ขา้ วเยน็ เหนอื (Smylax peguana) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Smylax peguana วงศ์ LILIACEAE ช่ืออ่ืน ขา้ วเย็นดง,ยาหวั ใหญ่ ลักษณะ ขา้ วเยน็ เหนอื อยูค่ ่กู บั ขา้ วเย็นใต้ เปน็ ไม้เลอื้ ยลงหัว ลำตน้ มหี นาม ใบคลา้ ยใบกลอย หวั สีน้ำตาลอ่อน สรรพคณุ หัว แกเ้ สน้ พิการ นำ้ เหลอื งเสยี กามโรค ฝีเปื่อย พพุ อง และต้นแกอ้ ัมพาต แก้มะเรง็ คุดตะราด รักษาอาการอกั เสบตามขอ้ ต่าง ๆ ของรา่ งกาย ยาต้มเป็นยาที่รกั ษาอาการ ปวดอยา่ รนุ แรงและเป็นโรคเรอ้ื รงั มกั จะเข้าส่วนประกอบของขา้ วเยน็ เหนอื เสมอ มักใชค้ ่กู บั ขา้ วเย็นใต้ รวมเรยี กว่า ข้าวเยน็ ทั้งสอง ๑๓๖
ชา้ พลู ช้าพลู (Piper sarmentosum Roxb. Ex Hunter. ) ๑๓๗
ชา้ พลู (Piper sarmentosum Roxb. Ex Hunter. ) ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper sarmentosum Roxb. Ex Hunter. วงศ์ PIPERACEAE ชือ่ อืน่ ชะพลู (ไทย) , พลูนก, ผกั ปูนก (พายัพ), พลลู งิ นก (เชยี งใหม่), นมวา (ใต้), ผกั อไี ร, พลูลงิ (เหนอื ) ลักษณะ ไม้ล้มลกุ สูง ๓๐-๘๐ ซม. มีไหลงอกเปน็ ต้นใหม่ ใบเดย่ี ว เรียงสลับรูปหวั ใจ กวา้ ง ๕- ๑๐ ซม. ยาว ๗-๑๕ ซม. ดอกช่อ ออกท่ซี อกใบ เปน็ แทง่ สีขาวคลา้ ยดอกพลู ท้ังตน้ มีกล่นิ หอม รปู ทรงกระบอก ดอกย่อยแยกเพศ ผลเปน็ ผลสดไมเ้ นือ้ อ่อน ส่วนท่ีนำมาเป็นยา ลำต้น ใบ และราก สรรพคุณทางยาและวิธีใช้ ใช้ขบั เสมหะ ขับลม กระตนุ้ การเคลื่อนไหวของลำไส้และคลายกลา้ ม เนือ้ นิยมนำไปประกอบอาหาร หรือรบั ประทานใบสดๆ แกล้มกับนำ้ พรกิ หรือกนิ กับเม่ยี งคำ ๑๓๘
นำ้ เตา้ น้ำเตา้ (Lagenaria siceraria Standl.) ๑๓๙
น้ำเต้า (Lagenaria siceraria Standl.) ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Lagenaria siceraria Standl. วงศ์ CUCURBITACEAE ชอื่ ภาษาอังกฤษ Bottle gourd ชื่ออ่นื คลิ สู า่ มะนำ้ เตา้ ลักษณะ ไม้เถา มกี ลิน่ อย่างชะมด ลำต้นแข็งแรงเปน็ รอ่ งมขี น ใบเดี่ยวเรียงสลบั ขอบใบ หยัก แบบซ่ีฟันไม่มีแฉก ดอกออกเดย่ี วๆ ตามง่ามใบ มีอายสุ ัน้ มาก ดอกเพศเมียและ เพศผอู้ ยู่บนต้นเดียวกนั ผลมีรปู ร่างและขนาดต่างๆ กนั ตามพนั ธ์ุ เมล็ดมีจำนวนมาก แบนสขี าวหรือนำ้ ตาลอ่อน สรรพคณุ แกด้ ีแหง้ เจริญอาหาร รกั ษาโรคเริม รักษางูสวดั รักษาไฟลามท่งุ แก้เรือ้ นกวาง แก้ขยุม้ ตีนหมา แกไ้ ข้ตวั รอ้ น แกร้ ้อนในกระหายนำ้ แก้ฟกบวม แก้พพุ อง แก้โรคผวิ หนัง ขับปัสสาวะ ทำให้เกิดน้ำนม เปน็ ยาระบาย แกไ้ อ ๑๔๐
มะเฟอื ง มะเฟอื ง (Averrhoa carambola L.) ๑๔๑
มะเฟอื ง (Averrhoa carambola L.) ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Averrhoa carambola L. วงศ์ OXALIDACEAE ชอื่ สามญั Calambola;Star Fruit ช่อื อื่น เฟือง (ภาคใต้);สะบอื (เขมร) ลักษณะ เป็นไมย้ ืนตน้ ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง อยใู่ จวงคเ์ ดยี วกบั ตะลงิ ปลิงมีลำตน้ เป็นสนี ำ้ ตาลออ่ น เปลือกของลำต้นค่อนขา้ งขรขุ ระมตี มุ่ เลก็ ๆ ทว่ั ไป เปน็ ใบรวม จะออกเรยี งกนั เปน็ ค่ๆู ไปตามแผง แผงหนึ่งมีประมาณ ๗-๑๕ คู่ ลักษณะของใบยอ่ ยเปน็ รปู มนรี ปลายใบแหลมรมิ ข อบใบเรียบเกลี้ยง ใบย่อยตรงปลายแผงมักจะมขี นาดใหญ่กวา่ ใบตรงโคนแผง ออกเป็นช่อสน้ั ๆ อยตู่ รงบริเวณกง่ิ และลำต้น ดอกมีสีมว่ งออ่ น เปน็ ดอกขนาดเล็ก เมื่อดอกรว่ งโรยก็จะกลายเป็น ผล ลักษณะของผลเปน็ รปู เฟืองมกี ลีบอยู่ ๕ กลีบ เม่ือยังออ่ นผลจะเป็นสีเขยี ว แตพ่ อผลสกุ เตม็ ท่ี ผลกจ็ ะกลายเปล่ียนเปน็ สีเหลอื งสม้ สรรพคุณ เปลือกลำต้นชัน้ ใน นำมาปรุงเป็นยาผสมกบั ไม้จนั ทร์ และชะลดู ใช้ทาภายนอกแกผ้ ด ฝ่นื คันทั่วไป ,ใบ ใชท้ าแก้กลากเกล้อื น แก้ปวดฟนั และใชท้ ารกั ษาอกี สุกอใี ส ,เหง้า เป็นยาแก้ เลือดออกตามไรฟัน แก้บดิ ขับนำ้ ลาย แกอ้ าเจียนเป็นโลหิต แก้ไข้ แกก้ ระหาย แกเ้ มา แกท้ ้องรว่ ง ลดอาการอักเสบ หรือใช้ผสมกบั สารสม้ หรอื สุรากินแกโ้ รคนว่ิ วิธีทำ/วธิ ใี ช้ ใชใ้ บสด นำมาตำให้ละเอียด ,ใช้ผลสด นำมาค้ันเอานำ้ กิน ๑๔๒
ปบี ปบี (Millingtonia hortensis Linn.f.) ๑๔๓
ปบี (Millingtonia hortensis Linn.f.) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Millingtonia hortensis Linn.f. วงศ์ BIGNONIACEAE ชอ่ื อื่น กาดสะลอง , กาซะลอง (ภาคเหนอื ) , ปีบ(ภาคกลาง), เต็กตองโพ(่ กะเหรย่ี ง-กาญจนบรุ )ี ลกั ษณะทว่ั ไป ตน้ เป็นพรรณไมย้ ืนตน้ มีความสูงประมาณ ๕-๒๕ เมตร ลักษณะของลำต้นผิว เปลือกมสี เี ทา พนื้ ผวิ เปลอื กขรขุ ระบรเิ วณกิง่ กา้ นมีจดุ เปน็ ช่องอากาศ ใบ ลกั ษณะของใบเปน็ แผง แบบขนนก แผงหน่งึ มปี ระมาณ ๗-๙ ใบ ลักษณะของใบเปน็ รูปหอก โคนใบมน สว่ นปลายใบแหลม ริมใบมีรอยหยัก ใต้ทอ้ งใบจะเห็นเส้นกลางใบ และต่อมขนได้ชดั ขนาดของใบกวา้ งประมาณ ๐.๕-๑.๒ น้วิ ยาวประมาณ ๑-๒.๕ น้ิว ดอก ออกเป็นช่อ ต้งั ตรง มีขนาดยาว ประมาณ ๔-๑๖ น้ิว ลักษณะของดอกมกี ลีบรองกลบี ดอก ยาวประมาณ ๒-๔ มม.ตรงกลางดอกกจ็ ะมเี กสรตวั ผ้แู ละตวั เมยี ติดอยดู่ ้านในใกลป้ ากท่อ สรรพคณุ ใบ ใช้ใบแห้ง นำมามวนเปน็ บหุ รส่ี ูบ ดอก ใช้ดอกแห้งนำมามวนสูบ ป็นยาแก้โรคหอบ หดื ราก ใชป้ รุงเป็นยาบำรงุ ปอด รกั ษาวณั โรคและปอดพิการ ๑๔๔
มะเกลอื มะเกลอื (Diospyros mollis griff.) ๑๔๕
มะเกลอื (Diospyros mollis griff.) ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Diospyros mollis griff. วงศ์ EBENACEAE ช่อื อ่ืน มะเกยี , มะเกือ(พายพั - ภาคเหนือ), ผีผา (เงี้ยว- ภาคเหนือ) , มกั เกลือ , หมักเกลอื , มะเกลือ (ตราด) , เกลอื (ภาคใต)้ ลกั ษณะ ลำตน้ เปน็ พรรณไมท้ ่ีมขี นาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของลำตนั ผวิ เปลอื กเป็น รอยแตกสะเกด็ เลก็ ๆ มสี ดี ำ สรรพคุณ ลำต้น นำมาใชเ้ ปน็ ยาแกซ้ านตานขโมย แก้กระษัย ถา่ ยพยาธิไส้เดือน เปน็ ตน้ เปลอื กลำตน้ ใชป้ รุงยาแก้เบ่อื อาหาร ขับเสมหะ แก้ตานซาง แก้โรคกระษัย แก้พิษ และถ่ายพยาธิ เป็นตน้ แกน่ (แก่นกลางไม้ เปน็ สีดำ) ใช้เปน็ ยาแก้ลม แก้ฝีในทอ้ ง แกซ้ างตานขโมย และแก้กระษยั กลอ่ น เปน็ ตน้ ราก ใช้รากสด นำมาฝนกับน้ำซาวขา้ วรบั ประทาน แกล้ ม แกอ้ าเจียน เป็นต้น ผล ใช้ผลดิบ (สีเขยี ว) จำนวนเทา่ กบั อายุของผ้ปู ่วยแตไ่ ม่เกิน ๒๕ ผล (ผ้ปู ย่ ทม่ี ีอายสุ งู กวา่ ๒๕ ปขี ้ึนไป ใหใ้ ชเ้ พียง ๒๕ ผล)ให้นำมาตำให้ละเอียดแลว้ ใช้ผสมกบั น้ำ หวั กระทสิ ดรับประทาน เป็นยาถ่ายพยาะไส้เดือน ตวั จืด เสน้ ด้าย ปากขอ เปน็ ยาแกก้ ระษยั จุก แกต้ านซาง เป็นตน้ ๑๔๖
มะขามปอ้ ม มะขามปอ้ ม (hyllanthus emblica Linn.) ๑๔๗
มะขามปอ้ ม (hyllanthus emblica Linn.) ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Phyllanthus emblica Linn. วงศ์ EUPHORBIACEAE ช่ืออื่น สันยาสา่ , มั่งลู่ (กะเหร่ียง - แม่ฮ่องสอน) ,กำทวด(ราชบุร)ี ,กนั โตด( เขมร - จนั ทบุร)ี ,อ่ิว, อำโมเหล็ก (จีน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลำต้นเป็นไม้ยืนต้นผลดั ใบ เรอื นยอดโปรง่ สูง ๗ -๑๐ เมตร เปลือก ลำตน้ ด้านนอกสีเขยี วอมเทา สรรพคณุ เปลอื กลำตน้ ใชเ้ ปลือกลำต้นทีแ่ ห้งแลว้ นำมาบดให้เป็นผลละเอยี ดใชโ้ รยแกบ้ าด แผลเลือดออก แผลฟกซำ้ หรือนำมาต้มเอาน้ำกนิ เปน็ ยาแก้โรคบดิ เป็นต้นใบ ใชใ้ บสด ประมาณ ๑๕-๓๐ กรมั นำมาตม้ เอาน้ำกินเปน็ ยาแก้ตวั บวมน้ำ หรอื ใช้ภายนอก โดยนำเอนใบ ส ดตำให้ละเอยี ดใชพ้ อกหรือทา บริเวณที่เป็นแผลผน่ื คัน มนี ้ำหนอง น้ำเหลอื ง ผิงหนงั อกั เสบหรือ เป็นฝคี ัณฑสูตรปมท่ีก้าน ใชป้ มทก่ี ้านประมาณ ๑๐-๓๐ อัน นำมาตม้ น้ำกนิ เปน็ ยาแกป้ วดเม่ือ ยกระดูก ปวดท้องน้อย ปวดกระเพาะอาหาร แก้ซางตานขโมยในเดก็ และแก้ไอ หรือใชต้ ม้ นำ้ อมบ้วนปากแกป้ วดฟัน เป็นต้นผล(สดและแหง้ ) ใชผ้ ลสด มีรสเปรีย้ ว ฝาด นำมากินเปน็ ยาบำรงุ ทำใหส้ ดชื่น แก้กระหายนำ้ แก้ไอ แกห้ วดั กระตนุ้ นำ้ ลาย ละลายเสมหะช่วยระบาย ขับปัสสาวะ แก้เลือดออกตามไรฟนั แก้โรคคอตีบ คอแห้ง เป็นต้น หรอื ใช้ผลสด นำมาหมกั เป็นไวนผ์ ลไม้ ใช้ดืม่ เป็นยาแก้โรคดซี า่ น ๑๔๘
เปลา้ นอ้ ย เปลา้ นอ้ ย (Croton stellatopilosus Ohba) ๑๔๙
เปลา้ น้อย (Croton stellatopilosus Ohba) ชื่อวิทยาศาสตร์ Croton stellatopilosus Ohba ชื่อพ้อง Croton sublyratus Kurz วงศ์ EUPHORBIACEAE ชื่ออน่ื เปลา้ ท่าโพ (ภาคตะวนั ออกเฉียงใต้) สรรพคุณ ใบ - ใชบ้ ำรุงธาตุ แก้โรคกระเพาะ บำรงุ โลหติ ประจำเดอื น มีสาร disterpene alcohol (CS-๖๘๔ หรือ plaunotol) มฤี ทธสิ์ มานแผลในกระเพาะอาหารไดเ้ ปน็ อยา่ งดี รกั ษาโรคเก่ียวกับทางเดนิ อาหาร เช่น แผลในกระเพาะ ใบ ราก - แก้คัน รักษามะเรง็ เพลิง - รกั ษาโรคผวิ หนัง กลาก เกลอื้ น - แกพ้ ยาธิต่างๆ ริดสีดวงทวาร - แก้ไอเปน็ โลหติ - เปน็ ยาปฏชิ วี นะ ดอก - ขบั พยาธิ ฆา่ พยาธิ ผล - แก้โรคนำ้ เหลอื งเสยี เปลือก - บำรุงธาตุ แกน่ - ขับโลหติ ๑๕๐
ยอปา่ ยอป่า (Morinda coreia Ham.) ๑๕๑
ยอป่า (Morinda coreia Ham.) ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Morinda coreia Ham. วงศ์ RUBIACEAE ชือ่ พ้ืนเมือง ยอปา่ (ไทย,อสี าน,ใต)้ สลกั ปา่ , สลักหลวง (พายัพ) อ้มุ ลกู ดูหนงั (สระบุรี) กะมดู ู(มลายู) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ลำต้นเป็นไม้ยนื ตน้ ขนาดเล็กมคี วามสูงประมาณ ๕-๑๕ เมตร ใบเดีย่ ว ออกตรงขา้ มเรียงสลบั เปน็ คู่ แผ่นใบรปู รี รปู ขอบขนานหรอื รูปไข่กลับ กวา้ ง ๔-๘ ซม.ยาว ๘-๑๗ ซม. ปลายใบแหลมบางครง้ั ทู่ โคนใบสอบขอบใบเรยี ว ผิวใบมีขน ดอกสีขาวออกมารวมกนั เป็นก ระจุก ฐานดอกเชอื่ มติดกนั ช่อดอกออกตามซอกใบ ผลมขี นาดเลก็ ผลเป็นรวมเชื่อมตดิ กัน สว่ นท่ีใช้เป็นยา แกน่ สรรพคณุ แกน่ รสขมร้อน ขับเลอื ด ขบั น้ำคาวปลาใหแ้ หง้ ป้องกนั สันนบิ าตหน้าเพลิงขบั และฟอกโลหิตระดู แก้จกุ เสียดแน่นเฟอ้ ขับผายลม ขับนำ้ คาวปลาให้แห้ง ขับฟอกโลหติ ระดู แกจ้ กุ เสียด คตคิ วามเช่อื คนโบราณทา่ นนิยมปลูกยกไวใ้ นบริเวณบ้าน โดยกำหนดปลกู ทางทศิ ตะวันออก เฉียงใต้ (อาคเนย์) เชื่อว่าจะป้องกนั จัญไรได้ ทัง้ ช่ือ “ยอ” ยงั เปน็ มงคลนาม ถือเปน็ เคลด็ ว่า จะ ไดร้ บั การสรรเสริญเยนิ ยอ หรอื ยกยอปอป้ัน ในสงิ่ ทด่ี ีงาม ๑๕๒
เถาเอ็นออ่ น เถาเอน็ อ่อน (Cryptolepis buchanani Roem.&Schult.) ๑๕๓
เถาเอน็ ออ่ น (Cryptolepis buchanani Roem.&Schult.) ชื่อวิทยาศาสตร์ Cryptolepis buchanani Roem.&Schult. วงศ์ ASCLEPIADACEAE ชอ่ื อ่ืน กวน (ฉาน-แมฮ่ อ่ งสอน) เครือเถาเอ็น (เชยี งใหม่) ตีนเปด็ เครอื (ภาคเหนอื ) เมือ่ ย (ภาคกลาง) นอออหมี (กะเหร่ยี ง-แมฮ่ ่องสอน) หญ้าลเิ ลน (ปตั ตาน)ี หมอนตนี เปด็ (สุราษฎร์ธานี) ลกั ษณะ ไมเ้ ลอ้ื ยพาดพนั ตน้ ไม้อืน่ เปลือกเถาเรียบสนี ้ำตาลอมดำ พอแกเ่ ปลอื กจะหลุดลอ่ นออก เปน็ แผน่ ทกุ ส่วนของต้นมี น้ำยางสีขาว สรรพคุณ เถา - ต้มรบั ประทานเป็นยาแก้เมื่อย ทำใหเ้ สน้ เอน็ หยอ่ น จิตใจชมุ่ ชื่น เป็นยา บำรงุ เสน้ เอ็นในร่างกายให้แขง็ แรง แกเ้ ส้นเอ็นพิการ ใบ - ใช้โขลกใหล้ ะเอยี ด ห่อผา้ ทำลูกประคบ ประคบตามเส้นเอ็นทปี่ วดเสยี วและ ตงึ เมือ่ ยขบ ทำให้เสน้ ยืดหย่อนดี ๑๕๔
พระจันทรค์ รึ่งซกี พระจนั ทร์ครึ่งซกี (Lobelia chinensisi Lour., L. radicans Thunb.) ๑๕๕
พระจันทรค์ ร่งึ ซีก (Lobelia chinensisi Lour., L. radicans Thunb..) ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Lobelia chinensisi Lour., L. radicans Thunb. ชื่อวงศ์ LOBELIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพืชจำพวกหญา้ ตน้ ขนาดเล็กสงู ๓-๔ นิ้ว ลำต้นเลก็ เรียวอ่อน ทอดนอนไปตามพ้นื ดนิ ลำตน้ สีแดง ใบเดยี่ วรูปหอกเรยี วเลก็ ไม่มกี ้าน ขอบหยักแบบฟนั เลื่อย ดอกเดยี่ วกลีบเล็กรปู หอกงอน สี่กลบี ทรงครงึ่ วงกลม สขี าว ท้องออกแดงแซม สรรพคณุ ทัง้ ตน้ รสเยน็ สขุ มุ รบั ประทานบำรุงปอด แก้วัณโรค แก้หดื แกป้ อดพิการ แก้พษิ ขบั ปัสสาวะ แก้ไอเพราะปอดรอ้ น แกแ้ น่นหน้าอก เจบ็ สีขา้ ง บวมช้ำ ใชภ้ ายนอก ดบั พษิ แก้บวม แก้ฝีตะมอย ตำอมแกเ้ จบ็ คอ ตำกบั สุรารับประทาน และพอก แก้งกู ัด ตำกับสุรารับประทาน แก้อาเจยี นเปน็ โลหติ แกไ้ อเปน็ โลหิต ผสมทำยานัตถ์ุ ๑๕๖
สายน้ำผ้งึ สายนำ้ ผงึ้ (Lonicera japonica Thumb.) ๑๕๗
สายน้ำผง้ึ (Lonicera japonica Thumb.) ชื่อวิทยาศาสตร์ Lonicera japonica Thumb. ช่อื วงศ์ CAPRIFOLIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ ไม้เถากงิ่ ก้านมีขนนมุ่ ส้ันๆสีน้ำตาล ใบเดีย่ วรูปหอกแคบ ปลายแหลมโคนมน ดอกสเี หลืองอ่อน รูปปากแตรยาวปากบานเปน็ กลีบเรยี วยาวงอน หอม ผลกลม ปลกู เปน็ ไม้ประดับท่ัวไป ขยายพนั ธดุ์ ว้ ยเมลด็ ตดั ต้นในฤดรู อ้ นหรือฤดูหนาว หรือเกบ็ ดอกสขี าวที่ยงั ไม่บาน ตากแห้ง เกบ็ ไว้ทำยา สรรพคณุ ดอก รสหวานเยน็ ค้นั หรอื ใชด้ อกแหง้ ชงดื่มแทนชา เจริญอาหาร เป็นยาอายุวฒั นะ ขบั ปสั สาวะ แกไ้ ข้ แก้ปวดหลงั แก้ความดนั เลือดสูง ท้ังต้น รสขมหวาน ชงแทนชาหรือตม้ ด่มื แกบ้ ิดท้องเสีย แก้ตับอักเสบ แกป้ วดเม่ือยตามข้อ ขับปสั สาวะ แกล้ ำไส้อักเสบ แก้กระเพาะอาหารเป็นแผล แก้รดิ สีดวงทวาร แก้เจ็บคอ แก้ปากนกกระจอก แกอ้ าการมึนงง ตำพอก แก้แผลฝีหนอง แกไ้ ข้ แกป้ วดหลงั แกค้ วามดันโลหิตสงู ๑๕๘
เพชรสังฆาต เพชรสังฆาต (Cissus quadrangularis Linn. ) ๑๕๙
เพชรสงั ฆาต (Cissus quadrangularis Linn. ) ชื่อวิทยาศาสตร์ Cissus quadrangularis Linn. ชื่อวงศ์ VITIDACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้เถาเลื้อย เถารูปส่เี หลีย่ มเป็นปลอ้ งๆ ตรงขอ้ เล็กรัดตัวลง มมี ือยึดงอกออกจากขอ้ ใบเด่ียวกลมหนาเล็กผิวเรียบ ดอกกลมเล็กสีแดงเขียวเป็นชอ่ เลก็ ออกตามขอ้ ผลกลมเทา่ เมลด็ พรกิ ไทย สีแดงหรอื ดำ ปลกู เปน็ ไมป้ ระดบั ทัว่ ไป สรรพคณุ เถา รสรอ้ นขมคนั คัน้ เอานำ้ ดมื่ แกโ้ รคลกั ปดิ ลักเปดิ แกป้ ระจำเดือนไมป่ กติ แก้ริดสีดวงทวาร แก้กระดกู แตกหัวซน้ ขับลมในลำไส้ แก้รดิ สีดวงทวารหนัก ท้ังชนิดกลบี มะไฟและเดอื ยไก่ เวลารับประทานหนั่ เป็นชิ้นเล็ก ๆ แลว้ เอาเนอ้ื มะขามเปยี กหมุ้ แลว้ กลืน มิเชน่ นั้นจะทำใหค้ นั ทป่ี ากและลำคอมาก ๑๖๐
ตำแยแมว ตำแยแมว(Acalypha indica Linn.) ๑๖๑
ตำแยแมว(Acalypha indica Linn.) ชอื่ วิทยาศาสตร์ Acalypha indica Linn. วงศ์ EUPGORBIACEAE ช่ืออน่ื ตำแยตวั ผู,้ หานแมว ลักษณะต้นและใบ ตำแยแมวเป็นไม้เล็ก ๆ จำพวกตน้ หญา้ ตน้ สงู ประมาณ ๒ ฟุตเศษๆ ลำตน้ ตรงใบกลมโต ปลายใบแหลมเลก็ นอ้ ย มจี ักเลก็ ๆ ตามริมใบโตกวา่ ใบพทุ รา นดิ หนอ่ ย มีดอกออกตามตน้ ดอกเป็นดอกชอ่ สว่ นยอดของชอ่ ดอกเป็นดอกเพศเมีย มีใบประดบั หยกั เป็นซี่ฟนั มขี นปกคลุม แตล่ ะใบประดบั ห้มุ หอ่ ดอก ๒-๖ ดอก ผลแห้งแตกได้ ภายในมเี มล็ด ๑ เมล็ด ชอบขน้ึ ตามท่ีดนิ เยน็ ๆ ตามทีร่ กร้างท่วั ๆ ไป และท่ีมีอฐิ ปูนเกา่ ๆ ผุ ๆ สรรพคุณ ราก - ขับเสมหะ ทำใหอ้ าเจยี น ทำใหร้ ะคายเคอื งทางเดนิ อาหาร เปน็ ยาถา่ ย ใบ - ขบั พยาธิเส้นดา้ ยในเด็ก ขบั เสมหะในโรคหลอดลมอักเสบ ขบั เสมหะในโรคหอบหดื เป็นยา ถา่ ย ทำใหค้ ลนื่ เหียนอาเจียน (รับประทานปริมาณมาก) ใบแห้งปน่ โรยรักษาแผลเน่ืองจากนอน มาก ยาระบาย แก้หดื ขับเสมหะ ทงั้ ตน้ - ขบั เสมหะ ทำให้อาเจยี น ถอนพษิ ของโรคแมวได้ดี ไม่ระบุส่วนท่ใี ช้ - ขบั เสมหะ ทำให้อาเจยี น แก้ไอ ขับพยาธิเสน้ ดา้ ยในเดก็ ทำให้ทางเดนิ อาหาร ระคายเคือง ถอนพษิ โรคของแมว วิธใี ชต้ ามภูมปิ ญั าทอ้ งถิน่ จะเอาตน้ สด หรือตากแห้งก็ได้ มาหน่ั แลว้ ต้มกินนำ้ เปน็ ยา (กนิ ตามคาบอาหาร) ๑๖๒
โลดทะนง โลดทะนง (Trigonostemon reidiodes (Kurz) ๑๖๓
โลดทะนง (Trigonostemon reidiodes (Kurz) ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Trigonostemon reidiodes (Kurz) ชอ่ื วงศ์ CRAIB.,BALIOSPERMUM REEDIOIDESR KURZ ช่ืออน่ื นางแสง่ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มขนาดเลก็ สงู ๒-๕ ฟตุ ลำตน้ เรียวเล็กเกิดเป็นกอ ใบเดยี่ ว รูปหอกขอบขนาน ปลายแหลม กว้าง ๒-๔ ซม. ยาว ๗-๑๒ ซม. ขอบเรยี บ ดอกเล็กเป็นชอ่ สขี าว ชมพู ฐานดอกสแี ดงม่วง กา้ นชอ่ ยาว ออกตามงา่ มใบ ผลกลมมี ๓ พู ขนาดประมาณ ๑๐ มม. เมลด็ รูปไข่สเี หลืองผิวเรียบ มีรากเกบ็ อาหารพองโต ผวิ สแี ดงอมม่วง เน้อื สีขาว เกดิ ตามทร่ี กรา้ ง ว่างเปล่าในป่าดิบแลง้ ทั่วไป ขยายพันธดุ์ ว้ ยเมล็ด สรรพคณุ ราก รสร้อน ฝนด่มื ทำใหอ้ าเจยี น ทำให้ถา่ ย ใชถ้ อนพษิ ยาเบอ่ื เมา แกห้ ืด คุมกำเนิด ถอนพิษเหด็ เมา ถอนพิษเสมหะ ต้มดม่ื แก้วัณโรค ฝนกบั นำ้ มะนาว หรอื สรุ ารบั ประทาน แกพ้ ิษงู ฝนทาแกฟ้ กชำ้ เคล็ดขดั ยอก บวม เกลื่อนฝี ดูดหนอง และแก้ปวดฝี ๑๖๔
จกั รนารายณ์ จกั รนารายณ์ (Gynura Sarmentosa DC.) ๑๖๕
จกั รนารายณ์ (Gynura Sarmentosa DC.) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Gynura Sarmentosa DC. ชอื่ วงศ์ COMPOSITAE ชอ่ื อื่น แปะตำปงึ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไมข้ นาดเลก็ ลักษณะเหมอื นว่านมหากาฬ แต่ใบทรงกลมเล็ก ดอกเป็นช่อฝอย สเี หลืองชขู ึน้ คลา้ ยดอกหว่านมหากาฬ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับหรือตาม สวนยา สรรพคณุ ใบ รสเย็น ตำผสมสรุ าพอกฝีแก้ปวด แก้ฟกบวม แก้พิษอกั เสบทุกชนิด แก้ปวดหวั ลำมะลอก แกพ้ ษิ แมลงสัตว์กดั ตอ่ ย ดูดถอนพษิ ไดด้ ีมาก ๑๖๖
ขนั ทองพยาบาท ขันทองพยาบาท (Gelonium multiflorum A. Juss.) ๑๖๗
ขนั ทองพยาบาท (Gelonium multiflorum A. Juss.) ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Gelonium multiflorum A. Juss. วงศ์ EUPHORBIACEAE ลักษณะท่วั ไป เปน็ ไม้ยนื ตน้ ขนาดกลาง กง่ิ ก้านกลม เปลือกเกลยี้ ง สีเทาใบเดย่ี วแข็งหนาดก ทึบ ออกตรงขา้ มกนั เป็นคู่ ๆ รูปหอกยาวราว ๖ นิ้ว ขอบจกั โคนใบแหลม เสน้ ใบขนานกันเป็นคู่ๆ ก้านใบยาวครึง่ นิ้ว เป็นรอ่ งลึก ดอกเลก็ ๆเปน็ ชอ่ งแผอ่ อก ผลกลมเท่าลกู พุทรา ยาวประมาณ ๔ น้ิว มี ๓ พู สีแดงออกสม้ เมื่อแก่จะแตกออก ข้ึนตามป่าโปร่งทัว่ ไป ขยายพนั ธด์ุ ้วยเมล็ด สรรพคุณ เปลอื กตน้ รสเมาเบ่ือ แกล้ มเป็นพิษ แกป้ ระดง แกพ้ ิษในกระดูก ฆา่ พยาธิ แกโ้ รคเรอ้ื น มะเร็ง คดุ ทะราด กลาก เกลอื้ น โรคผวิ หนงั ทกุ ชนดิ แกก้ ามโรค แกโ้ รคตบั พกิ าร ทำใหฟ้ นั ทน ถา่ ยนำ้ เหลืองเนอื้ ไม้ รสเมาเบื่อ แกล้ มพษิ แก้ไข้ แก้กามโรค ราก รสเมาเบ่อื ร้อน แกล้ ม แกป้ ระดง แก้พิษในกระดกู แกโ้ รคผิวหนัง รกั ษานำ้ เหลืองเสยี ๑๖๘
มะตมู มะตมู (Aegie marmelos Corr) ๑๖๙
มะตมู (Aegie marmelos Corr) ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Aegie marmelos Corr วงศ์ RUTACEAE ชื่ออนื่ หมากตมู ตวงหอม ตูม ลักษณะท่วั ไป เปน็ ไมย้ นื ตน้ ขนาดกลาง ตามลำต้นและกงิ่ ก้านมีหนามเลก็ แหลมยาว ใบประกอบ ๓ ใบ ใบย่อยรปู ไข่โตปลายแหลม ขอบหยกั เล็กนอ้ ย ดอกชอ่ ออกตามงา่ มใบและปลายกง่ิ กลีบด้านนอกสีเขยี วอ่อน ด้านในขาวนวล กล่ิมหอมไกล มีอยู่ ๓ ชนดิ ๑.มะตูมไข่ ผลกลม คล้ายลูกมะขวดิ เปลอื กบาง ๒.มะตมู บ้าน ผลกลมยาว เปลือกหนา เมอื่ แก้จะแข็งเป็นกะลา ๓.มะตมู นิ่ม ผลกลมยาว เปลอื กนิม่ เคยพบทร่ี าชบรุ ี และทางเหนือ สรรพคุณ ใบสด รสฝาดปร่าซา่ ขืน่ มัน ค้ันเอานำ้ รับประทาน แกห้ วดั แก้หลอดลมอกั เสบ แกบ้ วม แก้เยื่อตาอกั เสบผลอ่อน รสฝาดร้อนปรา่ ขน่ื หัน่ ผง่ึ ใหแ้ ห้ง บดเป็นผง หรือตม้ รบั ประทาน แกธ้ าตพุ ิษพิการ แกท้ ้องเสยี แก้บิด แกโ้ รคกระเพาะอาหาร เจริญอาหาร ขับผายลม บำรุงกำลงั ผลแก่ รสฝาดหวาน ทุบใหแ้ ตก ต้มใสน่ ำ้ ตาลทรายแดง เรยี กวา่ นำ้ อฐั บาล ดื่มแก้เสมหะและลม บำรงุ ไฟธาตุ ช่วยยอ่ ยอาหารผลสกุ รสหวานเยน็ ตม้ ดม่ื หรอื เอา ๑๗๐
ตานกกรด ตานกกรด (Ellipanthus tomentosus Kurz., ssp. Tomentosus var tomentosus) ๑๗๑
ตานกกรด (Ellipanthus tomentosus Kurz., ssp. Tomentosus var tomentosus) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Ellipanthus tomentosus Kurz., ssp. Tomentosus var tomentosus วงศ์ CONNARACEAE ลักษณะทั่วไป เป็นไมย้ ืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงได้ถงึ ๓๐ เมตร ก่งิ กา้ นอ่อนมขี นละเอียด สีน้ำตาลใบเด่ียวรปู หอกหรอื ไข่กลับปลายแหลมสีเขียวเรียงสลับยาว๗-๒๐ซม.ดอกเลก็ ๆ กลีบสีขาว ๕ กลีบ มว้ นออก ออกเปน็ กระจกุ ทงี่ า่ มใบ ผลรปู ไข่ ผวิ มขี นละเอยี ด เมอ่ื แก้สี นำ้ ตาลแดง เมลด็ สดี ำมรี กสแี ดง เกดิ ตามป่าเบญจพรรณ สรรพคณุ เน้อื ไม้ รสฝาดขมมัน ถา่ ยพิษเสมหะและโลหติ แกก้ ระษัย* ปวดเมื่อย ถ่ายพิษตับ แก้ตับทรดุ ตม้ ดื่มแก้ปวดท้อง คลายอาการเกร็งของกล้ามเน้ือทอ้ ง แกโ้ รคเกย่ี วกบั ทางเดิน ปัสสาวะ หมายเหตุ *กระษยั ,กษัย คอื ความเส่อื มครำ่ ครา่ ของอวยั วะตา่ งๆในรา่ งกายของคนเรา ๑๗๒
หสั คุณเทศ หสั คุณเทศ (Holarrhena curtisii) ๑๗๓
หัสคณุ เทศ (Holarrhena curtisii) ชอื่ วิทยาศาสตร์ Holarrhena curtisii วงศ์ RUTACEAE ช่อื อน่ื สมัดต้น ลักษณะทวั่ ไป เป็นไม้พมุ่ ขนาดเลก็ สูงประมาณ ๒-๔ ฟตุ ลำตน้ กลมตงั้ ตรง ก่งิ กา้ นน้อย เปลือกตน้ สนี ำ้ ตาลดำ ใบเดีย่ วรปู หอก ปลายแหลม เนื้อหนา ดอกชอ่ กลบี สีขาวหนา ผลเป็นฝกั กลมยาว เกิดตามท่ีรกรา้ งว่างเปลา่ ที่ลุ่มชนื่ แฉะทว่ั ไป ขยายพนั ธุด์ ้วยเมล็ด สรรพคุณ ใบ รสเผด็ ร้อน ตำทาแกค้ นั พอกประคบหรืออบไอนำ้ แกผ้ ่นื คนั ตามผิวหนงั กระจายเลือดลมให้เดนิ สะดวก แกล้ มอมั พฤกษ์ อัมพาต ดอก รสหอมร้อน ฆา่ เชอื้ โรค แผลเรอ้ื รัง แก้ใสด้ ว้ น ใสล้ าม เปลือกตน้ รสรอ้ นแกโ้ ลหิตในลำคอและลำใส้ให้กระจาย กระพี้ รสร้อน แกโ้ ลหติ ในลำคอและลำไสใ้ หก้ ระจาย ต้น รสรอ้ น ขบั ลม อันเปน็ ลูกเปน็ กอ้ นในทอ้ งให้กระจาย ราก รสรอ้ น แกร้ ิดสีดวง ๑๗๔
โกฐกะกล้งิ โกฐกะกลงิ้ (Strychnos nux-vomica Linn) ๑๗๕
โกฐกะกลิง้ (Strychnos nux-vomica Linn) ช่อื วิทยาศาสตร์ Strychnos nux-vomica Linn วงศ์ STRYCHNACEAE ลกั ษณะทวั่ ไป เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ใบกว้าง ๒ นิ้ว ยาว ๓ นิว้ มเี สน้ ตามยาว ๓เส้น ใบดกทบึ เปลือกตน้ สีเหลอื งอมแดง เนอ้ื คลา้ ยไม้พญามือเหล็ก ดอกช่อมขี นาดเล็ก ผลกลมโต เหมือนลกู มะตมู ออกดอกในเดือน ก.ย.-ต.ค. เมล็ดกลมแบนขนาดประมาณ ๑ ซม. ลักษณะ คลา้ ยยางรถยนต์ สเี ทาเหลือบขาว หรือสีสวาท มีข้นึ ตามป่าเบญจพรรณทัว่ ไปในเขต ร้อนเมล็ด ทแ่ี กจ้ ัดจะแหง้ เรียกว่า โกฐกลง้ิ Nux Vomica สรรพคุณ เปน็ ยาอนั ตราย การนำมาทำเปน็ ยาจะตอ้ งฆา่ ฤทธ์ิเสยี กอ่ น ตามกรรมวธิ ใี น หลักเภสชั กรรมไทย ใบ รสเมาเบ่อื ตำพอกแก้แผลเน่าเป่ือยเรอ้ื รัง เมล็ด รสเมาเบื่อขมจัด บำรงุ ธาตุ บำรุงหวั ใจให้เต้นแรง แกอ้ ัมพาต แก้อดิ โรย แกไ้ ขเ้ จริญอาหาร ขับน้ำย่อยกระตนุ้ ประสาทสว่ นกลาง บำรงุ ประสาท หตู าจมูก บำรงุ เพศของบรุ ุษ บำรงุ กล้ามเนอ้ื กระเพาะ อาหาร ลำไส้ ให้แขง็ แรง แก้โรคอนั เกดิ จากปากคอพิการ ขับพยาธิ ขับปสั สาวะ แก้พษิ งู พษิ ตะขาบแมลงปอ่ ง แกล้ มกระเพื่อมในทอ้ ง แก้คล่ืนเหียน แกล้ มพานไส้ แก้ริดสีดวงทวาร แกโ้ ลหติ พกิ าร ทำให้ตวั เย็น แก้ลมคถู ทวาร ขบั ลมในลำไส้ แก้หนองใน แกไ้ ตพิการ แก้เส้นตาย แกเ้ หน็บชา แก้เนื้อชา แก้กระษยั แกป้ วดเม่ือยพษิ สว่ นของต้นและเมลด็ ทัง้ หมด เปน็ ยาอนั ตราย ทำให้กล้ามเนื้อกระตกุ ขาส่ัน ชกั หัวใจเตน้ แรง ขากรรไกรแขง็ และตายได้ ๑๗๖
เถาวลั ยเ์ ปรยี ง เถาวลั ยเ์ ปรียง (Derris scandens Benth.) ๑๗๗
เถาวลั ยเ์ ปรียง (Derris scandens Benth.) ช่อื วิทยาศาสตร์ Derris scandens Benth.f วงศ์ LEGUMINOSAE ลักษณะทวั่ ไป เปน็ ไมเ้ ถาขนาดใหญ่ พาดพนั ตามตน้ ไมอ้ น่ื เถาใหญม่ ักจะบิด ใบประกอบ ใบย่อยรูปไข่กลับ ผวิ เรียบมนั เขยี ว ขอบเรียบ ปลายแหลมนอ้ ยๆ ดอกเล็กเป็นชอ่ พวงระย้า สขี าวดก ฝกั แบนยาว ออกเปน็ พวง เน้ือไมม้ ีวงสเี ขม้ มสี องชนิดคอื ชนิดแดง เนอ้ื สแี ดง วงสีแดงเขม้ ชนดิ ขาว เนื้อออกสนี ำ้ ตาลออ่ นๆ วงสีนำ้ ตาลไหม้ สรรพคณุ เหมือนกนั ท้งั สองชนิด หมอยาพน้ื บา้ นนิยมใช้ชนิดขาว ชนิดแดงหายาก เถา รสเฝ่ือนเอยี น ตม้ รับประทานถา่ ยเส้น ถา่ ยกระษยั เสน้ แก้เสน้ เอ็นขอด ถา่ ยเสมหะ ไม่ถา่ ยอจุ จาระ จงึ เหมาะที่จะใช้ในโรคบดิ ไอ หวัด ใช้ในเดก็ ได้ดี ทำใหเ้ สน้ เอ็นออ่ นลง ขับปัสสาวะ แก้ปสั สาวะพิการ คว่ั ให้หอม ชงกนิ แทนนำ้ ชา แกเ้ สน้ เอ็นพกิ าร แก้เมือ่ ยขบตามร่างกาย บางท่านกล่าววา่ ทำให้มีกำลงั ดีแขง็ แรงสไู้ มถ่ อย แก้กระษยั เหนบ็ ชา ราก รสเฝ่ือนเมา ใชเ้ บอ่ื ปลา เป็นยาอายุวฒั นะ ขับปสั สาวะ ๑๗๘
กำลงั เสือโครง่ กำลงั เสือโคร่ง (Betula alnoides Buch Ham) ๑๗๙
กำลังเสือโคร่ง (Betula alnoides Buch Ham) ช่อื วิทยาศาสตร์ Betula alnoides Buch Ham วงศ์ BETULACEAE ลกั ษณะทวั่ ไป เป็นต้นไม้ขนาดกลางถงึ ใหญ่ ใบเด่ียวรปู ไขโ้ ตดกหนาทึบ เปลือกตน้ หนาสดี ำ ด้านในสเี หลืองแก่ เน้อื ไม้สขี าว เกิดในป่าดงดบิ เขา และป่าเบญจพรรณท่วั ไป สรรพคุณ เน้อื ไม,้ เปลอื ก รสฝาดมนั ตดิ รอ้ น บำรงุ กำลัง เจรญิ อาหารขบั ลมในลำไส้บำรงุ เส้น เอ็นให้แข็งแรงแก้ปวดเม่ือยตามร่างกาย บำรงุ ธาตุ เปน็ ยาอายวุ ัฒนะ ตำรบั ยาอสี านใช้เถาของ กำลงั เสอื โคร่งกับขา้ วเยน็ ทงั้ สองใชอ้ ยา่ งละเทา่ กันเสมอภาคต้มดม่ื แก้ปวดตึงตามเส้น แกก้ ษยั ไตพิการ ขบั ปัสสาวะ รักษาเบาหวาน บำรุงกำลงั แกผ้ งั ผืดอกั เสบ แก้ประดงเขา้ ข้อ เคยทดลอง แลว้ มสี รรพคุณชะงดั นกั ๑๘๐
เปล้าใหญ่ เปลา้ ใหญ่ (Croton oblongifolius Roxb.) ๑๘๑
เปลา้ ใหญ่ (Croton oblongifolius Roxb.) ชือ่ วิทยาศาสตร์ Croton oblongifolius Roxb. วงศ์ RUPHORBIACEAE ลกั ษณะท่วั ไป เป็นไม้ผลดั ใบขนาดยอ่ ม สูงประมาณ ๘ เมตร กิ่งกา้ นข่อนข้างโต ยอดอ่อน มเี กล็ดสเี ทาปกคลุมทัว่ ใบเดี่ยวรูปหอก ปลาและโคนแหลม ใบกว้างกว่าเปลา้ น้อย ยาว ๙-๓๐ ม.ฐานใบมตี ่อม ๒ ตอ่ ม ใบแกเ่ กลยี้ ง สเี ปลย่ี นเปน็ สสี ม้ ก่อนรว่ งหลน่ ดอกเล็กๆออกเป็นช่อ หลายชอ่ ที่ปลายกงิ่ ผลกลมแบนขนาด ๑ ซม. มี ๓ พู เกิดตามปา่ เบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ปา่ ละเมาะ ทัว่ ไป สรรพคุณ ใบ รสร้อน บำรุงธาตุ แกค้ นั ตามตวั แก้ลมจกุ เสยี ด บำรุงกำลงั แก้กระหาย แกเ้ สมหะและลม ดอก รสรอ้ น แกพ้ ยาธิ ลูก รสรอ้ น ดองสรุ าดม่ื ขบั โลหิตให้เรอื นไฟเปลอื ก รสร้อน แก้เสมหะให้ตก แก้เลอื ดรอ้ น เปลอื ก,กระพี้ รสรอ้ น ช่วยย่อยอาหาร แกเ้ ลือดร้อน เนอ้ื ไม้ รสรอ้ น แกร้ ดิ สีดวงลำไส้ และรดิ สดี วงทวารหนัก แกน่ รสรอ้ น ทำอาหารให้งวด แกล้ ม อันผกู เปน็ กอ้ นใหก้ ระจาย ขับไส้เดอื นราก รสร้อนเมา แก้นำ้ เหลอื งเสีย แกโ้ รคผวิ หนัง ผน่ื คนั แก้โรคเร้อื น มะเร็ง คุดทะราด กระจายลม ทำน้ำเหลืองใหแ้ หง้ ๑๘๒
โกฐหัวบวั โกฐหวั บวั (Conioselinum univitatum Turczaninow) ๑๘๓
โกฐหัวบวั (Conioselinum univitatum Turczaninow) ชือ่ วิทยาศาสตร์ Conioselinum univitatum Turczaninow วงศ์ UMBELLIFERAE ลักษณะทั่วไป เป็นไมจ้ ำพวกเหงา้ ใต้ดิน มผี วิ ขรขุ ระ แต่ทรงรวมคอ่ นขา้ งกลม สอี อกนำ้ ตาล ไหม้ถงึ ดำ มาจากประเทศจีน สรรพคุณ เหงา้ รสมัน สขุ มุ หอม แกล้ มในกองริดสีดวง กระจายลมท้ังปวง ขบั ลมในลำไส้ แก้ปวดเบง่ สรรพคณุ รวม แก้อาการปวดเกรง็ แกจ้ กุ เสยี ดแน่นท้อง สมานลำไส้ บำรงุ ธาตุ ๑๘๔
ลำเจียก ลำเจยี ก (Pandanus odoraissimus) ๑๘๕
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293