Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรในรั้ววัด

สมุนไพรในรั้ววัด

Description: การทำความรู้จัก และมีความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ดั่งกล่าวไว้เบื้องต้น อาจทำให้เราเข้าใจสภาพของโรคที่เกิดกับตนและคนอื่นก็ย่อมเข้าใจและแก้ไขสภาพการเจ็บป่วยนั้นด้วยความรู้ที่มี ทั้งยังนำไปประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันได้ ซึ่งเนื้อหาในหนังสือคู่มือนี้ได้บอกเบื้องต้นเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นทางการแพทย์แผนไทยต้นไม้และสรรพคุณ ของต้นไม้ ใบยาที่นำมารักษาโรคที่หลากหลายพร้อมทั้งตำรับยาโบราณที่นำมาประกอบในหนังสือเล่มนี้ด้วย ข้าพเจ้าจึง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มที่ท่านกำลังอ่านอยู่นี้ คงช่วยท่านทำความเข้าใจสรรพยาไทยและ สรรพคุณของยาสมุนไพรพร้อมทั้งวิธีการนำธรรมชาติมา ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการดูและรักษา โรคคงเป็นความรู้และเป็นประโยชน์ไม่มาก ก็น้อย.

Search

Read the Text Version

เม่อื สมุฎฐานท้งั ๓ ประชุมกันเขา้ เรียกว่า สันนิปาติกาอาพาธาอาพาธด้วยโทษประชมุ กัน ชือ่ ว่า สันนบิ าต สมฎุ ฐานทง้ั ๓ กองน้ี มกั จะ พกิ ารเสมอไปไม่ใครจ่ ะขาด ถา้ ฤดูผันแปรวิปริตไป เมื่อใด สมฎุ ฐาน ท้งั ๓ กองน้ี กพ็ ิการไป เมอื่ นั้น จะไดก้ ล่าวถึง ธาตุพิการ ตอ่ ไปในขา้ งหนา้ ๑.๒ อตุ ุสมฎุ ฐาน แปลวา่ ฤดเู ป็นท่ตี งั้ ฤดูน้เี ปน็ ของมอี ยูส่ ำหรบั โลก ในปี ๑ ย่อมแปรไปตาม ปกติของเดอื น วนั อันโลกไดส้ มมุติกนั สบื มา โดยกาลนยิ ม ตราบเทา่ ทุกวันนี้ อาการท่ฤี ดูแปร ไปนย้ี อ่ มให้เกดิ ไข้เจ็บได้ตามทีท่ า่ นกล่าวว่าอตุ ปุ รนิ ามชาอาพาธา ไข้เจบ็ เกดิ เพราะฤดแู ปรไป ฉะนัน้ จึงจัดเอาฤดูเข้าเปน็ สมฎุ ฐานของโรค ดงั จะกลา่ วตอ่ ไปนี้ ฤดูในคัมภรี ์แพทยศาสตร์ ทา่ นแบ่งออกเปน็ ๓ อยา่ ง คือ แบง่ เป็น ฤดู ๓ อยา่ งหนึ่ง ฤดู ๔ อย่างหนึ่ง แบง่ เปน็ ฤดู ๖อยา่ งหนง่ึ ฤดู ๓ - ทา่ นจดั เปน็ สมฎุ ฐานของโรค ในทีน่ ้ี จะแบ่งฤดู ๓ คือ ปีหนง่ึ แบง่ ออกเปน็ ๓ ฤดู ๆ หน่งึ มี ๔ เดอื น ดังน้คี ือ ๑. คมิ หันตะฤดู ( ฤดรู ้อน) นบั แต่ แรม ๑ คำ่ เดอื น ๔ ( ม.ี ค.) ไปจนถงึ ขึ้น ๑๕ คำ่ เดอื น ๘ (กค.) รวมเป็น ๔ เดอื น เรียกวา่ คมิ หันตฤดู แปลวา่ ฤดูรอ้ น อากาศร้อนรกั ษาร่างกาย มนษุ ย์อยู่ สัมผัสภายนอกกับธาตุของมนุษย์ไดก้ ระทำความ รอ้ นเปน็ ธรรมดา อากาศฝน ,อากาศหนาวเจือมา กอ็ าจเจบ็ ไข้ได้ พิกดั ปิตตะ สมุฎฐานเป็นเหตุ ๒. วะสันตฤดู ( ฤดฝู น) นับแต่แรม ๑ คำ่ เดอื น ๘ (ก.ค.) ไปจนถึงขนึ้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๒( พ.ย.) รวมเป็น ๔ เดือน เรียกวา่ วสันตฤ์ ดู แปลว่าฤดฝู น อากาศหน้าฝนรักษารา่ งกาย มนษุ ย์ เม่อื อากาศภายนอก สัมผัสกบั ธาตขุ องมนุษย์ ก็ไดก้ ระทบความเยน็ เป็นธรรมดา แตเ่ มอื่ อากาศหนาว รอ้ น มาผสม มนุษยก์ อ็ าจเจบ็ ไขไ้ ด้ พกิ ดั วาตะ สมฎุ ฐานเปน็ เหตุ ๓. เหมนั ตะฤดู นบั แต่แรม ๑ คำ่ เดือน ๑๒ (พ.ย.) ไปจนถึงขึ้น ๑๕ คำ่ เดือน ๔ (ม.ี ค.) รวมเปน็ ๔ เดอื น เรียกวา่ เหมนั ตะ แปลว่า ฤดหู นาว หรือฤดนู ำ้ ค้าง อากาศหนาว รักษารา่ งกายมนุษยอ์ ยู่ สัมผสั และ ธาตขุ อง มนษุ ยไ์ ดก้ ระทบ กระเทือนความหนาวเปน็ ธรรมดา กม็ ีอากาศรอ้ น อากาศฝนเจอื มา เมื่อฤดทู ้งั ๓ ซ่ึงแบง่ ออกโดยนาม ตามสามัญ นยิ มผลดั เปล่ยี นกันไป และมีอากาศร้อนหนาวเจือมา ในระหวา่ งของฤดนู ้ันๆ ดังน้ี กย็ อ่ มเป็น เหตุให้มนษุ ย์มคี วามเจบ็ ไข้ด้วยสมั ผัสอากาศธาตุภายนอก ๓๖

กบั ธาตุภายในไม่เสมอกัน อนึ่ง เม่อื ระหวา่ งฤดูตอ่ กันนัน้ ทำให้สัมผัสของมนษุ ยไ์ ม่เสมอกัน ซ่งึ ฤดแู ปรไปไม่ปกติเช่นน้ีธาตุในร่างกายของมนุษย์ก็ยอ่ มแปรไปตามฤดูเหมอื นกนั แตถ่ ้าเป็นคราว ทีธ่ าตุหมนุ เวียนไปไมท่ นั กับคราวฤดทู ่เี ปน็ อากาศ ธาตภุ ายนออกคราวใด กย็ ่อมมกี ารเจ็บไข้ บงั เกดิ อนึง่ ในฤดู ๓ นน้ั ท่านแบง่ ออกเป็นสมฎุ ฐานของโรคดงั น้ี ๑. คมิ หนั ตะฤดู ( ฤดูรอ้ น) เป็นสมุฎฐานเตโช สันตัปปัคคี ( ไฟสำหรบั อุน่ กาย) ๒. วสันตฤด(ู ฤดูฝน) เป็นสมุฎฐานวาโย กุจฉิสะยาวาตา ( ลมพดั ในท้อง นอกลำไส้) ๓. เหมันตะฤด(ู ฤดูหนาว) เปน็ สมุฎฐานอาโป พิกัดเสมหะโลหิต ฤดู ๔ ทา่ นจัดเป็นสมฎุ ฐานของโรค ในทน่ี ้แี บ่งฤดู ๔ โดย ปีหนึง่ จะมี ๔ ฤดูๆหนงึ่ มี ๓ เดอื นดังน้ี ๑. ฤดทู ๑่ี นับแต่แรม ๑ คำ่ เดือน ๔( ม.ี ค.) ถงึ ขนึ้ ๑๕ ค่ำเดือน ๗( มิ.ย.) สมุฎฐานเตโช ( ไฟ ร้อน ) ๒. ฤดทู ี่๒ นบั แตแ่ รม ๑ คำ่ เดือน ๗ ( มิ.ย.) ถงึ ขึน้ ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ ( ก.ย. ) สมุฎฐานวาโย(ลม ฝน) ๓.ฤดูท๓่ี นับแต่แรม๑ค่ำเดอื น๑๐(ก.ย.)ถงึ ขน้ึ ๑๕คำ่ เดือน๑(ธ.ค.)สมฎุ ฐานอาโป(นำ้ หนาว) ๔. ฤดูท๔ี่ นบั แตแ่ รม ๑ ค่ำเดือน ๑( ธ.ค.) ถงึ ขึ้น ๑๕ คำ่ เดือน ๔(มี.ค.) สมฎุ ฐานปถวี (ดนิ ) ฤดู ๖ คือแบ่งเวลา ปีหนึ่งมี ๖ ฤดูๆหน่ึงมี ๒ เดือนดังน้ี ๑. ฤดทู ่ี๑ นบั แตแ่ รม ๑ ค่ำเดอื น ๔ ( มี.ค.) ถึงขึน้ ๑๕ คำ่ เดือน ๖ (พ.ค.) ถา้ เปน็ ไขก้ เ็ ป็นด้วยดีกำเดา เป็นเพราะเพื่อเตโช ๒. ฤดูท๒ี่ นบั แตแ่ รม ๑ คำ่ เดือน ๖ (พ.ค.) ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำเดอื น๘ (ก.ค.) ถา้ เปน็ ไขเ้ ป็นเพอ่ื เตโช วาโย กำเดาระคน ๓. ฤดทู ๓่ี นับแต่แรม ๑ ค่ำเดือน ๘ (ก.ค.) ถงึ ขึ้น ๑๕ คำ่ เดือน ๑๐ (ก.ย.) ถา้ เปน็ ไขเ้ ปน็ เพ่อื วาโย และเสมหะ ๔. ฤดูที๔่ นบั แต่แรม ๑ ค่ำเดอื น ๑๐ (ก.ย.) ถึงขึน้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๒ (พ.ย.) ถ้าเป็นไข้เป็นเพอ่ื ลม เพอ่ื เสมหะและมตู ร ๕. ฤดูที่๕ นบั แตแ่ รม ๑ ค่ำเดือน ๑๒ (พ.ย.) ถึงขนึ้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๒ ( ม.ค.) ถา้ เปน็ ไข้เป็นเพราะเสมหะและกำเดาโลหติ ๓๗

๔. ฤดทู ่ี๔ นับแต่แรม ๑ ค่ำเดือน ๑๐ (ก.ย.) ถึงขน้ึ ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ (พ.ย.) ถา้ เปน็ ไขเ้ ป็นเพื่อลม เพ่อื เสมหะและมูตร ๕. ฤดูท๕่ี นับแตแ่ รม ๑ ค่ำเดอื น ๑๒ (พ.ย.) ถึงขึน้ ๑๕ ค่ำเดือน ๒ ( ม.ค.) ถ้าเปน็ ไขเ้ ปน็ เพราะเสมหะและกำเดาโลหิต ๖. ฤดทู ี่๖ นับแตแ่ รม ๑ คำ่ เดอื น ๒ ( ก.พ.) ถึงขึ้น ๑๕ คำ่ เดอื น ๔ ( มี.ค.) ถ้าเปน็ ไขเ้ ปน็ เพราะธาตุดินเปน็ มลู เหตุเพอื่ เลือดลม กำเดาเจือเสมหะ ๑.๓ อายสุ มฎุ ฐาน นนั้ แปลวา่ อายุเป็นทีต่ งั้ ท่านจัดไว้ ๓ อยา่ ง คือ ๑.๓.๑ ปฐมวัย นับแต่แรกเกดิ จนถึง ๑๖ ปี สมุฎฐาน อาโป พิกดั เสมหะกบั โลหิต ระคนกัน แบง่ เปน็ ๒ ตอน ตอนแรกเกิด จนถงึ อายุ ๘ ขวบ มเี สมหะเปน็ เจา้ เรอื น โลหติ แทรก ตอน ๘ ขวบ ถงึ ๑๖ ขวบ มโี ลหิตเปน็ เจ้าเรอื น เสมหะยงั เจอื อยู่ ๑.๓.๒ มัชฌิมวัย นับแตอ่ ายุพน้ ๑๖ ปี ขนึ้ ไป จนถงึ อายุ ๓๒ ปี สมุฎฐานอาโป พิกดั โลหติ ๒ ส่วน สมุฎฐานวาโย ๑ ส่วนระคนกัน ๑.๓.๓ ปจั ฉมิ วยั นับตั้งแตอ่ ายพุ น้ ๓๒ ปีขน้ึ ไปจนถงึ อายุ ๖๔ ปี สมฎุ ฐานวาโย อาโป แทรก พกิ ดั เสมหะกับเหง่อื ๑.๔ กาลสมฎู ฐาน แปลวา่ เวลาเป็นทตี่ ง้ั ท่านแบ่งไว้เป็น กลางวนั ๔ ตอน กลางคนื ๔ ตอน ดังนี้ ๑.๔.๑ ตอนท่ี ๑ นบั แต่ ยำ่ รงุ่ (๖.๐๐ น.) ถึง ๓ โมงเชา้ ( ๙.๐๐ น.) ย่ำค่ำ ( ๑๘.๐๐ น.) ถึงยาม ๑ ( ๒๑.๐๐ น.) สมฎุ ฐานอาโปพกิ ัดเสมหะ ๑.๔.๒ ตอนที่ ๒ นับแต่ ๓ โมงเช้า ( ๙.๐๐ น. ) ถึงเท่ยี ง ( ๑๒.๐๐ น.) ยาม ๑ ( ๒๑.๐๐ น.) ถงึ ๒ ยาม (๒๔.๐๐ น.) สมุฎฐานอาโปพกิ ัดโลหิต ๑.๔.๓ ตอนท่ี ๓ นบั แต่ เที่ยง ( ๑๒.๐๐ น.) ถงึ บา่ ย ๓ โมง ( ๑๕.๐๐ น.) ๒ ยาม ( ๒๔.๐๐ น. ) ถงึ ๓ ยาม ( ๐๓.๐๐ น.) สมฎุ ฐานอาโปพิกัดดี ๑.๔.๔ ตอนท่ี ๔ นับแต่ บ่าย ๓ โมง (๑๕.๐๐ น.) ถึงยำ่ คำ่ ( ๑๘.๐๐ น.) ๓ ยาม ( ๐๓.๐๐ น. ) ถงึ ย่ำรุ่ง ( ๐๖.๐๐ น.) สมฎุ ฐานวาโย ๓๘

