Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการปฏิบัติงานสำหรับสวนส้มปลูกใหม่

แผนการปฏิบัติงานสำหรับสวนส้มปลูกใหม่

Description: แผนการปฏิบัติงานสำหรับสวนส้มปลูกใหม่.

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการอบรมบรรยาย โครงการถา ยทอดเทคโนโลยีการผลติ สม เหล่ือมฤดูเพอ่ื ปองกันผลผลติ ลนตลาด PL-089 แผนการปฏิบัติงาน สาํ หรับสวนสมปลกู ใหม รศ. อาํ ไพวรรณ ภราดรนุวัฒน, รศ.ดร. นิพนธ ทวีชัย, ดร.ปราณี ฮัมเมอลิ้งค ภาควชิ าโรคพชื คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร 1. การเตรยี มแปลงปลกู และดินสาํ หรบั การปลกู 1. หากท่ีดินแปลงปลกู มขี นาดใหญ ควรเรม่ิ ปรบั พน้ื ทห่ี รอื เตรยี มดนิ ในฤดแู ลง 2. ไถดินเพื่อปรับสภาพแปลงปลูก รอ้ื สง่ิ กรดี ขวางออก เพื่อพื้นที่มีสภาพโลง 3. วัดแนวเขตพน ท่ี (กวาง-ยาว) และทาํ แผนทข่ี องดนิ แปลงทป่ี ลกู 4. คํานวณจาํ นวนตน สม และเลอื กระยะปลกู ตามความตอ งการ โดยยึดหลักดังน้ี 4.1ควรวาง แถวของตน สม อยใู นแนวทศิ เหนอื -ใต 4.2 มาตรฐานของการปลกู ระยะตน สม *ระยะแถว คอื 4*4 5*5 3.5*7 4*8 เมตร 4.3 คํานวณจาํ นวนกง่ิ พนั ธหุ รอื ตน พนั ธสุ ม ทต่ี อ งการใชใ นการปลกู (ควร + เพิ่ม 2%) 4.4 กาํ หนดจาํ นวนแถว วางแนวและตาํ แหนง ของตน สม ทจ่ี ะปลกู ในพน้ื ทจ่ี รงิ 5. ไถพรวนดิน ยกแนวปลกู ใหเปน รอ งลกู ฟกู หรือ ฟน ดนิ พนู เปน โขด (กะทะควํ่า)รอ งลกู ฟกู หรือโขดควรสงู จากพน้ื ดนิ เดมิ อยา งนอ ยประมาณ 50-75 ซม. 6. ยอยดินตรงบรเิ วณทจ่ี ะปลกู ตน สม ใหล ะเอยี ดเหมาะสมตอ การปลกู พชื 7. ปรับปรุงสภาพดนิ ของแนวรอ งปลกู หรอื บรเิ วณโขดทจ่ี ะปลกู ดว ยปยุ หมกั หรอื ปยุ คอกเกา 8. ปกไมร วก (ยาวประมาณ 50-60 ซม.) ตรงบรเิ วณจดุ กาํ หนดหรอื โขดทจ่ี ะปลกู ตน สม ใหแ ต ละจุดที่จะปลูกตนสมในแตละแถวปลูก อยใู นแนวทต่ี รงกนั 9. หากดินท่ีจะปลกู ตน สม เปน ดนิ รว นปนทราย ควรจดั เตรยี มเศษพชื หรอื ฟางเพอ่ื การคลมุ ดนิ รักษาความชื้น

10. เก็บตวั อยา งดนิ บรเิ วณทจ่ี ะปลกู ตน สม สงหนวยงานเพอ่ื วเิ คราะหค วามเปน กรดเปน ดา ง โครงสรา งของดนิ ปรมิ าณอนิ ทรยี ว ตั ถแุ ละธาตอุ าหารทจ่ี าํ เปน 2. การเตรยี มตน พนั ธสุ ม 1. หากเลือกใชต น พนั ธสุ ม เปน กง่ิ ตอน ควรพจิ ารณาดงั น้ี 1.1 เปนกง่ิ ตอนจากแหลง หรอื ผขู ายทเ่ี ชอ่ื ถอื ได 1.2 ตนสม ตน แมต อ งแขง็ แรง ไมเ ปน โรคกรนี น่ิงและโรคทรสิ เตซา หรอื โรคไวรัสอน่ื ๆ และมี ลักษณะทด่ี ตี รงตามสานพนั ธุ 1.3 ตนสม ตน แมค วรมอี ายมุ ากกวา 7-8 ปข น้ึ ไป 1.4 ก่ิงตอนควรเปน กง่ิ ทต่ี ง้ั หรอื ตง้ั ตรงทมี อี ายุ 1-1.5 ป กง่ิ แขง็ แรง กลม -ไมม หี นาม สี เขียวอมนา้ํ ตาลหรอื สนี า้ํ ตาลอมเขยี ว มรี ากออกโดยรอบขวน้ั 1.5 ความสงู ของกง่ิ ตอน 45-55 ซม. (ไมค วรเกนิ 60 ซม.) 1.6 ก่ิงตอนไมค วรเพาะชาํ อยใู นถงุ นานเกนิ 6 เดอื น 2. หากเลือกใชตน พนั ธสุ ม เปน ตน ตอทต่ี ดิ ตาหรอื เสยี บยอด ควรเลอื กทม่ี ลี กั ษณะดงั น้ี 2.1 ตนพันธุสม จากแหลง หรือผูขายที่เช่อื ถือได หรอื ไดผ า นรบั รอง การปลอดโรค 2.2 ตนพันธุสมแข็งแรงไมเปน โรคกรนี น่ิงและโรคทรสิ เตซา หรือโรคไวรสั อื่นๆ และมลี กั ษณะ ท่ีดตี รงตามสายพนั ธุ 2.3 ตนพันธุสมไมค วรปลกู อยูในถงุ เพาะชาํ ภายหลงั การตดิ ตาหรอื เสยี บยอดเกนิ กวา 1 ป 2.4 เลือกใชชนิดของตน ตอสม ใหเ หมาะสมกบั พนั ธสุ ม และสภาพของดนิ ทป่ี ลกู 2.5 พ้ืนท่ีทจ่ี ะปลกู ตน สม ปลอดโรค ควรหากไกลจากแหลงปลูกเดิม 2.6 ตองระมดั ระวงั การตดิ โรคภายหลงั จากการปลกู 3. ระยะเวลาปลกู และวธิ กี ารปลกู ทเ่ี หมาะสม 1. สามารถเลือกเวลาปลกู เมอ่ื ใดกไ็ ด ถา แปลงปลกู มกี ารตดิ ตง้ั ระบบนา้ํ ชลประทาน 2. ควรปลูกในเดอื นกรกฎาคม ถึง เดอื นตลุ าคม หากอาศยั น้ําฝนโดยไมม แี หลง น้าํ 3. กิ่งหรือตนพันธุสมที่จะนําลงปลกู ควรเปน ระยะใบแก (ไมค วรมใี บออ น) หากเปน กง่ิ ตอนควร ใหปลายรากมสี เี หลอื งหรอื สนี วล 4. ตนพันธุส มตดิ ตาหรอื เสียบยอด ควรปลกู โดยการจดั ระบบราก 5. ตนพันธุสมที่มีรากขดงอโดยเฉพาะรากใหญ หากไมส ามารถจดั ระบบรากได ไมค วรนําลง ปลกู 6. อยาปลูกตนพันธุสมลึก ควรปลกู และกลบหนา ดนิ ใหเ สมอขว้ั บนของกง่ิ ตอน หรอื เสมอระดบั หนา ดนิ เดมิ ของถงุ เพาะชาํ 7. ควรปลูกโดยจดั ใหล ําตน หลกั ของตน พนั ธสุ ม ตง้ั ตรง ปกหลักไมรวกและผูกยึดตนสมใหแนน ระวังอยา ใหต น สม โยกคลอน 8. ควรหาฟางขาวหรอื เศษพชื คลมุ ดนิ บรเิ วณโขดทป่ี ลกู ตน สม โดยเฉพาะในดนิ รว นหรอื ดนิ ปน ทราย

4. การดแู ลและการทํางาน (หลังปลูก - ตน อายุ 1 ป) 1. ผูกยึดตนสม ใหแนนกับหลกั ไมรวกทปี่ ก ไวเพอ่ื ปอ งกันไมใหตนสม โยกคลอน 2. ตองใหน า้ํ แกต น สม ทป่ี ลกู ใหมอ ยา งสม่ําเสมอและเพียงพอ ระวงั อยา ใหต น สม ขาดนา้ํ 3. หากตองการใหป ยุ ทางดนิ แกต น สม ควรเลอื กใชปุย หมกั หรือปุยคอกเกา หรอื ปยุ เคมสี ตู ร 46-0-0 16-20-0 หรือ 20-20-0 50-55 วัน/ครง้ั ตง้ั แตอ ายุ 6-12 เดอื นหลงั ปลกู 4. ควรใหป ยุ ทางใบสตู รเสมอแกต น สม เชน 30-20-10 19-20-20 เดอื นละ 1-2 ครง้ั 5. ในฤดูแลง ควบคุมบริเวณทรงพุมดวยเศษพืช ฟางขา ว ตน ถว่ั เปลอื กถว่ั 6. ระวังการทําลายของเพลย้ี ไฟและหนอนชอนใบในระยะยอดและใบออ น 7. ตั้งแตตนสมอายุ 8 เดอื นขน้ึ ไป ควรตดั แตง กง่ิ กระโดง กง่ิ แหง และกง่ิ เปน โรค 8. อยาฉดี พน สารปอ งกนั กาํ จัดวัชพืชใกลบรเิ วณโคนตนหรอื ทรงพมุ 9. ระวังการทาํ ลายของโรคแคงเกอรห รอื โรคใบจดุ ทใ่ี บออ นในฤดฝู น 10.หากตองการใหตนสมเติบโตเร็วและแข็งแรง ควรใชว สั ดปุ รบั ปรงุ คณุ ภาพของดนิ เชน อินทรียว ตั ถุ ปูน ใหเ หมาะสมกบั ชนดิ ของดนิ 11.ปลูกซอมแซมตน สม ทต่ี ายหรอื ไมแ ขง็ แรง โดยใชพ นั ธสุ มท่ีสมบรู ณแ ขง็ แรง 12.หากแปลงปลกู อยูใ นสภาพที่โลง ใกลน าขา ว ที่รกราง ควรรีบปลูกพืชลอมที่หรือพืชกาํ บงั ลม ภายหลงั จากทป่ี ลกู ตน สม แลว 13.หากตองการปลกู ตน ไมอ น่ื เปน พชื เสรมิ รายได ใหเ ลอื กชนดิ ทเ่ี หมาะสมกบั สม ทป่ี ลกู 5. การดแู ลและการทํางาน (ตน อายุ 1-2 ป) 1. ใหเ รม่ิ สรา งทรงพมุ โดยมลี าํ ตน หลกั เพยี งลําตนเดียวและมกี ่ิงใหญ 3-5 กิ่ง 2. ควบคุมใหแตกยอดออ นเปน รนุ หรอื เปน ชดุ พรอ ม ๆ กนั ตง้ั แตต น สม อายุ 1 ป 3. บังคับการแตกยอดออ นใหม กี ารแตกตาขา งมากกวา การแตกตายอด 4. การแตกยอดสามารถบงั คบั ใหเ กดิ ไดท กุ ๆ 50-55 วนั โดยอาศยั วธิ กี ารใหน า้ํ เปน ระยะ ๆ 5. ขนาดของใบสมควรไดมาตรฐาน ใบหนา สเี ขยี วเขม ไมแ สดงอาการขาดธาตอุ าหารหลกั หรืออาหารรอง 6. การใหปยุ ทางดนิ ควรเรม่ิ ปรบั เปน การให 60 วัน/ครง้ั และอาจใหส ลบั ระหวา งปยุ เคมี และ ปุยอินทรีย ปยุ เคมคี วรใชส ตู ร 15-15-15 หรือ 16-16-16 7. เริ่ม \"สอนดอก\" เมอ่ื ตน สม อายปุ ระมาณ 20-24 เดอื น โดย \"เวน นา้ํ \" หรือ \"กกั น้ํา\" และให เร่ิมผลิยอดพรอ มตาดอกในสม รนุ ท่ี 1 หรือ รนุ 2 8. หากตนสมมีขนาดของใบเล็กกวาปกติ ใหควบคุมขนาดของใบโดยการใชปุยทางใบที่มีธาตุ ฟอสฟอรสั (P) สงู เชน สตู ร 15-30-15 กอ นการเวน นา้ํ หรอื กกั น้ํา 9. ในการบังคับการแตกยอดออนพรอมดอกรุนแรก อาจใชว ธิ กี ารกกั น้ําใหต น สม มสี ภาพขาด น้ําในชว งระยะเวลาสน้ั ๆ ได จากนั้นจึง \"ขน้ึ น้าํ \" โดยการรดน้าํ อยา งเพยี งพอเพอ่ื ใหต น สม ผลิยอดออ นชดุ ใหม 10.ความสูงของตน สม ทเ่ี รม่ิ การบงั คบั ใหอ อกดอกและตดิ ผล คอื 1 - 1.5 เมตร หรือเริ่มเก็บผล ไดเม่ือตน มคี วามสงู ประมาณ 2-2.5 เมตร

6. การดแู ลการทํางาน (ตน อายุ 3 ปข น้ึ ไป) 1. การตัดแตงกง่ิ ตน สม ใหต ดั แตง กง่ิ กระโดงทย่ี าวและมหี นาม กง่ิ บดิ ไขว กง่ิ เปน โรคหรอื ถกู แมลงทําลาย ควรเรม่ิ ตดั แตง ไดเ มอ่ื หมดฤดฝู น หรอื ในเดอื นพฤศจกิ ายนหรอื เดอื น ธันวาคม 2. หากตนสมแสดงอาการขาดธาตอุ าหารรอง โดยเฉพาะธาตุแมกนีเซยี มและธาตุสังกะสี ใหรีบ แกไขโดยการใหทางดิน หรอื การฉดี พน ทางใบกอ นการบงั คบั การออกดอก 3. กอนการบังคบั การออกดอก (ในระหวา งการเวน ใหน า้ํ หรอื การกกั น้ํา) ประมาณ 2 เดอื น ถา หากตนสม มใี บขนาดใหญม าก ใบหนาทึบ ใหฉดี พนปยุ ทางใบสตู ร 15-30-15 หรือ 10- 52-17 หรือ 0-52-34 อตั รา 50-60 กรมั ตอ นา้ํ 20 ลติ ร อยา งนอ ย 3-4 ครง้ั 4. บังคับใหตนแตกยอดออ นเปน ชดุ พรอ ม ๆกัน ในเดอื น ธนั วาคม ถงึ เดอื น มกราคม โดยการ ไมใหนํ้าแกต น สม \"เวน นา้ํ \" หรือ \"กกั น้ํา\" ในเดอื นตลุ าคม ถงึ เดอื น พฤศจิกายน ใหต น สม มี ลักษณะใบแกเ ตม็ ทแ่ี ละแสดงอาการขาดน้ําประมาณ 15-20 วัน จากนั้นจึง \"ขน้ึ น้าํ \" โดย การรดน้ําใหแ กต น สม อยา งเพยี งพอจนตน สม ฟน จากอาการขาดน้ํา 5. การใหปุยทางดนิ แกต น สม ตง้ั แตอ ายุ 3 ปเ ปน ตน ไป ควรพจิ ารณาความสมบรู ณข องตน สม ขนาดของใบ และผลของการวเิ คราะหด นิ เปน สาํ คญั ในสภาพทั่ว ๆ ไปใหใชปุยเคมี (สตู ร 15-15-15 หรือ 16-16-16) สลับกับปุยอินทรีย( ปุยหมักหรือปุยคอก) ทุก ๆ 2 เดอื น ยกเวนในฤดฝู นไมค วรใชป ยุ คอกทม่ี ไี นโตรเจน (N) สูง และหากใบสม มขี นาดใหญม าก อาจ มีความจาํ เปน ในการเลอื กใชป ยุ ทม่ี ธี าตฟุ อสฟอรสั (P) และธาตุโปรแตสเซียม (K) สงู สลบั แทนบาง (โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในดนิ ทเ่ี ปน กรด) 6. การขึ้นน้ําหรือบังคับใหตนสมผลิยอดออนในปลายเดือนธันวาคม ถึง ตนเดือนมกราคม สามารถใชปุยเคมหี รอื ปยุ อนิ ทรยี อ ยา งใดอยา งหนง่ึ ได ดอกสม ทไ่ี ดใ นเดอื นนจ้ี ะเปน ผลผลติ \"รุน 1\" ทเ่ี กบ็ ไดใ นเดอื นตลุ าคม หรือ พฤศจิกายน ในปถ ดั ไป 7. การผลติ สม โชกนุ รนุ ตรษุ จนี และรนุ สารท จนี 1.ปจ จยั ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การตดิ ผลของสม โชกนุ 1. อายกุ ารเกบ็ เกย่ี วของผลสม โชกนุ (หรือ สม สายนา้ํ ผึ้ง) เฉลย่ี 10-11 เดอื น 2. การผสมของดอกและผลของสม โชกนุ โดยธรรมชาตจิ ะมเี ปอรเ ซน็ ตค อ นขา งสงู 3. เพล้ียไฟจดั เปน ศตั รทู ม่ี คี วามสําคัญมากที่สุด และมผี ลตอ การตดิ ผลออ นของสม โชกนุ (รวมทั้ง สมสายพนั ธอ น่ื ) 4. การรบกวนการผสมเกสรของดอกสม โชกุน (รวมทง้ั สม ชนดิ อน่ื ๆ) ในวนั ดอกสม บานทจ่ี ดั เปน สาเหตุสําคัญที่ทําใหด อกสม และผลออ น (ภายหลังจากดอกบาน) รว ง ไดแก 4.1ฝนตกในวันดอกสม บาน (โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในเวลาเชา ) 4.2รดน้ําหรอื มกี ารใหน า้ํ (อยา งมาก) แกต น สม ในระยะดอกบาน 4.3ฉีดพนสารเคมเี กษตรแกต น สม ในระยะดอกบาน 4.4อากาศรอ นจดั (อุณหภมู สิ ูงเกิน 37-38 C) และความชืน้ สมั พัทธต า่ํ มาก 4.5ดอกสมไมส มบรู ณแ ขง็ แรง ขนาดดอกเลก็ กลบี สน้ั สขี าวหมน หรอื คลา้ํ

4.6การทาํ ลายของเพลย้ี ไฟโดยการดดู น้าํ เลย้ี งทด่ี อกตมู และดอกบาน 5. ตนสมมีสภาพไมสมบูรณเพราะเปนโรคกรีนนิ่ง โรคทริสเตซา โรครากเนา และโรคโคนเนา โรคขาดธาตอุ าหาร มกั ออกดอกจาํ นวนมาก แตต ดิ ผลนอ ยหรอื ผลรว งกอ นกาํ หนดงา ย 6. ตนสมที่ทรงพมุ ทึบมาก ใบมขี นาดใหญผ ดิ ปกติ มกี ารแตกกง่ิ กา นยาวและเปน กง่ิ กระโดง ลักษณะเปนเหลย่ี ม มหี นามมาก จะออกดอกยากและจาํ นวนดอกตอ ตน นอ ยผลสม มกั มี ขนาดใหญเกนิ ไป ผลมนี า้ํ หนักเบา เปลอื กหนา เนอ้ื นอ ยและมรี สจดื 7. ตนสมท่ีปลูกลึกและคอนขางลึก และมีระบบรากฝอยไมสมบรู ณแ ขง็ แรง จาํ นวนรากนอ ย หรืออยูคอนขางลึกจากผิวดิน มักแสดงอาการขาดธาตุอาหารไดงายและบอยทําใหตนสม อาจติดผลนอ ยหรอื ผลสม มขี นาดเลก็ กวา ปกติ 2. วธิ กี ารบงั คบั การออกดอกรนุ ตรษุ จนี 1. ตัดแตงกง่ิ กระโดงภายในทรงพมุ กิ่งแหง กง่ิ เปน โรคหรอื มแี มลงทาํ ลาย ทันทีภายหลังจาก การเก็บเกี่ยวเสร็จ ในเดอื นมกราคม ถึง เดอื นกภุ าพนั ธุ 2. ตัด/ดาย หรือควบคุมวัชพืช ใหเสร็จเรียบรอย ภายในเดือน มกราคม-กุมภาพันธ โดยทํา พรอ มๆ กับการ \"เวน นา้ํ \" หรือ \"กกั น้ํา\" ตน สม 3. ควรใสปุยอินทรยี บ รเิ วณรอบทรงพมุ ในปลายเดอื ดมนี าคม ถงึ เดอื นเมษายน 4. สภาพตนสม กอ นหรอื ระหวา งการกกั น้ํา ควรมีใบแก 2 ชุด โดยไมม กี ารผลยิ อดออ นชดุ ใหม จึงจะทาํ ใหตน สม มกี ารสะสมอาหารเพยี งพอตอ การออกดอก 5. ตนสมที่ไมมีผลสม (รนุ รอ ง)บนตน ใหร ดนา้ํ แบบเวน นา้ํ คอื \"ไมเหี่ยวและไมแตก\" สว นตน ท่ี มีมีผลสม บนตน ให \"กกั น้ํา\" โดยใหตนมีภาพตนเหี่ยว 6. เม่ือตนสม มใี บแกเ ตม็ ทแ่ี ละ/หรือ แสดงอาการขาดน้าํ (เลก็ นอ ย) ให \"ขน้ึ น้าํ \" โดยการใสปุย และรดนํ้าใหแ กต น สม เพอ่ื บงั คบั ใหผ ลยิ อดและใบออ น ภายในเดอื นมนี าคม หรอื อยา งชา ไม เกนิ เดอื นพฤษภาคม 7. การ \"ข้ึนนา้ํ \" อาจเลอื กใสป ยุ เคมี (สตู รเสมอ) หรอื ปยุ คอกใหแ กต น สม และรดนา้ํ ใหอ ยาง เพียงพอสม่าํ เสมอดอกสม จะบานในราวสปั ดาหท ่ี 3-สัปดาหที่ 4ของการใหน า้ํ 8. ดูแลรักษาใบสม ชดุ นอ้ี ยา ใหเ กดิ ความเสยี หายเนอ่ื งจากการทําลายของเพลย้ี ไฟ หนอนชอนใบ และโรคแคงเกอรใ บสม ชดุ นต้ี อ งสมบรู ณไ มแ สดงอาการขาดธาตาุ หาร 9. หากตนสมผลิยอดออ นพรอ มดอกสม ไดใ นเดอื นมนี าคม ถึง เดอื น พฤษภาคม จะเปนผลผลิต ท่ีสามารถเก็บเก่ียวไดใ นปลายเดอื นกมุ ภาพนั ธ ถงึ ตน เดอื นเมษายน ซง่ึ ตลาดมคี วามตอ งการ มาก และเปน ชว งเวลาทไ่ี มม ผี ลไมช นดิ อน่ื ๆ นอ ย 3. วธิ กี ารบงั คบั การออกดอกรนุ สารท จนี 1. ตนสมทส่ี ามารถบงั คบั การออกดอกรนุ สารท จนั ได ตอ งมผี ลสม รนุ ท่ี 1 (สม ป) อยูจาํ นวน นอยหรือไมมีผลสม รุน 1 2. ตองเปนตนสม ทม่ี กี ารแตกยอดออ นจํานวนมาก (หรอื ยอดออ นพรอ มดอก) เมอ่ื เดอื น พฤษภาคม ถึง เดอื น มถิ นุ ายน

3. ตองมีการบังคับใหตน สม แตกยอดออ น ระหวา งปลายเดอื น กรกฎาคมถงึ ปลายเดอื น สงิ หาคม 4. สภาพตนสม กอ นหรอื ระหวา งการกกั น้ํา ควรมีใบแก 2 ชุด โดยไมม กี ารผลยิ อดออ นชดุ ใหม จึงจะทาํ ใหต น สม มกี ารสะสมอาหารเพยี งพอตอ การออกดอก 5. การควบคมุ ใหต น สม แตกใบออ นจะใชว ธิ กี าร \"กกั น้ํา\" และการฉีดพนปุยที่มีคา P สูง 6. เม่ือตนสม มใี บแกเ ตม็ ท่ี และ/หรือ แสดงอาการขาดน้าํ (เลก็ นอ ย) ให \"ขน้ึ น้าํ \" โดยการใส ปุยและรดนา้ํ ใหแกตนสม เพอ่ื บงั คบั ใหต น สม ผลยิ อดและดอก ภายในปลายเดอื น กันยายน หรืออยา งชา ไมเ กนิ ตน เดอื นพฤศจกิ ายน 7. การ \"ข้ึนนา้ํ \" อาจเลอื กใสป ยุ เคมี(สตู รเสมอหรอื ตวั ทา ยสงู )ใหแ กตน สม และรดนา้ํ ใหเพียงพอ อยางสม่ําเสมอดอกสม จะบานในราวสปั ดาหท ่3ี -สัปดาหที่4ของการขน้ึ นา้ํ 8. ดูแลรักษาใบสม ชดุ นอ้ี ยา ใหเ กดิ ความเสยี หายเนอ่ื งจากการทําลายของ เพลี้ยไฟ หนอนชอน ใบ และโรคแคงเกอร ใบสม ชดุ นต้ี อ งสมบรู ณไ มแ สดงอาการขาดธาตอุ าหาร 9. หากตนสมผลิยอดออ นพรอ มดอกสม ไดใ นเดอื นตลุ าคมถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน จะเปนผลผลิต ท่ีสามารถเก็บเก่ียวไดใ นเดอื นสงิ หาคม ถงึ ตน เดอื น กันยายน ซง่ึ ตลาดมคี วามตอ งการมาก เน่ืองจากเปน ชว งเวลาของเทศกาลสารท จนี และไหวพ ระจนั ทร 4. การรกั ษาคณุ ภาพทด่ี ขี องผลสม โชกนุ 1. ระมัดระวังการทําลายของเพลย้ี ไฟตง้ั แตร ะยะเรม่ิ ผลดอก ระยะดอกออ น - ดอกตมู -กลบี ดอกโรย ถงึ ระยะผลออ นอายุ 2 เดอื น 2. ระวังการทาํ ลายของโรคสแค็บเมอ่ื ผลสม มอี ายุ 2.5-3.5 เดอื น 3. ระวังการทาํ ลายของไรแดง ไรเหลอื งสม ตง้ั แตผ ลออ นอายุ 2 - 4 เดอื น 4. ระวังการทาํ ลายของโรคแคงเกอรเ มอ่ื ผลสม มอี าย3ุ .5-5 เดอื น(โดยเฉพาะในฤดูฝน) 5. ระวังการทาํ ลายของไรแดง ไรสนมิ เมอ่ื ผลสม มอี ายุ 7-9 เดอื น 6. อยาปลอ ยใหผ ลสม ตดิ ผลมากเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหผ ลสม ตดิ ผลมากเกนิ ไป เพราะจะทาํ ให ผลสมมีขนาดเลก็ และขนาดผลไมส ม่ําเสมอ (ไมม เี บอร) จาํ นวนผลสม ตอ ตน ควรเหมาะสม กีบขนาดและอายขุ องตน สม 7. ใหปุยหรือธาตุอาหารแกต นสม และผลสม ตง้ั แตร ะยะเรม่ิ ผลยิ อดถงึ กอ นการเกบ็ เกย่ี วอยา ง นอ ย 6 ครง้ั คอื 7.1 เร่ิมผลยิ อดออ น 7.2 ผลสม อายุ 1- 1.5 เดอื น 7.3 ผลสม อายุ 2.5 - 3 เดอื น 7.4 ผลสม อายุ 4 - 6 เดอื น 7.5 ผลสม อายุ 7 - 8 เดอื น 7.6 กอ นการเกบ็ 45 - 50 วัน 8. ผลสม ทม่ี ขี นาดใหญแ ตน า้ํ หนักเบาและกากหยาบ มกั เกดิ การไดร บั ธาตอุ าหารไมส มดลุ เชน ได รับธาตไุ นโตรเจน (N) มาก โดยไดร บั ธาตอุ น่ื ๆ ไมเพียงพอ โดยเฉพาะธาตุโปรแตสเซียม (K)

และธาตแุ มกนีเซยี ม (Mg) ผลสมทม่ี รี สขมมกั เกดิ การฉดี พน สารประกอบ คอปเปอรบ อ ยครง้ั หรือจาํ นวนมากเกนิ ไปเมอ่ื ผลสม แกใ กลเ กบ็ เกย่ี ว 8. \"รนุ \" ของสม โชกนุ รุน ผลยิ อด/ดอกบาน เดอื นทเ่ี กบ็ เกย่ี ว 1 (สม ป) ธ.ค. - ม.ค./ ม.ค. - ก.พ. ธ.ค. - ม.ค. 2 (สม ตรษุ จนี ) มี.ค. - พ.ค./ เม.ย. ก.พ. - มี.ค. 3 (สมเชงเม็ง) พ.ค./ม.ิ ย. ม.ี ค. - เม.ย. 4 (สมสารทจนี ) ต.ค./พ.ย. ส.ค. - ก.ย. 9. สาเหตขุ องการแตกของผลสม โชกนุ และการแกไ ข การแตกของผลสม 1. เกิดเมอ่ื ผลสม อายุ 5-7 เดอื น และเกดิ กบั สม รนุ 1 2. เกิดมากในระหวา งเดอื น กรกฎาคม-สงิ หาคม 3. เกิดมากในแปลงปลกุ ทม่ี สี ภาพดนิ เปน ดนิ เหนยี ว 4. เกิดกับตน สม ทป่ี ลกู จากง่ิ ตอนมากกวา สม ตน ตอ 5. เกดิ มากกบั แปลงปลกู ทร่ี าบไมย กแนวรอ งปลกู สาเหตขุ องการแตก 1. ผลสม ไดร บั นา้ํ (ฝน)จาํ นวนมากเกนิ ความตอ งการ 2. เปลืองของผลสม บางมาก 3. เปลือกของผลสม ดา นกน ผลบางกวา ดา นขว้ั ผล 4. ผลสมมีแผลซง่ึ เกดิ จากการทําลายของโรค/แมลง 5. ตน สม อยใู นสภาพซง่ึ ผา นภาวะเครยี ดน้ํา การปองกันแกไข 1. ควรใสปุยหมัก/ปุยคอกภายหลังจากการเก็บสมรุน 1 หมด 2. การใสป ยุ เคมใี นเดอื น ม.ค./ก.พ./มี.ค./เม.ย. ควรใช สตู ร 4:1:1 3. ควรใหธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม เพม่ิ ขน้ึ ในระยะผลออ น 4. ปองกันโรคสแค็บและแคงเคอร เมอ่ื อายผุ ล 2.5และ5เดอื น 5. ปองการการําทลายของ มวนเขยี ว บนผลอายุ 4-6 เดอื น 6. หามตัดหรือดายหญา จนเตียน ในชว งปลายเดอื น ก.ค.-ส.ค. 7. ควรใหน ้าํ อยา งสมา่ํ เสมอ ในชว งอายผุ ล 2-6 เดอื น 8. ควรเลือกปลกู สม โดยใชต น ตอใหเ หมาะสมกบั ดนิ /ชนดิ สม 9. ควรฉดี พน ปโตรเลย่ี ใมออย/ไวทออยในชว งอายผุ ล4-6เดอื น 10. หากใหป ยุ ทางใบในระยะผลออ น ควรใชส ตู ร 2:1:1-6:1:1 จดั ทําเอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร