Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หอมหัวใหญ่

Description: หอมหัวใหญ่.

Search

Read the Text Version

หอมหัวใหญ ! พันธุ ! การเพาะกลา ! การเตรียมแปลงปลูกและระยะปลูก ! การใสปุย ! การยายกลาปลูก ! การใหน า้ํ ! การเกบ็ เกย่ี ว ! การพรวนดนิ และกาํ จดั วชั พชื ! ใชส ารเคมกี าํ จัดศัตรูหอมหัวใหญ ! โรคทส่ี ําคัญของหอมหัวใหญ ! แมลงศตั รทู ส่ี ําคัญของหอมหัวใหญ ! ภาคผนวก หอมหัวใหญ หอมหัวใหญเปนพืชผักท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่งในโลกมีการใชบริโภคสดกับผักสลัด ประกอบอาหาร และใชแ ปรรปู ในโรงงานอุตสาหกรรมไดแ ก อบแหง ดองนา้ํ สม และใชเ ปน สว น ประกอบในปลากระปอง เปนตน สําหรับประเทศไทยมีการปลูกหอมหัวใหญและใหผลผลิตไดเพียง 1 ครั้ง ในรอบป โดยจะเริ่มมีการเก็บเกี่ยวผลผลิต ต้ังแตเ ดอื นธนั วาคม-เมษายน หลงั จากนน้ั จะเกบ็ รักษาผลผลิตตง้ั แตเ ดอื นพฤษภาคมถงึ ตลุ าคมไวใ ชบ รโิ ภคจนถงึ ฤดปู ลกู ใหม ถาหอมหวั ใหญภายนอกประเทศมีตน ทนุ การผลติ ตา่ํ และมกี ารลกั ลอบนาํ เมลด็ พนั ธมุ าปลกู ทําให มีปริมาณหอมหัวใหญในทองตลาดมาก ก็จะเกิดภาวะราคาตาํ ตา่ํ กอ ความเดอื ดรอ นใหแ กเ กษตรกรซง่ึ ในปจจุบันไดม ีการทาํ เปา หมายการผลติ เปน รายป เพอ่ื ใหพ น้ื ทป่ี ลกู มปี รมิ าณเหมาะสมและสามารถควบ คุมคุณภาพผลผลติ ใหส อดคลอ งกบั ความตอ งการบรโิ ภคและเกษตรกรขาย ผลผลิตไดในราคาดี สาํ หรับแหลงผลิตที่สําคัญไดแก จังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดเชียงใหมนั้น มีสภาพแวดลอมเหมาะสมใน การผลิตหอมหัวใหญ แตการที่จะผลิตหอมหัวใหญใหไดปริมาณและ คุณภาพตรงตามความตอ งการของตลาด ตอ งมกี ารปฏบิ ตั ิ ตามคาํ แนะนําทางวิชาการ ดแู ลเอาใจใส อยางใกลชิด และขอคําแนะนําปรึกษาจากเจาหนาที่ผูเกี่ยวของสวนในการจะปลูก หอมหัวใหญใหได คุณภาพดนี น้ั สามารถทาํ ไดด งั น้ี

หอมหวั ใหญ 2 เกษตรกรนิยมใชพันธุกราเน็กซ ซง่ึ เปนพันธดุ ง้ั เดมิ ทน่ี าํ มาจากประเทศสหรัฐ อ เ ม ริ ก า หั ว มี ลั ก ษ ณ ะ ค  อ น ข  า ง ก ล ม ค อ เ ล็ก เป ลื อ ก สีนา้ํ ตาลปนเหลอื ง เน้ือมสี ขี าว อายุการเก็บเกี่ยวประมาณ 150 วัน นบั ตง้ั แต วันเพาะเมลด็ การปลูกหอมหัวใหญสามารถทาํ ไดหลายวิธี เชน หยอดเมลด็ ในแปลงปลกู โดยตรง และเพาะกลา ปลูก สําหรับในประเทศไทยนิยมเพาะกลาแลวยายปลูก 1. การเตรยี มเมลด็ พนั ธุ การเพาะหอมหัวใหญในพื้นที่ 1 ไร จะตอ งใชเ มลด็ พนั ธุ 1 ปอนด หรอื ประมาณ 454 กรัม โดยนาํ เมล็ดพันธุหอมหัวใหญแชนาํ้ คางคืนไว 1 คนื เพอ่ื ใหเ มลด็ พนั ธงุ อกอยา งสม่ําเสมอ แลวนาํ มาคลกุ ดว ยสาร ปองกันกําจดั โรคแมลง ทง้ิ ใหห มาดแลว นําไปหวา นในแปลงเพาะ 2. การเตรียมแปลงเพาะกลา ใหเลือกพ้ืนที่ท่ีทําแปลงกลาใกล บริเวณที่มีแหลงนํ้า ไมม นี า้ํ ขงั แปลงกลา นจ้ี ะตอ งเตรยี มใหด กี วา แปลงกลาพืชผักอื่น ๆ เพราะกลาหอมหัวใหญจ ะตองอยใู นแปลง นานถึง 40-45 วัน จึงจะยายปลูกได กาํ จัดวัชพืชออกใหหมด ยอยดนิ ใหล ะเอยี ด ตากดนิ ไว 7-10 วัน ใสปุยอินทรีย ไดแก ปุย คอก ปุยหมัก อตั รา 1-2 ตนั /ไร ปยุ เคมี สตู ร 15-15-15 อตั รา 30 กก./ไร แลว คลกุ เคลา ดนิ กบั ปยุ ใหเขา กัน ปรบั และ เกลย่ี ดนิ ในแปลงใหเ รยี บ 3. การเพาะกลาและดูแลรักษา โรยเมล็ดใหเปนแถวตามความ กวางของแปลง หรอื ตามแนวขวางบนแปลงเพาะ แตละแถวหาง กัน 10 เซนตเิ มตร แลว หยอดเมลด็ ลงในรอ งทท่ี าํ ไว ใหเ มลด็ ใน แตละแถวหา งกนั ประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร เพอ่ื ไมใ หต น กลา ขน้ึ แนนและยอ งอาหารกนั จากนน้ั กลบดว ยดนิ หนา 1 เซนตเิ มตร ควรฉีดสารปองกันกํ าจัดวัชพืช เชน อะลาคลอร หรือ โกล 2 อี เปน ตน หลังจากนั้นใชฟางหรือหญาแหงที่สะอาด คลุมแปลง รดน้าํ พอชุม แตอยาใหแฉะ วนั ตอ ไปตอ งรดนา้ํ ใหชุม อยูเสมอ เมลด็ จะงอกภายใน 4-5 วัน หลงั จากทําการเพาะกลาหอมหัวใหญแลว ควรทาํ หลงั คาผา หรอื พลาสติกคลุมแปลงเพาะเพ่ือชวยรักษาดินใหชุมชื้นพอเหมาะและ เพ่ือปอ งกนั แสงแดดและฝนดว ย โดยใชไมไผเหลาดัดโคงทาํ เปน โครง หลังคาแลวคลุมทับดวยผาดิบหรือผา พลาสตกิ แลว ขงึ ใหต งึ เมอ่ื กลา หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 3 อายุได 2-3 วัน ใหด งึ เศษฟางหรอื หญา แหง ทค่ี ลมุ ออกใหเ หลอื บาง ๆ และเปด ผา คลมุ แปลงใหก ลา ได รับแสงอาทติ ยโ ดยปฏบิ ตั ดิ งั น้ี สัปดาหแรก เปดชวงเชา 6.00-9.00 น.บา ย 16.00-18.00 น. สัปดาหที่ 2 เปดชว งเชา 6.00-10.00 น.บา ย 15.00-18.00 น. สัปดาหที่ 3 เปดชวงเชา 6.00-11.00 น.บา ย 15.00-18.00 น. หลังจากน้ีไปเปด ผา คลมุ ตลอดวนั จะปด กต็ อ เมอ่ื ฝนตกหนกั เทา นน้ั การเตรียมแปลงปลูก หอมหัวใหญเปนพืชผักประเภทลงหัว ฉะนั้นดินที่จะปลูกหอมหัวใหญควร เปนดินรวน หรอื ดนิ รว นปนทราย ควรไถพลกิ ดนิ ตากแดดไวอ ยา งนอ ย 7 วัน และใสปยุ อนิ ทรยี อ ยา งนอ ย 2 ตนั ตอ ไร และใสปุย เคมีสตู รที่มฟี อสเฟตสงู หรือ 15-15-15 ในอตั รา 50 กิโลกรัม/ไร รองพน้ื คลกุ เคลา ไปกบั การใช ปุยอินทรีย ขนาดของแปลงควรกวา งประมาณ 1-1.20 เมตร ระยะปลกู ระยะปลูกที่เหมาะสม คือ ใชระยะระหวางตน 10-15 เซนตเิ มตร ระยะระหวางแถว 15-20 เซนตเิ มตร การใสปุย การปลูกหอมหัวใหญในชวงนอกฤดูซงึ่ ตรง กับชวงฤดูฝนของบานเรา ซึ่งฝนจะตกชุก ในชวงดังกลาว การใหเฉพาะปุยสูตร 15-15-15 อยางเดียวไมเพียงพอ เกษตรกรผูจัดทาํ แปลงควรใหปุย ยูเรียเสรมิ ดวย เพอ่ื เรง การเจรญิ เติบโตของหอมหวั ใหญ โดยใสปุยหลังจากที่หอมหัวใหญมีอายุ 60-65 วัน นบั จากวนั เพาะกลา อตั รา 25 กก./ไร และ ใสป ยุ สตู ร 15-15-15 อกี 2 ครง้ั ครง้ั ละ 30 กก./ไรครั้งแรกเมอื่ หอมหวั ใหญม ีอายุ 80-85 วัน และครง้ั ทส่ี องเมอ่ื หอมหวั ใหญม อี ายุ 95-100 วัน การยายกลาปลูก การยายกลาปลูกควรยายกลาปลูกในขณะ ที่แดดยังออนอยูหรือในชวงเวลาประมาณ 16.00-18.00 น. จะเปน เวลาทเ่ี หมาะ สมที่สุด กลา ทใ่ี ชต อ งแขง็ แรงสมบรู ณ และ หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 4 ตนกลาควรมอี ายปุ ระมาณ 45 วัน หลังจากเพาะกลา เพราะถา กลา อายเุ กนิ 45 วนั ไปแลว จะเรม่ิ ลงหวั การขุดตนกลาตองระมัดระวังอยาใหรากขาดเพราะจะทําใหหอมหัวใหญชะงักการเจริญเติบโต แชตน กลาในสารปอ งกนั กาํ จดั เชอ้ื ราซง่ึ ผสมไวใ หเ ขม ขน กวา ฉดี ในแปลง 1 เทาตัว เพอ่ื ปอ งกนั โรคเขา ทาํ ลาย ตามรอยแผลของโคนหวั หอมจากนน้ั จงึ นาํ กลา มาปลกู หลมุ ละ 1 ตน กดดนิ รอบ ๆ ตน ใหแ นน รดน้าํ แต พอชุมอยาใหแฉะในการเลอื กกลา ยา ยปลกู นค้ี วรเลอื กกลา ทม่ี ขี นาดเดยี วกนั หากเอากลา ขนาดเลก็ และ ใหญปลกู ปนกนั ตน กลา จะโตไมท นั กนั ทาํ ใหไมสะดวกในการเก็บเกย่ี ว ควรใชฟ างคลมุ แปลงภายหลงั จากยายปลูกไปแลว เพ่ือชวยเกบ็ รกั ษาความชน้ื ในดนิ และชว ยปอ งกนั ไมใ หด นิ จบั ตวั กนั แนน แตควร คลุมแปลงใหบาง ๆ เพอ่ื ตน หอมจะไดแ ทงใบขน้ึ ไดง า ย การใหน า้ํ การใหน้ํากลาหอมหัวใหญที่ยายลงปลูกใน แปลงใหญโดยปกติจะใหนํ้าวนั เวน วนั และ หลังจากต้ังตัวไดแลวใหน ้ํา 3-5 วนั ตอ คร้ัง แตท ง้ั นใ้ี หด คู วามชน้ื ของดนิ ประกอบ ไปดว ย การใหน า้ํ สามารถทาํ ไดหลายวิธี คอื ใชสายยางรด ใช สปริงเกอร หรือปลอยน้ําเขาตามรองแบบการใหนํ้าพืชไรแตตองจัดระบบการระบายน้ําใหด อี ยา ใหข งั แฉะ เพราะถา นา้ํ ขังแฉะมากเกินไปจะทาํ ใหหอมหัวใหญเ นา ไดงาย และเมอ่ื สงั เกตเหน็ วา ดนิ เรม่ิ แหง จงึ เรม่ิ ใหน า้ํ สําหรับแปลงท่ใี ชฟ างคลมุ อยแู ลวอาจจะใหนาํ้ เพยี งสปั ดาหล ะครง้ั กไ็ ด วะิ การที่ใหนํา้ ดที ส่ี ดุ คอื ปลอยนาํ้ ใหเ ขา ตามรอ ง เพอ่ื ใหนา้ํ ซมึ เขา แปลงอยา งเพยี งพอ แลว จงึ ระบายนา้ํ ออกอยาใหขงั แฉะและจะ ลดปญหาการระบาดของโรคได การเกบ็ เกย่ี ว ควรเก็บเกี่ยวหอมหัวใหญที่แกจัด อายุ ประมาณ 150 วัน นบั จากวนั เพาะเมลด็ หรือสังเกตวาเมื่อหอมหัวใหญเริ่มแกซึ่งใบ จะเรม่ิ ถา งออก ทง้ั สองดา น ใบหอมหวั ใหญเปลี่ยนเปนสีเขียวปนเทา และเร่ิมมีสีเหลืองสีของเปลือกหุมหัว เปน สนี า้ํ ตาล แสดงวาหอมหัวใหญเริ่มแกจัดสามารถทาํ การเก็บเกี่ยว ได เหตุที่ตองเก็บหอมหัวใหญมีอายุแกจัดนั้นเพราะจะทาํ ใหส ามารถ เก็บรักษาไดน าน รากจะไมง อกและมกี ารแทงยอดขน้ึ มาเรว็ กวา ปกติ วธิ กี ารเกบ็ เกย่ี ว เมื่อหอมหัวใหญมีอายุประมาณ 150 วัน ใชจ อบหรอื เสยี มขดุ ลงไป ลึกกวาระดับของหัวหอมเลก็ นอ ย หรอื ถา หวั ลอยอยกู ส็ ามารถถอนขน้ึ มาไดเม่ือถอนขน้ึ มาแลว ควรนาํ มามดั จกุ ไวแ ละผง่ึ ในทร่ี ม ใหแ หง สนทิ หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 5 การปฏบิ ัติหลังการเกบ็ เกีย่ ว เม่ือถอนขึ้นมาแลว ควรนํามามดั จกุ ไว ผ่ึงในที่รม ใหแ หงสนิทไมค วรตัดตน หอมหัวใหญข ณะทต่ี น และใบยังสดอยูเด็ดขาด เพราะจะทําใหเช้ือโรคเขาทางแผลได ควรตดั ตน หอมเมอ่ื ใบและตน หอมหวั ใหญแหงดีแลว โดยตดั ตรงคอหอมใหส งู จากหวั ประมาณ 2-3 เซนตเิ มตร สว นการตดั รากนน้ั ควรตดั ให ชิดกับหัวเม่ือรากแหงแลว และนาํ มาคดั ขนาดตามเสน ผา ศนู ยก ลางของหวั เปน ประเภท ๆ ไป ควรคดั หอมทเ่ี นา และหอมแฝดออก เพราะหอมประเภทนเ้ี มอ่ื นําไปจาํ หนา ยจะไมไ ดร าคาสาํ หรับหอมหัวใหญที่ จะตองแขวนเกบ็ ไวน น้ั ควรเกบ็ ไวใ นชายคาบา นหรอื โรงเรอื นทม่ี อี ากาศถา ยเทไดด ี การพรวนดนิ และกาํ จดั วชั พชื วัชพืชนับวาเปนศัตรูท่ีสําคัญตอผลผลิต และคุณภาพของหอมหัวใหญ เพราะถา ปลอยใหวัชพืชเจริญเติบโตแลว จะมาแยง อาหารของหอมหวั ใหญ ดงั นน้ั ในขณะท่ี หอมหวั ใหญย งั มขี นาดลาํ ตน เลก็ อยู ควรพรวนดนิ ประมาณ 1-2 ครง้ั เพื่อกาํ จัดหญาและวัชพืชอื่นที่ไม ตองการออกไป และเมอ่ื หอมหวั ใหญม อี ายุ 70 วนั ไปแลว ควรหยุดพรวนดินเพราะรากของหอมหัวใหญ จะแผเต็มแปลง การพรวนดนิ ระวงั อยา ใหบ รเิ วณลําตนหอมหัวใหญเปนแผล ซง่ึ จะเปน ชอ งทางใหโ รค เขาไปทําลาย และจะทาํ ใหหอมหัวใหญเนาได นอกจากนี้หากเกษตรกรมีการใชฟางหรือหญาแหงคลุม แปลง จะชวยปองกันกําจดั วชั พชื ไดเ ปน อยา งดี การใชส ารเคมปี อ งกนั กําจัดศัตรูของหอมหัวใหญ 1. การใชน้ําปูนใสรดตนกลาหอมหัวใหญจะชวยปองกันโรคกลาเนาตาย โดยใชปนู ขาว 1 ถุง ซง่ึ หนกั ประมาณ 5 กิโลกรัม ละลายในนา้ํ ประมาณ 60 ลิตร กวนใหเ ขา กนั ทิ้งไว 1 คนื รงุ เชา ปนู ขาวจะนอนกน ตกั เอา เฉพาะสว นเปน น้าํ ใสมา 1 สวน นาํ ไปผสมกบั น้ําอกี 5สวน แลวนาํ ไปใช รดกลาทุก 7 วัน เพอ่ื ปอ งกนั กนั กลา เนา 2. ใชส ารปอ งกนั กาํ จดั เชอ้ื รา ผสมน้ําตามอตั ราทใ่ี ชป ฏบิ ตั ติ ามฉลาก - ใชฉีดพนตน กลา ในชว งหลงั ยา ยกลา แลว จนถงึ ระยะใกลเ กบ็ เกย่ี ว เพอ่ื ปอ งกนั โรคแอนแทรคโนส ซ่ึงเปนโรคทร่ี ะบาดในชว งฤดฝู นและความชน้ื สงู - ใชเ ชอ้ื ไวรัส ฉดี พน เพอ่ื ปอ งกนั กาํ จัดหนอนหลอดหอม โรคทส่ี าํ คัญของหอมหัวใหญ 1. โรคแอนแทรคโนสหรือโรคหอมเลอ้ื ย สาเหตุ เกดิ จากเชอ้ื รา หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 6 ลักษณะอาการ เช้ือราจะสามารถเขา ทาํ ลายไดท กุ สว นของพชื เชน ที่ใบ คอ หรือสวนหัว ทาํ ใหเกิดเปนแผล ซง่ึ เนอ้ื แผลเปน แอง ตา่ํ กวา ระดบั ผวิ ปกตเิ ลก็ นอ ย บนแผลมีสปอรของเชอ้ื ราเปน หยดของเหลวสสี ม อมชมพู ซึ่ง เม่ือแหงแลวจะเปนตุมสีดําเล็ก ๆ เรียงเปนวงรีซอนกันหลายชั้น โรคน้ีทําใหใบเนาเสียหาย ตมหอมแคระแกรน ใบบดิ โคง งอ หัวลีบยาว เลอ้ื ย ไมล งหวั ระบบรากสน้ั ทําใหต น หอมเนา เสยี หายใน แปลงปลูก เก็บเกี่ยวไมได หรอื ไปเนา เสยี ในชว งเกบ็ รกั ษา มกั จะพบระบาดรนุ แรงในฤดฝู น หรือภาย หลงั ฝนตกในฤดหู นาว ซึ่งอาจจะทาํ ใหเกิดความเสียหาย 50-100% การปอ งกนั กาํ จัด - กอนปลูกหอมหวั ใหญท กุ ครง้ั ควรปรบั ปรงุ ดนิ ดว ยการใสป นู ขาวและปยุ คอก เพื่อฟนฟูสภาพของ ดินใหดขี น้ึ ปนู ขาวควรใสก อ นปลกู 1-2 สัปดาห - ควรเก็บชิ้นสวนของพืชที่เปนโรคไปเผาทาํ ลายทุกครั้ง เพ่ือลดแหลง แพรก ระจายของโรค พน ดว ยสารปอ งกนั กาํ จัดโรคพืชจาํ พวกคารเ บนดาซิม หรอื แมนโคเซบ็ ประมาณ 3-5 วัน/ครง้ั ถา ระบาดรนุ แรงพน ดว ยสารโปรคลอราส แมงกานีส 3-5 วัน/ครง้ั พนสัก 2-3 ครง้ั จนโรคเบา บางลง แลว พน สลบั ดว ยคารเ บนดาซมิ หรอื แมนโคเซบ เพราะถา พน ดว ยโปรคลอราสแมงกานสี อยา งเดยี วเปน เวลานาน จะทาํ ใหเ กดิ การดอ้ื ยาได 2. โรคใบไหม สาเหตุ เกดิ จากเชอ้ื บกั เตรี ลักษณะอาการ ใบหอมจะเปน แผลฉ่ํานา้ํ ซง่ึ ในตอนเชา ตรจู ะ พบหยดนํ้าเลก็ ๆ เกาะอยูบนแผล แผลนี้จะแหงเมื่อถูกแสดงแดด ตอนสาย แผลบนใบเปน รปู รี หัวทายแหลม เนอ้ื เยอ่ื ตรงกลางโปรง ใส มขี อบแผลฉา่ํ นา้ํ ถาเปน มากแผล จะมีขนาดใหญ ทําใหใบหักพบั ลงแลว ใบหอมท้ังใบจะเหย่ี วมสี ีเขยี วอมเทาเหมือนถูกนา้ํ รอ นลวก ตอ มา เปลย่ี นเปน สนี า้ํ ตาลแหง ตายในทส่ี ดุ การปอ งกนั กาํ จัด - พนปองกนั ดว ยสารพวกคาโนรอน อตั ราตามฉลากทกุ 7-10 วัน ถา ระบาดมากใหพน ทุก 3-5 วัน รดแปลงกลา ดว ยนา้ํ ปนู ใสจะชว ยใหก ลา แขง็ แรงทนทานตอ โรค 3. โรคใบจดุ สมี ว ง สาเหตุ เกดิ จากเชอ้ื รา ลักษณะอาการ อาการเรม่ิ แรกใบหอมจะเปน จดุ ขาวเลก็ ๆ ตอ มากลายเปนแผลใหญรูปไข สนี า้ํ ตาลปนมว ง ซง่ึ มีสปอรส ดี ําเปน ผง ละเอียดอยูบนแผล ขอบแผลมสี เี หลอื งขนาดของแผลไมแ นน อน ใบที่ เปนแผลจะมปี ลายใบแหง ระบาดมากในฤดหู นาว การปอ งกนั กาํ จัด - ปรับปรงุ ดนิ ดว ยปนู ขาวและปยุ อนิ ทรยี  - พน ยาปอ งกนั กาํ จัดพวกเดอโรซาน บาวสี ติน แมนเซทดี อยา งใดอยา งหนง่ึ - ถาการระบาดรนุ แรงควรใชร อฟรัลฉีดพน โดยใชอ ตั ราตามฉลากไมค วรใชต ดิ ตอ กนั นาน ควรใช สลับกับพวกเดอโรซาน บาวีสติน จะไดผลดี หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 7 4. โรคเนาคอดนิ สาเหตุ เกดิ จากเชอ้ื รา ลักษณะอาการ ตนกลามีปลายใบแหงและยุบตายเปนหยอม ๆ ถอนดพู บวา บรเิ วณรากจะเนา และมสี นี า้ํ ตาลทโ่ี คนตน บรเิ วณคอดนิ มรี อยชา้ํ สนี า้ํ ตาลเปนจดุ เลก็ ๆ กอ น ตอ มารอยชา้ํ จะเพม่ิ ขนาด จนเตม็ รอบโคนตน ทําใหตนกลาหักพับแลวแหงตาย การปอ งกนั กาํ จัด - คลุกเมล็ดหอมกอนปลูกดวยยาคลุกเมล็ด เชน เอพรอน 35 หรือไดเทน เอม็ 45 (ชนดิ สแี ดง) - หวา นเมลด็ ใหบ าง ๆ จะทาํ ใหต น กลา ไมข น้ึ แนน เกนิ ไป และอยา รดนา้ํ แฉะเกินไป - ถาโรคเรม่ิ ระบาดใหใ ชส ารพวกพซี เี อน็ บี เทอราคลอร พรวี เิ คอรเอ็นอยา งใดอยา งหนง่ึ อตั ราสว นตาม ฉลาก หลงั จากนน้ั ใชน า้ํ ปนู ใสรดแปลงกลา ทกุ วนั 5. โรคราดํา สาเหตุ เกดิ จากเชอ้ื รา ลักษณะอาการ จะพบโรคนใ้ี นโรงเกบ็ เพราะหอมทเ่ี กบ็ เกย่ี วเมอ่ื เกบ็ ไวใ นท่ี ๆ อากาศชน้ื มกั จะมี ราสีดําเปน กอ นใหญ ขน้ึ ระหวา งกาบหวั หรอื ระหวา งกลบี ของหวั หอมเสน ใยรามหี วั สดี าํ ซึ่งจะฟุงกระจาย ไดงาย เม่ือมีการกระทบกระเทอื นเนอ้ื เยอ่ื ทข่ี น้ึ ราจะเนา เปอ ยกนิ ลกึ เขา ไปทลี ะนอ ย และขยายวงกวาง ออกไปไมม ขี อบเขตจาํ กัด สวนมากเชอ้ื ราจะเจริญเขาไปทางแผลทเ่ี กิดจากการตดั ใบ ซง่ึ ยงั ไมแ หง สนทิ (เพราะเก็บกอนแกจัด) เปนชองทางใหโรคเขา ทําลายไดง า ย หอมหัวใหญที่เปนโรคจะเนาเสียหาย และ ระบาดลกุ ลามในระหวา งการเกบ็ รกั ษาและจําหนา ย แมลงศตั รทู ส่ี ําคัญของหอมหัวใหญ 1. เพลี้ยไผ เปนแมลงศัตรหอมท่ีมีขนาดเล็ก ลาํ ตวั ยาวประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร สนี า้ํ ตาลออ นถงึ เขม ตัวแกมีปก เปน แมลงท่ี นับวา จะมคี วามสําคญั มากขน้ึ แผลที่เกิดจากการทําลายของเพลย้ี ไฟ มักจะเปนชองทางใหเกิดโรคราสีมวงเขาทําลายได เพลี้ยไฟมักจะ ระบาดชวงทา ยของการปลกู ประมาณเดอื นกมุ ภาพนั ธ-เมษายน การปอ งกนั กาํ จัด ควรตรวจแปลงบอ ย ๆ ถาพบเพลี้ยไฟมากใหใชยากลุมโมโนโครโตฟอส เชน นวู าครอน อโซดรนิ หรอื มี ทามโิ ดฟอส เชน ทามารอนโมนิเตอร ในแหลง ทใ่ี ชส ารเคมกี ําจดั เพลย้ี ไฟมานาน สําหรับแหลงที่ยังมี การใชส ารเคมไี มม าก ควรใชพ อสซฉ ดี พนจะไดผ ลดี สําหรบั อตั ราใชต ามฉลากทก่ี ําหนด ควรผสมสาร เคมีกําจัดโรคราสมี ว งในการพน แตล ะครง้ั เพอ่ื ปอ งกนั โรคราสมี ว งระบาดดว ย หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 8 2. หนอนกระทหู อม หนอนกระทูหอมเปนหนอนที่มีลักษณะลําตัวอวน หนังลําตวั เรยี บตามปกตแิ ลว มหี ลายสี ต้ังแตเ ขยี ว ออน เทา หรอื นา้ํ ตาล สงั เกตดดู า นขา งจะมแี ถบสขี าวขา งละแถบ พาดตามยาวของลาํ ตวั หนอนกระทู หอมจะเขาทาํ ลายโดยกดั กนิ ใบยอด กาบใบ นอกจากนน้ั ยงั มพี ชื อาหารทส่ี าํ คัญกวา 20 ชนิด การปอ งกนั กาํ จัด ตองเขาใจอุปนิสัยของหนอนกระทหู อมใหดพี อ คอื หนอนนจ้ี ะออกมากดั กนิ ใบหอมในเวลากลางคนื จน ถึงเชา สวนตอนกลางวนั หนอนจะหลบแดดอยใู ตว สั ดคุ ลมุ ดนิ ดงั นน้ั การใชส ารฆา แมลงทไ่ี ดผ ล เชน สารไพรีทรอยด ออรแ กนโนฟอสเฟต หรอื คลอไพรฟี อส ซึ่งจะออกฤทธิ์ถูกตัวตาย ควรจะพน ในชว งเวลา เย็นหรอื อณุ หภมู สิ งู ไมเ กนิ 28-30C จะไดผ ลดมี าก - ควรหลีกเลี่ยงการปลูกพืชซํ้าและพชื อาหารทห่ี นอนชอบ จะปอ งกนั การระบาดไดด ี - ควรใชส ารทม่ี พี ษิ ตกคา งคอ นขา งสน้ั และเลือกซ้ือจากบรษิ ัท หรอื รา นคา ท่ี เชอ่ื ถอื ได จะทาํ ใหการ ปอ งกนั กําจดั ไดผ ลดี - การใชเ ชอ้ื จลุ นิ ทรีย เอ็น พี วี (NPV) ของหนอนกระทหู อมเปน ทย่ี อมรบั วา ปลอดภยั และไดผ ล นอก จากน้ันแลวยังมีการใชสารสะเดาในการปองกันกําขัดไดผลเชนกัน ซ่ึงสามารถขอรายละเอียดเพิ่ม เตมิ ไดจ ากหนว ยปอ งกนั กาํ จัดศัตรูพืช ภาคผนวก ตารางแสดง ชวงเพาะกลา เพาะปลูกเก็บเกี่ยว และเก็บรักษา หอมหวั ใหญ ของจงั หวดั และอาํ เภอตา ง ๆ หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 9 จากการวิเคราะหก ารผลติ และอตั ราเนา เสยี ในการเกบ็ รกั ษา และสดั สว นนา้ํ หนกั สดทล่ี ดลงในคาบ เวลาตาง ๆ ของขอ มลู ศนู ยส ถติ กิ ารเกษตร สาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรและการทดสอบของสหกรณ ผปู ลกู หอมหัวใหญฝาง จาํ กัด พบวา 1. หอมหัวใหญส ดทง้ั หมดทต่ี อ งผลติ ตง้ั แตช ว งปลายเดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เมษายน จะมอี ตั ราสญู เสยี ตง้ั แตเก็บเกย่ี วจนเขา สตู ลาดประมาณรอ ยละ 10 2. น้ําหนักหอมหัวใหญแหงตัดใบแลว คงเหลอื หลงั จากแขวนในเดอื นตา ง ๆ ดงั น้ี เดือนพฤษภาคม นา้ํ หนกั คงเหลอื 0.6697 กก. ตอ นา้ํ หนกั เรม่ิ ตน 1 กก. เดอื นมถิ นุ ายน น้าํ หนกั คงเหลอื 0.5605 กก. ตอ นา้ํ หนกั เรม่ิ ตน 1 กก. เดอื นกรกฎาคม นา้ํ หนกั คงเหลอื 0.4607 กก. ตอ นา้ํ หนกั เรม่ิ ตน 1 กก. เดอื นสงิ หาคม นา้ํ หนกั คงเหลอื 0.3451 กก. ตอ นา้ํ หนกั เรม่ิ ตน 1 กก. เดอื นกนั ยายน นา้ํ หนกั คงเหลอื 0.3310 กก. ตอ นา้ํ หนกั เรม่ิ ตน 1 กก. 3. หอมหัวใหญที่ผลิตที่จังหวัดนครสวรรคและเชียงราย จะผลิต เพื่อจาํ หนา ยในทอ งถน่ิ และบรโิ ภคภาย ในประเทศ 4. หอมหัวใหญที่จังหวดั กาญจนบุรีและอาํ เภอสนั ปา ตอง จังหวัดเชียงใหม จะใชใ นการสง ออกไปยงั ประเทศญี่ปุนและประเทศอื่น ๆ 5. หอมหวั ใหญส ดทผ่ี ลติ ในอาํ เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม เพอ่ื ใชเ กบ็ ในหอ งเยน็ เปน หอมแหง ทต่ี ดั ใบแลว เดือนพฤษภาคม หลังจากเกบ็ หอมสดรวมใบแขวนไวโ ดยมอี ตั ราการเนา เสยี และงอก อนั เนอ่ื งมา จากการเกบ็ รกั ษาในหอ งเยน็ นบั จากเดอื นพฤษภาคม ดงั น้ี เดือนกันยายน อตั ราการเนา เสยี รอ ยละ 10 ของหอมเดอื นพฤษภาคม เดือนตุลาคม อตั ราการเนา เสยี รอ ยละ 15 ของหอมเดอื นพฤษภาคม เดือนพฤศจิกายน อตั ราการเนา เสยี รอ ยละ 20 ของเดอื นพฤษภาคม ตารางแสดง ราคาหอมหัวใหญ (เบอร 1) ทเ่ี กษตรกรขายไดเ ฉลย่ี รายเดอื น (หนว ย:บาท/ กโิ ลกรมั ) เดอื น/ มค. กพ. ม.ี ค เมย. พค. มยิ . กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. เฉลย่ี ป 2525 11.25 5.31 2.69 3.03 5.00 5.00 5.00 5.00 - - - 8.00 5.59 2526 4.96 5.37 13.79 16.61 17.84 7.40 2527 8.50 8.31 3.00 3.58 3.00 2.93 4.34 4.87 8.65 2528 12.23 10.50 17.00 11.75 8.13 7.30 2529 3.33 3.96 4.50 19.00 7.27 2530 11.10 3.35 1.12 2.00 2.50 22.00 10.16 2531 4.40 2.00 1.20 1.60 13.75 2532 9.56 4.50 13.58 7.22 2533 8.50 4.44 2.55 3.80 4.30 9.00 30.15 7.05 2534 8.50 5.10 21.46 16.35 9.45 2535 6.26 4.78 3.68 3.46 4.75 3.00 18.00 13.15 14.29 7.25 2.66 16.50 5.29 3.30 2.75 3.23 18.89 16.04 หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 10 เดอื น/ มค. กพ. มี.ค เมย. พค. มยิ . กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. เฉลย่ี ป 10.89 21.08 2.54 0.70 2.37 11.13 4.25 4.23 17.85 3.75 4.42 24.19 31.59 2.16 ทม่ี า : กองวจิ ยั เศรษฐกจิ การเกษตร ตารางแสดง ราคาหอมหัวใหญ (เบอร 1) ขายสง ณ ตลาดกรงุ เทพฯ เฉลย่ี รายเดอื น (หนวยบาท/กโิ ลกรมั ) เดือน/ มค. กพ. มี.ค เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. เฉลี่ย ป 13.80 7.47 2525 13.25 7.88 4.75 3.75 5.25 5.85 6.31 6.38 23.50 10.61 10.78 12.26 2526 18.13 13.17 3.30 3.62 4.06 3.95 5.19 6.63 10.63 17.50 17.60 29.95 10.86 15.10 10.66 2527 20.13 9.05 4.92 5.81 7.98 7.64 13.06 17.24 21.12 17.48 11.80 32.50 13.38 (33.00)* (21.26)* 2528 13.87 13.53 4.92 2.75 3.14 4.50 4.28 5.26 10.52 10.90 26.70 13.65 7.97 (18.55)* (16.20)* 2529 9.61 3.72 3.01 4.25 5.56 7.43 9.61 11.18 17.35 19.69 21.40 18.29 8.79 (17.78)* 2530 9.03 6.00 5.44 7.98 10.86 11.76 11.52 14.26 (18.60)* 16.53 20.85 13.71 12.72 (23.21)* (13.72)* (18.40)* (22.58)* 25.38 25.40 (21.08)* 2531 11.77 4.56 3.84 3.58 4.28 5.06 5.32 7.92 10.66 (13.28)* 15.00 (13.34)* 2531 6.76 4.94 3.41 2.60 3.93 5.68 11.37 12.71 14.17 (20.38)* 20.08 (14.37)* (18.58)* 2533 8.74 6.60 5.76 11.22 13.30 15.18 21.10 (26.48)* (22.95)* (20.20)* 18.85 2534 8.00 6.84 5.80 7.60 9.13 11.38 15.75 18.75 22.46 20.91 32.76 (22.94)* (19.22)* 2535 13.21 4.46 3.43 5.25 หมายเหต:ุ * หอมหัวใหญเก็บรักษาไวในหองเย็น ทม่ี า: กองวจิ ยั เศรษฐกจิ การเกษตร หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

หอมหวั ใหญ 11 เอกสารอางองิ กรมวชิ าการเกษตร 2535 โรคหอมกระเทยี มและการปองกนั กําจัด (เอกสารโรเนยี ว) กรมสง เสรมิ การเกษตร 2530 คาํ แนะนําท่ี 25 หอมหัวใหญและวิธีการผลิต สาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 2535 แนวทางการจดั การผลิตและการตลาดหอมหัวใหญ ป 2535/36 หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook