ีไดจากการคัดพันธุเพ่ือการตอสูน้ีวา ปลากัดหมอ ปลากัดลูกหมอ หรือปลากัดไทย ตอมาไดมีผูพยายามคัดพันธุปลากัดโดยเนนความ สวยงามเพอ่ื เลย้ี งไวด ูเลน โดยคดั พันธุเพื่อใหไ ดปลาท่มี คี รีบยาว สีสวย ซงึ่ นยิ มเรียกปลากัดลักษณะ เชนนี้วา ปลากัดจีนหรือปลากดั เขมร ตา งประเทศรูจักปลากัดในนาม Siamese fighting fish

ปลากัด 3 พันธปุ ลากัด ปลากัดหมอ (Shotfin Betta Splendens) ปลากดั หมอ เปน ปลาทีไ่ ดร บั ความนยิ มเลน นยิ มเลีย้ งไวกัดกนั มาแตโบราณกาล มรี ูปราง และลาํ ตัวท่ใี หญก วาปลากดั ทงุ และลกู ผสม มปี ากใหญ ตวั ใหญ สีเขมเปนปลากดั ท่ีไดร ับ การ ยอมรับวา เปน ปลาทีม่ นี าํ้ อดนํ้าทนมากและยังกัดไดเ กง ทนทรหดไดด ี กวาปลากดั ชนดิ อื่น ๆ ดงั น้นั ปลากดั หมอจงึ เปน ปลากัดทมี่ ีผเู ลี้ยงกันมากกวา ปลากัดทุงและ ปลาลูกผสม เพราะ ความทีป่ ลากัด หมอ เปน ปลากัดที่มีเลอื ดของนกั สูเกนิ 100 และยงั มปี ระวัตกิ ารเปนนักสเู ปน ท่ีประจกั ษแ กนกั เลน ปลามาแตส มยั โบราณมาจนทุกวนั นี้ ปลากดั หมอทม่ี อี ยใู นมือ นักเลนนักเลี้ยงปลากดั เวลานี้มอี ยู 5 สดี ว ยกนั คอื 1. สนี ้ําเงิน 2. สแี ดง 3. สีประดู 4. สเี ขยี วคราม 5. สเี ทาหรือสเี หล็ก รปู รา งลกั ษณะหมอ ท่มี ชี ื่อเสียงดีและมีประวัติการกดั เกงท่ีไดพ สิ จู นก ันมาแลววาเปน ปลา กดั ทด่ี เี ลศิ ปากคม และกดั ทน มี 3 รูปลกั ษณะ คอื 1. ปลากัดหมอรูปปลาชอ น สงั เกตไดจ ากลักษณะปลาท่ีมหี นา ส้นั ลาํ ตัวหนา ชว งหวั ยาว และ โคนหางใหญ ซ่ึงได แสดงถึงความเปนปลาทม่ี พี ละกาํ ลงั มาก กัดไดร นุ แรง และมีประวตั ิการกดั ชนะ เปนอันดบั หนึง่ 2. ปลากดั หมอ รูปปลากราย สงั เกตไดจ ากลกั ษณะของปลาทีมหี นา หงอนขึน้ ลาํ ตัวสั้นและแบน เปน ปลาท่ีวา ยหรอื เคล่ือนไหวไดค ลองแคลว และกัดไดไ วซ่ึงนับ ไดวา เปน ปลากัดทมี่ ปี ระวตั ศิ าสตร การกดั ไดเั สมอเหมอื นกัน 3. ปลากัดหมอ รปู ปลาหมอสังเกตไดจากลักษณะของตัวปลาทม่ี รี ปู รางคลา ยๆกับปลากราย แต มีหนากลมและลําตวั สน้ั เปน ปลาท่เี ลาขานกนั วา เปน ปลาทที่ รหด อดทน และกดั ไดไว ถอื ไดว า เปนปลาทีมีประวตั กิ ารกัดดมี ากตวั หนง่ึ นอกจากจะดทู ร่ี ูปรา งและสีสันของปลากดั ท่ดี เี ลิศแลว และยงั จะตองดูลักษณะของปลาตรงตาม ตาํ ราแลว กจ็ ะตองมสี ี ตรงตามตาํ ราอกี และไมม เี กล็ดสีแดงแซม เลยหรอื ถาเปน ปลาออกสแี ดงเขม

ปลากัด 4 ออกดาํ กจ็ ะตอ งไมมีเกล็ดเขยี วแซมเชนกนั ปลา ท่ีมสี สี ันและรปู รางตรงตามตาํ ราเชน นีจ้ ดั วา เปน ปลาท่ีมลี กั ษณะดีเยีย่ มปลากดั หมอไม เหมอื นปลากัด ลูกทงุ เพราะไมอาจ จะไปชอนเอาจากรมิ คลองหนองบงึ หรอื แองตนี ควายไมไ ด เพราะปลากดั หมอ ไมไดม าจากการเพาะพันธุและคัดเลือก พนั ธทุ ด่ี ี มา หลายช่ัวอายคุ น ซึง่ ได แสดงถึงภูมิปญญาคนไทยโบราณจนไดป ลากดั ท่ีมรี ปู รา ง แขง็ แรงลาํ ตัวหนา และยงั วา ยนํา้ ไดป ราด เปรียวและมสี ีสันสวยงาม ตลอดระยะเวลา ของการคดั พนั ธุไ ดวางเปา หมาย ไวเ พอื่ ท่จี ะใหไดปลาเพ่อื การตอ สูโดยเฉพาะ เพราะ ฉะนน้ั การหาปลากดั หมอ มาเล้ยี งและผสมพนั ธขุ ึ้นเองโดยจะตอ งหาปลากดั ทงั้ ตวั ผแู ละตวั เมียที่มีความทรหดปากคมกดั เกง และยงั ตองเลอื กปลากดั หมอ พันธุแทจรงิ ๆ เพราะถาตวั หนงึ่ เปนปลากดั หมอแตอกี ตัวหนึง่ เปนพนั ธุ อ่ืนๆ ลูกท่ไี ดม า จะเปน ปลากัดลูก ผสมไป จะเสยี ทั้งราคาและศกั ดศิ์ รี ปจ จุบันไดแ บง สีของปลากดั หมอ ไว 3 ประเภท คือ 1. สีเดียว (Solid Colour) 2. สองสี (Bi-Colour) 3. หลากสี (Multi-Colour) แตโ บราณกาลน้ันปลากดั หมอถกู พฒั นาขนึ้ มาเพอ่ื กดั ในชุมชน และ ตอมาไดพัฒนาเปน การเพาะพนั ธุใ นเชงิ พาณชิ ย โดยแบงปลา กัดหมอ ออกเปน 2 ประเภท คอื ปลา เกงและปลาโหลปลาเกง คอื ปลาทีเ่ พาะพันธุขึน้ เพ่อื การพนันโดยตรง จะตอ ง เปน ปลาทก่ี ัดไดไ ว คม กัดถูกเปาหมายสําคญั และทน ทานปลาโหล คอื ปลาที่เพาะเชิงปรมิ าณ ไมเ นน ความสามารถ ในการกดั แตเ พือ่ เปน งานอดิเรกเปนหลักหรือเรยี กวา เล้ียงเอาไวดเู ลน เพลิน ๆ ตาดเี ทานั้นปจ จบุ นั ไดมีการ เพาะพนั ธุปลาหมอ เพิม่ อีก รูปแบบหนงึ่ ออกมาก็คือเพาะเพ่อื ใหไ ดสที ี่ตอ งการ เชน สีเดียว หรือสแี ปลก ๆ ซึ่งกาํ ลงั เปน ที่นิยมเพิ่มขน้ึ อยา งรวดเรว็ มาก เปน ท่เี ขา ใจกันวา ปลากดั หมอมจี ําหนา ยภายในประเทศเปนสว นใหญ แตสงออกไดไ มม ากนกั เนือ่ งจากโลกนยิ ม ตะวนั ตกไมน ิยมการกดั ปลา เพราะมองวาเปน การทรมานสัตวแ ตอยา งไรก็ตาม ปจ จุบนั มชี าวเอเซยี ไปอยใู นโลกตะวันตกกัน มากขน้ึ จึงทาํ ใหปลากดั หมอ เริม่ เปน ที่นิยมของคน เอเซยี ในตา งประเทศ และขณะเดียว กันน้นั ชาวตะวันตกทง้ั ในยโุ รปและทวปี อเมรกิ ากเ็ ริม่ ใหความ สนใจกับปลากดั หมอ กนั มากขนึ้ นาจะทําใหไ ทยมโี อกาสจะสงออกไดอ กี มากกไ็ ด

ปลากดั 5 ปลากดั ลกู ผสม (Hybrid Betta) \" ลูกสงั กะสี \" หรอื \" ลกู ตะกวั่ \" เปนช่อื ปลาทีเ่ กดิ จากการผสมพนั ธุร ะหวา งปลากัดทงุ กับ ปลาหมอผสมขามพันธุ ซงึ่ อาจจะใชพ อปลากดั ทงุ กับแมป ลากัดหมอ หรือ พอเปน ปลากัดหมอ กับ แมป ลากัดทุง เมอื่ ไดล กู ผสมออกมานกั เลี้ยงปลากดั กจ็ ะ เรยี กกนั วา ลกู สงั กะสหี รอื ลูกตะก่ัว หรือ อาจจะมีบางรายใชพอปลากดั ทงุ หรอื พอ ปลากัดหมอ กบั แมล ูกผสมเม่อื ไดลกู กจ็ ะเรยี ก วาลูก สงั กะสหี รืออาจจะมบี างที่ใชพ อเปนลูกผสมกับพอ ปลากดั ทุง หรือพอ ปลากดั หมอ เม่อื ไดลกู ออกมาก็ เรยี กวาเปนลูก ผสม เหมือนกนั เทา กับวา เมื่อใชพ อ แมปลากัดตา งเหลากนั มาผสมไดลกู เมื่อไรก็จะ เรียกวา ลูกสงั กะสี หรอื ลกู ตะกัว่ ซงึ่ กจ็ ะได ปลากัดใหมลกู ผสมทลี่ ําตวั มหี ลายสี และเปน ปลากัดท่ี มคี วามทน ทรหดและกัดไดคมและวองไวมากทีเดยี ว และเมือ่ นาํ ไปกดั กับ ปลากัดทงุ หรอื ปลากดั ปาชยั ชนะมักจะตกเปนของลกู ผสมเสียเปนสวน ใหญวา กนั วา ปลากดั ลูกผสมทม่ี ปี ระวตั ิ การกดั เกง กวา ปลาอน่ื ในบรรดาพวกปลากัดลกู สังกะสีดว ยกนั มกั จะเปน ปลากดั ลกู ผสมรปู ปลาชอน ซง่ึ สามารถสังเกตไดตรง ทม่ี คี รีบยาว กระ โดงยาว และหางใหญซ ง่ึ นบั ไดวา เปนปลากดั ท่เี กงและมี รปู รางงดงามมากแตอยา งไรกด็ ี แมว า ปลากัดลูกผสมจะกัดไดเกง และ รูปรางสวยงามดมี ากก็ จริง แตน กั เลงปลากัดกน็ ิยมเลยี้ งและเพาะพันธุกนั นอย กวาปลากดั หมอ ซง่ึ ตามตํานานกลา วไววา อาจจะ เปน เพราะปลากัดลกู ผสมมีนํา้ อดนาํ้ ทนในการตอสูน อยกวา ปลา กดั หมอ และเปนทร่ี กู ันใน วงการปลากดั วา ถาเอาปลากัดลูก ผสมไปกดั กับปลากัดหมอแลว ปลากดั ลกู ผสมมกั จะเปน ฝา ยพาย แพแตอยา งไรกต็ ามก็มีบางครงั้ เหมอื นกนั ท่ี นกั เลงปลากดั บาง คนท่ีมีปลากดั ลกู ผสมตวั เกงไปกดั กับปลากดั หมอ สามารถกาํ ชัยชนะไดบา ง ซึ่งนานๆจะเปน ชัยชนะของปลากัดลูกผสม และ การท่ี ปลากดั ลูกสงั กะสี สามารถเอาชนะปลากัดลกู หมอ ไดกอ็ าจะมาจากสาเหตทุ ีป่ ลากัดหมอตัวนน้ั มี อายุออนวัยกวาปลากัดลกู ผสม หรอื มขี นาดลําตัวเลก็ กวาหรอื ปลากดั หมอ เจ็บปว ย ไมสม บรู ณห รือ มสี าเหตอุ น่ื ๆอีกหลายประการ อนั เปน ตนเหตใุ หปลากัดหมอ ตองพายแพต าม สภาพคามไม สมบรู ณข องรา งกาย

ปลากัด 6 ปลากัดจนี ปลากัดจีนเปน ปลากัดพน้ื เมอื งในไทยเรานเ่ี องเกดขึ้นได เนอื่ งจากการทผ่ี นู ําปลากดั ท่ีมรี ปู รา ง สวยงามสีสนั สดสวยมา เลี้ยงเพอ่ื ความสวยงาม เลย้ี งเพอื่ ดูเลน โดย คดั พนั ธุทม่ี คี รีบยาว สสี วย และปจจบุ นั ไดม ีการพฒั นาใหหางปลากดั ตวั ผูสามารถ แผอ อกไดถ งึ 180 องศา หรอื ครึ่งวงกลม และยงั ไดพ ัฒนากา นหางจากสองแฉก ธรรมดา ใหมีจาํ นวน 5 แฉก หรอื มากกวานน้ั เพื่อเปนตวั ชว ยแผค วามกวา งของหางมากขนึ้ และยังไดพัฒนาลกั ษณะของหางใหมีสองแฉกแยกจากกนั เรียกวาหางคู (Double tail) และยงั มีอีกชนดิ หนึ่งเปน หางท่มี ีลกั ษณะบานออกเหมอื นปากอาว (Delta tail) ปจ จบุ นั เมอื งไทยไดส ามารถผลติ ปลากัดทม่ี ีสสี ัน เชน สีเขยี ว สีมวง แดง นา้ํ เงนิ ฯลฯ หรอื ผสม ระหวางสดี งั กลา ครีบตา งๆยกเวน ครีบอกย่ืนยาวออกเปนพวง โดย เฉพาะครบี ทหี่ างใหมีความยาว พอๆกับความยาวของลาํ ตัวและหัวรวมกนั แตอยา งไรก็ดี ปลากดั ทฝี่ ร่ังตะวนั ตกไดน ําไปจาก เมืองไทยไดม กี ารพฒั นาการในดา น รปู รา ง และสีสนั กันมานาน แลว จนไดป ลากดั ที่มีสีเพม่ิ มากขึน้ และมีความสวยงามมากขน้ึ โดยอาศัยเทคโนโลยเี ขา ชว ย ดวั เชน ในญีป่ นุ ไดท ํามานานเลว ในการบีบ สี ของปลาใหไ ด ตามความตอ งการดวยการใชเทคนคิ การบบี สขี องปลากดั แตกไ็ ดใ ชร ะยะเวลานาน พอสมควร ซ่งึ กวาจะ ไดปลาสที ต่ี อ งการกกต็ อ งใชเ วลา 4-5 รุน ขนึ้ ไป และยงั มกี ารใชเ ทคนคิ การฉดี ยีนสสขี องปลาทตี่ อ งการเขา ไปในปลากดั ตัวเมยี ซงึ่ เทคนิคนีต้ องใชค วามชาํ นาญและใชเทคนคิ ทาง วิทยาศาสตรเ ขา มาชวย ซึง่ ในตา ง ประเทศเชน ญ่ปี นุ ทาํ ไดแลว แตเ มืองไทย ของเรายังไมมกี ารใชวิธี นีเ้ พราะตอ งลงทนุ สงู แตผ ลผลิตที่ไดม ีความแนน อนและรวดเร็ว ซง่ึ คาดกนั วาในอนาคตอันใกลเ มอื ง ไทยคงมกี ารนําเทคนคิ ดังกลา ว เขา มาใชห รอื ไมก็จะตองใชเ ทคนคิ ในการปรับปรงุ สายพันธปุ ลากดั ดว ยวธิ ีอื่นๆมาใช สีของปลากัดจีนในปจจุบนั ไดแ ยกไวเ ปน 3ประเภทคอื 1. สีเดยี ว(Solid color) 2. สองสี (Bi-color) 3. หลากสี (Multi-Color) สเี ดยี ว หมายถงึ ปลากดั ที่มคี รบี และลําตัวเปน สเี ดยี วกันท้ังหมด โดยไมม สี อี น่ื ปะปนอยูเลย ยกเวนปลากัดสีเกยี ว เขมาดําจากปากจรดครบี หู เสนของครีบและขอบ เกล็ด ของปลาจะเปน สีใดก็

ปลากดั 7 ได สว นตะเกียบทอ งอนุโลมใหม ีสีอ่ืนได แตป ลา กดั สเี ผอื กท้งั ตวั ครบี ทองจะมสี ีอน้ื ไมไ ด ครีบหู อนุโลมใหเปนครีบเงากระจกได สองสี หมายถึงปลาทมี่ ตี วั และครีบสตี างกันโดยลาํ ตวั และครีบมสี ีเดียวที่แตกตา งกัน รวมถึงปลา ที่มลี าํ ตัวเผอื กและสี เดยี วดว ย ยกเวนเขมา จากปากจรดโคน ครีบหแู ละ เสน ของครีบของปลาจะ เปนสใี ดก็ไดต ะเกียบ(ครบี ทอ ง)อนุโลมใหม ีสอี ่ืนๆได ครบี หอู นุโลมใหเปน ครบี กระจกได หลากสี หมายถงึ ปลาทมี่ สี ขี น้ึ ไปในสว นของลาํ ตวั และหรอื มีสองสขี ้นึ ไปในสว นของครีบที่เปน กระจกถอื เปนสวนหนง่ึ สี ยกเวน เขมา ดําจากปากจรดโคน ครีบ หแู ละเสน ครบี ปลาจะเปนสีใดกไ็ ด ตะเกียบ อนโุ ลมใหมสี ีอนื่ ได ครีบของหอู นโุ ลมใหเ ปน ครบี กระจกทง้ั สองครบี ได แตอยา งไรก็ดี บางตําราแบงสอี อกเปนถงึ 6 รูปแบบคือ 1. สเี ดยี ว (Solid Colored Betta) เปน สีเดียวทัง้ ครีบและตัว 2. สผี สม (Bi-Colored Betta) สว นใหญจ ะมีสองสีผสมกัน 3. สีผสมเขมร (Cambodia Colored Betta) 4. ลายผีเส้ือ (Buterfly Colored Betta) 5. ลายผเี สือ้ เขมร (Cambodain Butterfly Colored Betta) 6. ลายหนิ ออน (Meable Colored Betta) ปจจุบันการเพาะพนั ปลากดั จนี มงุ เปา หมายเนน เพอื่ การสงออกเปน หลกั เพราะชาว ตา งประเทศชน่ื ชอบความสวยงาม ของหางทแี่ ผกวา งไดส วยงาม ตามตํานาน กลา ว วา ปลากัดจีน น้นั บรรพบุรุษ ของเราไดพฒั นาข้นึ มาเปน เวลายาวนานกวารอ ยป มาแลว เพราะฝรัง่ ไดพ ดู ถึงปลา กัดหางยาวเปน ครัง้ แรกเมอื่ ประมาณรอยปกอน แสดงวา ในประ เทศไทยเราไดพ ัฒนาปลากัดจีน มานานกวา นน้ั ปลาจีนในปจ จบุ นั ไดเ ปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ โดยมรี ปู รางสสี นั ทสี วยงามมากขนึ้ มี ครบี หลัง ครบี หาง กนคอนขาง ยาว และพรอ ม กันก็มกี ารพฒั นาสายพันธุด วยการนําสายพันธุผ ม กนั เอง และนาํ สายพันธจุ ากตางประเทศเขามาผสมจนไดสาย ปลากดั ทสี่ วยงามกงั ท่ี เห็นกนั อยใู น ทกุ วันนี้ จากการศกึ ษาปลากดั พันธใุ หมทไี่ ดข องพบวา ทงั้ ปลากดั ครีบยาวและครีบสน้ั ตางก็อยใู น ประเภทเดยี วกนั เพราะมลี กั ษณะ โคโมโซมเดยี วกัน นอกจากนั้นยงั พบวา ปลากัด ท่มี ีครบี ยาวและ ครีบสั้นสามารถผสมพันธุกันไดั โดยทเี่ ปอรเ ซ็นตก ารฟก เปน ตวั และอตั ราการอยรู อดของลูกผสมท่ี เกิดมากไมม คี วามแตกตา งไปจากลกู ปลาท่ี เกิดจากการผสม พนั ธุระหวางปลากัดพวกเดยี วกนั แต อยา งใด

ปลากัด 8 ระยะ 2-3 ปท ่ผี านมา จากกระแสความตอ งการเล้ยี งปลาสวยงามมมี ากขนึ้ ตามลาํ ดบั ทง้ั นีอ้ าจจะเปน เพราะสภาพทางเศรษฐกิจหรอื สภาพสังคมทาํ ใหเ กิด ความ เครยี ดและหาทางออกโดยกสฃารหัน มาหาสงิ่ ท่สี วยงามหรือสงิ่ จรรโลงใจกนั มากขึ้นเพ่อื ชวยผอ น คลายอารมณก ารทาํ งานหนัก ดงั นน้ั ระยะเวลาทผ่ี า น มาสัตวนํ้าในกลุม ปลาสวยงามหลายชนดิ มอี นาคตดขี ึน้ จนทําใหผูเลี้ยงสามารถ หนั มายดึ เปน อาชีพไดแ ละทาํ รายไดใหผเู ลย้ี งไดด พี อสมควร ซงึ่ รวมถึงปลากดซงึ่ ไม เพียงแตจ ะกัด เกง เพียง อยา งเดียว แตตกม็ ี ความสวยงามชนดิ หน่งึ ทใ่ี นขณะน้สี ามารถจะกลา วไดวาปลากัดมี ความโดดเดนเปน พเิ ศษกวาสตั วน ้าํ ตัวอนื้ ๆหลายตวั กไ็ ด เพราะ ปลากัดไดร บั ความสนใจ ไปเกือบ ทุกระดับในประเทศ และยงั มตี ลาดใหญทวั่ โลกตอ งการปลากัดคณุ ภาพดีอกี มากดว ย ปลากดั เขมร (Cambodain Betta) รูปรางลกั ษณะสีสันสวยงามเชน เดียวกันกับปลากัดจีน แตจ ะมลี กั ษณะท่ีแตกตางไปจาก ปลากดั จนี ตรงทป่ี ลายครบี จะมีสีขาวเหน็ ไดช ดั ซึ่งเม่ือปลากีดจนี ไดรั บั ความนิยม มากข้ึนใน ตางประเทศจงึ ทาํ ใหปลากดั เขมรซึ่งคลายๆกบั ปลากัดจนี จงึ ไดร ับความนยิ มมากขึ้นในตา งประเทศ ดี ซึง่ เปน ผลพลอยไดจากากรท่ปี ากัดจนี มี ตลาดตา งประ เทศดีขนึ้ จึงจงู ใหปลากดั เขมร ซ่ึงมีความ สวยงามคลา ยปลากดั จีนพลอยฟาพลอยฝนไดสงออกไปดวยทุกวันน้ีการเพาะเลีย้ งปลากัดมิมุงกนั แตเพียงการ เพาะปลาเพอื่ การพนนั เหมือนแตกอ น แตไ ดม ีการหันมาเพาะ เล้ยี งเอาไวด ูเลน สวยงามเพลดิ เพลินตาดวยและเพาะเลีย้ งไวเพื่อเปนสินคา สงออกตา งประเทศกนั มาก ข้ึนซึง่ คาดกัน วาปลากัด ไทยสามารถสงขายตา งประ เทศนาํ รายไดด ีเขา ประเทศเปนอนั ดบั ตน ๆของปลาสวยงาม ไทยทั้วหมดและปลากดี เขมร ซึ่งไดเพาะ เลี้ยงในประ เทศกเ็ ปน สวนหนง่ึ ของปลาหีดจีนท่สี ง ออก เพราะวานอกจากจะ เปน ปลาทีส่ วยงาม ครบี ยาวพรวิ้ สวยงามแลว ยงั มคี ณุ สมบตั พิ เิ ศษติดตวั อยู ตลอดเวลาในเชิงการ ตอสูไ ดส รา งความตนื่ เตนใหแ กผ เู ลย้ี งไดอยา งดดี ว ยการซอื้ ขายปลากดั เขมร ยงั ไมดีเทา กนั การซ้ือขายปลากัดจีน เน่อื งจากยังไมเ ปนท่รี ูจักกันนกั หรือยงั ไมไ ดร ับความนยิ มมา กดทา กบั ปลากดั จีน จึงทําใหราคาปลากดั เขมรตา่ํ หวา ราคาปลากดั จนี มากพอสมควร แตอ ยา งไรก็ ดี การที่รปู รา งลกั ษณะ ปลากดั เขมรคลา ยกับปลากัดจีน จึงทาํ ไหห ารยอมแมวขายขน้ึ ในบางแหง ใหกับคนทตี่ าไมถึง ไมทราบความแตกตา งระหวาง ปลากดั จนี กับ ปลากัดเขมรไปในราคาเทา กับ ปลากดั จีน เพราะฉะน้ันเพอื่ ปองกัน มิใหถ กู แหกตาอกี กข็ อใหด ูปลากดั ทม่ี คี วามสวย งามเหมือนกับ ปลากดั จีน แตม ปี ลายครีบสีขาวชดั เจนกแ็ สดงวา เปนปลากัดเขมร ราคายอ มจะตองตาํ่ กวา ราคา ปลากดั จนี ซง่ึ ได รับความนยิ มกนั มากในตางประเทศ

ปลากัด 9 ปลากัดทงุ (Wild Betta) แตเ ดิมจะเรียกกันวาปลากดั ลกู ทงุ แตร ะยะหลังไดต ดั คําวา ลกู ออก เหลอื แตปลากดั ทงุ ซึง่ บางแหง ก็เรียกปลากดั ปา เปน ปลากดั ทม่ี ีลาํ ตวั คอนขา งบอบบาง มสี นี ้าํ ตาล ขนุ หรอื แถบเขยี วมี ปากคอ นขา งแหลม มฟี นซี่เลก็ แหลมคม ปลาชนิดนี้บรรดา นกั เลงปลากดั หรือมอื อาชพี เลน ปลากัด ซ่ึงเปนชาวชนบทเปน สวนใหญ นยิ มเลย้ี งไวเ พือ่ กดั แขงขัน กนั เนื่องจากปลากดั ทงุ จะกัด ไมทน เหมอื นปลากดั หมอ และลกู ผสมหรอื เรยี กกนั วาลกู สงั กะสีกต็ ามแตก็มกี ารเลยี้ งปลากัดปา ไวน อย เหมือน กันเพื่อเอาไวก ดั กบั บปลากัดปา ดว ยกนั เมื่อตัวเกงกดั ชนะตวั อ่ืนๆกเ็ กบ็ เอาไวเลย้ี ง เพาะพนั ธุเ อาลูกไวกัดตอไปแตถาตัวไหนกดั แพก ไ็ มเ กบ็ เอา ไวทาํ พันธุตอไปอีกแลว หนั ไปหาปลา ตวั ใหมม าเลย้ี งแทน ซึง่ สามารถหา ไดไ มย ากเลย การจะหาปลากดั ทงุ ตัวใหมม าทดแทนตวั เกานั้น ไมย ากเยน็ เทา ไรนกั ถาอยใู นชว งทม่ี ฝี นตกในทอ งนา ของชาวชนบท ซึ่งมีน้ําขงั อยตู ามบึง คลอง หนอง บอ ท่ัวไป และในชวงฤดฝู นปลากดั จะกอหวอดเกาะตามพนั ธุไมนํ้าตามแหลง นํ้าตาง ๆ ทีไ่ ม คอยจะลกึ นกั ซึง่ มกั จะเปนบริเวณรมิ บึงริมหนองหรอื แอง น้าํ ทีม่ นี า้ํ ต้ืน ๆ ซง่ึ จะมองเหน็ หวอด ที่ ปลากดั พนนาํ้ ลายขน้ึ มาเปน ฟอง รวมกนั เปน ฟองใหญก วาตวั ปลากดั ประมาณ 2 เทาของ ความยาว ของลําตวั ปลาและลอยขน้ึ มาเหนือผวิ น้าํ จนเห็นไดชดั และความ เหนยี วของ ฟองทรี่ วมกันจะอยูได นานมาก แมจ ะถูกน้าํ ฝนตกลงมามากแตห วอดปลากดั จะ ไมละลาย ดงั นน้ั เมอื่ เราเดนิ ไปตามริม บอหรอื รมิ หนองรมิ คลองบงึ เมื่อเห็นหวอดปลากัดอยูต รง ไหนกจ็ งมองใหด ี ๆ จะเห็น วามตี วั ปลา กดั วายวนเวยี นอยใู ตห วอด ของมันเพอื่ ใชเ ปนสถานท่ดี ึงดดู ใหต ัวเมียไปหาเพื่อจะผสมพนั ธุกัน จงึ เปนการงายมาก ทจี่ ะจบั ปลาตวั นั้น โดยใชส วิงหรือเครอ่ื งมอื อน่ื ๆ ชอนจับปลาขนึ้ มาไวเ ลย้ี ง ตอไป แตถาเปน นักเลี้ยงมอื อาชีพตามชนบททม่ี คี วาม ชํานาญในการจับปลากจ็ ะใชมือเปลาจบั ปลาขน้ึ มา ไดอยา งงา ย ดาย แลวใสภาชนะท่มี ีไวนาํ กลบั บา น หรือสถาน ท่เี ลย้ี งปลาตอไป ดว ยภูมิปญ ญาของ คนโบราณไดแ สดงออกถึงการคัดเลือกปลากดั ทงุ ท่กี ดั เกงไวเปนพอแมพันธุเพอื่ จะได ปลากัดรนุ ใหมท ่กี ัดไดเกง และชนะ ซึง่ ตาม คาํ กลา วขานเลาตอกนั มาวาตามตาํ นานน้ันระบวุ าปลากัดลูกทงุ ที่ มปี ระวัตกิ ารกดั เกง มากมอี ยู 2 รปู ลักษณะดวยกนั คอื 1. ปลากดั ทุง รปู ปลาชอ น มีลกั ษณะของลาํ ตวั ปลาท่ีกลมยาว ครบี ใหญ กระโดงใหญ ปลายหาง รปู ใบโพธิ์ ซง่ึ เปนท่ี ยอมรับกันวา เปนปลาที่ประวตั กิ ารกดั เปน เลศิ ในบรรดาปลากัดทุงดว ยกนั 2. ปลากัดทุงรปู ปลาชอ น มลี กั ษณะรูปรางเหมือนกัน แตมีความแตกตา งกนั ทีป่ ลายหางกลม ปลากัดทงุ ชนิดนกี้ ดั ได รุนแรงมาก และมีประวัตกิ ารกดั เกงพอใชไ ด เหมือนกันเนื่องจากปลากดั ทุง กัดไดไ มค อยจะทนนกั นกั เลน ปลากัดจงึ ไมคอยจะ นิยมเพาะพนั ธุร ะหวา งปลากดั ทงุ ดว ยกนั นกั แต

ปลากัด 10 จะเอาไปผสมกบั ปลากดั พันธุอื่น ๆ ไดล กู ผสมในชอ่ื ทเ่ี รียกกนั วา \" ลูกสังกะสี \" ซึง่ นกั เลนปลากดั เกา แกมักจะพดู กนั วาลูกปลาสงั กะสนี ั้นเปนปลากดั ท่กี ดั ไดค ลอ งแคลวและมีความอดทนเปนท่ีสอง รองจากปลา กดั หมอ หรอื บางตัวอาจจะดกี วา ปลากดั หมอ ดว ยซา้ํ ไป ตามตาํ นานเกา แกไดบ นั ทกึ ไวว าลกู สังกะสบี างครอก หรือบางตัวมีรปู รา งและสสี ันคลาย ปลากดั ทุงมากจนคนทต่ี าไม ถึงอาจจะมองวาเปนปลากดั ทุงได จึงมนี กั เลีย้ งนกั เลนปลากัดบางคน ถกู หลอกใหเอาปลากดั ทุงไปกดั กบั ลกู สังกะสี ก็ยอมแนนอน วา ปลากัดทงุ ตวั จริงจะตองแพพนนั เพราะปลากัดลกู สงั กะสีกัดไดเกง กวา ยอ ม จะชนะแนน อน ยกเวน แตป ลากัดทุงตัวนัน้ จะเปน ปลา กดั ทกี่ ดั ไดเกงจริง ๆ เทา นนั้ จงึ จะกัดชนะลกู สงั กะสไี ดเ หมอื นกัน แตป ลากดั ทงุ ทกี่ ดั ชนะลูกสังกะสี ไดน น้ั มนี อย ตวั เหลือเกนิ หรือแทบจะ ไมม เี ลยก็วาได แตอยา งไรกต็ าม แมในไทยจะไมค อยนยิ ม ปลากดั ปาหรอื ปลากัดทุง กต็ าม แตป ลากดั ปา กลับไมไดรับความนยิ มอยา ง ดมี ากจาก คนเอเซยี ดวยกันทีไ่ ปอาศยั อยูใ น ตางประเทศจะแสวงหาปลากดั ซ่งึ มลี ักษณะประจาํ พนั ธุทแี่ นนอน และมี การระบุแหลง ท่มี าเพราะปลากดั ปามคี ณุ ลักษณะจาํ เพาะเชน เดยี วกบั ปลาอิมแบลิสจากเกาะสมุย ไม เหมอื นกบั ปลาอิมแบลสิ ในมาเลเซยี และยัง มขี าววา ชาวเยอรมนตี องการพ้นื ทป่ี ระมาณ 100-200 ไรในประเทศเพอ่ื เพาะเลย้ี ง ปลากดั ปา ในประเทศไทยและในสิงคโปรด วย ปลากดั ปา มามากใน มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี บรูไน สิงคโปร และโดยเฉพาะใน อินโดนีเซีย มปี ลากัดปา หลายสายพันธุ ซง่ึ มคี วามสามารถมาก และปลากัดไทยไดพ ัฒนามาจาก ปลากดั ปา หรอื ปลากัดทงุ ซงึ่ มสี ายพันธุที่ เรยี กวา เบตตา สะเพลน็ เดน อมิ เบลสิ (Betta splendens Imbelis) มีเหงอื กเขยี ว ตะเกยี บด่งิ แดง เกลด็ เขม วาว และปลากดั ทุง ท่ีเพาะเลย้ี งกันในปจจบุ นั ไดม า จากจงั หวดั เชยี งราย เปนพันธุบ ริสุทธ์ิ ไม ถูกสายพนั ธปุ ลากดั อื่นผสมขา มพนั ธุแตอ ยา งใด การเลี้ยงพอ แมพนั ธปุ ลากดั เน่ืองจากปลากัดเปนปลาที่มีนิสัยกาวราว ชอบตอสู เมื่ออายุประมาณ 1 1/2 -2 เดือน การเลี้ยงปลากัดจึง จาํ เปนตอ งรบี แยกปลากัดเลีย้ งในภาชนะเพียง 1 ตวั กอ นท่ีปลา จะมีพฤติกรรมตอสูกัน ภาชนะท่ีเหมาะสมที่สุดควรนํามาใช เล้ียงปลากัดไดแก ขวด(สุรา) ชนิดแบนบรรจุนํ้าได 150 ซีซี เพราะสามารถเรียงกันไดไมสิ้นเปลืองเน้ือท่ี การแยกเพศจะ สังเกตเห็นวาปลาเพศผูจะมีลําตัวสีเขม ครีบยาว ลายบนลําตัว มองเห็นชัดเจนและขนาดมักจะโตกวาเพศเมีย สวนปลาเพศเมียจะมีสีซีดจาง มีลาดพาดตามยาว ลาํ ตวั 2-3 แถบ และมักจะมขี นาดเล็กกวา ปลาเพศผู นํ้าทใ่ี ชเ ลยี้ ง ปลากัดตองเปน นํา้ ท่สี ะอาดปราศจากคลอรีน มคี วามเปนกรด-ดาง (pH) ประมาณ 6.5-7.5 มคี วามกระดา ง 75-100 มิลลกิ รมั ตอลติ ร และมคี วามเปนดา ง 150-200 มิลลกิ รัมตอ ลติ ร ควรบรรจุน้ําลงในขวดเพยี ง 1/2 ขวด เพ่ือเวนชองวา งใหอากาศไดส ัมผัสกับผวิ น้าํ

ปลากัด 11 อาหารทีใ่ ชเลีย้ งปลา ปลากดั เปน ปลาท่ีชอบกนิ สัตวน้ําขนาดเล็กเปน อาหาร อาหารท่ี เหมาะสมจะใชเล้ียงพอ แมพ นั ธุปลากดั ไดแ ก ลกู นาํ้ หนอนแดง ไรสนี า้ํ ตาล (Artemia) ทีม่ ชี วี ติ การ ใหอ าหารควรใหวนั ละ 1 ครง้ั ใหปริมาณทพี่ อดีปลากินอ่ิม อาหารทใ่ี ชเลี้ยงทุกคร้ังควรลา งดว ยน้ํา สะอาด แลว แชใ นดางทับทมิ เขมขน 500-1,000 สวนในลานสวน (0.5-1.0 กรมั /ลิตร) เปนเวลา 10-20 วินาที เพ่อื ฆา เชื้อโรคทีต่ ิดมากบั อาหารหลงั จากน้ันจงึ ลา งดวยนาํ้ สะอาดอีกครงั้ หนง่ึ การถายเทนาํ้ ควรกระทาํ สัปดาหละ 1-2 คร้งั ระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการผสมพนั ธปุ ลากัด คือ ชว งระหวา งเดอื นพฤษภาคม - กันยายน โดยอณุ หภูมนิ ํา้ ควรอยูระหวา ง 26-28 องศาเซลเซียส การคัดเลอื กพอแมพันธุ ปลาท่นี าํ มาทาํ การเพาะพนั ธุ ควรมีอายุตงั้ แต 5-6 เดือนขึน้ ไป โดยปลาจะใหไ ขค รั้งละประมาณ 500-1,000 ฟอง ในฤดูผสมพนั ธุ จะสงั เกตเหน็ ความสมบรู ณเ พศ ของปลาไดช ดั เจน ในการคดั เลือกปลาเพือ่ ผสมพันธุ มีหลกั ทค่ี วรปฏบิ ัติดังนี้ ปลาเพศผู คดั ปลาทแ่ี ขง็ แรง ปราดเปรยี ว ลักษณะสสี ดสวย ชอบสรา งรงั ซง่ึ เรียกวา “หวอด” โดยการพนฟองอากาศท่มี ีนํ้าเมอื กจากปากและลําคอผสมดว ย ซ่ึงแสดงถึงวา ปลาเพศผูมี ความสมบูรณท างเพศเต็มทพ่ี รอ มทจ่ี ะผสมพนั ธุ ปลาเพศเมีย คดั เลือกปลาทแี่ ขง็ แรง สังเกตบรเิ วณทอ งมีลกั ษณะอมู เปง แบรเิ วณใทอ ง จะมีตุมสีขาวใกลก ับรกู นเหน็ ไดชดั เจน ซ่งึ ตมุ สขี าวน้เี รยี กกันวา “ไขนํ้า” ลักษณะที่ดีของปลากดั การดูลกั ษณะปลากดั จะดูเปน 3 สว นใหญ ๆ คอื สี รปู ทรง (ครีบและลาํ ตวั ) และกรยิ า อาการ ปลาทส่ี มบูรณมีลักษณะที่ดจี ะตองมอี าการกระฉบั กระเฉง มสี ีสนั สวยงาม มคี วามสมดลุ ระหวางขนาดและลักษณะของครบี และลาํ ตวั และมคี รบี ทไ่ี ดล ักษณะสวยงาม ปลากดั มีครบี เดย่ี ว สามครีบ คือ ครบี หลงั ครบี หาง และครบี กน และมคี รบี คูสองคคู ือครบี ทอ งหรือทวนหรือตะเกยี บ และครบี อกซงึ่ อยูต ิดบรเิ วณเหงอื ก ครบี หาง เปนครบี ทมี่ รี ปู แบบหลากหลายมากท่ีสดุ รูปแบบโดยท่วั ไป สําหรับปลาหางเดย่ี ว อาจเปน หางกลม หางคร่ึงวงกลม หางรปู สามเหล่ียม หางกลมปลายแหลม หางยวย และหางรปู ใบ โพธิ์ หางทกุ แบบควรมกี ารกระจาย ของกานครีบเทากัน ระหวา งสวนบนและสวนลางของเสน ท่ีลาก ผาน แนวขนานลาํ ตัว หางควรแผเต็มสมบูรณไ ดสดั สว น ในกรณขี องปลาหางคูล ักษณะหางอาจเปน ลักษณะที่เช่อื มตอกันจนปลายหางเกือบเปน เสนตรง หรอื เวาเลก็ นอ ย หรอื เวามากเปน รูปหัวใจ หรือหางแยกทซ่ี อนทับเกยกนั หรอื หางทแี่ ยกจากกนั เต็มที่โดยไมซ อ นทบั หรอื เปน หางที่เวา ลกึ ใน ระดบั ตาง ๆ แตย ังไมแ ยกกันเดด็ ขาด

ปลากัด 12 ครบี กน ลกั ษณะครีบที่ดคี วรจะมีขอบครบี สว นหนาและสวนหลังขนานกนั และคอ ย ๆ โคง ไปทางดา นหลงั ขอบดานหนา และขอบดา นหลัง จะตอ งไมเรียวแหลมเขาหากัน ลักษณะท่ีดจี ะตอง แผกวา งทาํ มมุ และซอนทบั ดเู ปนเนอ้ื เดียวกนั กบั ครีบหาง แตไมเ ชื่อมตอ กับครีบหาง ครบี ทอง ลกั ษณะควรเหมอื นใบมีดทม่ี ดี า นคมอยดู านหลัง ขอบดานหนา โคงเขา เลก็ นอ ย ปลายแหลม ครีบทัง้ คคู วรมคี วามยาวและขนาด เทากัน และไมไ ขวก ัน ครบี จะตอ งไมส ้ันหรอื กวาง เกนิ ไป และไมยาวหรือแคบเกินไป ครีบอก ควรเปนครบี ที่สมบูรณกวางและยาว ลักษณะทีไ่ มดขี องปลากดั ลกั ษณะทีไ่ มด ขี องปลากดั ลําตวั บางยาว ถือเปนปลาทไี่ มแข็งแรง ปากเล็ก ปากบาง หวั สัน้ หวั งอนลงลา ง เครอ่ื งมาก ท่ีเรยี กวา \"เครอื่ งแจ\" เค่ืองเพชรหรอื หางเพชร ไมท าแพร คอื เปน สีท่ี แพรวพราวเกนิ ไป แตถ าเปนปลากัดพนั ธหุ มอ หรือพนั ธทุ างหไ็ มห า ม แกม แทน หมายถงึ เกล็ดที่ แกม เปนแผนใหญแ ละมสี แี พรวพราว สว นมากมกั เปนสเี ขยี ว กระโดวสแี ดง หรือทเี่ รยี กวา \"โดง แดง\" สําหรบั ปลาลูกทุง ลูกปา ถือเปน ลักษณะทไ่ี มดี คอื เปน ปลาใจนอ ย ดังคาํ หา มทีว่ า \"วัวลัน่ ดา\" ปลาโดงแดง อยา แทงมาก \" แตถาเปนปลาพันธลุ ูกหมอหรอื พนั ธุพันทางกไ็ มห าม ตาโปนหรือตา ถลน แววตาเหมอื นตาแมวหรอื ตางูสงิ เครอื่ งหนาหรอื ทเี รยี กวา เครอ่ื งทบึ เปนปลาทเี่ คลอื่ นไหวชา ไมวองไว ปราดเปรยี ว โคนหางหรือแปนเลก็ มักเปนปลาท่ีไมค อ ยมกี ําลงั สันหลงั ขาวทีเ่ รยี กวา \"หลังเขียว\" เปน ปลาใจนอย ไมเทา สีขาวมากมักเปน ปลาไมเทา ออ น เปนปลาทไี่ มแ ขง็ แรง และไมม ี นาํ้ อดนา้ํ ทน หางดอก คอื หางทม่ี ีจดุ ประท่วั ไปในแพนหาง สีของปลากัด ลูกปา ดาํ เหมอื นฐาน เรยี กวา \"ดําเกลด็ หาย\" หรอื \"ดาํ เกล็ดจม\" เขียวอมดาํ เรยี กวา \"เขยี วดาํ \"เขียวคราม คอื เขยี วอม นาํ้ เงนิ เขยี วใหญ คอื สเี ขียวแกทั้งตวั เขียวลูกหวาย คอื สเี ขียวอมแดงเขียวผักตบหรอื สีเขยี วออน คอื มสี ีเขียวเหมือนสีใบผกั ตบ บางแหง เรยี กวา \"เขยี วทบื ฟอง\" เปนปลากดั ลกู ทุงหรือลูกปา ชนดิ เลว ท่สี ุดคอื มกั ไมช นะคตู อ สูเ ลยก็วา ไดแ ดงปูนแหง หรือเรยี กวา \"สหี มวนเชี่ยน\"แดงอมดํา หรอื ที่ เรยี กวา \"สลี ูกขรบ\" (ตะขบ) หมายถึง สที ่ีคลา ยกับสผี ลตะขบสกุ แดงกาํ่ เปนสีแดงแกแ ตม เี กล็ดสี

ปลากัด 13 เขียวเลก็ นอยคลายผลระกาํ สุกแดงหมอตาย สีคลา ยกบั สีปลาหมอตายเปนสีแดงจาง ๆ ซีด ๆขาว เปน สขี าวใสจนเหน็ กระดกู เรยี กวา \"ขาวเหน็ กาง\" เปน สขี องปลากดั ท่ีหายากทส่ี ดุ ลกั ษณะสขี องปลากัด โดยสรุปสขี องปลากัดท่เี ปน มาตรฐาน จะมรี ูปแบบพ้ืนฐาน 5 รปู แบบ คือ สีเดย่ี ว สองสี ลายผเี ส้อื ลายหนิ ออน และหลากสี ปลากัดสเี ดย่ี ว ปลากดั สีเดยี่ ว เปน ปลากัดที่มีสีเดียวทงั้ ลําตัวและครบี และเปน สโี ทนเดียวกันทง้ั หมด ปลา กดั สเี ดย่ี วแบงออกเปน 2 กลมุ ใหญ ๆ คอื ปลากัดสีเดยี่ ว สีเขม และปลากัดสีเด่ียวสอี อ น และอาจ แบง เปน กลุม ยอย ๆ ลงไปไดอกี ตามรายละเอียดของสี ปลากัดสีเดี่ยวท่ีสมบรู ณจ ะตองไมม สี ีอน่ื ใด ปะปนใน สวนของลําตัวและครบี เลย ยกเวนท่ีดวงตา และเหงอื ก ปลากัดสองสี ลกั ษณะทสี่ าํ คัญของปลากดั สองสี คือลาํ ตัวจะตองมสี ีเดียว และครีบทงั้ หมดจะตอ งมสี เี ดียว เชนกัน แตส ขี องครบี จะตองตา งกับสขี องลาํ ตัว ปลากดั สองสีอาจแบงออกไดเ ปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื 1. ปลากัดสองสีชนิดลาํ ตวั สีเขม ปลากดั สองสชี นิดน้ีจะมีลําตวั สีเขม สใี ดสีหน่ึง เชน แดง ดํา นา้ํ เงิน เขยี ว และครบี กต็ อ งเปนสเี ดยี วท่เี ปน สอี ่นื ทไ่ี มเหมอื นสขี องลาํ ตัวโดยอาจเปนสีเขมอ่นื ๆ หรอื เปนสีออนกไ็ ด ลกั ษณะท่สี ําคญั ของปลากดั สองสลี ําตัวสเี ขม ท่ดี คี ือ มสี ลี ําตวั และสคี รีบตัดกัน ชั ดั เจน และสีของลําตัวและสขี องครีบแยกกันตรงบริเวณทค่ี รบี ตอ กบั ลาํ ตัว 2. ปลากัดสองสชี นิดลําตวั สีออน เปน ปลากดั ท่มี ลี าํ ตวั สีออนสีใดสหี น่งึ และมคี รบี อีกสหี น่ึง ทแี่ ตกตา งจากสขี องลําตัวอาจเปนสีออ นหรอื เขม ก็ได ลักษณะที่สําคัญของปลากดั สองสีลาํ ตัวสีออ น ที่ดคี ือสลี าํ ตวั และสคี รบี ตอ งตัดกนั ชดั เจน ครีบท่ีมสี ีเขมจะดกี วา ครบี สีออ น สขี องลาํ ตวั และสีของ ครบี แยกกนั ตรงบรเิ วณสวนตอระหวา งครบี และลาํ ตัว

ปลากดั 14 ปลากดั สลี วดลาย ปลากัดท่ีอยูในประเภทนเี้ ปน ปลากดั ทไี่ มไดจ ดั อยใู นประเภทสเี ดย่ี วและสองสี ประกอบดวย กลุมยอ ย ๆ ดงั นี้ (1) ปลากัดลายผเี สื้อ ปลากัดลายผีเสอ้ื เปนปลากัดทม่ี สี เี ปน ลวดลายรูปแบบเฉพาะทบี่ ริเวณครบี โดยครบี จะมสี ี เปน แถบ ๆ ขนานกับเสน วงรอบลาํ ตวั การพิจารณาลกั ษณะ ที่ดขี องปลากัดลายผีเสื้อ จะพิจารณา ที่การตดั กันของแถบสี และความคมของขอบสเี ปนหลกั ไมใชด ทู ี่สขี องลําตัวและครีบเหมือนท่ัว ๆ ไป ปลากดั ที่ มีสีของครีบซงึ่ แถบสีดา นในเปน สเี หลอื งและแถบดา นนอกเปน สีเหลืองออ นจึงไมจ ัด อยใู นประเภทลายผเี สอ้ื แนวของแถบสีบนครีบควรลากเปนรูปไข รอบตวั ปลา ปลากัดลายผเี สอื้ สามารถแบง ออกไดเ ปน 2 กลุม ใหญ ๆ คือ - ลายผเี สือ้ 2 แถบสี ครีบจะประกอบดวยแถบสีทีต่ ดั กนั ชัดเจน 2 แถบ ลักษณะทดี่ แี ถบสีทงั้ สองควรจะมคี วามกวางเทา กัน เปน คนละครึ่งของความ กวา งของครบี - ลายผเี สอื้ หลายแถบสี หมายถงึ ปลากดั ลายผีเส้อื ทีส่ ขี องครบี มตี งั้ แต 3 แถบข้นึ ไป ลกั ษณะ ท่ดี คี วามกวา งของแถบสแี ตล ะแถบควรจะเทากบั ความ กวางของครบี หารดวยจาํ นวนแถบสี สขี อง ลําตัวและสขี องครีบแถบแรกทีอ่ ยชู ิดลาํ ตวั อาจเปนสีเดยี ว สองสี ลายหนิ ออน หรอื หลากสกี ็ได (2) ปลากัดลายหนิ ออ น ปลากดั ลายหนิ ออ นเปน ปลากัดในชดุ ของปลาทีม่ สี เี ปนลวดลายรูปแบบเฉพาะ เชน เดยี วกนั โดยครบี จะไมม แี ถบสี และบนลาํ ตวั จะมสี ีอนื่ แตม เปน ลวดลายหินออ น ปลากดั ลายหนิ ออ นแบง ออกเปน ชนดิ หลกั ๆ 2 ชนดิ ลายหินออ นธรรมดา ปลากดั ชนิดนจี้ ะไมม สี แี ดง เขียว น้ําเงิน และเทา ปรากฏในลายหนิ ออน บนครบี กจ็ ะไมป รากฏสเี หลานีเ้ ชนกนั ปลาจะมีสดี าํ เขม หวั หรอื หนา ขาว ลวดลายจะ ประกอบดวยสดี ํา สเี นอื้ และสขี าวเทา นน้ั ลายหินออ นสี สีบริเวณหนา และคางยังคงลักษณะเปนสขี าว หรอื สเี น้ือ แตลําตัวและครบี อาจปรากฏสผี สมของสีแดง เขียว นาํ้ เงิน และเทา ลําตัวของปลากดั ลาย หนิ ออนสีอาจประกอบดวย สเี หลา นีใ้ นลวดลาย แตจ ะตอ งมสี เี น้อื อยู

ปลากัด 15 วิธกี ารเพาะพันธุ 1. นําขวดปลาเพศผูและเพศเมยี ท่ีมคี วามสมบูรณทางเพศเต็มทมี่ าวางตดิ กนั ซึ่งวธิ ีน้ี เรยี กวา “เทียบคู” ซึง่ ควรจะเปน บรเิ วณทป่ี ราศจากสิ่งรบกวน จะทาํ ใหปลาตกใจ ใชเ วลาเทยี บคู ประมาณ 3-10 วนั 2. จากน้นั นาํ ปลาเพศผูแ ละเพศเมยี ใสล งในภาชนะทีเ่ ตรยี มไวส ําหรบั ผสมพนั ธุ เชน ขนั พลาสติก โหลแกว กาละมงั ตูกระจกหรอื อางดิน แลวใสพันธไุ มนํ้าทแ่ี ชด า งทบั ทมิ เรยี บรอ ยแลว ซึ่ง ชนิดพันธุไมน าํ้ ท่นี ิยมใช ไดแ กส าหรา ยพงุ ชะโด สาหรา ยหางกระรอก จอก ใบผักตบชวาเปน ตน 3. เม่ือปลาสามารถปรบั ตัวใหช ินกบั สภาพในภาชนะ (ประมาณ 1-2 วัน) ปลาเพศผจู ะเร่ิม กอหวอดตดิ กบั พนั ธุไม 4. หลงั จากสรา งหวอดเสรจ็ ปลาเพศผจู ะพองตัวกางครบี ไลตอ นตวั เมยี ใหไปอยใู ตห วอด 5. ขณะทตี่ วั เมยี ลอยตัวข้นึ มาบริเวณผิวน้ํา ปลาตัวผูจะรดั ตัวเมียบริเวณชอ งอวยั วะเพศ 6. จากน้นั ไขกจ็ ะหลุดออกมา พรอมกับเพศผูจะฉดี นา้ํ เชือ้ เขาผสม และปลาเพศผจู ะตามลง ไปใชป ากดดู ไขอมไว วายนํ้าขึน้ ไปพนไขเขาไปไวใ นฟองอากาศจนกวา จะหมด 7. เมื่อส้นิ สดุ การวางไขป ลาเพศผูจะทําหนา ท่ีดแู ลไขเพียงลาํ พงั และจะไลต อ นปลาเพศเมยี ไปอยูทม่ี มุ ภาชนะ 8. หลังจากน้นั รบี นําปลาเพศเมยี ออกจากภาชนะเพอ่ื ปองกันไมใ หป ลาเพศเมียกินไข 9. ปลอ ยใหปลาเพศผดู แู ลไข 2 วัน จงึ แยกเพศผอู อก การอนุบาลลูกปลา ไขป ลากดั จะฟก เปน ตัวหลงั จากไดร บั การผสมนา้ํ เชอื้ ประมาณ 36 ช่ัวโมง โดยในชวงแรก จะมถี งุ อาหาร (Yolk sac) ติดตัวมาดว ย ดังนน้ั ชว ง 3-4 วันแรก จึงยังไมต องใหอาหาร เปนเวลา 3—5 วนั แลว จึงเปลีย่ นเปนตัวออ นของไรแดง (Moina) ตอมาจึงเปล่ียนเปนไรแดงเต็มวยั เล้ยี งตอ ไป จนกระทงั่ ปลาสามารถกนิ ลูกนํา้ ได และผูเลย้ี งสามารถแยก เพศปลากัดไดเ มอื่ ปลามีอายปุ ระมาณ 1 เดือนข้ึนไป

ปลากดั 16 โรคทพี่ บในปลากดั และการปองกันรักษา ปลากัดท่ีเล้ียงถกู วิธมี ักไมคอ ยเปนโรค แตถ าสภาพแวดลอ มมีการเปลย่ี นแปลงไปในทางที่ ไมเ หมาะสมกบั การดาํ รงชวี ติ ของมนั ( อณุ หภูมลิ ดตาํ่ ลง น้าํ สกปรก ) ปลากดั ก็จะเปน โรคได โรคท่ี มัก พบในปลากัด มดี งั นี้ โรคจุดขาว ( White spot disease ) เกิดจากสัตวเซลลเดียวทช่ี อ่ื วา Ichthyophthirius multifilis นยิ มเรียกท่ัวไปวา \" อค๊ิ \" เปนสตั ว เซลลเดียวท่มี ขี นาดใหญท ่ีสดุ พบวา ทาํ ใหป ลาเกดิ โรคในปลา ตัวออนของ \" อคิ๊ \" จะฝงตัวเขาไป อยใู ตเ ยอ่ื บุผวิ บรเิ วณลําตัวและเหงอื ก ทาํ ใหเ หน็ บรเิ วณนน้ั เปน จดุ ขาว ๆ ขนาดประมาณ 0.5 -1.0 มม. เมื่ออิ๊คเจรญิ เตม็ ท่ีจะหลดุ ออกจากตวั ปลา วา ยนาํ้ เปน อสิ ระและจะสรา งเกราะหมุ ตัว มกี ารแบง เซลลขยายพนั ธุ รวดเร็วเปนตัวออ นทีเ่ รยี กวา \" โทไมท \" ( Tomite ) ในเกราะหน่งึ จะมโี ทไมทตงั้ แต 500 -2,000 ตัว เมอ่ื สภาพแวดลอมเหมาะสมเกราะจะแตกออก โทไมทก็จะวา ยนํ้าไปเกาะท่ตี ัวปลา ตอไป มกั จะพบโรคจดุ ขาวระบาด ในชวงท่อี ณุ หภูมขิ องน้ํามีการเปล่ยี นแปลงจากสูงเปน ตา่ํ หรือตํ่า เปน สงู การรกั ษาที่ไดผ ลดี คอื ใชฟ อรมาลนิ เขม ขน 25 - 30 สวนในลานสงู (ppm) ผสมกบั มาลาไคท กรีน 0.1 สว นในลา นสวน แชต ดิ ตอ กัน 3 - 5 วัน แลว จึงเปลย่ี นน้าํ โรคสนมิ ( Velvet disease ) เกิดจากสัตวเซลลเดยี วชนดิ แส ( Flagellum ) มรี ปู กลมรี มีชื่อวา Oodinium sp. อาการของโรค นี้คอื ตามผวิ หนังปลาจะมลี กั ษณะคลายกํามะหย่สี ีเหลอื งปนน้ําตาล กระจายเปน หยอม ๆ เนอื่ งจากมี Oodinium เกาะอยู พบปรสติ น้ตี ามลาํ ตัวและเหงอื ก การปอ งกนั และกําจดั ควรใชเกลือ แกงเขม ขน 1 % แชปลาไวน าน 24 ชว่ั โมง และควรทาํ ซํา้ ทกุ 2 วนั หลงั จากเปลยี่ นนาํ้ ทใี่ ชเ ลี้ยงปลา ออกหมดแลว โรคทเ่ี กิดจากปลงิ ใส ปลงิ ใสท่พี บมอี ยู 2 ชนดิ คอื Gryodactylus sp. และ Dactylogyrus sp. อาการของโรคทพี่ บใน ปลากัด คอื สวนหวั ของปลาจะซดี สวนลาํ ตวั ของปลามสี เี ขม และมีอาการของครบี กรอ นรว มดว ย พบปรสติ นีต้ ามลาํ ตัวและเหงอื ก การปองกันและกาํ จดั ควรใชฟ อรม าลินเขม ขน 30 - 50 สว นในลา น สวน หรือ Dipterex เขน ขน 25 สว นในลา นสวน แชต ลอดไป โรคทเ่ี กิดจากเชอื้ รา โดยปกตแิ ลวเชื้อราไมใ ชสาเหตุทแี่ ทจรงิ ของโรค มกั จะพบหลังจาก ปลาบอบช้าํ เนอื่ งจาก การจับ เชอ้ื ราทมี่ กั พบเสมอคือ Ssprolegnia sp. อาการของโรคจากเชอื้ รา คอื จะเหน็ เปนปยุ ขาว คลายสาํ ลบี รเิ วณท่เี ปนโรค สําหรบั การรกั ษาใชมาลาไคทก รนี เขมขน 0.1 - 0.25 สว นในลานสวน รวมกบั ฟอรม าลนิ เขม ขน 25 สว นในลา นสวน แชต ดิ ตอ กนั 3 วัน

ปลากดั 17 โรคทเี่ กิดจากแบคทเี รยี อาการทีป่ รากฏคือ มอี าการทองบวม และมขี องเหลวในชอ งทอ งมาก การรักษา ใชแ ชใ นยา ปฏชิ วี นะ เชน ออกซิเทตราไซคลิน หรือ คลอแรมฟนคิ อลที่มคี วามเขม ขน 10 - 20 สว นในลา นสว น โดยแชต ดิ ตอ กนั 3 - 5 วัน และตองเปล่ียนนาํ้ ใหมทกุ วนั แลวเติมยาใหม ีความเขม ขน เทาเดิมทกุ ครง้ั หรือใชเกลอื แกงเขม ขน 0.5 % วิธกี ารแปลงเพศปลากัด \"ปลากดั \" ปจจบุ ันไดรับความนิยมเลี้ยงกนั อยา งแพรห ลายในตา งประเทศ เน่ืองจากเพศผู นน้ั จะมสี สี นั สดใสสวยงาม รวมท้ังยงั มคี รบี หยู าวและใหญกวาเพศเมีย จากลักษณะน้จี ึงมกี ารใช ตอ สูกันเพื่อเปนเกมกฬี าและการพนนั จึงทาํ ใหเ พศผูเ ปน ทีน่ ยิ มในการเล้ียงมากกวา แตจากการศกึ ษาพบวาอตั ราสวนเพศผูและเพศเมยี ท่ี ไดจากการเพาะพนั ธเุ ปน 1 ตอ 1 ดังนัน้ ผเู ล้ยี งปลาชนดิ นเ้ี พื่อ การจําหนาย จงึ ตองศึกษาเทคนคิ ในการเพาะพันธุท ่เี หมาะสม และลดตน ทนุ เพอ่ื ใหไดเพศทีต่ รงกบั ความตอ งการของตลาด การใชฮอรโ มนในการแปลงเพศปลาหรอื ในการผลติ ปลาเพศใดเพศหนง่ึ กาํ ลังไดรบั ความสนใจอยา งมาก แต วิธกี ารนีก้ ็ยงั มีขอจํากดั การอยูมากท้งั ในดา นราคาและวธิ ีใช เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญมพี ื้นความรูท างดา นการใช ฮอรโ มนนอยอยู ดงั น้ัน อาจได \"ปลากดั \" ที่ไมตรงกบั ความตอ งการ ตองส่ังซื้อฮอรโ มนมาจากตา งประเทศ ทําใหเ กดิ การเสียดลุ การคา คณะวทิ ยาศาสตรก ารประมง สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคลตรัง โดย \"อุไรวรรณ วฒั นกลุ \" จึงทาํ \"โครงการศึกษาสารสกดั จากใบมงั คดุ ตอ การเปลีย่ นลักษณะเพศในปลากดั \" ข้นึ และไดผล ออกมานา สนใจยงิ่ การวจิ ยั ในครง้ั น้ไี ดม กี ารนํา \"ใบมงั คดุ \" ทง้ั สดและแหง มาทาํ การทดลองในแตละความ เขม ขน วา มีผลตอการเปลีย่ นลักษณะเพศหรือสัดสวนเพศมากนอยแคไ หน โดยนาํ มาสกัดเปน น้ําชา เพ่ือเล้ยี ง \"ปลากดั \" ต้ังแตแ รกเกิดจนสามารถแยกเพศได เพื่อเปนแนวทางในการนําฮอรโมนจาก ธรรมชาตมิ าใชทดแทน หากไดผ ลกจ็ ะเปน ประโยชนใ นการนํามาเปล่ยี นเพศปลาหรอื ทาํ หมนั ปลา เพือ่ ลดกจิ กรรมการสืบพันธแุ ละสงผลตอ การเพิ่มอตั ราเจรญิ เตบิ โต ตลอดจนสามารถนําไปใช สงเสรมิ อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามได

ปลากัด 18 สําหรบั วธิ กี ารศกึ ษานั้นแบง ออกเปน 3 ขั้นตอน ไดแก การเตรยี มสารสกดั จาก \"ใบมังคดุ แหง\" ดว ยการ ทดลองเลย้ี งปลาพอแมพันธทุ ่ีมคี วามสมบูรณเพศและ พรอมทีจ่ ะผสมพันธุ ในอตั ราสว นน้ําเปลาตอ นา้ํ สกัดจาก \"ใบมงั คดุ \" เทา กบั 1 ตอ 1 จนเม่อื ลกู ปลามอี ายุได 3-4 วัน จึงใหไขแ ดงตม สกุ เปน อาหารวันละ 1 ครงั้ เปนเวลา 3-5 วัน หลังจากนั้นเปลย่ี นเปนใหไ รแดงและลูกนา้ํ จนกระทง่ั ปลาโต รวมทั้งการเกบ็ ขอ มูลและเปรยี บเทียบความ แตกตา งของอตั ราสวนเพศ ดวยวิธี \"Chi-Square test\" ทั้งนี้ เม่ือเล้ียง \"ปลากดั \" ดว ยนาํ้ หมกั จาก \"ใบมงั คดุ สด\" ทรี่ ะดบั ความเขม ขน ตา งๆ กนั เปนเวลา 30 วนั พบวา สารสกดั ทรี่ ะดับความเขมขน 25 กรัม มผี ลตอการเปลยี่ นลักษณะเพศปลา มากทีส่ ดุ นน่ั คือ เพศผู คดิ เปน 76.79% ในขณะท่ีเพศเมีย คดิ เปน 23.21% เทานั้น สว นสารสกดั ท่ี ระดับความเขม ขน 70 กรัม จะมีผลตอการเปลยี่ นลกั ษณะปลาเปนเพศเมยี คดิ เปน 76.81% ในขณะ ทเ่ี พศผู คิดเปน 23.19% เทา นนั้ สําหรบั สารสกัดทรี่ ะดับความเขม ขน 50 กรมั ไมมคี วามแตกตา ง ระหวางสดั สว นเพศ แตถาใชส ารสกดั ทรี่ ะดับความเขม ขน 100 กรัม กจ็ ะทาํ ให \"ปลากดั \" ไม สามารถทนไดแ ละเสยี ชีวิตไปทง้ั หมด อยา งไรกต็ าม เมือ่ เล้ยี งปลาดวยนํ้าหมกั จาก \"ใบมงั คดุ แหง \" กลับไมพ บวา มีผลตออัตรา การเปลย่ี นเพศและสัดสว นเพศใหเ ปน เพศผู ไมวา จะมสี ารสกดั ท่รี ะดบั ความเขม ขน 0 กรัม 25 กรมั 50 กรัม 70 กรัม หรือ 100 กรัม โดยเฉพาะปลาที่เลย้ี งดว ยสารทร่ี ะดบั ความเขมขน 25 กรมั นัน้ พบวา การเปล่ียนเพศมีความแตกตางกนั นอ ยมากคอื เพศผู 42.08% และเพศเมีย 57.92% ดงั น้ัน ปลาทเ่ี ล้ยี งดวยสารสกัด \"ใบมงั คดุ แหง \" ทกุ ชดุ การทดลองจะมีอตั ราสว นเพศเมยี สูงกวาเพศผู และ ไมส ามารถแปลงใหเ ปน เพศผูได โดย \"อไุ รวรรณ วัฒนกลุ \" มขี อเสนอแนะอันสืบเนอื่ งมาจากงานวิจยั วา ควรจะมกี ารทดลอง ระดบั ความเขมขนของสารสกัดไมใ หเ กิน 25 กรัม เพื่อหาระดบั ความเขมขน ท่ีเหมาะสมตอ การ เปลย่ี นเพศ รวมทง้ั ควรทาํ การศกึ ษาการใช \"ใบมงั คดุ \" ในการแปลงเพศปลาเศรษฐกิจชนิดอ่ืนๆ ท่ี ตองการเพศเมียเปนหลัก และควรจะมกี ารศึกษาทดลองหมกั \"ปลากัด\" ตงั้ แตย ังเปน พอ แมพนั ธุ เพอ่ื ดูถึงประสทิ ธภิ าพในการทจ่ี ะเปลยี่ นเพศ ผลของโครงการในครั้งนีส้ รปุ ไดชดั เจนวา สารสกดั \"ใบมังคุดสด\" ท่รี ะดบั ความเขมขน 25 กรัมนั้น มผี ลตอการเปลย่ี นลักษณะ \"ปลากัด\" ใหเ ปน เพศผมู ากทส่ี ุด ถือเปน ขา วดีสําหรบั ทัง้ ผูข าย และผูเลีย้ งทจี่ ะมกี ารพฒั นาสายพนั ธุใ หสวยงามและตรงกบั ความตอ งการ แมจ ะเปนการใช เทคโนโลยีเขามาเพอื่ เปลย่ี นแปลงธรรมชาติ ทอ่ี าจจะดแู ปลกๆ กันไปบางกต็ ามที

ปลากัด 19 เทคนิคการฝก หดั ปลากัดเพ่อื การแขงขนั หรอื ปลาเกง สาํ หรับปลากดั ทด่ี แี ละพรอ มลงสนามจะตองไดรบั การฝก ให กดั เกง ดว ยการฝก ตง้ั แตใ นบอ เลย้ี งแลวทาํ การคดั เลอื กปลาท่ีกัดเกง ออกมแลว นําไปกัดกดั ปลากดั ในครอกอน่ื ๆ จนกระท่งั ไดปลาที่กดั เกง ตามความตอ งการ เดมิ ทนี ัน้ กอนทจ่ี ะนําปลากดั ออกกัดใน สนามแขง ตา งๆคนเกา แกม กั จะมีคาถาสาํ หรบั เปาเสกกาํ กับการกัด ปลาในแตล ะครั้งซ่ึงคาถาสาํ หรับการกัดปลาในแตละคร้งั กค็ อื นะกัดตัง กะขะชนะ ตังขามกี าํ ลังดงั พระยาปลาใน มหาสมทุ รสกุ โุ ย เกล็ดแกว มณีหมุ หอ ตัวขา ดงั เกาะเพชรพตุ ากะเก เขยี้ วแกวท้ังสด่ี ุจตรีเพชรหนุมาน มะอะอุ ปลาใดมารอนราน วินาศ สันติ สําหรับปลาทจ่ี ะเลยี้ งเพ่อื การแขง ขันหรอื การกดั นนั้ พออายคุ รบ 6-8 เดอื น ใหเ อาปลา ขึ้นมาจากอางมาใสขวด เพอ่ื ดวู า ปลาตวั ไหนสมบูรณแ ละลกั ษณะดีกใ็ หค ัดไวลงอา งหมักท่ีใชใ บตอง แหง ของกลว ยนา้ํ วา หรือใบหกู วางแชอา งหมักทงิ้ ไว 10-15 วนั จงึ นาํ เอาปลาขน้ึ มา หากเปน ปลาท่ี อวนเกนิ ไปในระหวา งหมกั ก็ควรใหอ ดอาหารบา ง โดยใหอาหารวันเวน วนั เม่อื ครบกาํ หนตามท่ี หมักไวจ ะไดป ลาทีม่ รี ูปรา งสวยเกล็ดแนน ผวิ เปนมันเรียบ ตอจากนนั้ ใหนาํ ปลามาใสใ นขวดและ เร่มิ ฝกได ในการฝกปลาจะมีชอื่ เรียกวา ”ลกู ไล” ใหห าขวดหลนาํ้ กลัน่ มาตัดปากออก เพอ่ื ความ สะดวกเวลาตกั ปลาแลวใหเ อาปลาตัวเมียเล็กๆขนาดอายไุ ด 3-4 เดือนประมาณ 5-6 ตัว ใสลงใน โหลพอเชาประมาณ 6-7 โมง ก็เปนปลาทเ่ี ลย้ี งใหพ องใสกนั ประมาณ 1 นาที เมือ่ เห็นวาดดุ ีแลว กต็ กั ใสโ หลลูกใหมป ลาก็จะไลกดั ลูกไลไปรอบๆ ใหม ันไลอ ยปู ระมาณ 30 นาที กใ็ หต กั ปลาตวั ผูข นึ้ การ ทาํ เชนนจ้ี ะทาํ ใหปลาวา ยนํ้าแข็งแรงไมต ก นอกจากการฝกลูกไลแ ลว กต็ อ งฝก”พานตวั เมีย” โดยเอาปลากัดตัวเมียทมี่ ีขนาดใหญ หนอ ยนงึ ลงหมักประมาณ 4-5 วนั เพือ่ ใหปลาดแุ ลวนํามาใสโ หลจากนน้ั ใหเ อาปลากัดตวั ผทู ่ีเลย้ี งใส ลงไปทัง้ ปลาตัวผแู ละปลาตัวเมียจะพองเขาหากนั คลายจะกดั กนั มกี ารวิ่งลอ ไปมา การพานตัวเมีย น้ีจะใชเวลาประมาณ 3-5นาทีกพ็ อ และเวลาพานตัวเมียนน้ั ตอ งคอยดูตลอดเวลา อยา ใหป ลาตวั ผู กัดปลาตวั เมยี ได เพราะไมเชน นนั้ ปลาตวั เมยี จะกลวั ไมพองเขาหาตัวผหู รอื ลกู ไลล อ กบั ปลาตัวผู การพานกจ็ ะไมมีประโยชน การพานนคี้ วรทาํ ในชา งบาย พอพานเสรจ็ แลวกใ็ หตกั เอาออกมาใสขวด โหลพกั ไวส ักครหู นงึ่ จึงใหอาหารพอถงึ 6 โมงเย็นก็เอาลงอางนอนซง่ึ เปน อางที่มลี กั ษณะเดยี วกนั กบั อางรดั ต้ังไวใ นทีส่ งบ ไมใหส ะเทือนทาํ เชน นต้ี ดิ ตอ กนั ประมาณ 10-12 วนั ปลาที่เลีย้ งไวก็จะสมบูรณ กดั ไมแพคตู อสู ซึ่งเซยี นปลากดั มักกลา วกนั วา ”นาํ้ เลยี้ งดี” เชน เดียวกับไกชน ปลากัดพวกน้แี มว า จะ มคี วามดจุ รงิ แตถ า ถูกชอ นใสขวดใหมห รอื ถูกแสงสวางอยา งกะทนั หันมนั จะตนื่ ตกใจไดง ายๆ

ปลากัด 20 เหมือนกันดงั นัน้ ก็ตอ งมกี ารฝกโดยหม่นั เปล่ยี นขวดบอ ยๆไมใ หซ า้ํ ลกั ษณะแบบเดยี วกนั เปนการฝก ใหปลาเคยชินกบั สถานที่ใหมๆ ไมจ าํ เจ เมื่อถงึ เวลานําไปกดั จริง มนั กจ็ ะไมเ กิดอาการต่ืนเวที การ ฝกแบบน้เี รยี กวา”ปลอบ” เทคนิคการนาํ ปลากดั เขา แขงขนั วา กนั วา ปลากัดทเี่ หมาะแกการนําเขา แขงขนั หรือเพอื่ การกดั นัน้ จะตอ งเปน ปลาทม่ี ีอายประมาณ1 ปเ ต็ม เพราะปลากัดอาย1ุ เตม็ จะเปน ปลาท่ีสมบูรณแ ขง็ แรง และแกรง พอทจ่ี ะเปนปลานกั สไู ดอยางเตม็ ความสามารถ แตค วามเปนปลา กดั เกงใชวา จะอยูทอ่ี ายหุ รอื ขนาดของปลากห็ าไม ยอ มขนึ้ อยกู ับการฝก หดั ปลาดว ย รมถึงการหมกั ปลากดั ใหไความแกรง เกล็ดหนาและปากคมแขง็ แรง ซง่ึ หลักการเหลา นีบ้ รรดาเซยี นปลากัดแตล ะ คนจะมีเทคนคิ การทาํ ใหป ลาเกงแตกตางกนั ดังจะเห็นไดจ าก ปา ยหนารา นตามตลาดซนั เดยวา เปน ปลากดั เกง จากฉะเชิงเทราบา ง ราชบรุ ีบา ง เพชรบุรีบา ง นครปฐมบา งหรอื ไมก็เปน ปลากัดเกง จาก ภาคใต สวนการเทียบคูปลาเพ่ือการกัดกนั นัน้ จะอาศยั การวางขวดทมี่ ีปลาพรอมจะลงสูส นามกัด อยใู นขวด โดยการวางขวดใกลๆกัดเพอื่ จะไดส งั เกตดขู นาดของตวั ปลาวามีความเหมาะสมทจี่ ะกัด กันหรอื ไม เม่ือตางฝา ยตา งกด็ วู า ปลาของตนมีขนาดใกลเคยี งกันหรือไมบ างครง้ั กอ็ าศยั ความพอใจ และการตกลงกนั ของทง้ั สองฝา ยดว ย โดยไมจ าํ เปนวา ปลาจะมขี นาดเทาหรอื ใกลเคยี งกนั เพยี งอยา ง เดยี วหลงั จากท่ีตา งฝายตา งเทยี บปลากันแลวตกลงทีจ่ ะปลอยปลากัด พวกเขาทัง้ สองฝายกจ็ ะเทนาํ้ ออกจากขวดโหลทตี่ นใสป ลามาลงนาชนะทเ่ี ตรยี มไวเ หลอื นา้ํ ในขวดโหลพยี งเล็กนอย จากนน้ั จึงเท ปลารวมกันเพือ่ การแขง ขนั กนั ตอไป อน่ึงในการทบี่ รรดาเซยี นปลากัดทง้ั หลายจะทาํ การคดั เลอื กปลาของตนเองมาเพือ่ การ แขงขันกันนกี้ ต็ อ งอาศยั มอื นํา้ เลี้ยงดงั กลา วโดยการคดั เลอื กปลาทม่ี ลี กั ษณะเดนในการกัดเปนปลา กดั แมน กดั รนุ แรง กดั เฉพาะทส่ี าํ คญั เชนบรเิ วณหู บรเิ วณกระเพาะ และบริเวณหางหรือตามครบี ตา งๆ ของลาํ ตวั ปลา วากนั วา ปลากดั เกงในแตล ะครอกจะมี ความเกง เหมอื นกันแทบทกุ ตัว คือหากเปนประหลาดกี ็ จะดที ง้ั ครอก ตรงกันขา มหากเสียกจ็ ะเสียทั้งครอก เชนกนั “ถา ขแ้ี พก็แพเหมอื นกนั ทง้ั ครอกชนะก็ชนะ เหมอื นกันท้ังครอก” ขอสําคัญเมือ่ ปลากดั ที่กดั แขงขันกนั ชนะแลวจะ ไมส ามารถนําปลาน้ันมากดั ไดอกี เปนครั้งท่สี อง เนือ่ งจากวาปลาจะบอบชา้ํ เกนิ ไป ควรนาํ ไปเล้ียงเปน พอ พันธุเทา นน้ั และควรดแู ลเอาใจใสเ ปนอยา งดใี นการ พักฟนปลา เมือ่ ปลาพักฟนดแี ลว จึงนาํ ไปผสมพนั ธุ ตอ ไป ฉะนัน้ เมื่อปลากดั ผา นการฝก ฝนทด่ี แี ลว ยอมไดเปรยี บใน การกดั กนั เพื่อการแขง ขันทุกครง้ั แตท งั้ น้ยี อมขน้ึ อยกู บั สายพนั ธขุ องปลาในแตล ะแหลงดว ยวามคี วามทนทานหนงั เหนียวหรอื กดั เกง ดีหรอื ไม อยา งเชนปลากัดทข่ี นึ้ ชื่อคือปลากัดแดร้ิว ปลากัดเพชรบุรี และปลากัดมาเลเซียเปนตน .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook