Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปุ๋ยชีวภาพ

คู่มือปุ๋ยชีวภาพ

Description: คู่มือปุ๋ยชีวภาพ

Search

Read the Text Version

คูม่ ือ...ปุ๋ยชีวภาพ กล่มุ งานวจิ ยั จลุ นิ ทรยี ์ดิน กลุ่มวจิ ัยปฐพวี ทิ ยา กองวจิ ยั พัฒนาปัจจัยการผลติ ทางการเกษตร กรมวชิ าการเกษตร 2564

คานา ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อการผลิตพืชเนื่องจากเป็น แหล่งของธาตุอาหาร นา และอากาศสาหรับพืช ปัจจุบันความต้องการใช้ ทรัพยากรดินมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึนตามจานวนประชากร และการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศ จึงทาให้มีการใช้ทรัพยากรดินอย่างมากในการผลิตพืช ขาดการบารุงดูแลรักษาและฟื้นฟูดิน ทาให้ดินเกิดความเสื่อมโทรม ขาดความ อุดมสมบูรณ์ส่งผลให้ปริมาณและคุณภาพผลผลิตพืชลดลง การจัดการดินและ การใช้ปุ๋ยท่ีถูกต้องและเหมาะสมจะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ โดยการใช้ เทคโนโลยีด้านป๋ยุ ชวี ภาพร่วมกับปยุ๋ เคมีแบบผสมผสาน เพอ่ื เปน็ แนวทางหนึ่งใน การลดต้นทุนการผลิตพืชให้แก่เกษตรกร อีกทังยังเป็นการเพ่ิมความอุดม สมบรู ณข์ องดินอยา่ งยัง่ ยนื ตามนโยบายหลกั ของรัฐบาล กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร มี บทบาทหน้าที่สาคัญในการดาเนินงานวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการใช้ ปุ๋ยชีวภาพในการผลิตพืชหลายชนิด เพ่ือใช้เป็นปัจจัยการผลิตอีกแนวทางหน่ึง ในการลดการใช้ปุ๋ยเคมี ซ่ึงได้แก่ ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมสาหรับพืชตระกูลถ่ัว ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์สาหรับข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง พืชผักและพืชสมุนไพร อ้อย และมันสาปะหลัง ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาสาหรับไม้ผล ไม้ยืนต้น และพืชผัก และปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตสาหรับไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชผัก เป็นต้น ดังนันจึงได้รวบรวมและสรุปผลงานวิจัย ด้านปุ๋ยชีวภาพในการผลิตพืชเป็นเอกสารคาแนะนาการใช้ปุ๋ยชีวภาพท่ีมีความ ถกู ต้องตามหลักวิชาการ เพ่ือจะได้เป็นองค์ความร้สู าหรบั นักวิชาการและบคุ คล ทั่วไปใหส้ ามารถนาไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป i

สารบัญ หนา้ ปุ๋ยชีวภาพ........................................................................................................... 1 ป๋ยุ ชวี ภาพไรโซเบยี ม........................................................................................... 5 ปยุ๋ ชีวภาพพีจพี อี าร์...........................................................................................10 ปยุ๋ ชวี ภาพอารบ์ สั คลู าร์ไมคอร์ไรซา..................................................................17 ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต................................................................................ 22 บรรณานกุ รม ....................................................................................................29 คณะผูจ้ ดั ทา......................................................................................................30 ii

ปุ๋ยชวี ภาพ “ปุ๋ยชีวภาพ”ตามพระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2550 หมายความว่า ปุ๋ยที่ได้จากการนาจุลินทรีย์ท่ีมีชีวิตที่สามารถสร้าง ธาตุอาหารหรือช่วยให้ธาตุอาหารเป็นประโยชน์กับพืช มาใช้ในการปรับปรุง บารุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพ หรือทางชีวเคมี และให้หมายความรวมถึง หวั เชือจลุ ินทรยี ์ นอกจากความหมายของปุ๋ยชีวภาพแล้ว ยังมีคานิยามท่ีเก่ียวข้องกับ ป๋ยุ ชีวภาพท่คี วรทราบเพ่มิ เติมในการทจ่ี ะใช้ ซือ หรอื จาหนา่ ยปุ๋ยชีวภาพ ดงั นี “ชนิดของจุลินทรีย์” หมายความว่า กลุ่มหรือสกุลของจุลินทรีย์เป็น ภาษาทางวิทยาศาสตร์ของจลุ นิ ทรีย์ “หัวเชือจุลินทรีย์” หมายความว่า จุลินทรีย์ชีวภาพที่มีจานวนเซลล์ต่อ หน่วยสูงซึ่งถูกเพาะเลยี งโดยกรรมวิธที างวทิ ยาศาสตร์ “วสั ดุรองรบั ” หมายความวา่ สงิ่ ท่ีนามาใช้ในการผสมกับหวั เชือจลุ นิ ทรยี ์ ในกระบวนการผลิตปุ๋ยชวี ภาพ “ปริมาณจุลินทรีย์รับรอง” หมายความว่า ปริมาณขันต่าที่ผู้ผลิตหรือ ผู้นาเข้ารับรองถึงจานวนเซลล์รวม หรือจานวนสปอร์รวม หรือจานวนตามที่ หน่วยวดั อน่ื ทีร่ ัฐมนตรีกาหนด โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษาของจุลนิ ทรีย์ท่ี มชี ีวิตทมี่ ีอยูใ่ นปยุ๋ ชีวภาพหรอื หวั เชอื จุลินทรยี ์ทต่ี นผลติ หรอื นาเขา้ แล้วแตก่ รณี “จุลินทรีย์ที่เป็นเชือโรค” หมายความว่า จุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคต่อ มนุษย์ สัตว์หรือพืชและให้หมายความรวมถึงจุลินทรีย์ท่ีทาลายจุลินทรีย์ที่เป็น ประโยชนไ์ มว่ า่ ดว้ ยประการใด ๆ 1

ประเภทของปุย๋ ชวี ภาพ ปุ๋ยชีวภาพสามารถแบ่งตามลักษณะการให้ธาตุอาหารแก่พืช ได้ 2 ประเภท คือ 1. ป๋ยุ ชีวภาพทป่ี ระกอบด้วยจลุ ินทรียส์ ร้างธาตอุ าหารพชื จุลินทรีย์ที่สามารถสรา้ งธาตุอาหารพืชได้ในปัจจบุ ันพบเพียงกล่มุ เดียว คือ กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน ประกอบด้วยแบคทีเรียและแอคติโนมัยสีท จลุ ินทรีย์ในกลุ่มนีมีชุดยีนท่ีควบคุมการสร้างเอนไซม์ไนโตรจีเนส (nitrogenase enzyme) และควบคุมกระบวนการตรึงไนโตรเจนจากอากาศที่มีประสิทธิภาพ เป็นองค์ประกอบในจีโนม ปุ๋ยชีวภาพประเภทนีสามารถแบ่งตามลักษณะ ความสมั พนั ธ์กบั พืชอาศยั ได้ 2 กลมุ่ คือ กลุ่มท่ี 1 ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ ร่วมกับพืชแบบพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน (symbiotic nitrogen fixation) ปุ๋ยชีวภาพกลุ่มนีมีแบคทีเรียท่ีมีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงมากเป็น ส่วนประกอบ สามารถทดแทนปุ๋ยเคมีไนโตรเจนให้กับพืชอาศัยได้มากกว่า 50–100 เปอร์เซ็นต์ ทังนีขึนอยู่กับชนิดและสายพันธ์ุของจุลินทรีย์ ชนดิ ของพืช อาศัย รวมทังระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ส่วนใหญ่มีการสร้างโครงสร้าง พิเศษอยู่กับพืชอาศัยและตรึงไนโตรเจนทางชวี ภาพจากอากาศ ได้แก่ การสร้าง ปมของแบคทีเรียไรโซเบียมกับพืชตระกูลถั่วชนิดต่าง ๆ การสร้างปมที่รากสน ของแฟรงเคีย (Frankia) การสร้างปมที่รากปรงของสาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน สกุลนอสทอค (Nostoc) การอาศัยอยู่ในโพรงใบแหนแดงของสาหร่ายสีเขียว แกมนาเงินสกุลอะนาบีนา (Anabaena) เป็นต้น ในกลุ่มนีพืชอาศัยจะได้รับ ไนโตรเจนท่ตี รึงไดท้ างชวี ภาพจากจุลินทรีย์ไปใช้โดยตรง สามารถนาไปใช้ในการ สรา้ งการเจริญเติบโต เพมิ่ ผลผลติ และคุณภาพพืชได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ กลุ่มท่ี 2 ปุ๋ยชีวภาพท่ีประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ ร่วมกับพืชแบบอิสระ (non-symbiotic nitrogen fixation) แบคทีเรียกลุ่มนีมี ประสทิ ธภิ าพในการตรึงไนโตรเจนตา่ จึงสามารถทดแทนปุย๋ ไนโตรเจนให้กับพืช 2

ทอี่ าศยั ระหว่าง 5–30 เปอร์เซน็ ต์ ขนึ อยูก่ บั สกลุ ของจุลนิ ทรยี ์ ชนดิ ของพืชอาศยั และระดบั ความอดุ มสมบูรณข์ องดิน สามารถแบ่งได้ 3 กลมุ่ คอื 2.1 แบคทีเรียที่อาศัยอยู่อย่างอิสระในดินและบริเวณรากพืช ได้แก่ สกุลอะโซโตแบคเตอร์ (Azotobacter) และสกุลไบเจอริงเคีย (Beijerinckia) เปน็ ต้น 2.2 แบคทเี รียทพี่ บอาศยั อยู่ได้ทังในดิน บริเวณรากพชื และภายในราก พืชชันนอก ได้แก่ สกุลอะโซสไปริลลัม (Azospirillum) และสกุลบาซิลลัส (Bacillus) เป็นตน้ 2.3 แบคทีเรยี ท่ีพบอาศัยอยู่ภายในต้นและใบพชื ได้แก่ กลคู อนอะซีโต แบคเตอร์ไดอะโซโตรฟิคัส (Gluconacetobacter diazotrophicus) ที่พบใน อ้อยและกาแฟ สกุลเฮอบาสไปริลลัม (Herbaspirillum) ท่ีพบในข้าว อ้อยและ พืชเส้นใยบางชนิด และสกุลอะโซอาร์คัส (Azoarcus) ที่พบในข้าวและหญ้า เปน็ ตน้ 2. ปุ๋ยชีวภาพทป่ี ระกอบด้วยจุลนิ ทรยี ์ท่ีทาให้ธาตุอาหารเปน็ ประโยชน์กบั พืช ปุ๋ยชีวภาพในกลุ่มนีจะช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช บางชนิดที่ถูกตรึงอยู่ในดิน ในรูปที่พืชไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ให้เป็น ประโยชน์กับพืชได้มากขึน โดยจุลินทรีย์กลุ่มนีจะสร้างกรดอินทรียห์ รือเอนไซม์ บางชนิด เพ่อื ละลายธาตอุ าหารท่ถี กู ตรึงอยใู่ นดินสามารถแบ่งได้เปน็ 3 กลุ่ม คอื กลุ่มท่ี 1 ปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซา ประกอบด้วยกลุ่มราไมคอร์ไรซาที่ช่วย เพ่ิมศักยภาพในการดูดใช้ธาตุอาหารให้แก่พืช โดยจะสร้างเส้นใยเข้าไปในราก และเส้นใยบางส่วนจะเจริญอยู่ในดินบริเวณรอบรากพืช ช่วยดูดธาตุอาหารต่าง ๆ และละลายฟอสฟอรัสท่ีถูกตรึงอยู่ในดิน แล้วส่งผ่านธาตุอาหารไปทางเส้นใยรา เข้าสู่รากพืช ทาให้พืชได้รับธาตุอาหารเพ่ือใช้ในการเจริญเติบโตและสร้าง ผลผลิตอย่างเพียงพอ ปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซาท่ีมีการนามาใช้ทางการเกษตรมี 2 กลุ่ม คือ 1) อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา (Arbuscular mycorrhiza) ใช้กับพืช สวน พืชไร่ พืชผัก และไม้ดอกไม้ประดับ และ 2) เอ็คโตไมคอร์ไรซา (Ectomycorrhiza) ใช้กบั ไม้ผล ไม้ป่า และไมโ้ ตเรว็ 3

กลุ่มท่ี 2 ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรยี ์ท่ีช่วยเพิ่ม ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรสั โดยการสรา้ งและปลดปล่อยกรดอินทรยี ์และ กรดอนินทรีย์ออกมานอกเซลล์ เพื่อละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตท่ีไม่ เป็นประโยชน์ตอ่ พืชและสะสมในดิน นอกจากนียังสร้างและปลดปล่อยเอนไซม์ บางชนิดออกมานอกเซลล์เพ่ือย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟตที่อยู่ใน ดิน ยกตัวอย่างเช่น การสร้างเอนไซม์ไฟเตส (phytase) ในการยอ่ ยสลายไฟเตท phytate) และปลดปล่อยโมโนไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (HPO42-) และ ไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (H2PO4-) ออกมาในสารละลายดิน ซ่ึงพืชจะนาไปใช้เพ่ือ การเจรญิ เติบโตและสร้างผลผลติ ตอ่ ไป กลุ่มที่ 3 ปุ๋ยชีวภาพละลายโพแทสเซียม ประกอบด้วยจุลินทรีย์ช่วย เพ่ิมความเป็นประโยชน์ของโพแทสเซียม ได้แก่ สกุลบาร์ซิลลัส (Bacillus) สกุล คลาโดสปอรอิ อยเดส (Cladosporioides) สกุลคลาโดสปอเรียม (Cladosporium) สกุลคลอสทริเดียม (Clostridium) สกุลเพนนิซิลเลียม (Penicillium) และสกุล ไทโอบาร์ซิลลัส (Thiobacillus) เป็นต้น โดยจุลินทรีย์กลุ่มนจี ะสร้างกรดอินทรีย์ และอนินทรีย์ออกมาละลายโพแทสเซียมออกจากการตรึงของแร่ดินเหนียวบาง ชนิด จึงสามารถใช้เป็นจุลินทรีย์สาหรับผลิตปุ๋ยชีวภาพได้ สามารถใช้ได้ผลดที ัง ในพชื สวนและพืชไร่ 4

ป๋ยุ ชีวภาพไรโซเบียม ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม คือ ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียแกรมลบ ตระกูลไรโซเบียม (Rhizobiaceae) ซึ่งเป็นแบคทีเรียในดินที่สามารถเข้าสร้าง ปมรากกับพืชตระกูลถ่ัวได้ และเจริญอยู่ภายในปมรากแบบพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกัน และกัน (symbiosis) โดยปมรากท่ีมีไรโซเบียมอาศัยอยู่เปรียบเสมือน โรงงานผลิตปยุ๋ ไนโตรเจนทางชีวภาพ เนื่องจากไรโซเบยี มสามารถตรึงไนโตรเจน โดยใช้เอนไซม์ไนโตรจีเนส (nitrogenase enzyme) ในการควบคุมปฏิกิริยา การเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนที่มีอยู่ในบรรยากาศถึง 78 เปอร์เซ็นต์โดยนาหนัก ให้เป็นสารประกอบไนโตรเจนเพอ่ื ใหพ้ ชื ใชใ้ นการเจริญเติบโตได้ ในขณะท่พี ชื จะ ให้แหล่งอาหารคาร์บอนที่ได้จากการสังเคราะห์แสงแก่ไรโซเบียม และสร้าง โปรตีนชื่อ เลกฮีโมโกลบนิ (leghaemoglobin) ซ่ึงสามารถเห็นเป็นสีแดงเมือ่ ผ่า ปมท่ีสมบูรณ์ (ภาพท่ี 1) สารเลกฮีโมโกลบินถูกสร้างขึนเพื่อควบคุมปริมาณ อ อ ก ซิ เจ น ภ า ย ใน ป ม ร า ก ให้ เห ม า ะ ส ม ต่ อ ก ร ะ บ ว น ก า ร ต รึ ง ไ น โ ต ร เจ น (Alexander, 1977) ภาพท่ี 1 การติดปมของถั่วเหลืองเมือ่ ใช้ปุ๋ยชวี ภาพไรโซเบียม(ซา้ ย) และปมราก ถ่ัวที่มปี ระสิทธภิ าพจะมีสแี ดงของเลกฮีโมโกลบิน (ขวา) 5

ประโยชน์ที่ไดจ้ ากการใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมในการผลติ พืชตระกูลถว่ั ดนิ ท่ไี ม่เคยทาการเพาะปลกู ถ่ัวมากอ่ นหรือเลกิ รา้ งเป็นเวลานาน หรือดิน ที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่า มักจะไม่พบหรือพบเชือไรโซเบียมในปริมาณน้อย หากไม่มีการใส่ปุ๋ ยเคมีหรือปุ๋ยชีวภาพ ไรโซเบียม จะทาให้ ลาต้น ถั่ว แคระแกร็น ใบสีเหลืองและให้ผลผลิตต่า การใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมที่มี ประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนพร้อมกับการปลูกถ่ัวสามารถช่วยแก้ปัญหา ดังกลา่ วได้ การใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมร่วมกับการปลูกพืชตระกูลถั่ว สามารถ ส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นถ่ัวและทาให้ปริมาณไนโตรเจนในลาต้นถั่ว เพ่ิมขึน (ภาพที่ 2) ชว่ ยเพ่มิ ผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพของเมล็ดถ่ัวได้ โดยทา ให้มีปริมาณโปรตีนเพิ่มขึนในเมล็ด สามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนได้ 50 ถึง 100 เปอรเ์ ซ็นต์ (กรมวิชาการเกษตร, 2553; พรพรรณ และคณะ, 2554) นอกจากนีไรโซเบียมยังมีบทบาทสาคัญในระบบเกษตรย่ังยืน เน่ืองจาก สารประกอบไนโตรเจนท่ไี รโซเบยี มตรึงได้จะถกู สะสมในตน้ ถ่วั และเมื่อไถกลบก็ จะถูกย่อยสลายและปลดปล่อยธาตุไนโตรเจนลงสู่ดิน เกษตรกรจึงนิยมใช้พืช ตระกูลถั่วหลายชนิดเป็นปุ๋ยพืชสด ทาให้ดินคงความอุดมสมบูรณ์อยู่ได้นาน เหมาะแก่การเพาะปลกู พชื อื่นต่อไป ภาพที่ 2 การเจริญเติบโตของถ่ัวที่ใส่ปยุ๋ ชวี ภาพไรโซเบียมและไมใ่ สป่ ุย๋ ชีวภาพ ไรโซเบยี ม 6

ผลิตภัณฑป์ ุ๋ยชวี ภาพไรโซเบียม ปุ๋ยชีวภาพ ไรโซเบียมป ระกอบ ด้วยแบ คทีเรียส กุล แบ รดดีไรโซเบียม (Bradyrhizobium) (ภาพที่ 3) มีลักษณะเป็นผง มีปริมาณจุลินทรีย์รับรองไม่ น้อยกว่า 1×106 โคโลนีต่อปุ๋ยชีวภาพ 1 กรัม มีขนาดบรรจุภัณฑ์ 200 กรัม (ภาพท่ี 4) × 1,000 ภาพท่ี 3 ลักษณะโคโลนีของแบรดดีไรโซเบียม (Bradyrhizobium sp.) ทเี่ จริญ บนอาหารเลียงเชือ (ซ้าย) และลักษณะของเซลล์ภายใต้กล้อง จลุ ทรรศน์ (ขวา) ภาพท่ี 4 ผลติ ภัณฑป์ ยุ๋ ชีวภาพไรโซเบียมสาหรับถวั่ เขยี ว 7

วธิ กี ารใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม การท่ีพืชจะได้รับประโยชน์จากปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมได้สูงสุด จะต้องทา ให้ไรโซเบียมท่ีคลุกกับเมล็ดเข้าสู่ราก เพื่อสร้างปมรากให้ได้มากท่ีสุด เม่ือราก ถ่ัวงอกออกมา ไรโซเบียมท่ีติดอยู่กับเมล็ดก็จะเข้าสู่รากได้ทันที (กรมวิชาการ เกษตร, 2548) วิธีการนาเมล็ดมาคลุกกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมก่อนปลูกจึง จาเป็นจะต้องใช้วิธีพรมด้วยนาเปล่า เพื่อช่วยให้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมติดกับ เมล็ด โดยมขี ันตอนการคลุกเชือไรโซเบียมกับเมล็ด (ภาพที่ 5) ดังนี 1. นาเมลด็ ถั่วทตี่ ้องการปลูกใส่ลงในภาชนะ 2. พรมดว้ ยนาเปลา่ ใหท้ ัว่ 3. โรยปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมสาหรับถั่วชนิดนัน ๆ ลงบนเมล็ดถ่ัวในอัตรา 1 ถุงต่อเมล็ดถั่วเขียว 3–5 กิโลกรัม ถ่ัวเหลือง 10–12 กิโลกรัม ถ่ัวลิสง 10–15 กโิ ลกรมั หรือตามอัตราแนะนาทีร่ ะบบุ นบรรจภุ ัณฑ์ 4. คลกุ เคล้าผงปยุ๋ ชวี ภาพไรโซเบียมให้ตดิ อย่างสมา่ เสมอท่วั ทุกเมลด็ และ นาไปปลกู ให้หมดทันที ร่วมกับการใช้ป๋ยุ เคมี 8-24-24 อตั รา 38 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ภาพที่ 5 วิธกี ารคลกุ เมล็ดถัว่ กับปยุ๋ ชวี ภาพไรโซเบียม 8

การเก็บรักษา เกบ็ รกั ษาปยุ๋ ชีวภาพไรโซเบียมในท่ีเย็น ไมโ่ ดนแสงแดด ควรเก็บในตู้เย็น ทอ่ี ุณหภมู ิ 8–10 องศาเซลเซียส ข้อควรระวงั 1. ควรเลือกปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมให้ตรงกับชนิดของถ่ัวท่ีต้องการปลูก ซงึ่ ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบยี มแต่ละชนดิ เหมาะสมกบั ชนิดถัว่ ทร่ี ะบไุ วบ้ นถุงบรรจุภณั ฑ์ เท่านนั (ภาพท่ี 6) 2. เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมที่ยังไม่หมดอายุ ซึ่งจะระบุอยู่ บนถงุ ผลติ ภัณฑ์ (ภาพที่ 6) 3. ควรปลูกถ่ัวในขณะทีด่ ินมีความชนื เหมาะสม หรือปลกู แล้วมีการให้นา ทนั ที ภาพท่ี 6 รายละเอียดบนบรรจภุ ัณฑข์ องป๋ยุ ชีวภาพไรโซเบยี มท่ีควรพิจารณา กอ่ นซอื 9

ปุ๋ยชวี ภาพพีจพี ีอาร์ “ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ หรือ ปุ๋ยชีวภาพแบคทีเรียส่งเสริมการ เจ ริ ญ เติ บ โต ข อ ง พื ช ( Plant Growth Promoting Rhizobacteria: PGPR)” เป็นปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียท่ีอาศัยอยู่ในดินบริเวณรอบ รากพืช (rhizosphere) และช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชได้ โดย แบคทีเรียกลุ่มนีมีความสามารถในการตรึงไนโตรเจน เพิ่มความเป็นประโยชน์ ของธาตุอาหารพืช สร้างสารซิเดอโรฟอร์ (siderophores) ซึ่งมีสมบัติเพ่ิมการ นาธาตุเหล็กเข้าสู่เซลล์พืช โดยการแย่งจับธาตุเหล็กบริเวณรอบรากพืช ทาให้ เชือราโรคพชื ไม่สามารถนาธาตุเหล็กไปใชไ้ ด้ นอกจากนยี ังสามารถสร้างฮอรโ์ มน พืช (phytohormones) เช่น ฮอร์โมนกลุ่มออกซิน (auxins) ซึ่งกระตุ้นการยืด ตัวของเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการเปล่ียนสภาพของเซลล์ สร้างเอนไซม์ ไคติเนส (chitinase) และลามินาริเนส (laminarinase) ย่อยเส้นใยเชือราโรค พชื สร้างสารปฏชิ ีวนะทีม่ ีฤทธ์ิต้านเชือราสาเหตุโรคพชื ได้ เป็นต้น (หนึ่ง, 2548; ธงชัย, 2550 และ Gliek et al., 1999) ซ่ึงในแบคทีเรียบางสกุลมีความสามารถ หลายอยา่ งรวมกนั เชน่ แบคทีเรียสกลุ อะโซสไปริลลัม (Azospirillum) บางสาย พันธุ์มีความสามารถในการตรึงไนโตรเจน ช่วยละลายฟอสเฟต ผลิตฮอร์โมน สง่ เสริมการเจริญของพชื และชว่ ยเพ่ิมประสิทธภิ าพการดดู ธาตุอาหารของพืช ปัจจุบั น การผลิตปุ๋ ยชีวภาพ พี จีพี อาร์นิ ยมใช้แบคทีเรียสกุล อะโซสไปริลลัม (Azospirillum) ร่วมกับแบคทีเรียสกุลอ่ืน ๆ เช่น อะโซโตแบค เต อ ร์ (Azotobacter) ไบ เจ อ ริ งเคี ย (Beijerinckia) เบ อ ร์ โค ล เด อ เรี ย (Burkholderia) และกลูคอนอะซิโตแบคเตอร์ (Gluconacetobacter) เป็นต้น เพ่ือชว่ ยเพ่ิมประสิทธภิ าพของปุ๋ยชีวภาพพจี ีพอี าร์ในการส่งเสรมิ การเจริญเติบโต ของพืชได้ดยี งิ่ ขึน 10

ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากการใช้ปุ๋ยชีวภาพพจี ีพอี าร์ในการผลิตพชื ปยุ๋ ชีวภาพพีจีพีอารส์ ามารถส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชโดยช่วยเพ่ิม ปริมาณรากได้อย่างน้อย 20 เปอร์เซ็นต์ (ภาพที่ 7) เน่ืองจากจุลินทรีย์ใน ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์สามารถสร้างฮอร์โมนพืช ทาให้ระบบรากพืชแข็งแรง เพ่ิม ประสิทธิภาพในการดูดนาและปุ๋ย ทาให้ต้นพชื แขง็ แรง ต้านทานโรค นอกจากนี ยังชว่ ยเพ่มิ ผลผลิตพืชได้อย่างน้อย 10 เปอร์เซน็ ต์ สามารถชว่ ยลดการใชป้ ุ๋ยเคมี ในการปลกู พืชได้อย่างนอ้ ย 25 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของอตั ราแนะนาตามค่าวเิ คราะห์ดิน (ภาพที่ 8) ภาพที่ 7 ผลการใชป้ ๋ยุ ชวี ภาพพจี พี ีอาร์ต่อการเพ่มิ ปรมิ าณรากของข้าวโพด (บน) และขา้ ว (ลา่ ง) 11

ภาพที่ 8 ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ต่อการเพิ่มปริมาณรากและการ เจริญเติบโตของออ้ ย ผลิตภณั ฑ์ปุ๋ยชวี ภาพพจี ีพีอาร์ 1. ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-วัน ประกอบด้วย แบคทีเรีย 3 ชนิด ได้แก่ Azospirillum brasilense, Azotobacter vinelandii, Beijerinckia mobilis (ภาพที่ 9) มีปริมาณ จลุ ินทรีย์รับรองไม่นอ้ ยกวา่ 1×106 โคโลนีตอ่ ป๋ยุ ชีวภาพ 1 กรมั ใช้สาหรับขา้ วโพด ข้าวฟา่ ง พืชผัก และพืชสมนุ ไพร 2. ป๋ยุ ชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู ประกอบด้วยแบคทเี รยี 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ Azospirillum brasilense, Burkholderia vietnamiensis มีปริมาณจุลินทรีย์รับรองไม่น้อย กว่า 1×106 โคโลนีต่อปุ๋ยชีวภาพ 1 กรัม ใชส้ าหรบั ขา้ ว (ภาพท่ี 10) 3. ปุ๋ยชวี ภาพพีจพี ีอาร์-ทรี ประกอบด้วย แบคทีเรีย 2 ชนิด ได้แก่ Azospirillum brasilense, Gluconacetobacter diazotrophicus (ภาพ ท่ี 11) มี ป ริม าณ จุลินทรีย์รับรองไม่น้อยกว่า 1×106 โคโลนีต่อปุ๋ยชีวภาพ 1 กรมั ใช้สาหรับอ้อย และมนั สาปะหลงั 12

X1,000 x1,000 x1,000 Azospirillum brasilense Azotobacter vinelandii Beijerinckia mobilis ภาพที่ 9 ลกั ษณะเซลล์ของแบคทเี รยี ในปยุ๋ ชวี ภาพพีจพี ีอาร์ภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ ภาพที่ 10 ผลติ ภณั ฑป์ ุย๋ ชวี ภาพพีจีพอี าร์-ทู Azospirillum brasilense DASF04008 Gluconacetobacter diazotrophicus BR11281 ภาพที่ 11 ลักษณะโคโลนขี องแบคทีเรียในปุย๋ ชวี ภาพพีจพี อี าร์-ทรี ทเี่ จริญบน อาหารวุ้นแข็ง 13

วิธีการใช้ปุย๋ ชีวภาพพจี พี อี าร์ 1. ปุ๋ยชวี ภาพพจี พี อี าร์-วนั • คลุกเมลด็ กอ่ นปลูก ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-วัน จานวน 1 ถุง ผสมนาให้ข้น แล้วนาเมล็ด ข้าวโพด 3–4 กิโลกรัม หรือข้าวฟ่าง 2–3 กิโลกรัม คลุกเคล้าจนเนือปุ๋ยเคลือบ ติดผวิ เมล็ด (ภาพที่ 12) แล้วจงึ นาไปปลกู ทนั ที • ใชร้ องกน้ หลมุ ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-วัน จานวน 1 ถุง ละลายในนาสะอาด 20 ลิตร ราดกองปุ๋ยท่ีหมักสมบูรณ์แล้ว ประมาณ 250 กิโลกรัม (ภาพที่ 13) ปรับ ความชนื ในกองป๋ยุ หมกั ให้ได้ประมาณ 50–60 เปอร์เซน็ ตโ์ ดยนาหนกั คลกุ เคล้า ใหเ้ ขา้ กนั แล้วบ่มไว้ 1 สัปดาห์ ใชร้ องกน้ หลุมกอ่ นปลูก อตั รา 250 กิโลกรมั ต่อไร่ ภาพที่ 12 ตัวอยา่ งเมลด็ พนั ธุท์ ค่ี ลุกดว้ ยปุย๋ ชวี ภาพพจี พี อี าร์ 2. ปุ๋ยชีวภาพพีจพี อี าร์-ทู • คลุกเมลด็ กอ่ นปลกู - หว่านข้าวแห้งพรมนาลงบนเมล็ดข้าว 10–15 กิโลกรัม ให้พอเปียก โรยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู จานวน 1 ถุง คลุกเคล้าจนเนือปุ๋ยเคลือบติดผิวเมล็ด แลว้ จงึ นาไปหวา่ น (ภาพที่ 12) - หว่านข้าวงอก ใชป้ ยุ๋ ชีวภาพพีจพี ีอาร์-ทู จานวน 1 ถงุ คลุกเคลา้ กับ เมลด็ ขา้ ว 10–15 กิโลกรัม ท่ีแช่ไวแ้ ล้วจนเนอื ปุ๋ยเคลอื บติดผิวเมล็ดแล้วจงึ นาไป หวา่ น 14

• ใช้ร่วมกบั ป๋ยุ หมกั รองพนื ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู จานวน 1 ถุง ผสมกับปุ๋ยหมักประมาณ 250 กิโลกรัมตอ่ ไร่ รองพืนพร้อมปลูก (ภาพที่ 13) ภาพท่ี 13 การคลกุ ปุ๋ยชีวภาพพจี ีพีอาร์กับปุ๋ยหมัก 3. ปยุ๋ ชีวภาพพีจีพอี าร์-ทรี • ฉดี พ่นทอ่ นพนั ธุ์อ้อย ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทรี ละลายกับนาสะอาดอัตราส่วน 1 : 100 (ป๋ยุ ชวี ภาพพจี ีพอี าร์-ทรี 1 กิโลกรัม ตอ่ นา 100 ลติ ร) ฉดี พน่ เปน็ ฝอยละเอยี ดลง บนท่อนพนั ธแ์ุ ล้วจงึ กลบทับด้วยดนิ ทนั ที • แช่ทอ่ นพันธมุ์ ันสาปะหลัง ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทรี ละลายกับนาสะอาดอัตราส่วน1 : 20 (ปยุ๋ ชวี ภาพพจี พี ีอาร์-ทรี 1 กโิ ลกรัม ตอ่ นา 20 ลิตร) หลังจากนนั นาทอ่ นพนั ธุล์ ง ไปแช่เปน็ เวลา 30 นาที แลว้ จงึ นาไปปลูกทันที (ภาพท่ี 14) • ใชก้ บั ปุ๋ยหมกั ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทรี จานวน 1 ถุง ผสมกับปุ๋ยหมักประมาณ 250 กโิ ลกรมั ต่อไร่ แล้วจงึ นาไปหว่านทนั ที 15

ภาพที่ 14 การใช้ปยุ๋ ชวี ภาพพจี พี อี าร์-ทรีแชท่ ่อนพนั ธุ์มนั สาปะหลัง วธิ กี ารเก็บรกั ษา เก็บรักษาปุย๋ ชีวภาพพีจพี อี าร์ในท่เี ย็น ไม่โดนแสงแดดหากเกบ็ รกั ษาในที่ อุณหภูมติ า่ กว่า 25 องศาเซลเซียส จะช่วยยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษาได้ ข้อควรระวงั ในการใช้ 1. ควรเลือกปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ให้ตรงกับชนิดของพืชท่ีต้องการปลูก ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์แต่ละชนิดเหมาะสมกับชนิดพืชท่ีระบุไว้บนถุงบรรจุภัณฑ์ เทา่ นนั 2. เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ที่ยังไม่หมดอายุ ซ่ึงจะระบุอยู่ บนถงุ ผลติ ภัณฑ์ 3. เมื่อเปิดใชแ้ ล้วควรใชใ้ ห้หมดทนั ที 16

ปยุ๋ ชีวภาพอารบ์ ัสคูลาร์ไมคอรไ์ รซา ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา คือ ปุ๋ยชีวภาพท่ีประกอบด้วย ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาท่ีมีชีวิตและมีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการ เจริญเติบโตของพืช โดยราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาจะสร้างเส้นใยอยู่บริเวณรอบ รากแล้วเจริญเข้าไปอยู่ระหว่างเซลล์และภายในเซลล์รากพืช (ภาพท่ี 15) รา อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาจะช่วยดูดธาตุอาหารจากภายนอกราก แล้วส่งผ่านไป ทางเสน้ ใยราเข้าไปภายในรากพืช ทาใหพ้ ชื ไดร้ ับธาตุอาหารและเจรญิ เติบโตได้ดี ยิ่งขนึ ภาพท่ี 15 ลกั ษณะโครงสรา้ งของราอาร์บสั คลู าร์ไมคอรไ์ รซาทอ่ี ย่บู ริเวณรอบราก (ซ้าย) และในรากพชื (ขวา) (ท่ีมา: Peterson et al., 2004) ประโยชน์ของป๋ยุ ชีวภาพอาร์บสั คูลารไ์ มคอร์ไรซา 1. ชว่ ยเพ่ิมการดดู ธาตุอาหารให้แก่พืช โดยเฉพาะอย่างย่ิงธาตฟุ อสฟอรัส จงึ สามารถลดการใชป้ ยุ๋ ฟอสเฟตได้ 25–50 เปอรเ์ ซน็ ต์ 17

2. ช่วยเพ่ิมพืนทผ่ี ิวรากพชื (ภาพที่ 16) เส้นใยราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา ที่เจริญอยู่รอบรากช่วยเพิ่มพืนท่ีผิวในการดูดซับธาตุอาหารและนา ทาให้พืช เจรญิ เติบโตและทนแลง้ ได้ดี และชว่ ยทาใหร้ ากพชื แตกแขนงได้มากขนึ ภาพที่ 16 ผลของปุย๋ ชวี ภาพอารบ์ ัสคูลารไ์ มคอรไ์ รซาตอ่ การเจรญิ เติบโตของ รากพชื (ภาพบน); เส้นใยและโครงสร้างของราอารบ์ สั คูลาร์ไมคอร์- ไรซาในรากพชื (ซา้ ยลา่ ง), รากพืชที่ไม่มีราอารบ์ สั คูลารไ์ มคอรไ์ รซา (ขวาลา่ ง) 3. ช่วยละลายธาตุอาหารท่ีถูกตรึงไว้ในดินซ่ึงไม่เป็นประโยชน์ต่อพืช โดยเฉพาะธาตุฟอสฟอรัสท่ีถูกตรึงโดยเหล็ก อะลูมินัม หรือแคลเซียม แล้ว ส่งผ่านใหแ้ ก่พืชทางผนงั เสน้ ใยของราอารบ์ ัสคลู ารไ์ มคอร์ไรซา 4. ช่วยให้พืชมีความแข็งแรง ป้องกันการเข้าทาลายของเชือสาเหตุโรค รากเน่าหรอื โคนเน่าจากเชอื ราในดิน 5. เพิม่ ปรมิ าณและคุณภาพผลผลติ ใหแ้ ก่พชื 18

ผลิตภณั ฑ์ปุย๋ ชีวภาพอารบ์ สั คลู าร์ไมคอร์ไรซา ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา ประกอบด้วย ราอาร์บัสคูลาร์- ไมคอร์ไรซาท่มี ีประสิทธภิ าพ และมีปริมาณจลุ นิ ทรยี ร์ บั รองไมต่ า่ กวา่ 25 สปอร์ ต่อปุ๋ยชีวภาพ 1 กรัม มีขนาดบรรจุภัณฑ์ 500 กรัม (ภาพท่ี 17 และ 18) สามารถใช้ได้กับพืชเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น ยางพารา ปาล์มนามัน กล้วย มะม่วง ขนุน มะละกอ ทุเรียน มังคุด ส้ม มะนาว มะขามหวาน ลาไย สับปะรด ลองกอง กาแฟ กระเจี๊ยบเขยี ว หนอ่ ไม้ฝรั่ง พรกิ เปน็ ต้น ภาพที่ 17 สปอร์ของราอาร์บสั คลู าร์ไมคอรไ์ รซา ภาพท่ี 18 ผลติ ภณั ฑป์ ยุ๋ ชีวภาพอารบ์ ัสคูลารไ์ มคอรไ์ รซา 19

การใช้ป๋ยุ ชีวภาพอารบ์ สั คูลารไ์ มคอร์ไรซา 1. ไม้ผล ไม้ยืนตน้ เชน่ ยางพารา ปาลม์ นามนั ผักหวาน มะมว่ ง ทุเรยี น มงั คดุ ส้ม มะนาว ลาไย กาแฟ เป็นตน้ • การเพาะกลา้ หรือการชากงิ่ พนั ธ์ุ ใสป่ ุ๋ยชวี ภาพอาร์บัสคลู ารไ์ มคอร์ไรซา 3 กรัมตอ่ ถุง จากนนั หยอดเมลด็ หรือปกั ชากิง่ พันธ์ุลงในถุงเพาะ • การรองกน้ หลุม ใสป่ ุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคลู าร์ไมคอรไ์ รซา 10 กรมั ตอ่ หลุม รองกน้ หลุมกอ่ นปลูกพืช (ภาพท่ี 19) • การโรยรอบทรงพมุ่ แบง่ ตามอายุพืช ดังนี - สาหรับไม้ผล ไม้ยืนต้นที่มีอายุ 1–3 ปี ใช้ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์- ไมคอรไ์ รซา 30–40 กรัมตอ่ ตน้ โรยรอบทรงพ่มุ แลว้ กลบดนิ ทนั ที (ภาพท่ี 20) - สาหรับไม้ผลที่มีอายุ 3 ปีขึนไป ใช้ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์- ไรซา 40–50 กรัมต่อต้น โรยรอบทรงพมุ่ แล้วกลบดนิ ทันที ภาพท่ี 19 การใช้ปยุ๋ ชีวภาพอารบ์ สั คลู ารไ์ มคอรไ์ รซา โดยวธิ ีการรองกน้ หลุม ภาพท่ี 20 การใชป้ ุ๋ยชวี ภาพอาร์บสั คูลารไ์ มคอรไ์ รซา โดยวธิ ีการโรยรอบทรงพุม่ 20

2. พชื ผัก เชน่ กระเจย๊ี บเขียว หน่อไมฝ้ รั่ง พรกิ เป็นตน้ • การเพาะกล้าในกระบะเพาะชา ใช้ปุ๋ยชีวภาพอารบ์ ัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา 300 กรมั ตอ่ กระบะเพาะ ผสมกบั วสั ดุเพาะใหเ้ ขา้ กนั แล้วหยอดเมลด็ • การรองก้นหลุม ใช้ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา 10 กรัมต่อต้น รองก้นหลุมพร้อมปลกู การเก็บรกั ษา เก็บรักษาปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาในที่เย็นไม่โดนแสงแดด ควรเกบ็ ในตู้เย็นท่อี ณุ หภูมิ 4–10 องศาเซลเซยี ส ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใช้ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาร่วมกับสารป้องกัน กาจัดเชือราโรคพืช เช่น ฟอสอีทิล (fosetyl) เมทาแลกซิล (metalaxyl) แมนโคเซบ (mancozeb) เป็นต้น เนื่องจากเป็นสารเคมีที่ยบั ยังการเจริญเติบโตของราอาร์- บัสคลู ารไ์ มคอรไ์ รซา 2. หลีกเลี่ยงการผสมปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซากับปุ๋ยเคมี โดยตรง 21

ปุ๋ยชวี ภาพละลายฟอสเฟต ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตที่มี ป ระสิ ท ธิภ าพ สูง ใน ก ารละ ลาย ส ารป ระก อบ อนิ น ท รีย์ แ ล ะอิ น ท รีย์ ฟ อส เฟ ต ฟอสฟอรัสท่ีสะสมในดินส่วนใหญ่อยู่ในรูปสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟต เช่น ไฟเตท (phytate) และสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟต เช่น อลมู ิเนียมฟอสเฟต (AlPO4) เฟอร์ริกฟอสเฟต (FePO4) แคลเซียมไฮโดรเจนฟอสเฟต (CaHPO4) และแคลเซียมฟอสเฟต (Ca3(PO4)2) โดยปกติจุลินทรีย์ในดินจะสร้างเอนไซม์ ไฟเตส (phytase) เพ่ือย่อยสลายไฟเตทและปลดปล่อยฟอสฟอรัสซ่ึงพืช สามารถนาไปใช้เพ่ือการเจริญเติบโต (ภาพที่ 21) จุลินทรีย์บางกลุ่มมี ความสามารถละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตโดยสร้างและปลดปล่อย กรดอนิ ทรีย์ เชน่ กรดฟอรม์ ิก กรดอะซิตกิ กรดโพรพิโอนกิ เป็นต้น (Whitelaw, 2000; Maliha et al., 2004) และกรดอนินทรีย์ ได้แก่ กรดไนตริกและกรด ซัล ฟู ริก (Azam and Memon, 1996) ออก ม าน อกเซล ล์เพ่ื อ ล ะล าย สารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตท่ีอยู่ในดินให้เป็นฟอสฟอรัสท่ีละลายอยู่ใน สารละลายดินในรปู โมโนไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (HPO42-) และไดไฮโดรเจน ฟอสเฟตไอออน (H2PO4-) (ภาพที่ 21) ทาให้พืชสามารถใช้ประโยชน์ได้ซ่ึงเป็น การชว่ ยลดการใสป่ ยุ๋ เคมีฟอสเฟตและทาให้ตน้ ทนุ การเพาะปลูกพืชลดลงด้วย ปั จจุ บั น การผ ลิ ตปุ๋ ยชี วภ าพ ล ะล ายฟ อส เฟ ตนิ ยม ใช้ จุ ลิน ท รีย์ใน ส กุล บาซิลลัส (Bacillus) แอสเพอร์จิลลัส (Aspergillus) และเพนนิซิลเลียม (Penicillium) เนือ่ งจากเปน็ จุลินทรีย์ท่มี ีประสิทธิภาพสงู ในการละลายฟอสเฟต และสามารถสร้างสปอร์ทาให้มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อม ที่มีการ เปล่ียนแปลงไดด้ ี 22

ภาพท่ี 21 การละลายฟอสเฟตในดินโดยจุลนิ ทรยี ์ ประโยชน์ทไี่ ด้จากการใช้ป๋ยุ ชวี ภาพละลายฟอสเฟตในการผลติ พืช 1. ช่วยละลายฟอสเฟตที่ถูกตรึงไว้ในดินซ่ึงไม่เป็นประโยชน์ต่อพืช จึงสามารถลดการใช้ปยุ๋ ฟอสเฟตได้ 25–50 เปอร์เซน็ ต์ 2. ช่วยเพ่มิ ความเปน็ ประโยชน์ของหนิ ฟอสเฟต 3. ช่วยให้พืชมีความแข็งแรง ป้องกันการเข้าทาลายของเชือสาเหตุโรค รากเน่าหรือโคนเนา่ จากเชอื ราในดนิ 4. เพม่ิ ปริมาณและคณุ ภาพผลผลติ พชื (ภาพท่ี 22) 23

ภาพท่ี 22 ตน้ กลา้ พริกในวสั ดเุ พาะทผ่ี สมปยุ๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟต (ซ้าย) และไม่ผสมปยุ๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟต (ขวา) ผลติ ภัณฑ์ปุย๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟต ผลิตภัณ ฑ์ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตของกรมวิชาการเกษตร ประกอบด้วยรา Penicillium pinophilum (ภาพที่ 23) มีปริมาณจุลินทรีย์ รับรองไม่น้อยกว่า 1×107 โคโลนีต่อปุ๋ยชีวภาพ 1 กรัม ส่วนแบคทีเรียมีปริมาณ จลุ ินทรีย์รับรองไม่น้อยกว่า 1×108 โคโลนีต่อปุ๋ยชีวภาพ 1 กรัม มีขนาดบรรจุ- ภัณฑ์ 500 กรัม (ภาพท่ี 24) เหมาะสาหรับดินที่มีปัญหาการตรึงฟอสเฟต เช่น ดินกรด ดินด่าง สามารถใช้กับพืช ได้แก่ ปาล์มนามัน ยางพารา พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก ไมด้ อกไมป้ ระดับ ขา้ วไร่ เป็นต้น × 1,000 ภาพท่ี 23 เสน้ ใยรา Penicillium pinophilum ทเี่ จริญบนอาหารเลยี งเชอื (ซ้าย) และลักษณะของเสน้ ใยและสปอร์ภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ (ขวา) 24

ภาพที่ 24 ผลิตภณั ฑป์ ยุ๋ ชีวภาพละลายฟอสเฟต วิธีการใช้ป๋ยุ ชวี ภาพละลายฟอสเฟต 1. ไม้ผล ไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ลาไย ทุเรียน ลองกอง ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะละกอ มะพร้าว ยางพารา ปาลม์ นามัน เปน็ ตน้ • การเพาะกล้าหรือการชากงิ่ พนั ธ์ุ ใส่ปยุ๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟต 10 กรัม ตอ่ ถงุ เพาะ จากนนั หยอดเมล็ดหรือปกั ชากิง่ พันธุ์ลงในถุงเพาะ • การรองกน้ หลมุ ใสป่ ุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต 10 กรัมต่อหลมุ รองก้น หลมุ ก่อนปลกู พชื • การโรยรอบทรงพุม่ (ภาพที่ 25) แบ่งตามอายพุ ืช ดงั นี - สาหรับไมผ้ ลท่มี อี ายุ 1–3 ปี ใชป้ ุย๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟต 50–100 กรมั ตอ่ ต้น คลกุ ผสมกับป๋ยุ อนิ ทรีย์โรยรอบทรงพุ่มแล้วกลบดนิ ทันที - สาหรับไม้ผลที่มีอายุ 3 ปีขึนไป ใช้ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต 100–200 กรมั ต่อต้น คลกุ ผสมกับปยุ๋ อนิ ทรีย์โรยรอบทรงพมุ่ แล้วกลบดนิ ทนั ที 25

ขุดดินรอบทรงพุม่ ผสมป๋ยุ ชีวภาพกบั ปยุ๋ อินทรยี ์ โรยปยุ๋ ชวี ภาพท่ีผสมปยุ๋ กลบดินทันที อนิ ทรียร์ อบทรงพุ่ม ภาพที่ 25 การใช้ปยุ๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟตโดยวธิ ีการโรยรอบทรงพ่มุ 2. พืชไร่ เชน่ ขา้ วโพด มนั สาปะหลัง ออ้ ย ถว่ั เหลือง ถวั่ ลิสง งา เปน็ ตน้ • การคลุกเมล็ด เช่น ข้าวโพด ถ่ัวลิสง ถั่วเหลือง นาเมล็ดพืชที่ต้องการ ปลูก 5 กิโลกรัม ใส่ลงในภาชนะ จากนันพรมด้วยนาเปล่าให้ท่ัว แล้วจึงโรย ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต 1 ถุง และคลกุ เมล็ดให้ท่ัวกอ่ นนาไปปลกู (ภาพท่ี 26) • การรองก้นหลุม เช่น มันสาปะหลัง ออ้ ย ใช้ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต 5 กิโลกรัมต่อไร่ คลุกผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ 100 กิโลกรัม ให้เข้ากันแล้วใช้รองก้น หลุมพรอ้ มปลกู 26

ภาพท่ี 26 การใช้ปุ๋ยชวี ภาพละลายฟอสเฟตคลุกเมล็ดข้าวโพดก่อนปลกู 3. พืชผัก เช่น พริก มะเขอื มะเขอื เทศ กระเจีย๊ บเขียว เปน็ ตน้ • การเพาะกล้าในกระบะเพาะชา ใช้ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต 1 ถุง คลุกกับวัสดุเพาะ 50 กิโลกรัม ผสมกับวัสดุเพาะให้เข้ากัน แล้วนาใส่กระบะ เพาะ แล้วจึงหยอดเมล็ด • การรองก้นหลุม ใช้ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต 5 กิโลกรัมต่อไร่ คลุก ผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ 100 กิโลกรัม ให้เข้ากันแล้วใช้รองก้นหลุมพร้อมปลูก (ภาพที่ 27) ผสมปยุ๋ ชีวภาพกบั รองก้นหลุม นาตน้ กล้ามาปลกู ปยุ๋ อินทรยี ์ ภาพที่ 27 การใช้ปยุ๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟตรองก้นหลุม 27

การเกบ็ รักษา เก็บรักษาปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตในที่เย็นไม่โดนแสงแดด ควรเก็บใน ตู้เย็นทีอ่ ณุ หภมู ิ 4–10 องศาเซลเซยี ส ขอ้ ควรระวงั 1. เลอื กใชผ้ ลติ ภัณฑป์ ยุ๋ ชวี ภาพละลายฟอสเฟตทยี่ งั ไม่หมดอายุ 2. ไม่ควรใช้ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตร่วมกับสารป้องกันกาจัดเชือรา โรคพืช เช่น ฟอสอีทิล (fosetyl) เมทาแลกซิล (metalaxyl) แมนโคเซบ (mancozeb) เปน็ ต้น เน่อื งจากเป็นสารเคมีที่ยบั ยงั การเจริญเติบโตของรา 3. ไมค่ วรคลกุ ผสมปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตกับป๋ยุ เคมโี ดยตรง 28

บรรณานุกรม กรมวชิ าการเกษตร. 2535. การใช้เชือไรโซเบยี มเพ่ือเพมิ่ ผลผลติ ให้แก่พืชตระกลู ถัว่ . กองปฐพีวทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรงุ เทพฯ. กรมวิชาการเกษตร. 2548. ป๋ยุ ชีวภาพและผลติ ภัณฑป์ ยุ๋ ชีวภาพ. กรมวิชาการ เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรงุ เทพฯ. ธงชยั มาลา. 2550. ปุย๋ อินทรยี แ์ ละปุย๋ ชวี ภาพ : เทคนคิ การผลติ และการใช้ ประโยชน์. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 300 หน้า. พรพรรณ สทุ ธแิ ย้ม อัจฉรา นนั ทกิจ ศิรลิ ักษณ์ จติ รอักษร จิติมา ยถาภธู านนท์ และสมชาย ผะอบเหลก็ . 2554. การใช้เชือไรโซเบยี มร่วมกับปยุ๋ เคมีและ ป๋ยุ อนิ ทรียเ์ พ่อื เพม่ิ ผลผลติ และโปรตนี ในถวั่ เหลอื ง. แกน่ เกษตร 39 ฉบบั พิเศษ 3: 113–122. หนึง่ เตียอารงุ . 2548. ความรูท้ ั่วไปเก่ียวกับแบคทีเรยี PGPR (plant growth promoting rhizobacteria). วารสารเทคโนโลยสี รุ นารี 12(3): 249–258. Azam, F. and G.H. Memon. 1996. Soil organisms, 200–232 pp. In: E. Bashir and R. Bantel., (eds.) Soil science. National Book Foundation, Islamabad. Maliha, R.; K. Samina; A. Najma; A. Sadia and L. Farooq. 2004. Organic acids production and phosphate solubilization by phosphate solubilizing microorganisms under in vitro conditions. Pakistan Journal of Biological Sciences 7: 187–196. Peterson, R.L.; H.B. Massicotte and L.H. Melville. 2004. Mycorrhizas: Anatomyand Cell Biology. NRC Research Press, Ottawa. 173 p. Whitelaw, M.A. 2000. Growth promotion of plants inoculated with phosphate solubilizing fungi. Advances in Agronomy 69:99– 151. 29

คณะผจู้ ัดทา ทีป่ รกึ ษา ผอู้ านวยการกองวิจัยวิจยั พัฒนาปจั จยั นางสาวลมยั ชเู กยี รตวิ ัฒนา การผลิตทางการเกษตร ข้าราชการบานาญกรมวชิ าการเกษตร นางภาวนา ลกิ ขนานนท์ ผู้จดั ทา ผู้อานวยการกลมุ่ วจิ ยั ปฐพวี ทิ ยา นางสาวศุภกาญจน์ ลว้ นมณี นักวิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ นางสุปรานี ม่นั หมาย นักวิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ นางสาวศิรลิ ักษณ์ แกว้ สรุ ลขิ ิต นักวิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ นางประไพ ทองระอา นักวิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ นางสาวกลั ยกร โปร่งจนั ทกึ นักวิชาการเกษตรชานาญการ นางสาวนิศารัตน์ ทวนี ุต นกั วชิ าการเกษตรชานาญการ นายมนตช์ ัย มนสั สลิ า นกั วชิ าการเกษตรชานาญการ นางสาวจติ รา เกาะแกว้ นกั วชิ าการเกษตรชานาญการ นางสาวกนกอร บญุ พา นกั วชิ าการเกษตรชานาญการ นายอธิปตั ย์ คลังบญุ ครอง นกั วิชาการเกษตรชานาญการ นายอานาจ เอย่ี มวิจารณ์ นกั วิชาการเกษตรชานาญการ นางสาวบณุ ฑรกิ ฉมิ ชาติ นักวชิ าการเกษตรชานาญการ นางสาวอมรรตั น์ ใจยะเสน นกั วิชาการเกษตรชานาญการ นายสนธยา ขาตบ๊ิ 30