ประเทศสมุฎฐาน ท่ีวา่ ประเทศที่อยูเ่ ปน็ ทตี่ ้ังของโรคดว้ ยนัน้ คอื บุคคลทเ่ี คยอย่ใู นประเทศดอน หรือเนินเขา อันปราศจากเปือกตมกด็ ี หรอื บคุ คลท่เี คย อยู่ในประเทศอนั เป็นเปือกตมก็ดี บุคคลอนั เคยอยใู่ นประเทศ รอ้ นหรอื ประเทศหนาวก็ดี เคยอยใู่ นประเทศใด ธาตุสมุฎฐานอนั มอี ยูใ่ น รา่ ง กายก็คนุ้ เคยกับอากาศในประเทศนั้น ตามปกติ ถ้าบุคคลเคยอยู่ที่ดอนแลว้ มาอยู่ ในท่เี ปอื กตม หรอื บุคคลเคยอยู่ใน ประเทศหนาวมา อยปู่ ระเทศร้อน เคยอย่ใู นประเทศรอ้ น ไปอยู่ในประเทศหนาว เม่ือยงั ไม่ค้นุ เคยกบั อากาศในประเทศนน้ั ๆ แล้วก็ย่อใจะมคี วามเจ็บไข้ เช่น บุคคลเคยอยูช่ ายทะเลไปปา่ สูง บคุ คลอยู่ปา่ สงู มาอยูช่ ายทะเลก็มีความเจบ็ ไข้ ทีเรียกกนั ว่า ไขผ้ ดิ นำ้ ผิดอากาศ นก่ี ็ไม่ใชอ่ ะไร เปน็ เพราะ ธาตุไมค่ นุ้ เคยกบั ประเทศนนั่ เอง แมแ้ ตท่ ี่ซงึ่ เคย อยมู่ าแล้ว แต่กม็ ีเปอื กตมอนั เป็นสิง่ โสโครก เกิดข้นึ เปน็ ครงั้ คราว ก็ย่อมเปน็ เหตุจะใหโ้ รค เกดิ ขนึ้ ไดเ้ หมือนกัน หมอทงั้ หลายจงึ แนะนำ ใหร้ ักษา ทอ่ี ยุใ่ หส้ ะอาด เพอ่ื เป็นทางปอ้ งกันโรค ไดอ้ ยา่ งหนึ่ง เพราะเหตุนแ้ี หละประเทศ ทอ่ี ยู่จึงจัดเป็นสมุฎฐานท่ีตงั้ ที่เกิดของโรคดว้ ย ประเทศสมุฎฐานจัดเป็น ๔ ประการ เพอื่ ให้เป็นทีส่ ังเกตวา่ ที่อยู่กับธาตุใน ร่างกายยอ่ มเปน็ ส่งิ แอบอิงอาศยั แกก่ นั คนที่เกดิ ในประเทศหนึง่ ๆ มีสมฎุ ฐานโรคต่างกันอย่าง ไร ใหก้ ำหนดไว้ดังน้ี ๑. คนเกิดในประเทศท่ีสงู เชน่ ชาวเขา เรียกประเทศร้อน ทีต่ งั้ แห่งโรคของคน ประเทศน้ัน เปน็ สมุฎฐานเตโช ๒. คนเกดิ ในประเทศทเ่ี ปน็ น้ำกรวดทราย เรียกประเทศอุ่น ที่ต้ังแหง่ โรคของคน ประเทศนน้ั เปน็ สมฎุ ฐานอาโป ดโี ลหิต ๓. คนเกดิ ในประเทศที่เป็นน้ำฝนเปียกตม เรยี กประเทศเย็น ท่ีตัง้ แหง่ โรคของคน ประเทศนนั้ เปน็ สมฎุ ฐานวาโย ๔. คนเกดิ ในประเทศที่เปน็ นำ้ เค็มเปอื กตม เรียกประเทศหนาว ท่ตี ง้ั แห่งโรคของ คนประเทศนน้ั เปน็ สมฎุ ฐานปถวี ๓๙

สมุฎฐานตามลกั ษณะอาการของโรค สอมฎุ ฐานตา่ งๆยังมกี ารจำแนกตามลักษณะอาการของโรค ซึ่งบังเกิด ณ ทที่ ่ัวไป ตามอวัยวะรา่ งกาย ที่ได้เปน็ สว่ นๆ ในอาการ ๓๒ มี เกศา โลมา เป็นตน้ น้ัน เมอ่ื โรคบงั เกิดขึน้ แกร่ า่ งกายสว่ นใดสว่ นหนึง่ ทา่ นเรยี กวา่ ส่วนน้ันพิการ ดังน้เี รยี กว่า บอกสมฎุ ฐาน คือชท้ี ี่เกิดของโรค ฝ่ายธาตุน้ำ ธาตลุ ม ธาตไุ ฟ ซง่ึ มหี นา้ ทต่ี อ้ งทำธรุ ะให้แก่รา่ งกาย ท่ีทา่ นได้ จำแนกไว้เป็นสว่ น ๆ น้นั เมอื่ ส่วนใดวปิ ริตผิดไปจากปกติ มีโรคภัย บงั เกดิ ข้ึน ท่านกเ็ รียกว่า ส่วนนน้ั พกิ าร บอกสมุฎฐานด้วยเหมอื นกนั แต่การตรวจสมุฎฐาน เพ่ือใหร้ ูว้ ่าไข้ท่ีปว่ ยรายนี้ มีอะไรเป็นสมุฎฐาน ทีเ่ กิด โรคนั้นๆ ท่านวางหลกั ไวเ้ ป็นแบบสำหรบั สอบสวนกนั หลายทาง ธาตุท้ัง ๔ กบ็ อกสมุฎฐานได้อย่างหนง่ึ ตามหลกั ธาตุสมฎุ ฐาน ฤดู ดิน ฟา้ อากาศ บอกสมฎุ ฐาน ไดอ้ ยา่ งหน่งึ ตามหลักอุตุสมฎุ ฐานอายขุ องคนไขบ้ อกสมุฎฐาน เวลาที่คนไขป้ ว่ ยและมีอาการ ปรวนแปร ไปตา่ งๆ บอก สมฎุ ฐาน ได้ อย่างหน่งึ ตามหลกั าลสมฎุ ฐาน ประเทศทีค่ นไขเ้ กดิ และปว่ ยบอกสมุฎฐานได้ อยา่ งหนงึ่ ตามหลกั ประเทศสมฎุ ฐาน ดังไดก้ ล่าว มาในขา้ งต้นแลว้ นัน้ การท่ีแทย์จะวางยกต็ อ้ งวางใหถ้ กู ต้องตามสมฎุ ฐานนัน้ ๆ แต่การทแี่ พทยต์ รวจเห็นคนเจบ็ มี อาการเชน่ น้นั ๆ แลว้ กเ็ ข้าใจว่า เปน็ โรคนน้ั ๆ เชน่ เปน็ หวดั เปน็ กระษัย เป็นไข้ และวางอย่างนี้ อยา่ งนั้นไปตามชอ่ื ของโรค เช่นนีด้ กู ็ยังไมต่ รงตามลกั ษณะสมฎุ ฐาน เพราะชื่อโรคนน้ั ๆ เปน็ ชื่อที่ แพทยส์ มมุติเรยี กกนั ขึ้น และเรียกกันตามที่เคยพบเหน็ ตอ่ ๆมา แต่บางโรคบางอย่างที่นานๆพบ หรือโรค ๒ อยา่ งท่ีมีอาการ คลา้ ยคลึงกนั แพทยห์ ลายคนเรียกชอื่ ไมต่ รงกม็ ี เหตฉุ ะนนั้ ในการ รักษาใหถ้ ูกตอ้ งแมน่ ยำแลว้ ต้องตรวจตราพิจารณา ตามสมุฎฐานนน่ั แหละ และแมน่ ม่นั กว่า อนง่ึ ในคมภีร์ธาตุวภิ งั ค์ ทา่ นก็ไมใ่ ชช่ ือ่ ตามสมมุติ ท่านเรยี กตามสมุฎฐานมาเป็นแบบอยา่ ง คือ เม่อื เหน็ อาการวา่ เป็นโรคท่ตี ับกเ็ รียกตับพิการท่ปี อดกเ็ รยี กว่าปอดพกิ ารหรือเป็นโรคเพ่อื เสมหะ กเ็ รยี กว่า เสมหะพิการ ใหแ้ พทย์ผูร้ กั ษ ใหร้ ูอ้ าการไข้ให้ตรงฉะน้ี ลกั ษณะอาการของโรค บอกสมุฎฐานตามหลักที่ทา่ นไดบ้ ัญญัติไว้ สำหรับเป็นเคร่ือง วินจิ ฉัยของแทย์ในการตรวจไข้ อน่งึ ขอชแี้ จงไว้วา่ บรรดาโรคททม่ี ปี ระจำตวั มนษุ ยอ์ ยู่ บอ่ ย ๆ นั้น โดยมากยอ่ มมีอยู่ใน ๓ พวก คือ โรคเกิดเพื่อดี เพือ่ เสมหะ และเพื่อลมทไี่ ดก้ ล่าวมาแล้ว ในสมฎฐานธาตุ ๓ น้นั เป็นมากวา่ อยา่ งอน่ื หรอื เรียกว่า ธารุสมูฎฐานพกิ ารจำแนก สมูฎฐานปภวธี าตพุ ิการ สมฎู ฐานอาโปธาตพุ ิการ สมูฎฐานวาโยธาตพุ ิการ และ สมฎู ฐานเตโชธาตพุ ิการ ๔๐

๑. สมฎุ ฐานปถวีธาตพุ ิการ ๑.๑ เกศาพกิ าร(ผม) ให้มอี าการเจบ็ ตามหนังหัวและผมร่วง ๑.๒ โลมาพกิ าร( ขน) ให้มอี าการเจ็บตามผวิ หนังและขนร่วง ๑.๓ นขาพิการ(เลบ็ ) ใหม้ ีอาการปวดท่ีโคนเลบ็ บางทที ำให้เลบ็ ถอด บางที เป็นเม็ด เป็นหนองที่โคนเลบ็ ๑.๔ ทนั ตาพิการ(ฟัน) เป็นรำมะนาด เป็นฝีรำมะนาด ฝีกราม ให้ปวดตาม รากฟัน แมงกนิ ฟนั ๑.๕ ตะโจพกิ าร(หนัง) ให้คนั ตามผวิ หนงั ให้รสู้ กึ กายสากตามผิวหนัง ใหแ้ สร้อนตามผิวหนา้ ๑.๖ มังสังพกิ าร( เนือ้ ) ใหเ้ นอ้ื เป็นผน่ื แดงช้ำและแสบรอ้ น เนือ้ เป็นแฝดเปน็ ไฝ เป็นหดู เป็นพรายยำ้ ๑.๗ นหารพู ิการ(เสน้ เอ็น) ใหร้ ูส้ กึ ตรึงรัดผกู ดวงใจ ให้สวงิ สวาย และอ่อนหิว ๑.๘ อฎั ฐพิ ิการ(กระดูก) ใหเ้ จ็บปวดในแทง่ กระดกู ๑.๙ อฎั ฐมิ ิญชังพิการ(เย่ือพรุนในกระดกู ) ใหข้ น้ ให้เปน็ ไข แล้วมอี าการเปน็ เหนบ็ ชา ๑.๑๐ วักกังพกิ าร(ม้าม) ให้สะทา้ นร้อนสะทา้ นหนาว และเปน็ โรค เช่นกระษัยลม ๑.๑๑ หทยังพกิ าร(หัวใจ) ใหเ้ สียอารมณ์ ให้ใจนอ้ ย มกั ขี้โกรธ ใหห้ ิวโหย ๑.๑๒ ยกนังพิการ(ตับ) ให้ตบั โต ตับยอ้ ย เป็นฝที ี่ตับ ตบั ช้ำ ๑.๑๓ กิโลมกังพกิ าร(พังผืด) ให้อกแห้ง ใหก้ ระหายน้ำ และเป็นโรค เชน่ โรครดิ สดี วงแห้ง ๑.๑๔ ปิหกังพิการ(ไต) ให้ขดั ในอก ให้แนน่ ในอก ให้ทอ้ งพอง ใหอ้ อ่ นเพลยี กำลังน้อย ๑.๑๕ ปัปผาสังพกิ าร(ปอด) ให้กระหายน้ำ ให้ร้อนในอก ใหห้ อบหนัก เรียกวา่ กาฬข้ึนท่ีปอด ๔๑

๑.๑๖ อนั ตังพกิ าร (ลำไสใ้ หญ)่ ใหล้ งท้องเปน็ กำลงั ให้แน่นในทอ้ ง ให้ลำไส้ตบี ๑.๑๗ อันตะคนุ งั พกิ าร (ไสน้ ้อย) ให้เรอ ใหห้ าว ให้อจุ จาระเป็นโลหติ ให้หนา้ มดื ตามวั ให้เมอื่ ยบั่นเอว ใหเ้ สียดสองราวข้าง ให้รอ้ นทอ้ งรอ้ นคอให้ถ่ายอุจจาระเป็น หนอง ๑.๑๘ อทุ ะริยงั พกิ าร (อาหารใหม่) ให้ลงทอ้ ง ใหจ้ กุ เสยี ด ใหพ้ ะอืดพะอม ให้สะอกึ ๑.๑๙ กรีสงั พกิ าร (อาหารเกา่ ) ให้อุจจาระไม่ปกติ ธาตุเสียมกั จะเนอ่ื งมาแตต่ านขโมย และเปน็ โรค เช่นรดิ สีดวง ๑.๒๐ มัตถะเก มตั ถะลงุ คงั พิการ(สมอง) ให้หูตงึ ใหม้ ัวตา ใหล้ ิ้นกระดา้ ง ใหค้ างแข็ง ๒. สมฎุ ฐานอาโปธาตพุ กิ าร ๒.๑ พัทธะปิตตะพกิ าร (นำ้ ดีในฝกั ) ให้มีอาการคลมุ้ คล่งั เป็นบ้า ไขส้ ูง ๒.๒ อพัทธะปติ ตะพกิ าร ทำใหป้ วดศรี ษะ ตัวรอ้ น สะทา้ นร้อนสะทา้ นหนาว ตาเหลือง ปัสสาวะเหลอื ง จับไข้ ๒.๓ ศอเสมหะพกิ าร ใหไ้ อเจ็บคอ คอแหง้ เปน็ หดื ๒.๔ อุระเสมหะพิการ ให้ผอมเหลอื ง เปน็ ตาน เป็นเถาใหแ้ สบในคอ อกแหง้ ๒.๕ คถู เสมหะพิการ ใหต้ กอจุ จาระเปน็ เสมหะ และโลหิต เช่นมูกเลือด ๒.๖ ปพุ โพพกิ าร ทำให้ไอเบื่ออาหาร ใหร้ ูปรา่ งซูบผอม ๒.๗ โลหิตพกิ าร ใหต้ วั ร้อนเปน็ ไข้ ให้คล่ังเพอ้ ใหป้ สั สาวะแดง ใหเ้ ป็นเม็ด ตามผวิ หนัง เชน่ เป็นประดงต่างๆ เปน็ ปานดำ ปานแดง ใหต้ ัวเยน็ ให้ออ่ นอกอ่อนใจ ๒.๘ เสโทพกิ าร (เหง่อื ) ใหส้ วงิ สวาย ให้ตัวเย็น ใหอ้ อ่ นอกออ่ นใจ ๒.๙ เมโทพิการ ( มนั ข้น) ใหผ้ ุดเป็นแผ่นตามผวิ หนัง และเปน็ วงเปน็ ดวง ใหป้ วดแสบปวดรอ้ นผิวหนัง เปน็ นำ้ เหลืองไหล ๒.๑๐ อสั สพุ กิ าร (น้ำตา) ให้ตาเปน็ ฝ้า น้ำตาไหล ตาแฉะ ตาเปน็ ต้อ ๒.๑๑ วสาพิการ (มันเหลว) ให้ผิวเหลือง ใหต้ าเหลอื ง ใหล้ งทอ้ ง ๒.๑๒ เขโฬพกิ าร (นำ้ ลาย) ให้เจบ็ คอเปน็ เมด็ ในคอและโคนลิน้ ๒.๑๓ สงิ ฆานกิ าร (น้ำมูก) ใหป้ วดในสมอง ใหต้ ามวั ใหน้ ำ้ มูกตก ๒.๑๔ ละสิกาพกิ าร (ไขข้อ) ให้เจบ็ ตามขอ้ และแท่งกระดกู ท่วั ตัว ๒.๑๕ มตุ ตงั พกิ าร (ปสั สาวะ) ให้ปสั สาวะสีขาว สเี หลือง สดี ำ สีแดง ๔๒

๓. สมฎุ ฐานวาโยธาตพุ กิ าร ๓.๑ อทุ ธังคะมาวาตะพกิ าร (ลมพดั ข้ึน) ให้มอื เท้าขวักไขว่ รอ้ นในท้อง ทุรนทุราย หาวเรอ เสมหะเฟอ้ ๓.๒ อโธคะมาวาตะพกิ าร (ลมพัดลง) ให้ยกมือและเท้าไมไ่ หว ใหเ้ ม่ือยขบไปทุกข้อ ๓.๓ กจุ ฉสิ ยาวาตะพกิ าร (ลมพัดในทอ้ งนอกลำไส้) ให้ทอ้ งล่ัน ให้ดวงจติ สวิงสวาย ให้เมือ่ ยขบไปทกุ ข้อ ๓.๔ โกฎฐาสยาวาตะพกิ าร (ลมพัดในลำไส้ กระเพาะ) ใหข้ ัดในอก ให้จุกเสียด ให้อาเจยี น ใหค้ ลนื่ เหียน ใหเ้ หม็นข้าว ๓.๕ อังคะมังคานุสารวี าตะพิการ (ลมพดั ทว่ั ร่างกาย) ให้นัยนต์ าพร่า ให้วงิ เวียน ให้เจบ็ สองหนา้ ขา ให้เจ็บตา กระดกู สันหลงั อาเจยี นแต่ลมเปลา่ กนิ อาหารไม่ได้ สะบดั ร้อน สะบัดหนาว ๓.๖ อสั สาสะ ปสั สาสะวาตะพกิ าร (ลมหายใจเขา้ ออก) ใหห้ ายใจส้นั เข้าจนไมอ่ อก ไม่เขา้ ๔. สมุฎฐานเตโชธาตพุ ิการ ๔.๑ สนั ตปั ปัคคพี ิการ (ไฟอบอ่นุ ) ทำใหก้ ายเย็นชืด ๔.๒ ปริณามคั คีพิการ (ไฟยอ่ ยอาหาร) ให้ขดั ขอ้ มือ ข้อเท้า เป็นมองคร่อ คอื ปอดเป็นหวัด ให้ไอ ใหป้ วดฝ่ามือ ฝ่าเท้าใหท้ ้องแขง็ ใหผ้ ะอดื ผะอม ๔.๓ ชริ ะณัคคพี ิการ (ไฟทำให้แก่ชรา) ทำใหก้ ายไมร่ สู้ ึกสัมผัส ชิวหาไม่รู้รส หูตึง หน้าผากตงึ อาการเหล่าน้ี เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาได้ ๔.๔ ปริทัยหคั คพี กิ าร (ไฟระส่ำระสาย) ทำใหร้ ้อนภายในภายนอก เยน็ มือ เย็นเทา้ เหงอื่ ออก จากท่ีกลา่ วแล้วว่า สมฎู ฐานทัง้ ๔ เปน็ ทต่ี ้ังที่เกิดของโรคแลว้ นน้ั ในหัวขอ้ ต่อไปจะ กลา่ วถึงกริ ิยาอาการ ความประพฤติของมนุษยท์ จี่ ะ ทำใหเ้ กิดโรคขนึ้ คอื มนษุ ยเ์ ราจะต้อง ประพฤตใิ นธาตุซึง่ มีอยู่ในร่างกายของตนใหส้ มำ่ เสมอ ไมค่ วรจะฝา่ ฝืนร่างกายให้มากกว่าปกติ ไปความทีฝ่ า่ ฝืนรา่ งกายนัน้ คอื ๔๓

๑. อาหาร ไม่ระวงั ในการบริโภค ในการบริโภคมากเกินกว่าปกติ โดยไม่รปู้ ระมาณ ในอาหาร หรือ ตนเคยบริโภคเพยี งไร แตบ่ รโิ ภค นอ้ ยกวา่ ท่เี คย หรืออาหารนน้ั เป็นของบดู ของเสีย และที่ควรจะทำใหส้ กุ เสียก่อน แต่ไมท่ ำใหส้ กุ หรอื ของทม่ี ีรสแปลกกวา่ ทีต่ นเคยบรโิ ภค ก็บริโภค จนเหลอื เกินไมใ่ ชช่ มิ ดู แตพ่ อรูร้ สและบรโิ ภคอาหารไม่ตรงกบั เวลาทเี่ คย เชน่ ตอนเช้า เคยบริโภคอาหาร ไมไ่ ดบ้ ริโภค ปลอ่ ยใหล้ ว่ งเลยไปจนเวลา บา่ ย การที่บรโิ ภคอาหารโดย อาการ ต่างๆ น้ี ย่อมทำใหป้ กตธิ าตุในกายแปรได้ โรคท่ีมขี นึ้ ในกายจดั ไดช้ อ่ื วา่ โรคเกดิ เพราะอาหาร ๒. อริ ยิ าบถ มนุษยท์ ง้ั หลายควรใชอ้ ริ ยิ าบถ ใหผ้ ลดั เปลย่ี นกันตามปกติ ๔ อยา่ งคอื นั่ง นอน ยืน เดิน ถา้ งอย่างใดอยา่ งหนง่ึ มากไป ไมใ่ ช่รา่ งกายเส้นเอ็นให้ผลัดเปลย่ี นไปบ้าง เส้นเอน็ กจ็ ะแปรไปจากปกติ ทำให้เกดิ โรคได้ น่ีจัดไดช้ อ่ื วา่ โรคเกิดเพราะอริ ิยาบถ ๓. ความรอ้ นและความเยน็ บคุ คลทเ่ี คยอยใู่ นท่รี อ้ น ไปถูกความเย็นมากไปก็ดี หรอื เคยอยใู่ นทเ่ี ยน็ ไปถูกความรอ้ นมากไปก็ดี เช่น เคยอย่ใู นร่ม ตอ้ งออกไปกลางแจ้ง เวลาแดดรอ้ นจัดไมม่ อี ะไรกำบงั หรอื ไมม่ ีพอท่จี ะกำบังไดก้ ด็ ีเคยอยใู่ นที่เปิดเผยตอ้ งไปอยใู่ นที่ อบั อบอ้าวร้อน มาก ไปก็ดี หรอื ผูท้ ีต่ อ้ งไปถกู ฝน ถกู นำ้ ค้างและลงไปแช่อยู่ในนำ้ นานๆ กด็ ี เหตเุ หลา่ นี้ ยอ่ มทำให้เกดิ โรคได้ นจ่ี ดั ได้ชื่อวา่ โรคเกิดเพราะความร้อนและเย็น ๔. อดนอน อดขา้ ว อดนำ้ เมอื่ ถึงเวลาไม่นอน ต้องทรมานอย่จู นเกินกว่าเวลาอนั สมควร หรือ ถึงเวลากนิ ขา้ วแตไ่ มไ่ ด้กนิ โดยท่ีมี เหตจุ ำเป็นตอ้ ง อด อยากกนิ น้ำไม่ได้กนิ ตอ้ ง อดต้องทนไปยอ่ มเปน็ เหตุ ทำใหเ้ กิดโรคได้ นจ่ี ัดไดช้ อ่ื วา่ โรคเกดิ เพราะอดนอน อดข้าว อดน้ำ ๕. กลัน้ อจุ จาระ ปสั สาวะ ตามธรรมดาอจุ จาระ ปัสสาวะ เมอ่ื ถึงคราวจะตก แต่กลน้ั ไว้ ไมใ่ ห้ตก ปล่อยใหล้ ว่ งเลยเวลาไปมากกว่า สมควร ก็แปรปรวนไปจากความเป็นปกติ ย่อม ทำใหธ้ าตใุ นกายแปรปรวน ไปดว้ ย เป็นหนทางทำใหเ้ กดิ โรคได้ นจ่ี ัดได้ชือ่ วา่ โรคเกดิ เพราะกลั้น อุจจาระ ปัสสาวะ ๖. ทำการเกนิ กำลงั กาย คือ ทำการยกแบกหามหว้ิ ฉุดลากของท่หี นกั เกินกว่ากำลัง ของตน จะทำกด็ ี หรอื ว่งิ กระโดดตวั ออกกำลงั แรง มากเกนิ ไปก็ดี ยอ่ มทำใหอ้ วยั วะ น้อยใหญ่ ไหวเคล่ือนผดิ ปกติ หรอื ตอ้ งคดิ ตอ้ งทำงานต่างๆ โดยที่ต้องเหน็ดเหน่อื ยเพราะตอ้ งใชค้ วาม คดิ และกำลังกายมากเกนิ กว่าปกติ กด็ ี เหลา่ นี้ชอื่ วา่ ทำการเกนิ กำลงั กาย ยอ่ มทำใหเ้ กดิ โรคได้นี่ จดั ไดช้ ่อื ว่า โรคเกิดเพราะทำการเกนิ กำลงั ๔๔

๗. ความเศร้าโศกเสียใจ บุคคลทม่ี คี วามทกุ ข์รอ้ นมาถงึ ตัวกเ็ ศร้าโศกเสยี ใจ จนถงึ แก่ ลืมความสขุ สำราญท่เี คยมี เคยเป็นมาแต่กอ่ นเสยี ที่สดุ อาหารทบี่ รโิ ภคเคยมี รสก็เสอ่ื มถอย หรือละเลยเสยี กม็ ี เมอื เป็นเช่นนี้ นำ้ เลยี้ งหัวใจท่ผี อ่ งใสก็ขนุ่ มัวเหอื ดแหง้ ไป กย็ ่อมจะให้เกิด มโี รค ขึ้นในกายได้ นชี่ ่อื วา่ โรคเกิดเพราะความเศร้าโศกเสียใจ ๘. โทสะ บุคคลที่มโี ทสะอยเู่ สมอ ไม่มีสติท่จี ะยดึ หนว่ งไวไ้ ดย้ อ่ มทำกิรยิ า ฝา่ ฝืน ร่างกายละท้งิ ความบรหิ ารร่างกายของตนเสยี จนถึงทอดท้ิงรา่ งกาย หรือทบุ ตีตัวเอง เช่นน้ี กท็ ำใหเ้ กดิ โรคได้ น่ชี อ่ื ว่าโรคเกิดเพราะโทสะ ๒. รู้จักชอื่ ของโรค หมอจะตอ้ งรจู้ กั ชอ่ื ของโรควา่ คนไขท้ มี่ ีอาการป่วยนนั้ หมอท้ังหลายไดส้ มมุตชิ ่ือ ไว้วา่ โรคนี้ๆ มีโรคหวัด โรคไอ โรคไข้ โรคลม เป็นตน้ และชื่อของโรคต่างๆ อกี เอนกประการ ทม่ี ีแจ้งอยู่ในคัมภรี แ์ พทยศ์ าสตร์ทั้งปวง ท่ีทา่ นไดก้ ำหนดบัญญตั ิ ต้งั แต่งชอื่ ของโรคไวแ้ ลว้ ในความจริง ชอ่ื ของโรคนี้ กค็ อื หมอผ้รู ักษาพยาบาลโรคนน้ั เองใหช้ อ่ื ไว้ เพอื่ ท่ีจะ ใหก้ ำหนดรู้กนั ได้วา่ อาการอย่างนัน้ ๆ เปน็ ชอ่ื โรคนๆ้ี เปน็ ชอ่ื โรคนน้ั ๆ ชือ่ ของโรคทง้ั ปวง จะมีช่อื ไดก้ ด็ ้วยสมมุตนิ ัน่ เอง แต่ในคัมภรี โ์ รคนทิ านนั้น ท่านมไิ ดก้ ล่าวชอ่ื โรคเลยว่าชอื่ อะไร ท่านกล่าวแตช่ ือ่ ของ ธาตวุ า่ ธาตนุ ้นั ช่ือนนั้ พกิ าร หรือแตกไปแตล่ ะอย่างแต่ละสง่ิ จงึ มีอาการและประเภทตา่ งๆ ให้มนุษย์ไดค้ วามปว่ ยเจบ็ เพราะฉะนนั้ ความป่วยเจบ็ นไี่ ชอ่ ื่นไกล คอื ธาตทุ งั้ ๔ ซ่งึ ไดจ้ ำแนกออกเป็น ธาตดุ นิ ๒๐ ธาตุนำ้ ๑๒ ธาตลุ ม ๖ ธาตไุ ฟ ๔ รวมเป็น ๔๒ อย่าง ซงึ่ ไดจ้ ำแนกไวใ้ น สมุฎฐานแลว้ นน้ั เอง เมือ่ พกิ ารหรือแตกไป จงึ ทำให้มนษุ ยม์ คี วามป่วยด้วย เหตุน้ี ถ้าจะเรยี กช่อื ของโรคให้ตรงกับความทีเ่ ปน็ จรงิ แลว้ กต็ อ้ งเรียกชอื่ ของธาตุ ๔๒ อยา่ ง น้นั มาเปน็ ชือ่ ของโรควา่ เป็นโรคเกศาพกิ าร โรคทันตาพิการ โรคเสมหะพกิ าร โรคโลหติ พกิ าร ดังน้ีเพราะคำที่ว่า โรคนน้ั กค็ ือ ธาตพุ ิการ ถ้าจะเรียกชอ่ื ของโรคให้รวบรัดแล้ว ก็คงมชี ่อื ยเู่ พียง ๕ ชอื่ ตามฐานทต่ี ั้งของโรค ในเบญจอนิ ทรียน์ ี้ คือ จักขุโรโค โสคะโรโค ฆานะโรโค ชิวหาโรโค กายะโรโค ๔๕

๒.๑ จกั ขุโรโค คือโรคซึ่งเปน็ ขนึ้ ทต่ี า สามญั ชนสมมุตชิ ่ือวา่ เปน็ ตาแดง ตาแฉะ เป็น ตารดิ สดี วง เปน็ ต้น ๒.๒ โสตะโรโค คอื โรคซง่ึ เกิดข้ึนทีห่ ู สามญั ชนสมมตุ ิชือ่ วา่ เป็นหูหนวก เปน็ หตู ึง เป็นฝีในหู เปน็ ต้น ๒.๓ ฆานะโรโค คือโรคซึ่งเป็นขึน้ ทจี่ มูก สามญั ชนสมมุตชิ ื่อว่า เป็นรดิ สีดวงจมกู เปน็ ต้น ๒.๔ ชวิ หาโรโค คอื โรคซึง่ เป็นขนึ้ ที่ลิน้ สามญั ชนสมมตุ ชิ ่อื ว่า เปน็ ลนิ้ แตก เป็นลน้ิ เปอ่ื ย เปน็ ตน้ ๒.๕ กายะโรโค คือโรคซึ่งเป็นขึน้ ที่ตวั โรค แบ่งเปน็ ๒ ชนดิ คือ ๒.๕.๑ พหิทธะโรโค เปน็ โรคที่เกิดขึ้นภายนอกกาย สามัญชนสมมตุ ชิ ื่อว่าเป็น เกล้ือน เป็นกลาก เปน็ มะเร็ง เป็นคดุ ทะราด เปน็ เรื้อน เป็นกฎุ ฐงั หรือเปน็ แผลตา่ งๆ ที่ปรากฎ ออกมาภายนอก กาย ๒.๕.๒ อันตะโรโค คือโรคเป็นข้นึ ภายในกาย สามญั ชนสมมุติว่า เป็นไข้ เปน็ ลม เปน็ ดาน เป็นเถา เป็นจกุ เสียด เป็นแน่นเฟ้อ เป็นบดิ เป็นป่วง ฝใี นทอ้ ง รวมทต่ี งั้ ของโรค ๕ ฐานดังนี้ เพราะโรคท้งั ปวงตง้ั ขึน้ ไดก้ ็ตอ้ งอาศัยในเบญจอินทรยี ์ ทั้ง ๕ เปน็ ที่ตั้งขึ้นได้ จงึ มนี าม สมมตุ ิเมื่อภายหลัง หมอจึงเรยี กช่ือของโรคน้ันตามความทส่ี มมตุ ิกนั มา จงึ ไดจ้ ัดว่า นามโรค คือ ชื่อของความไขเ้ จบ็ ทงั้ ปวง เพราะเป็นชือ่ สมมุติชอื่ ของโรคทงั้ ปวงนนั้ จะถอื เอาชอ่ื ทีเ่ รียกกนั คำเดยี ว เป็นแนน่ กั ไม ่ได้ จะเรียกชอื่ ตา่ งๆกันบ้าง แลว้ แต่หมบู่ า้ น และประเทศ เช่น โรคมีอาการเช่นเดยี วกนั แต่ชาว เหนือ เรยี กชอื่ อกี อยา่ งหนึ่งชาวใตเ้ รยี กช่ืออีกอย่างหน่ึงในคัมภรี เ์ รียกชอ่ื อย่างหนงึ่ แตเ่ ปน็ โรคอย่าง เดยี วกัน นน่ั เอง ข้อน้ีไม่ตอ้ งคดิ แกไ้ ขอะไร ในเร่ืองชอื่ โรค เปน็ หนา้ ที่ ของหมอท่จี ะสำเหนยี ก เรียกอนโุ ลมตามสมมตุ ิไดใ้ นเวลา ทรี่ กั ษา ใชใ้ นหม่ชู นน้ันๆ อนึ่ง ขอแนะนำ ให้ผทู้ ี่จะศึกษาวิชาหมอ ให้ฟังกำหนดรู้ลกั ษณะและอาการต่างๆ ในประเภท ไขพ้ ิษ ไข้เหนือไขก้ าฬทั้งปวง ท่ี เรียกกันมาแตโ่ บราณว่า ไขต้ กั ศลิ า บดั นเ้ี รียกว่า กาฬโรค ใหห้ มอพงึ ได้พจิ ารณาดู และกำหนดไวใ้ หแ้ ม่นยำ เพราะไข้เหนือ ไขพ้ ษิ ไข้กาฬ เหล่านี้ เปน็ ไข้อันสำคัญ ๔๖

๓. รู้จักยารกั ษาโรค หมอจะต้องรสู้ รรพส่งิ ต่างๆ ซึ่งจะไดเ้ อามาปรงุ เปน็ ยาแกไ้ ขโรค การที่จะ รู้จักยาน้ัน ต้องรูจ้ กั ๔ ประการ คอื รู้จักตัวยา ร้จู ักสรรพคุณยา รจู้ ักเครื่องยา ทีมีชอ่ื ต่างกัน รวมเรยี กเป็นชอ่ื เดียว ( พกิ ัดยา) รู้จักการปรงุ ยา ที่ประสมใช้ตามวิธีต่างๆ ๓.๑ รูจ้ กั ตวั ยา ดว้ ยลกั ษณะ ๕ ประการ คือ รจู้ กั รูป รจู้ กั สี รู้จกั กลน่ิ รู้จกั รส และสรรพคุณ และรู้จักชือ่ ในเภสชั วตั ถุ ๓ จำพวก คอื พืชวัตถุ (พรรณไม้ พรรณหญ้า เครอื เถา) สัตวว์ ตั ถุ ( เครอ่ื งอวัยวะของสตั ว)์ ธาตวุ ตั ถุ ( แร่ธาตตุ ่างๆ) ๓.๑.๑ พรรณไมใ้ หร้ ู้จกั ว่า ไม้อย่างน้ี ดอก เกสร ผล เมล็ด กะพ้ี ยาง แกน่ ราก มีรปู อย่างน้นั มีกล่นิ อย่างนนั้ มีสีอยา่ งนนั้ มีรสอยา่ งน้นั ชื่อว่าอย่างน่นั พรรณหญา้ และเครือเถา กใ็ หร้ ู้ อย่างเดียวกัน ๓.๑.๒ ส่วนเคร่ืองอวัยวะของสตั ว์ ก็ใหร้ ูว้ ่า เปน็ ขน หนงั เขา นอ งา เข้ียว ฟนั กราม กบี กระดุก ดี มลี ักษณะ รปู สี กลน่ิ รส ชอื่ อย่างนัน้ ๆ เปน็ กระดกู สัตว์อย่างนีๆ้ เปน็ เขาสตั วอ์ ย่างน้ันๆ เป็นตน้ ๓.๑.๓ สว่ นแรธ่ าตตุ ่างๆ กใ็ ห้รจู้ กั ลกั ษณะ รูป สี กล่นิ รส และชอื่ เชน่ การบรู ดนิ ประสวิ กำมะถัน จนุ สี เหลา่ น้ี ต่างก็มรี ปู รส กลนิ่ เปน็ อย่างหน่ึง การทจี่ ะร้จู ักตัวยาวา่ ส่งิ อันใดมชี อ่ื รปู สี กลนิ่ รส อย่างไรน้ัน ต้องรู้จักดว้ ย การดขู องจริง ท่ีมีอยู่เปน็ ตัวอย่างในโรงเรยี นก็ดี ตน้ ไมซ้ ึง่ มีอยูใ่ นส่วนยา หรือทอี่ ่ืนๆ ซงึ่ เป็นของสดกด็ ี จะต้องเรียนให้ร้ขู องจริง ทั้งแหง้ ท้ังสด และจดจำไวใ้ ห้มีความรู้ความ ชำนาญ เป็นต้นว่า พรรณไมอ้ ย่างหนงึ่ ในประเทศน้ี เรยี กช่อื วา่ อย่างนี้ ครน้ั พบในประเทศอื่น เรียกชื่ออกี อย่างหนงึ่ เชน่ น้ี เปน็ หนทางท่ีผศู้ กึ ษา จะตอ้ งคน้ คว้า หาความรูค้ วามชำนาญ ให้ตนเอง จึงจะมีความรูย้ ง่ิ ขึ้นไป ๓.๒ รู้จกั สรรพคณุ ยา ทา่ นกล่าวเอารสยา ๓ รสข้ึนตง้ั เปน็ ประธาน ( ยารสประธาน) ยังมที าง จำแนก ตามรส เปน็ ๙ รส และจดั ตามธาตุท้งั ๔ ทีเ่ กดิ ธาตุพิการ ข้ึนดังน้ี ๓.๒.๑ รสประธาน ๓ รส ๑. ยารสร้อน ได้แกย่ าท่เี ขา้ เบญจกูล ตรกี ฎกุ เช่นหสั คุณ ขงิ ข่า ปรงุ เป็นยา เช่น ยาเหลืองทงั้ ปวงสำหรับแกท้ างวาโยธาตุ เป็นตน้ ๒.ยารสเย็นไดแ้ กย่ าทีเ่ ขา้ ใบไม้(ทไ่ี ม่ร้อน)เกสรดอกไม้สัตตะเขาเนาวะเข้ียว และของทเี่ ผาเปน็ ถ่านแลว้ ปรุงยา เช่นยา มหานิล ยามหากาฬสำหรับแก้ทาง เตโชธาตุ เปน็ ต้น ๔๗

๓. ยารสสุขุม ได้แกย่ าทเ่ี ขา้ โกฏิ เทียน กฤษณา กระลำพัก ชะลดู อบเชย ขอนดอก แก่นจนั ทร์เทศ เปน็ ตน้ ปรุงเป็นยา เชน่ ยาหอมทง้ั ปวง สำหรบั แกท้ างโลหิต เป็นตน้ ๓.๒.๒ รสยา ๙ รส ๑. รสฝาด สำหรับสมาน ๒. รสหวาน สำหรับซมึ ซาบไปตามเน้อื ๓. รสเมาเบ่อื แกพ้ ิษ ๔. รสขม แกท้ างโลหิตและดี ๕. รสเผ็ดร้อน แก้ลม ๖. รสมัน แก้เส้นเอน็ ๗. รสหอมเย็น ทำให้ชื่นใจ ๘. รสเค็ม ซาบไปตามผิวหนงั ๙. รสเปร้ยี ว แกเ้ สมหะ ตามตำราเป็น ๙ รส ฉะน้ี แต่ควรเติมรสจืด อกี รสหน่ึง สำหรับแกท้ างเสมหะด้วย ๓.๒.๓ ธาตทุ งั้ ๔ พกิ าร คอื วา่ ธาตใุ ดพกิ าร ใช้ยารสใด แก้ถกู โรค ดังนี้ คอื ๑. โรคที่เกดิ ข้ึนเพื่อปถวพี ิการ ชอบยา รสฝาด รสเคม็ รสหวาน รสมนั ๒. โรคท่เี กดิ ขึ้นเพื่ออาโปธาตุพกิ าร ชอบยา รสขม รสเปรี้ยว รสเมาเบอื่ ๓. โรคทีเ่ กิดขนึ้ เพอ่ื เตโชธาตพุ ิการ ชอบยา รสจดื รสเย็น ๔. โรคทเ่ี กดิ ขนึ้ เพือ่ วาโยธาตุพกิ าร ชอบยา รสสขุ ุม รสเผ็ดรอ้ น การท่ีจะสอนสรรพคุณยาท้ังปวงเหลา่ นี้ ให้พิสดารละเอยี ด ไปน้นั เปน็ การยาก จึงนำมา กล่าวไวพ้ อเป็นท่สี งั เกต ผู้ศึกษาจะตอ้ งเรยี น จากคัมภรี ใ์ หญ่ เช่น คัมภีร์สรรพคณุ เปน็ ตน้ จงึ จะได้ความรกู้ วา้ งขวางตอ่ ไป ๓.๓ รจู้ ักเคร่ืองยา ทม่ี ีชอื่ ต่างกนรวมเรียกเปน็ ชอ่ื เดียว ยาเหลา่ นที้ า่ นจัดไว้เปน็ หมวดๆ ตาม พกิ ดั จะนำมากลา่ วไว้พอเป็นตวั อย่างดังน้ี ๓.๓.๑ หมวดของ ๒ สงิ่ ๑. ทะเวคนั ธา คอื รากบุนนาค รากมะทราง ๒. ทะเวตรีคนั ธา ของ ๒ สง่ิ ๆ ละ ๓ ดอกบนุ นาค แกน่ บุนนาค รากบุนนาค ดอกมะทรางแกน่ มะทราง รากมะทราง ๔๘

๓.๓.๒ หมวดของ ๓ สง่ิ ๑. ตรสี ุคนธ์ คือ รากอบเชยเทศ รากอบเชยไทย รากพมิ เสนต้น ๒. ตรีผะลา คอื ผลสมอไทย ผลสมอพเิ ภก ผลมะขามป้อม ๓ ตรีกะฎุก คือ เมลด็ พรกิ ไทย ดอกดีปลี เหงา้ ขงิ แหง้ ๔. ตรีสาร คอื รากชา้ พลู รากเจตมูลเพลงิ เถาสะคา้ น ๕. ตรธี ารทิพย์ คอื รากไทรย้อย รากราชพฤกษ์ รากมะขามเทศ ๖. ตรีสุระผล คือ เปลอื กสมลุ แวง้ เนื้อไม้ ( กฤษณา) แกน่ เทพทาโร ๗. ตรผี ลธาตุ คือ รากกะทอื รากไพล รากตะไคร้หอม ๘. ตรสี นั นบิ าตผล คอื ดปี ลี รากกะเพรา รากพรกิ ไทย ๙. ตรีคนั ธะวาต คือ ผลเรว็ ใหญ่ ผลจนั ทน์ ดอกกานพลู ๑๐.ตรกี าฬพษิ คอื รากกระชาย รากขา่ รากกะเพรา ๑๑. ตรที ิพยะรส คอื โกฎกระดกู กระลำพัก ขอนดอก ๑๒. ตรีญาณรส คอื ไส้หมาก รากสะเดา เถาบอระเพด็ ๑๓. ตรีเพชรสมคุณ คือ วา่ นหางจระเข้ ฝักราชพฤกษ์ รงทอง ๑๔. ตรีฉนิ ทะลากา คือ โกฎน้ำเต้า สมออพั พยา รงทอง ๑๕. ตรเี กสรมาศ คอื เปลอื กฝ่นิ ตน้ เกสรบวั หลวง ผลมะตมู อ่อน ๑๖. ตรีอมฤต คอื รากมะกอก รากกล้วยตบี รากกระดอม ๑๗. ตรีสัตกลุ า คือ เทยี นดำ ผลผกั ชลี า เหงา้ ขิงสด ๑๘. ตรที รุ ะวสา คอื เมล็ดโหระพาเทศ ผลกระวาน ผลราชดดั ๑๙. ตรีเสมหะผล คอื ผลช้าพลู รากดปี ลี รากมะกลำ่ เครอื ๒๐. ตรปี ิตตะผล คอื เจตมลู เพลิง รากกะเพรา ผกั แพวแดง ๒๑. ตรีวาตะผล คือ ผลสะค้าน รากข่า รากพรกิ ไทย หมายเหตุ พวกยาตรีพกิ ัด คอื พิกัดยาหมวดของ ๓ ส่งิ นี้ ผู้พมิ พ์ตรวจพบวา่ ในหนงั สอื เวชศึกษา กับในพจนานุกรม ฉบับบัณฑิตยสถาน มีตัวยาตา่ งกันอยู่ ๒ พกิ ดั คือ พิกดั ตรที พิ ยะรส กับ พกิ ัด ตรีสุคนธ์ จึงได้คัดเอาพวกตรีพิกดั จากพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน มาพมิ พ์ ไว้ให้ทา่ นผูร้ ู้ และนักศกึ ษาพิจารณาดงั ตอ่ ไปนี้ คือ ๑. ตรีกะฎกุ ของเผด็ ร้อน สามชนดิ คือ พริกไทย ดปี ลี ขิงแห้ง ๒. ตรีกาฬพิษ พษิ กาฬสามอย่าง คือ กระชาย รากขา่ รากกะเพรา ๔๙

๓. ตรกี ะฎกุ คอื เมลด็ พริกไทย ดอกดปี ลี เหง้าขงิ แห้ง ๔. ตรีสาร คอื รากชา้ พลู รากเจตมูลเพลงิ เถาสะค้าน ๕. ตรธี ารทิพย์ คือ รากไทรย้อย รากราชพฤกษ์ รากมะขามเทศ ๖. ตรชี าติ (วัตถสุ าม) คือ ดอกจันทน์ กระวาน อบเชย ๗. ตรญี าณรส รสสำหรบั ผ้รู สู้ ามอยา่ ง คอื ไสห้ มาก รากสะเดา เถาบอระเพด็ ๘. ตรีทิพยะรส รสทพิ ย์สามอยา่ ง คอื โกฎกระดกู เนื้อไม้ อบเชยไทย ๙. ตรที ุระวสา ของแก้มันเหลวเสียสามอย่าง คือ เมลด็ โหระพา ผลกระวาน ผลราชดดั ๑๐. ตรีทะเวตรีคนั ธา กลิน่ สามสองสาม (ศัพทค์ มั ภรี ์แพทย์) คอื แก่น ดอก ราก แห่งมะซาง และบนุ นาค ( บางแห่งเขยี น ทะเวติคนั ธา ทะเวตรีคนั ธา กม็ ี ) ๑๑.ตรีธารทพิ ย์ ของทิพย์ทที่ นสามอย่าง คือ รากไทรย้อย รากราชพฤกษ์ รากมะขามเทศ ๑๒.ตรปี ติ ตะผล ผลแกด้ สี ามอย่าง คอื เจตมูลเพลิง ผกั แพวแดง รากกระเพรา ๑๓. ตรีผลาธาตุ ผลแกธ้ าตสุ ามอยา่ งคือ กระทือ ไพล รากตะไคร้ ๑๔. ตรีผลาสมฎุ ฐาน ทเี่ กิดแหง่ ผลสามอย่างคอื ผลมะตูม ผลยอ ผลผกั ชลี า ๑๕. ตรีผลา ช่อื ผลไมส้ ามอยา่ งประกอบข้นึ ไขใ้ นตำรา คอื สมอไทย สมอพเิ ภก มะขามป้อม ๑๖. ตรพี ิษจักร จักรพษิ สามอย่าง คือ กานพลุ ผักชลี ้อม ผลจนั ทนเ์ ทศ ๑๗. ตรีเพชรสมคณุ คุณเสมอด้วยเพชรสามอยา่ ง คือ วา่ นหางจระข้ ฝกั ราชพฤกษ์ รงทอง ๑๘. ตรมี ธรุ ส ของมรี สดีสามอย่าง คอื ผลสะคา้ น รากพริกไทย ขา่ ๑๙. ตรีวาตะผล ผลแก้ลมสามอย่าง คอื ผลสะค้าน รากพรกิ ไทย ขา่ ๒๐. ตรีสมอ สมอสามอย่างคือ สมอไทย สมอพิเภก สมอเทศ ๒๑. ตรสี ตั กลุ า ตระกูลอนั สามารถสามอยา่ ง คือ ผลดีปลี รากกระเพรา รากพรกิ ไทย ๒๒. ตรสี ันนิบาตผล ผลแก้สนั นิบาตสามอย่าง คอื เทยี นดำ ผกั ชีลา ขิงสด ๒๓. ตรสี าร แกน่ สามอยา่ ง คือ แสมสาร แสมทะเล ขเี้ หล็ก หรอื อีกอย่างหนึง่ แปลว่า รสสามอย่างเป็น คำแพทย์ ใชใ้ นตำรายา คอื เจตมลู เพลิง สะคา้ น ชา้ พลู ๒๔. ตรีสนิ ธรุ ส รสนำ้ สามอยา่ ง คือ รากมะตูม เทยี นขาว น้ำตาลกรวด ๕๐

๒๕. ตรีสุคนธ์ กล่ินหอมสามอย่าง คอื ใบกระวาน อบเชยเทศ รากพมิ เสน ๒๖. ตรีสุระผล ยามีรสกล้าสามอย่างคือ สมลุ แวง้ เนอ้ื ไม้ เทพทาโร ๒๗. ตรีเสมหะผล ผลแกเ้ สมหะสามอย่างคือ ผลช้าพลู รากดปี ลี รากมะกลำ่ ๒๘. ตรีอมั ฤต ของไมต่ ายสามอยา่ งคอื รากกล้วยตีบ รากกระดอม มะกอก ๒๙. ตรอี ากาศผล ผลแกอ้ ากาศธาตสุ ามอยา่ งคอื ขงิ กระลำพกั อบเชยเทศ ทคี่ ดั จาก พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน มเี พยี งเท่านี้ ๓.๓.๓ หมวดของ ๔ สิ่ง ๑) จตุกาลธาตุ คอื วา่ นนำ้ รากเจตมลู เพลิง รากแคแตร รากนมสวรรค์ ๒) จตทุ ิพคันธา คือ รากชะเอมเทศ รากมะกล่ำเครอื ดอกพกิ ลุ ขงิ แครง ๓) จตุผลาธกิ ะ คอื ผลสมอไทย ผลสมอพเิ ภก ผลมะขามปอ้ ม ผลสมอเทศ ๔) จตุวาตผุ ล คือ รากขงิ กระลำพัก อบเชยเทศ โกฎหัวบวั ๓.๓.๔ หมวดของ ๕ สิง่ ๑) เบญจกูล คือ รากชา้ พลู เถาสะค้าน ดีปลี เหง้าขิง รากเจตมูลเพลิง ๒) เบญจผลธาตุ คอื รากกกลงั กา แหว้ หมู หวั หญ้าชนั กาด หวั เปราะ หัวเตา่ เกียด ๓) เบญจมูลน้อย คือ หญ้าเกล็ดหอยท้ังสอง รากละหุง่ แดง รากมะเขอื ข่นื รากมะอึก ๔) เบญจมบู ใหญ่ คอื รากมะตูม รากลำใย รากเพกา รากแครแตร รากคัดล้นิ ๕) ทศมูลใหญ่ คอื เอาเบญจมลู น้อย เบญจมลู ใหญ่ รวมกนั เขา้ ๖) เบญจโลกวเิ ชียร คือ รากมะเดอ่ื อุทมุ พร รากคนทา รากทา้ วยายมอ่ ม รากย่านาง รากชงิ ชี่ ๗) เบญจโลธกิ ะ คือ จนั ทนแ์ ดง จันทนข์ าว จนั ทนช์ ะมด เนระพสุ ี มหาสดำ ๓.๓.๕ หมวดของ ๗ ส่งิ ๑) สตั ตเขา คอื เขาควาย เขาเลยี งผา เขากวาง เขาวัว เขากระทิง เขาแพะ เขาแกะ ๒) ปรเมหะ คือ ต้นก้นปิด ตำแยทั้ง ๒ ผลกระวาน โกฎกระดกู ผลรกั เทศ ตรียลาวะสัง ๓.๓.๖ หมวดของ ๙ สิง่ เนาวเข้ยี ว คอื ๑)เขีย้ วสกุ ร ๒)เขี้ยวหมี ๓)เข้ียวเสอื ๔)เขีย้ วแรด ๕)เขี้ยวช้าง(งา) ๖)เข้ยี วสุนัขปา่ ๗)เขี้ยวปลาพะยูน ๘)เขี้ยวจระเข้ ๙)เขยี้ วเลียงผา ๕๑

๓.๓.๗ หมวดของ ๑๐ ส่งิ ทศกุลาผล คอื ๑) ผลเร่วทัง้ ๒ (คือเรว่ นอ้ ยเร่วใหญ)๋ ๒) ผลผกั ชีท้ัง ๒ ( ผักชลี า ผกั ชีล้อม) ๓) ชะเอมเทศทั้ง ๒ ( ชะเอมเทศ ชะเอมไทย) ๔) อำพันทง้ั ๒ ( อำพนั ทอง อำพนั ขีป้ ลา) ๕) อบเชยทัง้ ๒ ( อบเชยเทศ อบเชยไทย) การเรียกชอ่ื ตามพกิ ดั นอกจากการจดั หมวดตามพิกัดทก่ี ลา่ วไวใ้ นขอ้ ๓.๓.๑-๓.๓.๗ ขา้ งตน้ แล้ว ยังมีการ เรยี กช่อื ยาตามพิกดั ดังน้ี ๑. เบญจโลหะ คอื รากทองกวาว รากทองหลางหนาม รากทองหลางใบมน รากทองหลางพันชงั่ รากทองโหลง ๒. สัตตโลหะ ใชจ้ ำนวนตัวยา ๕ อย่างของเบญจโลหะ แล้วเพิ่มอีก ๒ คือ รากฟักทอง รากต้นใบทอง ๓. เนาวโลหะ ใชจ้ ำนวนตัวยา ๗ อยา่ งของสัตตโลหะ แล้วเพมิ่ อีก ๒ คอื รากต้นทองเครือ รากจำปาทอง ๔. เบญจโกฐ คอื โกฐหวั บวั โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชยี ง โกฐจฬุ าลมั พา ๕. สัตตโกฐ คอื จำนวนตวั ยา ๕ อยา่ ง ของเบญจโกฐเพ่มิ อีก ๒ คอื โกฐกระดกู โกฐก้านพร้าว ๖. เนาวโกฐ ใหใ้ ช้จำนวนตัวยา ๗ อย่างของสตั ตโกฐแลว้ เพื่มอกี ๒ คอื โกฐพุงปลา โกฐชฎามงั สี ๗. โกฐพิเศษ คอื โกฐกะกลิ้ง โกฐกักกรา โกฐน้ำเตา้ ๘. เทยี นทง้ั ๕ คอื เทยี นดำ เทยี นแดง เทยี นขาว เทยี นข้าวเปลือก เทียนตาต๊กั แตน ๙. เทียนท้ัง ๗ ใชจ้ ำนวนตัวยา ๗ อย่างของเทยี นทง้ั ๕ แลว้ เพิม่ อีก ๒ คือ เทียนเยาวพาณี เทยี นสตั ตบษุ ย์ ๑๐. เทียนทั้ง ๙ ใชจ้ ำนวนตัวยา ๗ อย่างของเทียนทงั้ ๗ แลว้ เพม่ิ อีก ๒ คอื เทยี นตากบ เทียนเกลด็ หอย ๑๑. เทียนพิเศษ เทียนหลอด เทียนขม เทียนแกลบ ๑๒. บวั น้ำท้ัง ๕ คือ สตั ตบุษย์ สัตตบรรณ ลนิ จง ลงกลนี นลิ บุ ล ๕๒

๑๒. บวั นำ้ ทง้ั ๕ คือ สัตตบษุ ย์ สตั ตบรรณ ลนิ จง ลงกลนี นิลบุ ล ๑๓. บัวพเิ ศษ ( เฉพาะ ๖ อยา่ ง) คอื บัวหลวงทงั้ ๒(ขาวแดง) สัตตบงกชทั้ง ๒ ( ขาว แดง) บัวเผ่ือน บวั ขม ๑๔. โหราทั้ง ๕ คอื โหราอมฤต โหรามิกสิงคลี โหราเท้าสุนัข โหราบอน โหราเดอื ยไก่ ๑๕. โหราพเิ ศษ( เฉพาะ ๖ อยา่ ง) คือ โหราผักกูด โหราขา้ วเหนยี ว โหราเขาเนื้อ โหราเขากระบอื โหราใบกลม โหรารามทุรา ( โหรามังหรุ า) ๑๖. เกลือทั้ง ๕ คอื เกลอื สินเธาว์ เกลอื พิก เกลือวิก เกลอื ฝอ่ เกลือสมทุ ร ๑๗. เกลือพิเศษ( เฉพาะ ๗ อย่าง) คือ เกลอื สญุ จระ เกลอื เยาวกาสา เกลือวิทู เกลือด่างคลี เกลอื กะตงั มูตร เกลอื สมทุ ร เกลือสวุ สา ชือ่ เครอ่ื งยาท้งั ปวง ซึ่งรวมกนั เปน็ พวกๆเชน่ น้ี ใช่ว่าตอ้ งใช้ทง้ั หมดทุกคร้งั ให้ยดึ ถอื ตา มตำรา ซ่งึ จะบอกไว้วา่ อะไรทไ่ี มใ่ ช้ตามพกิ ดั ก็มี ที่วางพกิ ดั ไว้นปี้ ระสงคจ์ ะเรยี กชือ่ใหส้ ้ัน ไมต่ อ้ งจาระนัยให้เปลอื งเวลา ในยามทีจ่ ะตอ้ งใชข้ องมีชือ่ ขา้ งต้น สงิ่ เดยี วรวมกันหลายๆอย่างเท่านนั้ ชื่อและพิกัดเครอ่ื งยานี้ ผทู้ ศ่ี กึ ษา วชิ าแพทย์จำเป็นจะต้องเรียนร้แุ ละจำใหไ้ ด้ มิฉะนน้ั ถ้าพบตำ ราบอกให้ใช้อยา่ งนน้ั อย่างน้ี เปน็ ค้น ตรกี ฎุก เบญจโลหะ กจ็ ะไมร่ วู้ ่าอะไรบ้าง พกิ ดั เคร่ืองยาเห ลา่ นี้มีมากมายนกั ใหด้ ใุ นคมั ภรี ส์ รรพคุณและสมฎุ ฐาน วนิ จิ ฉยั นนั้ ต่อไปเถดิ ๓.๔ รู้จกั ปรุงยาท่ีประสมใข้ตามวธิ ตี า่ งๆ นนั้ หลายวิธี ท่านไดแ้ สดงไวด้ ังต่อไปนี้ ๓.๔.๑ ยำตำเปน็ ผงแล้ว ปั้นเป็นลกู กลอน กลนื กนิ ๓.๔.๒ ยาตำเป็นผงแล้ว บดใหล้ ะเอียด ละลายนำ้ กิน ๓.๔.๓ ยาสบั เปน็ ทอ่ นเปน็ ชิน้ บรรจุลงในหมอ้ เติมนำ้ ตม้ รนิ แตน่ ำ้ กนิ ๓.๔.๔ ยาดอง แชด่ ว้ ยน้ำทา่ หรือนำ้ สรุ า แลว้ รินแตน่ ำ้ กนิ ๓.๔.๕ ยากดั ดว้ ยเหลา้ แอลกอฮอลล์ และหยดลงในน้ำเติมน้ำกิน ๓.๔.๖ ยาเผาใหเ้ ป็นถ่าน เอาด่างแชน่ ำ้ ไว้ แลว้ รนิ แต่นำ้ กนิ ๓.๔.๗ ยาเผาหรือควั่ ไหม้ ตำเปน็ ผงบดให้ละเอียด ละลายนำ้ กระสายต่างๆกิน ๓.๔.๘ ยากล่นั เอาน้ำเหงอื่ เชน่ กล่ันสุรา เอาน้ำเหงือ่ กนิ ๓.๔.๙ ยาประสมแลว้ หอ่ ผา้ บรรจุลงในกลัก แล้วเอาไวใ้ ชด้ ม ๓.๔.๑๐ ยาประสมแล้ว ตำเป็นผงกวนใหล้ ะเอียด ใสก่ ลอ้ งเป่าทางนาสกิ และในคอ ๕๓

๓.๔.๑๑ ยาหุงด้วยน้ำมนั เอาน้ำมนั ใส่กลอ้ งเป่าบาดแผล ๓.๔.๑๒ ยาประสมแลว้ ติดไฟใช้ควนั ใสก่ ลอ้ ง เปา่ บาดแผล และฐานฝี ๓.๔.๑๓ ยาประสมแล้ว มวนเปน็ บหุ ร่ีสบู เอาควนั เช่นบหุ ร่ี ๓.๔.๑๔ ยาประสมแลว้ ตม้ เอาน้ำอมและบ้วนปาก ๓.๔.๑๕ ยาประสมแล้ว ต้มเอาน้ำอาบ ๓.๔.๑๖ ยาประสมแลว้ ตม้ เอาน้ำแช่ ๓.๔.๑๗ ยาประสมแล้ว ต้มเอานำ้ ชะล้าง ๓.๔.๑๘ ยาประสมแล้ว ตม้ เอาไอรม ๓.๔.๑๙ ยาประสมแลว้ ใขเ้ ปน็ ยาสุม ๓.๔.๒๐ ยาประสมแลว้ ทา ๓.๔.๒๑ ยาประสมแล้วทำเปน็ ลูกประคบ ๓.๔.๒๒ ยาประสมแลว้ ใชห้ นีบ ๓.๔.๒๓ ยาประสมแล้ว ต้มเอาน้ำสวน ๓.๔.๒๔ ยาประสมแลว้ ทำเปน็ ยาพอก ๓.๔.๒๕ ยาประสมแลว้ ทำเปน็ ขีผ้ งึ้ ปดิ แผล เรียกวา่ ยากวน ๓.๔.๒๖ ยาประสมแล้ว บดเปน็ ผงอดั เม็ด ๓.๔.๒๗ ยาประสมแล้ว บดเปน็ ผงบรรจุแคปซูล ใหม้ คี ำวา่ ยาแผนโบราณ ๓.๔.๒๘ ยาประสมแลว้ บดเปน็ ผงปัน้ เม็ด แลว้ เคลือบนำ้ ตาล อนง่ึ ยาต้องมชี ่อื เพราะจะไดเ้ ปน็ ท่จี ดจำ ถา้ ไม่มชี อ่ื ไว้ ถงึ คราวท่จี ะต้องการใชจ้ ะ สบั สน ตอ้ งการอย่างหน่ึง จะเป็นอีกอย่างหนงึ่ เพราะฉะนน้ั ในคมั ภีร์ ทา่ นจงึ ไดว้ างชือ่ ยาลงไว้ เปน็ ชอ่ื ตา่ งๆ ยาที่ทำแลว้ ต้องจดชอื่ และวิธีใชแ้ กโ้ รคอะไรใหช้ ดั เจน ชอื่ ยาย่อมมีตา่ งๆ เป็นตน้ ว่า ยาเขียวพรหมมาศ ยาหอมเนาวโกฐ ยาหอมอนิ ทจักร์ เปน็ ต้น ชือ่ ไม้ ช่ืออวยั วะแห่งสตั ว์ ชอ่ื แร่ ก็วา่ เป็นยา การนำมาประสมกนั นั้น เพ่อื จะได้ชว่ ยกนั ใหเ้ ป็นยามีฤทธิ์ พอแกท่ ีจ่ ะบำบดั โรคได้ จึงต้องประสมกนั ตามสว่ นมากและนอ้ ย ถ้าจะใชแ้ ต่ส่งิ เดียว ฤทธิ์ยาไม่พอแกโ่ ร ค โรคกไ็ ม่หาย บางอยา่ ง ก็กลายเปน็ อาหารไป เช่น มะขามปอ้ มอยา่ งเดียวกินเข้าไปตอ้ งเขา้ ใจวา่ เปน็ อาหาร เพราะฉะน้นั จงึ ต้องประสมกันตามทีไ่ ดอ้ ธบิ ายมาแล้ว ไดช้ ่ือว่ารจู้ ักชอ่ื ยาสำหรับแก้โรค ๕๔

๔. ร้จู กั วา่ ยาอยา่ งใดรกั ษาโรคใด ความรใู้ นหัวขอ้ น้ีเป็นความรู้อันสำคญั ถ้าไมเ่ รียนรใู้ ห้ชำนชิ ำนาญแลว้ จะเป็นแพทย์ทด่ี ไี มไ่ ด้ เพราะยาท่ีจะใหค้ นไข้กินนนั้ ทกุ สิง่ ทุกขนานที่ทา่ นไดว้ างลงเป็นตำราไว้ ล้วนแตเ่ ปน็ ยาดี ทไี่ ด้เคยรักษา ไข้หายมาแลว้ ท้ังน้ัน ถา้ จะวา่ ถึงสรรพยาทแี่ กโ้ รคหายได้ ก็มีคุณเปน็ อนนั ต์ หมอทร่ี ้จุ ริง รู้แตว่ ่า เป็นยากใ็ หค้ นไข้กิน ถา้ ผดิ พลง้ั อาจทำใหค้ นไข้เสียชีวิต ท่านจึงได้กลา่ ววา่ มีคณุ อนนั ต์ มโี ทษก็มหนั ต์ เพราะฉะนัน้ กอ่ นท่ีจะอธบิ ายว่า ยาอยา่ งใดจะควร แก้โรคชนดิ ใด จะกลา่ วถงึ การตรวจไข้ เพราะเปน็ หลักอนั สำคญั ของหมอในการที่จะวางยา และเปน็ ศิลปะอนั หน่ึงในวิชาแพทย์ ส่วนทเ่ี ม่ือรู้แล้วว่า คนเจ็บเป็นโรคเช่นนี้ จะเยียวยาแกไ้ ขด้วยวิธีใด กเ็ ปน็ ศลิ ปะอันหนง่ึ และเปน็ ขอ้ สำคญั ของแพทย์ด้วยตำรายาอาจเปน็ ที่พ่งึ และช่วยแพทยไ์ ด้มาก แตก่ ารตรวจอาการไข้น้นั ตำราบอกไว้เพยี งว่า อาการไขม้ เี ชน่ น้ันๆ ชือ่ ว่าเปน็ โรคนนั้ ๆ แต่ จะตรวจให้รูว้ ่าคนไขท้ ี่มาใหร้ กั ษานั้น มีอาการเป็นอย่างนั้นๆ หรืออยา่ งนๆี้ เพอื่ รวบรวม เอาเป็นทางวนิ ิจฉัย ใหเ้ ปน็ การ แน่นอน ว่า เขาเป็นอะไร น้ันอย่แู กต่ าแพทย์ อยู่แก่หวั แพทย์ ที่จะดแุ ลฟงั ใหถ้ ึงความจรงิ และอย่แุ ก่ใจแพทย์ ท่ีจะค้นควา้ ซอกแซก ถามหาเหตุผล ประกอบอนั ใหไ้ ด้ถีถ่ ้วน ก่อน จะวนิ ิจฉยั ตกลงว่า คนไขค้ นนีเ้ จบ็ เป็นโรคอยา่ งนีแ้ น่ และมีสง่ิ นน้ั ๆ เป็นเหตใุ หเ้ จบ็ ต้องได้ความจรงิ ของอาการปว่ ย แล้ว จงึ จะทำความเหน็ ในสว่ นทจี่ ะแก้ไขด้วย วิธีใด แลว้ เอาอะไรเป็นเครอื่ งแก้ อีกชนั้ หน่ึง จะเห็นได้ว่า ถ้าตรวจอาการไขไ้ ม่ถ่ถี ว้ น วินจิ ฉัยผิด กเ็ ปรยี บเหมือนคนเสยี จกั ษุ อันเดนิ ไปโดยไมร่ ู้จัก หนทางทางการทจี่ ะเยยี วยา รกั ษาต่อไป ข้างหนา้ กจ็ ะผิดไปด้วยกันหมด จงึ เหน็ วา่ ชัน้ ตรวจอาการไขน้ ี้ เป็นขอ้ สำคัญของหมอโดยแทจ้ ริง หมอจะมีฝีมือดีก็ เพราะศิลปะ อนั น้คี ือความชำนาญท่ีจะทำนายไข้ถกู มากกว่าผิด การท่จี ะตรวจไข้น้นั จะบอกวิ ธกี ันได้แตพ่ อเปน็ หลกั ไวส้ ำหรบั คิด แตท่ ่จี ะมีความเห็นพลกิ แพลง ซอกแซกถาม และพิเคราะห์ ใหไ้ ดล้ ะเอยี ด ถถ่ี ว้ น นนั้ ตอ้ งแล้วแต่เร่ืองข่ องคนไข้ทีจ่ ะโยงไป แล้วแตค่ วามวอ่ งไว เฉียบแหลม และกลเม็ดวธิ ีของผตู้ รวจ การวางแบบแผนลงไปในตำรานัน้ ทำได้ยาก ในหวั ขอ้ ต่อไปจะอธิบาย วิธีปฎบิ ัติ ในหลักการตา่ งๆ ไว้ดังตอ่ ไปน้ี ๕๕

๔.๑ การซักประวัติและวธิ ตี รวจไข้ ๔.๑.๑ ประวตั ิของบุคคล ข้อมลู ทส่ี ำคญั ซึง่ แพทย์ต้องซักถามคนไข้ทุกรายเช่น ๑. ชื่ออะไร สำหรบั เวชระเบยี น ๒. อยูท่ ไ่ี หน ภมู ปิ ระเทศท่อี ยขู่ องคนไขน้ ้ันเปน็ อยา่ งไร สำหรับประเทศสมุฎฐาน ๓. เป็นชาติอะไร สำหรบั รู้ลัทธิและความประพฤติ ๔. เกิดทไี่ หน สำหรบั ประเทศสมฎุ ฐาน ๕. อายเุ ทา่ ไร สำหรับอายสุ มฎุ ฐาน ๖. ทำมาหากนิ อยา่ งไร ( ควรจะถามตลอดถึงอาหารการบริโภค ของชนในหมู่ นน้ั ด้วยสำหรับพิเคราะหเ์ หตผุ ลประกอบ) ๗. มคี รอบครวั อย่างไร ( ถามถงึ พอ่ แม่ ลูก เมีย ผัว) สำหรบั พเิ คราะหถ์ ึง เผ่าพันธ์และหนทางทโ่ี รคจะเกดิ ตดิ เน่อื งมา ๘. ความประพฤติอยา่ งไร ( ถามถึงสบู ฝ่นิ กนิ เหลา้ และอริ ิยาบถอื่นๆ สำหรบั พเิ คราะหเ์ หตุผลประกอบ) ๙. โรคภยั ทเ่ี คยเป็นมาแต่ก่อน มีอาการอยา่ งไร ๔.๑.๒ ประวัตขิ องโรค ๑. ลม้ เจบ็ แตเ่ มือ่ ไร ( ถามวนั และเวลาที่แรกปว่ ย) สำหรบั กาลสมฎุ ฐาน อตุ ุสมุฎฐาน และอายขุ องโรค ๒. มเี หตุอย่างไรจึงเจ็บ ( ถามอาการก่อนป่วย) สำหรบั พิเคราะหเ์ หตผุ ลประกอบ ๓. แรกเจ็บมีอาการอย่างไร ๔. แล้วมอี าการเปน็ ลำดับอย่างไร ๕. ไดร้ กั ษาพยาบาลเปน็ ลำดับมาอย่างไร ๖. แลว้ มีอาการแปรผนั มาอยา่ งไร ๗. อาการทีป่ ว่ ยในวันหนงึ่ ๆ เป็นอย่างไร ( เพ่ือจะรูอ้ าการหนักเบาตามทุ่มโมงในวัน หนง่ึ ๆ )สำหรบั กาลสมุฎฐาน ๕๖

๔.๑.๓ การตรวจรา่ งกาย ๑. เปน็ คนมีรูปรา่ งอยา่ งไร ๒. มีกำลงั อยา่ งไร ๓. มสี ตอิ ารมณ์ เป็นอย่างไร ๔. มีทกุ ขเวทนาเปน็ อย่างไร ๕. ชพี จรเดินอย่างไร ๖. หายใจเป็นอยา่ งไร ๗. ตรวจหวั ใจ ๘. ตรวจปอด ๙. ตรวจลิน้ ๑๐. ตรวจตา ๑๑. ตรวจผิวพรรณ ๑๒. ตรวจเฉพาะท่ปี ่วย ( เชน่ แผลเป็นตน้ ) ๔.๑.๔ การตรวจอาการ ๑. วดั ปรอท มไี ขห้ รอื ไม่ ถ้า อุณหภุมิ เกนิ ๓๗.๘ องศา ห้ามนวด ๒. เหงอ่ื ๓. อจุ จาระ ( ทั้งถาม ท้ังตรวจ) ถา้ ไมถ่ า่ ยหลายวันจะมีไข้ ๔. ปัสสาวะ ( ทัง้ ถาม ท้ังตรวจ) สีอะไร ๕. อาหาร การบริโภคอาหารของผูป้ ว่ ย ๖. เสียง ๗. หลบั นอน วธิ กี ารต่างๆเหลา่ นี้ ไม่ใช่ว่าจะตอ้ งตรวจทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งทกุ เร่อื งทกุ รายสุดแล้วแต่ ความต้องการ นอกจากน้ี ยังมีอยา่ งอนื่ ทีค่ วรถามอกี ตอ้ งสุดแล้วแต่เหตผุ ล ท่จี ะปรากฎ กระทบกระทง่ั ไปถึง และแลว้ แต่ ความคดิ ความเหน็ ท่จี ะสอดส่องของผ้ตุู รวจ ๕๗

๔.๒ การวนิ ิจฉยั ต้องพจิ ารณาสิง่ ตา่ งๆ และข้อมลู ตา่ งๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกับคนไข้ดังนี้ ๔.๒.๑ คนเจ็บมีอาการเช่นใด มีโรคชนิดใด ชื่ออะไร ๔.๒.๒ โรคน้ันๆมีที่เกิดแต่อะไรเป็นตน้ เหตุ ๔.๒.๓ โรคเชน่ นี้ จะเยียวยา แก้ไขด้วยวิธใี ดจึงจะถกู แกโ่ รค ๔.๒.๔ สรรพคุณยาสำหรับทจ่ี ะบำบัดโรคเชน่ น้นั ๆ จะใชส้ รรพคุณยาอะไร ส่งิ ทจ่ี ะต้องวเิ คราะห์ เพ่ิมเติมจากข้อมูลข้างตน้ กอ่ นทจี่ ะใหก้ ารเยยี วยามดี ังน้ี ๑. ตรวจผล ๑.๑ คนเจบ็ มีอาการเชน่ นี้ อะไรเปน็ สมุฎฐาน พกิ ัดอะไร ๑.๒ คนเกิดในประเทศนี้อะไรเป็นสมฎุ ฐาน พกิ ดั อะไร ๑.๓ มีอายเุ ท่าน้ี อะไร เป็นสมุฎฐาน พกิ ดั อะไร ๑.๔ ในเวลาทเ่ี จบ็ เป็นฤดนู ี้ อะไรเป็นสมฎุ ฐาน พิกัดอะไร ๑.๕ เร่ิมจบั มาถงึ เพยี งนี้ แล้วแปรปรวน มาโดยลำดบั อะไร อะไรเปน็ สมุฎฐาน พกิ ัดอะไร ๒. คน้ ตน้ เหตุ เพอ่ื ทราบว่า อะไรพิการ เปน็ โรคชนิดใด ชอ่ื ใดแล้ว ต้องนำอาการนัน้ มาเป็น หลักพิเคราะห์ว่า ไขน้ ้ัน เกิดดว้ ยเหตใุ ด คือ อะไรขาด อะไรเกิน หรือกระทบกระทั้งอะไรจงั เปน็ เหตุวิปลาศขึน้ ๓. หาทางแกไ้ ข คือ กาวเิ คราะหเ์ ลือกยา ทจี่ ะใช้ขนานใด แกอ้ ะไร ใชส้ รรพคณุ ยาอะไรบา้ ง อยา่ งใด มากน้อยเทา่ ใด ให้กินเวลาอะไร แลว้ จึงวางยาตามลักษณะของโรคทม่ี ีอยู่นั้นต่อไป จากท่ีได้กล่าวถงึ กิจ ๔ ประการของหมอ ซง่ึ เปน็ ความรู้ หลักการ และวธิ กี ารซึ่ง้ ผ้ทู ีจ่ ะ เป็นหมอ ต้องศึกษา จนกระทั่งมคี วามรคูุ้ วามชำนาญ เพราะเปน็ กจิ ท่สี ำคัญ สำหรบั หมอทกุ คน ท่จี ะต้อง ตระหนักถึง ความรับผดิ ชอบ ซึง่ เกียวข้องกับชวี ติ ของคนไข้ โดยตรง กิจแตล่ ะ อยา่ งน้ันถอื ไดว้ า่ มคี วามสำคัญ ไมย่ ่งิ หย่อนไปกวา่ กนั แม้วา่ ทา่ น จะศกึ ษาจบและมีใบ ประกอบโรคศิลปะ ตามท่ไี ด้ตงั้ ใจไวแ้ ล้ว แตไ่ ม่ถอื ว่า ทา่ นสิ้นสุด การศึกษาหาความรู้ ฉะน้นั ผู้ทีจะเป็น หมอทดี่ ี จะตอ้ งหมน่ั ศึกษา ทบทวนหาความรู้เพม่ื เติม เพื่อให้เกิดความรู้ ทกั ษะ ทางด้านการตรวจโรค การรักษาโรค ตอ่ ไปตราบเท่าท่ี ท่านยังคงเปน็ แพทย์อยู่ ๕๘

วา่ นชักมดลูก วา่ นชกั มดลกู (Curcuma Zanthorrhiza Roxb) ๕๙

วา่ นชกั มดลูก (Curcuma Zanthorrhiza Roxb) ชอื่ วิทยาศาสตร์ Curcuma xanthorrhiza Roxb. วงศ์ ZINGIBERACEAE ชือ่ ทอ้ งถน่ิ วา่ นชักมดลกู ว่านหวั ใหญ่ ว่านทรหด ลักษณะ ไม้ล้มลกุ ลงหัวจำพวกวา่ น ใบสเี ขียวคลา้ ยใบพุทธรกั ษา กลางใบสแี ดง ลงหวั ในฤดูฝน หัวกลมโต เน้ือในสี เหลอื งออ่ น สรรพคณุ และสว่ นที่นำมาใช้เปน็ ยา เหงา้ รสฝาดเฝื่อน ชักมดลกู ให้เขา้ อู่ แก้มดลูกพิการ แก้ปวดมดลูก แกป้ ระจำเดอื นมาไมป่ กติ แกธ้ าตพุ ิการอาหารไม่ย่อย แกร้ ิดสดี วงทวาร แกไ้ สเ้ ลือ่ น ปรุงยาแกโ้ รคกระเพาะอาหาร ลำใส้ แกโ้ รคมะเร็งและฝีลำไส้ตา่ ง ๆ ๖๐

กะเมง็ กะเมง็ (Eclipta prostrate Linn.) ๖๑

กะเมง็ (Eclipta prostrate Linn.) ชื่อวิทยาศาสตร์ Eclipta prostrate Linn. วงศ์ ASTERACEAE (COMPOCE; COMTACEAE) ชอื่ สามัญ Yerba de tajo ชอ่ื อ่นื กะเม็งตวั เมีย หญา้ สับ ฮอ่ มเก่ียว ลักษณะทางพฤกศาสตร์ ลำตน้ : เปน็ ไมล้ ้มลกุ ลำต้นตง้ั ตรง สงู ประมาณ ๑-๒ ฟตุ ใบ: เป็นใบเดี่ยว ออกตรงขา้ มกันเป็นคๆู่ รปู หอกแคบยาวเรยี ว ริมใบหยักฟันเลอ่ื ยผิวเกลย้ี ง ไมม่ ีก้าน ปลายแหลม ดอก: ออกเปน็ ช่ออดั กันแน่นเป็นกระจุกหวั รูปแหวนทรงกลม สยี าว ผล: รปู ขา่ งสดี ำ ปลายมรี ยางค์เป็นเกล็ดยาว ๓ มลิ ลิเมตร สรรพคณุ ใบและราก เป็นยาถา่ ย ทำใหอ้ าเจยี น ราก แกเ้ ป็นลมหนา้ มดื จากการคลอดบุตร แก้ทอ้ งเฟอ้ บำรุงตับ มา้ ม และบำรงุ โลหิต ทง้ั ตน้ แก้มะเรง็ (อาการแผลเร้อื งรังเนา่ ลกุ ลาม รกั ษายาก) แก้หืด หลอดลมอกั เสบ แก้จกุ เสียด แกก้ ลากเกลอ้ื น เป็นยาฝาดสมาน นำ้ ค้ันจาก ต้น รกั ษาอาการดซี า่ น เมล็ดกระเม็งเค่ยี วหรือตำอดุ บรเิ วณปวดฟนั รกั ษาฟนั ทำใหเ้ กิดการช าเฉพาะท่ี ระงบั อาการปวดฟนั ได้ดี ตำรบั อยาดบั พษิ โลหติ ที่รอ้ น ทำให้กระวนกระวายและเกิด ต่มุ คันขึ้นตามตัวทา่ นเอง ให้เอากระเมง็ ๕๐ กรัม บอระเพ็ด ๕๐ กรมั ฟา้ ทะลายโจร ๕๐ กรัม บดใหเ้ ปน็ ผงผสมน้ำผึง้ พนั เปน็ ลูกกลอนขนาดเทา่ เมล็ดพทุ ธา รบั ประทานเช้าเย็นมีสรรพคุณดีนกั ๖๒

โกฐสอ โกฐสอ : Baizhi Angelica dahurica (Fisch.ex Hoffm.) ๖๓

โกฐสอ : Baizhi Angelica dahurica (Fisch.ex Hoffm.) ชอ่ื วิทยาศาสตร์วา่ Angelica dahurica (Fisch.ex Hoffm.) วงศ์ UMBELLIFERAE ชอื่ ภาษาไทย โกฐสอ (ท่วั ไป); โกฐสอจนี ชอ่ื จีน ไป๋จ่อื (จนี กลาง), แปะจ้ี (จนี แตจ้ ๋ิว) คณุ ภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก ตวั ยาท่ีมีคณุ ภาพดี ต้องมีสีขาว เน้ือแขง็ มีนำ้ หนัก มแี ปง้ มาก มกี ลน่ิ หอม รสชาติเข้มขน้ สรรพคุณตามตำราการแพทย์แผนจนี โกฐสอ รสเผ็ด อนุ่ มีฤทธิ์ขบั เหงอ่ื แก้อาการหวัดจากการ กระทบลมเยน็ ภายนอก (ปวดศรี ษะ คัดจมูก) มีฤทธเ์ิ ปิดทวาร บรรเทาปวด แกอ้ าการปวดศรี ษะ (โดยเฉพาะอาการปวดศรี ษะด้านหน้า) ปวดฟัน ลดอาการคัดจมูกจากไข้หวัดหรอื โรคโพรงจมกู อกั เสบ นอกจากนี้ยงั มีฤทธิ์ลดบวม ขบั หนอง แกพ้ ษิ แผลฝหี นอง บวมเป็นพษิ สรรพคุณตามตำราการแพทยแ์ ผนไทย โกฐสอ มีกล่ินหอม รสขมมนั มีสรรพคณุ แกไ้ ข้ แก้หดื แก้ไอ บำรงุ หัวใจ แก้เสมหะเป็นพษิ แก้สะอึก แก้หลอดลมอกั เสบ แก้ไข้จบั สัน่ ขบั ไขกระดกู ท่ีค่งั ค้างใหก้ ระจาย ทำยาลมแก้วงิ เวียน คลนื่ เหยี นอาเจยี น ๖๔

มะกา มะกา (Bridelia ovata Decne.) ๖๕

มะกา (Bridelia ovata Decne.) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Bridelia ovata Decne. ชื่อวงศ์ EUPHORBIACEAE ชอื่ อนื่ มะกา,มาดกา,มัดกา(ชย) ลกั ษณะ เป็นไมย้ นื ต้น ขนาดกลาง สรรพคุณ มะกา เปน็ พชื สมุนไพรช่วยแก้ไขอาการท้องผูกชาวบ้านรู้จกั ใชเ้ ป็นยาระบาย“อาการ ทอ้ งผกู ” พบว่าเป็นปัญหาทางด้านสขุ ภาพกบั ทุกคนและทุกเพศทกุ วยั โดยเฉพาะผสู้ งู อายุ ท่ีนบั วนั ประสิทธภิ าพของระบบอวยั วะและระบบการทำงานของร่างกายเริ่มเสือ่ มถอยไปตามกาล เวลา อาทิ ระบบขับถ่ายจนส่งผลใหเ้ กิดโรคอน่ื ๆ ตามมา เช่น โรคริดสดี วงทวาร ลำไสอ้ กั เสบ ฯลฯ ใบ มรี สขมขื่นปร่า ระบายท้องแกท้ ้องผกู แกพ้ รรดกึ กษยั ไตพกิ าร เป็นยาประจำกอง อจุ จาระธาตุ ปรงุ เป็นยาถ่ายคกู่ บั โกฐกระดกู ,ยางดำ,แก่นแสมสาร.แกน่ ช้เี หล็ก,สมอไทย, มะขาม ปอ้ ม,ใบมะกาอยา่ งละเทา่ ๆ กันรบั ประทาน แกก้ ษัย แก้ทอ้ งผกู แกเ้ ส้นตึง ๖๖

กวาวเครอื ขาว กวาวเครือขาว (Buea superba Roxb) ๖๗

กวาวเครอื ขาว (Buea superba Roxb) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Pueraria mirifica วงศ์ PAPILIONEAE ลกั ษณะทางฤกษศาสตร์ เปน็ ไม้เถาเนอ้ื แข็ง อาศยั พันอยู่กับตน้ ไมห้ รือเล้อื ยไปตามพ้นื ดนิ มีหัวอยู่ ใต้ดินโดยหัวมีลกั ษณะคอ่ นขา้ งกลม ใบมีลกั ษณะสเี ขียวสดแตกออกเป็นชอ่ ย่อย ๓ ใบ ชอ่ ดอก มีสนี ำ้ เงนิ แกมมว่ งยาวประมาณ ๓๐ ซม. ดอกมีลกั ษณะเป็นฝักแบน มขี นสั้นๆ เมอ่ื แกจ่ ะมเี มล็ด ๓ - ๕ เมลด็ ตอ่ ฝัก ส่วนทใ่ี ช้ หัว สารสำคัญ หัวกวาวเครือมสี ารทางเคมีหลายตวั ทีจ่ ดั อยใู่ นกลุ่มไฟโตเอสโตรเจน (Phytoestro- gen) ซ่ึงเปน็ สารที่มีฤทธิ์ เช่นเดียวกับเอสโตรเจน ซ่งึ เป็นฮอร์โมนทค่ี วบคมุ ลกั ษณะทางเพศ สรรพคณุ ตามตำราไทยสว่ นรากถูกนำมาใช้เปน็ ยาอายวุ ัฒนะ แกอ้ อ่ นเพลีย กินไมไ่ ด้นอนไมห่ ลับ บำรงุ ผวิ พรรณและทรวงอกให้เตง่ ตงึ โดยมขี นาดรบั ประทานเพียงวนั ละ๑เม็ดพริกไทยอีกท้ังมีขอ้ ห้ามใชใ้ นคนหนุ่มสาว ควรระวังในการใช้ และต้องศกึ ษาสรรพคณุ และประโยชน์ของกวาวเครือขาว ให้ชดั เจนเสียกอ่ นนำตวั ยามาใช้ ตำรับยาบำรงุ รา่ งกายทา่ ให้เอา กวาวเครือขาว ๕๐ กรัม พริกไทย ๑๕ กรมั ขิง ๑๕ กรัม โกฐเชยี ง ๒๕ กรัม บดเปน็ ผงผสมน้ำผึง้ พนั เปน็ ลูกกลอน เท่าเม็ดพทุ รา รับประทานคร้งั ละ ๑ เม็ด เชา้ -เย็น ท่านว่าประสิทธิผลดีมาก ๖๘

ขา้ วเยน็ ใต้ ข้าวเยน็ ใต้ (Smilax glabra Wall.ex Roxb.) ๖๙

ข้าวเย็นใต้ (Smilax glabra Wall.ex Roxb.) ชอื่ วิทยาศาสตร์ Smilax glabra Wall.ex Roxb. ช่ือวงศ์ SMILACACEAE ชอ่ื อ่ืน หัวยาจนี ปักษใ์ ต้ (ใต)้ ยาหวั ข้อ (เหนือ) เตียวโถ่ฮก (จีน) ขา้ วเยน็ โคกขาว ลกั ษณะ เปน็ ไมพ่ มุ่ ขนาดเลก็ ลกั ษณะใบเรยี วปลายกลมใบเปน็ ขนกำมะหย่ีลงหวั ใตด้ นิ มอี ายหุ ลายปี ดอกเปน็ กระจุก ออกดอกตรงกลางลำตน้ ลูกเปน็ กระจุกแยกเมล็ดเมื่อแก่จดั มีสดี ำขยายพันธด์ุ ว้ ย เมล็ด หรอื การแยกหนอ่ สรรพคุณ หัว รสมันกร่อยหวานเล็กนอ้ ย แก้ประดง คุดทะราด แกน้ ำ้ เหลอื งเสีย แก้เสน้ เอน็ พิการ แกก้ ามโรคเขา้ ขอ้ ออกดอก ฝีแผลเนา่ เปื่อยพุพอง เม็ดผื่นคนั ดับพิษในกระดกู แกป้ ัสสาวะพกิ าร แก้ไขข้อพกิ าร ปวดเมื่อย ช้ำบวมในขอ้ รักษาไขกระดกู อักเสบ ตำรบั โบราณจากสุโขทยั บันทกึ ไวใ้ นแผน่ ทองคำ เป็นยาตำรับรกั ษาเสน้ ตึง ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเอว ท่านให้เอาขา้ วเย็นเหนือ, ขา้ วเย็นใต้, เถาวลั ย์เปรียง, โพกพาย, กำแพงเจด็ ชัน้ , ฝางเสน, มะคังแดง, รากแกง ทกุ อยา่ งเสมอภาค ต้มด่ืมวนั ละ ๒ ถว้ ยชาใหญก่ ่อนอาการ ๒ เวลา ประสทิ ธิผลดนี ักแล เคยลองใช้มาแลว้ ๗๐

เสลดพังพอนตวั ผู้ เสลดพังพอนตวั ผู้ (Barleria lupulina Lindi.) ๗๑

เสลดพังพอนตวั ผู้ (Barleria lupulina Lindi.) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Barleria lupulina Lindi. ชอื่ อน่ื ชองระอา , พมิ เสนต้น วงศ์ ACANTHACEAE ลักษณะ ไมพ้ มุ่ สงู ประมาณ ๑ เมตร มีหนามสนี ้ำตาล ๒ คู่ ตามขอ้ และโคนใบกิ่ก้านมสี ีน้ำตาลแดง ส่วนทีใ่ ช้ ใบสด สารสำคญั ในมีสาร iridoid glycosides สรรพคณุ ใช้บรรเทาอาการโรคผวิ หนงั จำพวกเรมิ และงูสวดั โดยใช้ในสดคร้ังละ ๑ กำมอื โขลกให้ ละเอียดแทรกพิมเสนเล็กนอ้ ย นำมาทาหรอื โขลกผสมเหล้าแลว้ พอกบ่อยๆ บริเวณทีม่ อี าการ ใบสดของเสลดพงั พอนบรรเทาอาการแกแ้ พ้อักเสบ ใช้แก้พิษแมลงสัตว์กดั ตอ่ ย (ไม่รวมพิษงู), แกโ้ รคผวิ หนงั ผ่ืนคันโดยใช้ ๒ -๑๐ ใบ ขยห้ี รอื ตำใหแ้ หลก โดยเอาน้ำที่ได้มาทาหรือพอกบรเิ วณท่ี เปน็ หรอื โขลกผสมกับเหลา้ เลก็ นอ้ ยกไ็ ด้ พบฤทธิ์ตา้ นอักเสบเมือ่ นำมาทดสอบกบั สัตว์ทดลอง เสลดพังพอนตวั ผ้แู ละเสลดพงั พอนตัวเมียตำผสมกันพอบรเิ วณทีถ่ ูกงูกัด มีสรรพคุณ ลดอาการ ปวดก่อนนำผู้ปว่ ยส่งโรงพยาบาลได้ จะเป็นการดีทนี่ ำพืชสมุนไพร นำมาใชป้ ระโยชน์ ช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษยซ์ ึง่ เป็นมหากุศลครบั ๗๒

เสลดพังพอนตัวเมยี เสลดพังพอนตัวเมยี Climacanthus nutans (Burm.f.) Lindau ๗๓

เสลดพงั พอนตวั เมีย Climacanthus nutans (Burm.f.) Lindau ชอื่ ทางวทิ ยาศาสตร์ Climacanthus nutans (Burm.f.) Lindau วงศ์ ACANTHACEAE ชื่ออ่ืน พญาปล้องทอง, พญายอ ลกั ษณะ ไม้พุม่ รอเลอื้ ยสูง๑-๓ เมตร ลำตน้ สีเขยี ว ผวิ เกลีย้ ง สว่ นท่ีใช้ ใบ สรรพคุณ บรรเทาอาการอักเสบเฉพาะท่ี ถอนพิษแมลงสตั ว์กดั ตอ่ ย รกั ษาโรคเริม งสู วัด การที่ใบพญายอสด สามารถบรรเทาโรคเรมิ งสู วัดได้ เพราะสารสกดั ของใบพญายอมฤี ทธิ์ ตา้ น เช้ือไวรสั (HERPES SIMPLEX TYPE-๒) ซง่ึ ทำใหเ้ กิดโรคเริมได้ และออกฤทธ์ติ ้านเชือ้ ไวรสั (VARICELLA ZOSTER) ซึง่ ทำให้เกิดโรคงูสวดั และโรคอีสกุ อใี สได้ดว้ ยบรรเทา อาการ แพ้ อกั เสบจากแมลงสัตวก์ ดั ต่อย โดยใช้ใบของพญายอ โขลกกบั เหลา้ ทาบรเิ วณทีม่ อี าการ ทั้งต้นรักษาโรคมะเร็ง คตุ ทะราด ระงบั อาการอกั เสบภายใน ดับพษิ รอ้ น ถอนพิษไข้ แก้สกุ ใสดำแดง ใช้ในปรมิ าณมากทำให้อาเจียน ตอ้ งระวังสดั ส่วนและ ปรมิ าณ ในการใช้ ถ้าใชภ้ ายนอกไมเ่ ปน็ ไร ๗๔

หญา้ หนวดแมว หญ้าหนวดแมว (Orthosiphon aristatus (Blume) Miq.) ๗๕

หญ้าหนวดแมว (Orthosiphon aristatus (Blume) Miq.) ชือ่ ทางวทิ ยาศาสตร์ Orthosiphon aristatus (Blume) Miq. วงศ์ LABIATAECEAE ชอื่ ภาษาอังกฤษ Java Tea สารสำคญั เกลือของ potassium และ Orthosiphonin ลกั ษณะ เปน็ ไมล้ ม้ ลุกอายหุ ลายปี สูง ๐.๖ - ๑.๕ เมตรโคนลำตน้ แขง็ ลำต้นและก่ิงก้านเปน็ เหลี่ยม มีสีม่วงแดง สว่ นทใี่ ช้ ใบและยอด สรรพคุณ ขบั ปสั สาวะ , ขบั กอ้ นนิ่วขนาดเลก็ แก้ปวดหลัง แก้โรคไตพิการ ข้อควรระวงั ไม่ควรใช้ในผปู้ ่วยท่ีบวมนำ้ เน่อื งจากโรคหัวใจหรือโรคใต ไม่ควรใชใ้ นหญิงมีครรภ์ หรือระหวา่ งให้นมบุตร ๗๖

ฟา้ ทะลายโจร ฟา้ ทะลายโจร Andrographis paniculata Wall.ex Ness ๗๗

s. ฟ้าทะลายโจร Andrographis paniculata Wall.ex Ness. ชื่อวิทยาศาสตร์ Andrographis paniculata Wall.ex Ness. วงศ์ ACANTHACEAE ชื่ออ่ืน ซิปังกี (จีน) , น้ำลายพังพอน (ไทย) ช่อื ภาษาอังกฤษ King of bitterness ส่วนท่ใี ช้ ทั้งต้นและใบ ลักษณะ เป็นพรรณไม้ลม้ ลุก ท่มี ลี ำต้นตั้งตรงส่วนปลายก่ิงเปน็ ส่ีเหลี่ยม จะแตกกิ่งกา้ นออกเฉพาะ ด้านข้างเท่านนั้ ก่งิ ก้านมีสเี ขยี วและจะสูงประมาณ ๑-๒ ฟตุ สรรพคุณ ใบ รกั ษาแผลนำ้ รอ้ นลวก แกไ้ ฟไหม้ โดยนำมาบดผสมกับนำ้ ้มนั พชื ใชท้ าบรเิ วณทเ่ี ป็นแผล ตน้ แกบ้ ิดชนดิ ติดเชอ้ื แก้ทางเดินอาหารอกั เสบ แกห้ วัด แกป้ อดอกั เสบและแก้อาห ารท้องเดิน โดยใชต้ น้ ประมาณ ๑-๓ กำ แล้วต้มกบั น้ำดื่ม หรอื บดเปน็ ยาบรรจุแคปซูล ชนิด ๒๕ มก. รบั ประทานก็ไดเ้ ช่นเดียวกัน แถมยังพกพาสะดวกอกี ดว้ ยครับ ๗๘

แพงพวยฝรั่ง แพงพวยฝรง่ั (Catharanthus roseus (L.) G.Don) ๗๙

แพงพวยฝรั่ง (Catharanthus roseus (L.) G.Don) ชือ่ ภาษาอังกฤษ Periwinkle ช่ือทางวิทยาศาสตร์ Catharanthus roseus (L.) G.Don วงศ์ APOCYNACEAE ลกั ษณะเป็นไมข้ นาดเลก็ สงู ๑-๓ฟตุ แตกกงิ่ ก้านสาขามากใบเดี่ยวรปู ไข่กลบั สเี ขียวเส้นใบออกขาว ออกเป็นค่ตู ามข้อ ออกดอกตามงา่ มใบและยอดเป็นทอ่ เล็ก ๆ กลม กลีบแผแ่ บนเรียงทรงกลม ๕ กลบี มีพนั ธส์ ขี าว สชี มพอู มมว่ ง ฝักกลมยาว ขยายพันธด์ุ ้วยเมลด็ สรรพคุณ ทั้งตน้ รสเอยี น ตม้ ดม่ื แก้โรคเบาหวาน ลดความดนั ใบ รสเอียน แกโ้ รคเบาหวาน บำรุงหวั ใจ แกม้ ะเรง็ ในเมด็ เลือดของเด็ก แก้มะเร็ง แก้ทอ้ งผกู เรอื้ รงั ราก รสเอยี น แก้บดิ ขบั ระดู ห้ามเลือด รกั ษามะเรง็ ในเม็ดเลือด ๘๐

บอระเพด็ บอระเพด็ (Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. ฯ) ๘๑

บอระเพด็ (Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f.& Thomson) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f.& Thomson วงศ์ MENISPERMAOEAE ส่วนทใ่ี ช้ เถา , ตน้ ลกั ษณะ บอระเพด็ เป็นพนั ธุ์ไม้เถาเลอื้ ยเน้อื ออ่ น แต่ถา้ อายมุ ากเนือ้ ของลำตน้ อาจแขง็ ได้ เถาอ่อนผวิ เรียบสเี ขียว เถาแกส่ ีน้ำตาลอมเขยี ว ผิวขรุขระ เปน็ ปุ่มๆ เถากลมโตขนาดนวิ้ มอื ประมาณ ๑-๑.๕ เซนติเมตร ยางมรี สขมจดั ขนึ้ เกาะตน้ ไมอ้ ่นื มักจะมีรากอากาศคล้ายเชือกเสน้ เลก็ ๆ ห้อยลงมาเป็นสาย สรรพคณุ เสริมธาตใุ ห้บรบิ ูรณ์ บำรงุ กำลัง แก้ไข้ทุกชนดิ แกอ้ กั เสบบอบชำ้ ภายใน เถา แกไ้ ข้ แก้รอ้ นไหน กระหายน้ำ บำรุงกำลงั บำรุงไฟธาตุ ชว่ ยเจรญิ อาหาร โรคไข้พษิ ทกุ ชนดิ เปน็ ยาอายุวัฒนะ บำรุงธาตใุ ห้งอกงาม ปรงุ เป็นยาตำรับประกอบด้วย ขมนิ้ ออ้ ย สชี มชืน่ หัวแห้วหมู ผกั เสย้ี นผี หญา้ นาง บรเพช็ หนักอยา่ งละ ๕๐ กรมั บดเป็นผง ใชน้ ำ้ ผ้ึงเป็นกระสาย ปั้นเป็นเมด็ เท่าเม็ดพทุ รา รับประทานคร้ังล๑-๒ เม็ดเปน็ สดุ ยอดยาอายวุ ฒั นะ บำรงุ กำลงั ดีมาก ใบ ขบั พยาธิในทอ้ ง รักษาฟนั ตำใหล้ ะเอยี ดพอกฝี แก้ฟกชำ้ ปวดแสบ ปวดร้อน ผล เป็นยาแก้ไข้พิษอยา่ งแรงและเสมหะเป็นพษิ แกโ้ รคทางเดินปสั สาวะ โรคโลหิตพิการ ความเชอ่ื โบราณใช้เถาบรเพ็ชทีป่ ลกุ เสกดว้ ยเวทมนต์คาถา กนิ อยู่ยงคงกระพนั ของมีคมทุกชนดิ ๘๒

หญา้ ปกั กิ่ง หญา้ ปกั กงิ่ (Murdania loriformis (Hassk.) ๘๓

หญ้าปกั ก่งิ (Murdania loriformis (Hassk.) Rolla Rao et Kammathyson) ชือ่ วิทยาศาสตร์ Murdania loriformis (Hassk.) Rolla Rao et Kammathy ชื่อวงศ์ Commelinaceae ชอ่ื อนื่ เลง้ จอื เชา่ หญา้ เทวดา ลกั ษณะ ไม้ลม้ ลุก สงู ประมาณ ๑๐ ซม. ใบ เด่ยี ว เรยี งสลับ ใบที่โคนต้นกวา้ งประมาณ ๑.๕ ซม. ยาว ๑๐ ซม. ใบสว่ นบนส้ันกว่าใบทโี่ คนต้น ดอก ช่อ ออกที่ปลายยอด รวมกนั เปน็ กระจุกแนน่ ใบ ประดบั ย่อยค่อนข้างกลมซ้อนกนั สีเขยี วออ่ น บางใส กลบี ดอกสีฟ้าหรือม่วงออ่ น รว่ งงา่ ย ผลแหง้ แตกได้ คำแนะนำ กอ่ นนำมารบั ประทาน ควรทำการลา้ งให้สะอาดเสียก่อน ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบและต้นสด สรรพคุณ ขนาดและวิธใี ช้ หญ้าปกั ก่งิ มถี นิ่ กำเนิดในประเทศจนี ตอนใต้ แถบสบิ สองปันนา ในตำรายาจนี ปรากฏช่อื พชื สกลุ เดยี วกนั นี้ ใช้รักษาอาการเจบ็ คอ และมะเรง็ เปน็ สมุนไพรทม่ี สี าร สำคัญในการยบั ย้ัง มะเร็งหลายชนดิ เชน่ มะเรง็ ในคอ ตับ มดลกู ลำไส้ ผิวหนังเมด็ เลือด โดย เฉพาะมะเรง็ เต้านมและมะเร็งกระเพาะปสั สาวะ (สามารถรักษามะเร็งไดใ้ นระดบั หนงึ่ กำลังอยู่ ระหวา่ งศกึ ษาวจิ ยั ) ๘๔

รางแดง รางแดง (Ventilago Calyculata Ful.) ๘๕