Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม1

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม1

Description: ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม1.

Search

Read the Text Version

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 1 Flight หรือ ใบ ส่วนใหญ่ผลิตมาจากโพลีเอสเตอร์ บางชนิดก็ทำจาก โพลิเมอร์ หรือขนนก จะไม่ค่อยเป็นท่ีนิยมเท่าไร ขนาดและความกว้างของใบ จะมีส่วนช่วยในการ ทรงตัวของลกู ดอกเวลาพ่งุ แหวกในอากาศ ขณะที่ลกู ดอกจะพงุ่ ไปยังเป้าของกระดานท่ีเรา เล็งเอาไว้ แต่ถ้าถอดใบออกจากก้านจะเห็นความแตกต่างของการพุงไปยังกระดานปาเป้า อย่างเหน็ ได้ชดั คอื ไมม่ แี รงต้าน ลกุ ดอกจะพงุ่ ไดไ้ มไ่ กล - ความสว่างของแสงบริเวณทต่ี ิดตัง้ กระดานปาเป้าที่เหมาะสม 1600LM (100 วัตต์) - ความสว่างของแสงบรเิ วณทต่ี ิดตั้งกระดานปาเป้าบนเวทีที่เหมาะสม 1600LM (100 วัตต)์ - แสงสว่างต้องไมส่ ะทอ้ นหรอื หนั เข้าหาผแู้ ขง่ ขนั ที่ยนื ปาอุณหภูมิของสถานทจี่ ัด แข่ง ควรอย่รู ะหว่าง 20 องศาเซลเซียสถงึ 26 องศาเซลเซยี ส 345

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 - มีเวทีสำหรับการแข่งขนั รองรองชนะเลศิ และชงิ ชนะเลศิ เพอื่ ถ่ายทอดสด Live Streaming ผ่านทาง Facebook และใช้สำหรับพธิ มี อบรางวัล - บนเวทีมีผจู้ ดแต้ม (ผ้ตู ดั สิน) และผูข้ านแต้ม (ผตู้ ดั สิน) ผจู้ ดแตม้ ผขู้ านแตม้ 346

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 1 เครื่องแต่งกาย (Playing Attire) - ห้ามผแู้ ขง่ ขันสวมใสย่ ีนส์ในการแขง่ ขนั ไมว่ า่ จะเป็น กางเกง หรือกระโปรงทีต่ ดั เย็บจากยีนสห์ รอื ลูกฟกู ที่ตดั เย็บตามสไตลแ์ บบยีนส์ หา้ มใสร่ องเท้าแตะ รองเท้าไม่หมุ้ ส้น เว้นแต่มีใบรับรองทางการแพทย์ หา้ มใสช่ ุดสทู ในการแขง่ ขัน - ผู้แขง่ ขนั สามารถใส่ผ้ารดั ข้อมือทอี่ อกแบบมาเพื่อซับเหงอื่ ได้ - ห้ามสวมหมวกหรอื หูฟังโทรศพั ทใ์ นการแข่งขัน ยกเวน้ เคร่อื งแตง่ กายและปก คลมุ ตามศาสนา หรอื เครือ่ งช่วยฟังทางการแพทย์ ผฝู้ ่าฝนื จะได้รบั การตักเตือนให้ปฏบิ ัติ ตาม - ผูแ้ ขง่ ขันจะไมส่ วมส่งิ ใดครอบคลุมเส้ือทใ่ี ส่แข่งขนั ในระหวา่ งการแข่งขนั การให้ สมั ภาษณ์ การรบั รางวัล ทง้ั นีใ้ ห้อยู่ในดุลยพนิ จิ ของผ฿จดั การแขง่ ขนั - เครอ่ื งแต่งกายของผู้เข้าแข่งขันต้องผา่ นการพจิ ารณาจากคณะผูจ้ ดั การแข่งขนั หากมมี ตไิ มเ่ หน็ ชอบไม่ผา่ นการพิจารณาผู้แขง่ ขันต้องเปลยี่ นเครอื่ งแตง่ กายกอ่ นเรม่ิ แขง่ ขัน หรือกอ่ นการสัมภาษณ์ หรือกอ่ นการแนะนำตัว - ผู้แข่งขนั ที่ปฏเิ สธการพิจารณาเหน็ ชอบเรื่องเคร่ืองแตง่ กายจากคณะผจู้ ัดการ แข่งขนั จะถูกพจิ ารณาปรับแพใ้ นการแขง่ ขัน 347

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 กฬี าดำน้ำ มาตรฐานสนามแข่งขนั และอปุ กรณก์ ฬี า 1. สนามแขง่ ขัน สำหรับรายการชิงแชมปข์ อง CMAS สระจะตอ้ งมีสภาพดงั นี้ 1.1 มคี วามยาว 50 เมตร 1.2 มีความกว้างต่ำสุด 21 เมตร 1.3 มีความลึก ขน้ั ตำ่ ท่ี 1.80 เมตร 1.4 แทน่ สตาร์ทต้องตดิ ต้งั ทีป่ ลายท้ังสองขา้ งของสระ 1.5 ลูว่ า่ ยต้องมคี วามกวา้ งอยา่ งน้อย 2.5 เมตร และช่องวา่ งอยา่ งน้อย 2 ช่อง ถดั จากลแู่ รกและลสู่ ดุ ท้ายโดยกว้างลูล่ ะ 0.2 เมตร โดยจะตอ้ งมลี วู่ ่ายอยา่ งน้อย 8 ลู่ 1.6 แท่นปล่อยตัวจะต้องติดตรึงอย่างแน่นหนาและไม่ใช้สปริงบอร์ด ความสูงของแท่นปล่อยตัวจะต้องอยู่เหนือผิวน้ำระหว่าง 0.5 เมตร – 0.75 เมตร หน้า กว้างจะต้องมีขนาดอย่างน้อย 0.5 x 0.5 เมตร และปูด้วยวัสดุกันลื่น ความลาดชันอย่าง มากไมค่ วรเกนิ 10 องศา แท่นปลอ่ ยตวั จะต้องตดิ ตงั้ ที่ปลายทัง้ สองด้านของสระ 1.7 เครื่องหมายแบ่งลู่จะต้องเป็นสีเข้มที่ตัดกับขอบสระ เครื่องหมาย ประจำลู่ใต้ท้องสระที่อยู่ตรงกลางลู่จะต้องมีความกว้างอย่างน้อย 0.2 เมตร และไม่เกิน 0.3 เมตร และต้องมีความยาวอย่างน้อย 46 เมตร สำหรับสระที่มีความยาว 50 เมตร เครื่องหมายประจำลู่จะต้องสิ้นสุดโดยห่างจากผนังสระ 2.0 เมตร โดยกำหนดให้มีเส้นต้ัง ฉากที่สังเกตุได้ชัดเจนที่ความยาว 1 เมตร และมีความกว้างเท่ากับเส้นประจำลู่ เส้นชัย จะต้องจัดวางไว้ที่ปลายผนังหรือที่แผ่นสัมผัส บริเวณกลางลู่ และมีความกว้างเท่ากับ เส้นประจำลู่ โดยจะต้องขยายยาวอย่างต่อเนื่องจากขอบไปยังก้นสระ เส้นฉากขนาด 0.5 เมตร จะต้องอยใู่ นตำแหนง่ 0.3 เมตร ใตผ้ วิ น้ำ วดั จากตรงกลางเส้นฉาก 1.8 พื้นท่ี 15 เมตร ดังกล่าว จะกำหนดโดยแถบกว้าง 20 ซม. บนพื้น สระน้ำ มีความห่าง 15 เมตร จากแต่ละปลายของจุดปล่อยตัวและจุดกลับตัว รวมทั้งมี เครื่องหมายในตำแหนง่ เดียวกนั หนงึ่ เมตรเหนอื ระดับผวิ น้ำ 348

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 1.9 ในการแข่งขันระดับนานาชาติ ไม่อนุญาตให้สูบบุหรี่ในพื้นที่ซ่ึง กำหนดไว้สำหรับนกั กฬี าไมว่ า่ กอ่ นหรือในระหว่างการแขง่ ขัน 2. อุปกรณ์และขอ้ จำกัด 2.1 อุปกรณท์ ีไ่ ดร้ บั อนุญาตในสระว่ายน้ำ และนา่ นน้ำเปดิ สำหรบั การแข่งขันกีฬา ดำน้ำ Surface Finswimming (SF) ดำนำ้ บนผวิ น้ำ, Apnoea Finswimming (AP) ดำนำ้ แบบกลั้นหายใจ และ Immersion Finswimming (IM) ดำใต้น้ำพร้อมเครื่องช่วยหายใจ แบบอดั อากาศ - Fins มีสว่ นประกอบของใบครบี และส่วนที่สวมเท้า - อนญุ าตให้ใช้ Bi-Fins ไดโ้ ดยไม่มีข้อจำกดั เก่ยี วกับขนาดและวัสดุ - Monofin (รูปท่ี 1) - ไมม่ ีข้อจำกดั ตอ่ วสั ดทุ ่ีใช้ - Monofin สามารถลอยน้ำได้ - ขนาดสูงสุดของ Monofin: ความยาว 760 มม. กว้าง 760 มม. สงู 150 มม. - ความกว้างจะวดั จากซา้ ยไปขวาของใบครบี - ความยาวจะวดั ระหวา่ งจุด A และ B (ดงั รปู ) - ความสงู จะต้องไม่เกนิ 150 มม. 349

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 - ท่สี วมเทา้ ตอ้ งไมส่ ร้างใหน้ กั ดำนำ้ มีแรงชว่ ยเพิ่ม และจะตอ้ งไม่ มสี ปริงหรอื อุปกรณใ์ ดๆ ควบเขา้ ไว้ในท่สี วมเทา้ - ที่สวมเท้าจะต้องมั่นใจว่ามีความมั่นคงต่อนักดำน้ำขณะที่ข้ึน บนแท่น Start - ห้ามมิให้มีสกรูใต้ Monofin อย่างเด็ดขาด ยกเว้นเมื่อมีสิ่ง ป้องกันทหี่ นาเพยี งพอ รูปที่ 1 Monofin ภาพ Monofin ทใ่ี ชใ้ นการแขง่ ขัน 2.2 อุปกรณ์ที่ได้รับอนุญาตในสระว่ายน้ำและน่านน้ำเปิดสำหรับการแข่งขันดำ นำ้ Bi-Fins Finswimming ดำนำ้ แบบตบี กบคู่ - Bi-fins (ตีนกบคู่) ทั้งหมดจะต้องได้รับการรับรองโดย สหพันธ์ดำน้ำ โลก (CMAS) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมท่ี Appendix 1 List 2019 of approved Bi-Fins CMAS V3 - เกณฑ์ในการรับรอง Bi-fins 350

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 1 - มจี ำหนา่ ยตามท้องตลาดและจำนวนกระจา่ ยอย่ทู วั่ ไป - ขนาดสูงสดุ - Bi-fins (ตีบกบค)ู่ แบบ Classic (รูปที่ 2) ยาว : 670 มม. กวา้ ง: 225 มม. รูปที่ 2 Bi-fins (Classical Model) - วัสดเุ ฉพาะ - Polypropylene (P.P.) - EVA - วสั ดุใหม่ท้งั หมดตอ้ งส่งไปขออนุมัติ - ผู้ผลติ อาจพมิ พต์ ราสัญลกั ษณ์ CMAS ที่ส่วนบนหากได้รบั การ รับรองแลว้ - Bi-Fins ทไี่ ดร้ บั การรับรองแล้ว จะตอ้ ง - มีส่วนร่วมในการแข่งขัน CMAS Championship, World Cup และการแข่งขันระดับนานาชาติ - รบั รองสถิตกิ ับ Bi-fins - ขนาดของ Bi-Fins จะตอ้ งสามารถอา่ นไดแ้ ละตรวจสอบได้ - การรบั รองจะตอ้ งต่ออายใุ หม่ทกุ ๆ 2 ปี - คา่ รบั รองรวมถึง - สิทธ์ิทจ่ี ะตอ้ งเป็นผสู้ นับสนุนในเวป็ ไซต์ของ CMAS - โฆษณาฟรีในเว็ปไซต์ของ CMAS และพื้นที่ที่สงวนไว้ สำหรับ Finswimming 351

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 1 - หากผู้ผลิตหยุดการผลิต Bi-Fins จะได้รับการรับรองจนกว่า จะสิน้ สดุ ปถี ดั จากปที ี่หยดุ - ราคาในการรับรองดงั กล่าว ตัดสินใจโดย BOD ของ CMAS - ห้ามติดปุ่มใดๆ หรือใช้วัสดุที่แตกต่างกันกับ Fins เพื่อแก้ไข ประสิทธิภาพ - Fins ทผี่ ่านการรับรองจะตอ้ งสอดคลอ้ งในขณะท่ีจำหน่าย (เช่นการตดั และแปะเสรมิ ดา้ นหลังของ Fins) - หา้ มใสว่ สั ดุใดๆลงไปในทห่ี ุ้มเทา้ - ในการยดึ Bi-Fins กับขอ้ เทา้ โดยสามทศิ ทาง (ฝ่าเทา้ , ขอ้ เท้าด้านหน้า และข้อเท้าด้านหลัง) สามารถใช้ยางที่เป็นผู้ผลิตรายเดิม และมีจำหน่ายตามท้องตลาด กระจายอยู่ทั่วไป (ตามรูปท่ี 3) ห้ามใช้รองเท้าบูธใดๆ ก็ตามที่มีความยาว “a” (ตามรูปที่ 4) ใหใ้ ช้ถงุ ปลายเทา้ เทยี มหรือพลาสติกท่ีอนุญาต (ตามรปู ท่ี 5) รูปท่ี 3 รูปที่ 4 รปู ที่ 5 - อปุ กรณอ์ ื่นๆ ทีอ่ นุญาตในสระว่ายนำ้ และนา่ นน้ำเปดิ - แว่นกันน้ำหรือหน้ากากเฉพาะเพื่อป้องกันดวงตาและปรับปรุง วสิ ยั ทัศนใ์ นนำ้ 352

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 ภาพ: แวน่ กันน้ำทใ่ี ช้ในการแขง่ ขนั - สำหรับการแข่งขัน Surface Finswimming (SF), แข่งในน่านน้ำเปิด และแข่ง Bi-Fins ใช้ Snorkels (ท่อหายใจ) สำหรับการหายใจเท่านั้นและไม่มีโครงสร้าง ภายนอก (ตามรูปที่ 6) อนุญาตให้ใช้ท่ออากาศกลมพร้อมเส้นผ่านศูนย์กลางด้านในขั้นต่ำ 15 มม. เส้นผ่านศูนย์กลางด้านในสูงสุด 23 มม. และความยาวขั้นต่ำ 430 มม. (43 ซม.) ความยาวสูงสุด 480 มม. (48 ซม.) ปลายด้านบนของ Snorkels อาจตัดแบบเฉียงหรือ แบบตรงตามขวางโดยรอบ โดยจะวดั จากภายในทอ่ ถงึ จดุ ยาวสุดของทา่ อากาศ รูปที่ 6 ภาพ: ตลบั เมตรจ๋วิ ใช้วัดความยาวของ Snorkels 353

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 1 - แว่นกันน้ำ หน้ากาก และท่ออากาศจะต้องไม่มีส่วนใดๆ เพ่ือ วัตถปุ ระสงคใ์ ดนอกจากหนา้ ที่ใชง้ านทีร่ ะบบไุ วข้ ้างต้น - Immersion Finswimming (IM)เป็นการดำนำ้ Finswimming แบบใต้ น้ำพรอ้ มอปุ กรณเ์ ครือ่ งช่วยหายใจ - อนุญาตให้ใช้อากาศอัดที่อัดเข้าโดยไม่มีการผสมก๊าซ ออ๊ กซิเจน - สำหรับการแข่งขันในสระว่ายน้ำ ปริมาณต่ำสุดของถังอากาศ อดั (ขวด) คอื 0.4 ลติ ร (ศูนยจ์ ดุ สี่ลติ ร) - ความดันสูงสุดที่ป้อนสำหรับถังอากาศไม่เกิน 200 บาร์ (20 MPa) - หากใช้ถงั แบบก้นแบน อนุญาต ให้เพมิ่ ฐานก้นเป็นแบบโค้งมน ได้ แต่ตอ้ งไม่เกินรศั มขี องถัง - ถังท้ังหมดที่ใช้ต้องผ่านการอัดน้ำทดสอบไม่น้อยกว่า 2 ปี กอ่ นการแขง่ ขนั หรือ ไม่ก็ไม่นอ้ ยไปกวา่ ขอ้ บงั คับภายในแต่ละประเทศ - ถังอากาศแต่ละถังจะต้องไม่มีการอัดอากาศก่อนการ ตรวจสอบในการประชุมกอ่ นการแขง่ ขนั ภาพ: อุปกรณใ์ นการแข่งขัน Immersion Finswimming (IM) 354

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 - อุปกรณเ์ สริมอน่ื ๆ - นักกีฬาดำน้ำต้องสวมชุดอย่างเหมาะสม สำหรับนักกีฬาชายให้ใส่ กางเกงดำน้ำสั้น (รูปที่ 7) สำหรับชุดดำน้ำผู้หญิงปกติ (รูปที่ 8) หรือชุดว่ายน้ำธรรมดา สองชิ้น (รูปที่ 9) อนุญาตให้ใช้ชุดดำน้ำแข่งขันได้ (แบบเต็มตัว) หรือกางเกง (รูปที่ 10) และชุดขาสัน้ ถงึ เขา่ หรือกางเกง (สามส่วน) (รปู ที่ 11) รูปที่ 7 รูปที่ 8 รูปที่ 9 รูปที่ 10 รูปที่ 11 - สำหรับในการแข่งขันในน่านน้ำเปิด ชุดดำน้ำที่กล่าวข้างต้น อาจใช้ กางเกงขายาวและชุดชิ้นเดียวหรือสองชิ้น ไม่อนุญาตให้ใช้ชุดว่ายน้ำแบบยาวหรือ กระโปรงยาว (ขยายพน้ื ท่ีผิวของนกั ดำนำ้ ) ไม่อนญุ าตใหใ้ ชอ้ ปุ กรณเ์ สรมิ อน่ื ๆ หรืออปุ กรณ์ พยุงในกรณใื ดๆ 355

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 - อนุญาตให้ใช้หมวกว่ายนำ้ 1 หรือ 2 ชดุ - อนุญาตให้ใส่คำขวัญโฆษณาบน Fins และ ถังอากาศในระหว่างการ แข่งขันระดับนานาชาติ และชิงแชมป์ระดับนานาชาติได้โดยไม่มีข้อจำกัด คำขวัญโฆษณา ต้องยอมรับได้ในนักดำน้ำ อย่างไรก็ตามต้องเน้นย้ำว่าในระหว่างการแข่งขันระดับ นานาชาตินักกีฬาดำน้ำจะต้องแสดงตนในพิธีต่างๆ (เช่นมอบเหรียญรางวัล) ในชุดที่เป็น ทางการของทมี ชาติเท่านน้ั - นักกีฬาที่ใช้อุปกรณ์ไม่ตรงตามกติกา จะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าจุด ปล่อยตวั หากหลงั จากจบการแขง่ ขัน พบวา่ อปุ กรณผ์ ดิ ปกตนิ กั กฬี าจะถกู ตดั สทิ ธ์ิ - อุปกรณ์ใหม่จะต้องมีสิ่งแสดงตามข้อตกลงต่อคณะกรรมการ Finswimming และตอ้ งได้รับอนมุ ตั ิจาก BOD ก่อนทจ่ี ะใช้ในการแข่งขัน 356

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 กฬี าเบสบอล มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณ์กฬี า สนามแข่งขนั 1. สนามแข่งขันจะมีลักษณะคล้ายกับรูปเพชรตามรายละเอียดและภาพของ สนาม 2. ขนาดสนามด้านในเป็นรูปสีเหลี่ยมจัตุรัสและมีขนาด 90 x 90 ฟุต สนามด้าน นอกจะเป็นพื้นทรี่ ะหวา่ งเสน้ ฟาล์ว ทง้ั สองเส้นท่ียื่นออกไปดังภาพของสนาม 3. ระยะทางจากโฮมเพลตเป็นเขตสมมติของพื้นที่เหนือโฮมเพลตดังกล่าว ถึงรั้ว สนามอัฒจรรย์ หรือสิ่งกีดขวางอื่นๆ ในเขตตีภายในสนามแข่งขันที่ใกล้ที่สุดไม่น้อยกว่า 250 ฟตุ หรือมากกวา่ โดยระยะระหว่าง 320 - 400 ฟตุ จะมคี วามเหมาะสมท่สี ดุ สนามแข่งขัน 4. สนามด้านในมีความลาดเอียง แต่เส้นระหว่างจุดแตล่ ะจุดท้ัง 4 จดุ ทผ่ี เู้ ลน่ ฝ่าย รกุ จะเขา้ ครอบครองและแผ่นยางหัวห้าเหลย่ี มต้องอยใู่ นระดบั เดยี วกัน ทัง้ น้จี ดุ ทผี่ เู้ ลน่ ฝา่ ย รบั ใชเ้ ปน็ จดุ ส่งลูกไปยงั ผ้เู ล่นฝา่ ยรกุ ตอ้ งมคี วามสูงมากกวา่ จุดของแผน่ หวั หา้ เหลี่ยมเท่ากับ 10 นิ้ว และมีความลาดเอียงของระยะ 6 นิ้วทางด้านหน้าของแผ่นยางหัวห้าเหลี่ยมมี อัตราส่วนเท่ากับ 1 นิ้ว ทุกระยะ 1 ฟุต โดยความลาดเอียงน้ี ต้องมีความสมํ่าเสมอกัน บรเิ วณของผูเ้ ลน่ ในเขตสนามเขตตีภายในสนามแข่งขันซ่ึงอยรู่ ะหวา่ งแผ่นยางหัวห้าเหลี่ยม กับฐานท่ี 1 และฐานที่ 3 ของผู้เล่นฝ่ายรุกจะเข้าครอบครอง พื้นที่อกเหนือไปจากนี้ ส่วน 357

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 ของสนามแข่งขันที่อยู่นอกฐานที่ 1 และฐานที่ 3 ยาวต่อไปถึงรั้วสนามและแนวตั้งฉากขึ้น ไปในอากาศ 5. การออกแบบสนามจากแผ่นยางหัวห้าเหลี่ยมไปยังจุดที่ผู้เล่นฝ่ายรับใช้เป็นจุด ส่งลูกไปยังผู้เล่นฝ่ายรุกไกลออกไปถึงฐานท่ี 2 นั้นควรอยู่ในทิศตะวันออก หรือทิศ ตะวันออกเฉยี งเหนือ 6. มีข้อแนะนำว่าระยะจากแผ่นยางหัวห้าเหลี่ยมถึงขอบสนามทางด้านหลังของ จุดที่ผู้เล่นฝ่ายรุกเข้าเล่นลูก และจากเส้นของฐานทุกจุดถึงรั้วสนาม อัฒจรรย์และสิ่งกีด ขวางอ่ืนๆ ที่ใกล้ทีส่ ุดจะต้องไม่น้อยกว่า 60 ฟุต จากส่วนของสนามแข่งขันที่อยู่นอกฐานท่ี 1 และฐานที่ 3 ยาวตอ่ ไปถงึ ร้วั สนามและแนวตง้ั ฉากขึน้ ในอากาศ 7. ภายหลังการกำหนดจุดวางโฮมเพลตแล้วนั้น การวัดระยะพื้นกำหนดกำหนด พื้นที่ในการวางฐานที่ 2 นั้น เมื่อวัดโดยสายวัดระยะโลหะแล้ว ต้องมีขนาดเท่ากับ 127 ฟุต 3 เศษส่วน 8 นิ้ว ในขณะที่ระยะห่างระหว่างฐานแต่ละจุดเรียงกันไปตามเส้นขอบ สนามจะเท่ากบั 90 ฟตุ 8. บริเวณที่ผู้เล่นตำแหน่งแคชเชอร์ จะต้องยืนอยู่จนกว่าผู้เล่นตำแหน่งพิชเชอร์ จะเริ่มขว้างลูก บริเวณที่ผู้เล่นฝ่ายรุกเข้ามายืนตี บริเวณของผู้ฝึกสอนของผู้เล่นฝ่ายรุกข้า ไปปฏิบัตหิ น้าที่ในสนาม เส้นระยะ 3 ฟุต ในด้านฐานที่ และบริเวณทีผ่ เู้ ล่นฝ่ายรุกคนตอ่ ไป พกั รอเพ่ือคอยเขา้ เลน่ หมายเหตุ Batter s box บรเิ วณทีผ่ เู้ ล่นฝ่ายรกุ เขา้ มายนื เพอื่ รอรับตี ลูกบอล Base ฐาน Catcher s box บรเิ วณที่ผู้เล่นฝ่ายรบั ยนื อยู่ในตำแหน่ง หลังแผ่นยางหัวห้าเหลี่ยม Coach s box บรเิ วณของผูฝ้ กึ สอนของผ้เู ล่นฝ่ายรุกเขา้ ไปปฏิบัตหิ นา้ ทใ่ี นสนาม Foul Line เส้นทก่ี ำหนดพน้ื ที่ในการเล่น Grass Line เส้นตัดระหวา่ งหญ้า 358

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 Home Plate แผน่ ยางหัวหา้ เหลย่ี ม (เรยี กทบั ศัพทว์ า่ “โฮมเพลต”) Infield สนามด้านใน On-deek cirele บรเิ วณทผ่ี ้เู ล่นฝา่ ยรุกคนต่อไปพักรอเพื่อ คอยเขา้ เลน่ Out field สนามดา้ นนอก Pitcher smound บริเวณทีผ่ ูเ้ ล่นฝ่ายรบั กำหนดใหเ้ ป็นจดุ ขว้างลกู ไปยังพ้ืนทีข่ องผเู้ ล่นฝ่ายรุก (เรยี ก ทบั ศัพท์วา่ “เมาท”์ ) 9. เส้นที่แสดงอาณาเขตต่างๆ ภายในสนามแข่งขันต้องทาด้วยปูนขาวหรือวัสดุสี ขาวอน่ื 10. อนุญาตให้ผู้รับผิดชอบสนามสามารถกำหนดเส้นตัดระหว่างหญ้า ขนาดและ รูปรา่ งของหญ้า ไดเ้ องตามแผน่ ภาพของสนาม เสน้ ตัดระหว่างหญา้ อปุ กรณป์ ระกอบ 1. แผ่นยางหัวห้าเหลี่ยม สร้างขึ้นจากแผ่นยางสีขาวเป็นรูป 5 เหลี่ยม มีขนาดดัง ภาพ 359

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 แผ่นยางหวั หา้ เหลยี่ ม 2. การวางแผ่นยางหัวห้าเหลี่ยมนั้นต้องวางบนพื้นในจุดที่ด้านตัดของมุมตรงกัน แนวเส้นตัดระหว่างฐานที่ และฐานที่ 3 โดยให้หันด้านที่มีความยาว 17 นิ้ว ไปยังจุดที่ผู้ เล่นฝ่ายรบั จะสง่ ลกู ไปยงั ผู้เลน่ ฝ่ายรกุ และให้หนั ดา้ นทม่ี คี วามยาว 12 น้วิ ไปยงั ฐานที่ และ 3 บรเิ วณด้านบนของแผน่ ยางนี้จะตอ้ งลาดเอยี งและยดึ แน่นกับพ้นื สนาม 3. ฐานท่ี 1 - 3 สร้างขึ้นจากถุงผ้าใบสีขาวบรรจุด้วยวัสดุอ่อนนุ่ม เป็นรูปสีเลี่ยม จัตุรัสคามยาวด้านละ 15 นิ้ว มีความหนาไม่น้อยกว่า 3 นิ้ว แต่ไม่มากกว่า 5 นิ้ว ฐานที่ 1 และ 3จะอยดู่ ้านในสนาม สว่ นฐานที่ 2 จะอย่บู นจดุ ตดั ของเส้นสนาม ดังผังของฐาน ภาพของฐาน 360

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 1 ภาพผงั ของฐานแตล่ ะอัน 4. จุดที่ผู้เล่นฝ่ายรับกำหนดให้เป็นจุดขว้างลูกไปยังผู้เล่นฝ่ายรุก (พิชเชอร์เพลส) นั้นสร้างขึ้นจากแผ่นยางสีขาวเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 6 x 24 นิ้ว การกำหนดจุดวาง แสดงให้เห็นในภาพ โดยให้มีระยะระหว่างจุดพิชเชอร์เพลสกับจุดโฮมเพลส เท่ากับ 60 ฟตุ 6 นว้ิ พชิ เชอร์เพลส 5. กำหนดให้สนามแข่งขันต้องมีม้านั่งสำหับผู้เล่นทั้งสองทีม โดยต้องมีหลังคา ผนังด้านข้างและด้านหลัง โดยจะตั้งไว้ด้านข้างของสนาม และอยู่ห่างจากฐานไม่น้อยกว่า 25 ฟุต อปุ กรณ์ 1. ลกู บอล ลกู บอลมาตรฐานนั้นตอ้ งมีแกนกลางเปน็ คอรก์ ยางหรอื วัสดใุ กลเ้ คียงกัน ห่อหุ้มด้วยหนังวัวหรือหนังม้า จำนวน 2 ชิ้น เย็บติดด้วยด้าย มีนํ้าหนักไม่น้อยกว่า 5 361

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 ออนช์ แต่ไม่มากกว่า 5 ออนช์ มีขนาดของเส้นรอบวงไม่น้อยกว่า 9 นิ้ว แต่ไม่มากกว่า 9 นว้ิ ลูกบอล 2. ไม้ตี ไม้ตีทำด้วยไม้เนื้อแข็งชิ้นเดียว ผิวเรียบ ทรงกลมยาวมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ในสว่ นทใ่ี หญ่ที่สดุ ไมน่ ้อยกวา่ 2 นว้ิ มีความยาว 42 นว้ิ ไมต้ ี 3. ถงุ มอื (Glove) ลักษณะถุงมือเบสบอล เป็นลักษณะที่นิ้วทั้ง 5 นิ้วแยกจากกันและอีก 4 นิ้วที่บริเวณปลายนิ้วจะติดกัน ตรงช่วงระหว่างนิ้วจะมีหนังเป็นรูปตะข่ายยกกั้นไว้เรียกว่า (Socket) จะเปน็ เบา้ เล็กคอยดกั ลกู ไม่ใหผ้ า่ น และเพ่ือเปน็ ประโยชน์ต่อการยบิ ลูกเบสบอล ให้ง่ายขึน้ ถงุ มือ 362

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 4. มติ ต์ (Mitt) มติ ต์จะเป็นถงุ มือทพี่ เิ ศษ คือไม่แยกนิ้ว และไดร้ บั อนุญาตให้เฉพาะผู้เล่น ตำแหน่งแคชเชอร์และผู้เล่นเบส 1 เท่านั้น โดยลักษณะของมิตต์ (mitt) จะเป็นถุงมือเบส บอลที่ความหนาเป็นพิเศษ เพื่อเวลาที่ชเชอร์ขว้างมาด้วยความแรงมากบ่อยๆ อาจทำให้ผู้ เล่นเกดิ การบาดเจ็บไดจ้ ึงอนญุ าตใหใ้ ชม้ ิตตไ์ ด้ มติ ต์ 5. รองเทา้ 5.1 พื้นรองเท้า เปน็ ชนิดที่เรยี บ หรือมคี รบี อยา่ งแขง็ หรอื ออ่ นก็ได้ 5.2 รองเท้าจะมีแผ่นโลหะ (cleat) ติดอยู่ที่พื้นรองเท้าก็ได้ ส่วนปุ่มครีบ โลหะยาวไม่เกิน 1.9 เซนติเมตร รองเท้าชนิดทีม่ ีป่มุ โลหะกลมถือวา่ ผิดกตกิ า รองเท้า อุปกรณป์ ้องกัน หนา้ กาก (Mask) หน้ากากเป็นอุปกรณ์ป้องกันสำหรับผู้เล่นตำแหน่งแคชเชอร์ใช้ในลักษณะทำการ แข่งขันหรือฝึกซ้อมโดยสวมที่ใบหน้า ซึ่งในขณะรับลูกจากการขว้างของผู้เล่นตำแหน่งพิต 363

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 1 เชอร์บางครั้งอาจะทำให้ลูกเปลี่ยนทิศทาง และพลาดมาโดนบริเวณใบหน้าได้ หน้ากาก (Mask) จึงเป็นอุปกรณท์ ีส่ ำคัญสำหรับแคชเชอร์ หน้ากาก อุปกรณ์ปอ้ งกันลำตัว (Chest Protector) เป็นอุปกรณ์ป้องกันบริเวณลำตัว และหน้าอกของผู้เล่นตำแหน่งแคชเชอร์ ซ่ึง ในขณะรับลูกจากการขว้างของผู้เล่นตำแหน่งพิตเชอร์ ซึ่งบางครั้งในขณะการแข่งขันหรือ ฝึกซ้อมผู้เล่นฝ่ายรุกอาจใช้ให้ตีลูกบอลไม่เต็มใบ และทำให้ลูกเปลี่นทิศทางทำให้พลาดมา โดนบริเวณลำตัวและหน้าอกได้อุปกรณ์ป้องกันลำตัว (Chest Protector) จึงเป็นอุปกรณ์ ทส่ี ำคัญสำหรับแคชเชอร์ อุปกรณ์ปอ้ งกนั ลำตวั อปุ กรณป์ อ้ งกนั บรเิ วณหนา้ แข้ง (Leg Guard) เป็นอุปกรณ์ป้องกันบริเวณหน้าและหัวเข่าของผู้เล่นตำแหน่งแคชเชอร์ ซึ่ง ในขณะรับลูกจากการขว้างของผู้เล่นตำแหน่งพิตเชอร์ ซึ่งบางครั้งในขณะการแข่งขันหรือ ฝึกซ้อม ผู้เล่นฝ่ายรุกใช้ไม้ตีลูกบอลไม่เต็มลูกบอล และทำให้ลูกบอลเปลี่ยนทิศทางทำให้ 364

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 1 พลาดมาโดนบริเวณหน้าแข้งและหัวเข่าได้ อุปกรณ์ป้องกันบริเวณหน้าแข้งและหัวเข่า (Leg Guard) จึงเปน็ อุปกรณท์ สี่ ำคญั สำหรบั แคชเชอร์ อปุ กรณป์ อ้ งกนั บรเิ วณหน้าแขง้ หมวกป้องกัน (Helmet) เป็นอปุ กรณ์ปอ้ งกนั บริเวณศรี ษะของผูเ้ ล่นฝา่ ยรกุ หรอื ผูต้ ี ซึ่งขณะการแข่งขนั หรือ การฝึกซ้อมจะช่วยในการป้องกันบริเวณศีรษะในกรณีที่ลูกบอลพลาดมาโดนศีรษะได้ หมวกป้องกัน (Helmet) จะต้องมีส่วนที่ป้องกันใบหูทั้งสองข้าง และมีปีกหมวกด้านหน้า ถ้าผู้เลน่ ฝา่ ยรกุ ไม่ใสห่ มวกป้องกัน (Helmet) จะถอื วา่ ผิดกตกิ า หมวกป้องกัน เครอ่ื งแตง่ กาย 1. หมวกแกป๊ (Cap) 1.1 ผู้เล่นจะต้องสวมหมวกแก๊ปซึ่งการสวมใส่หมวกต้องมีสีและรูปแบบ เหมอื นกัน 1.2 ผู้เล่นจะต้องใส่หมวกทุกครั้งและทุกคนในขณะทำการแข่งขัน ถ้าผู้ เลน่ ไม่สวมใสห่ มวกจะถือว่าผิดกติกา 1.3 ผ้เู ล่นต้องสวมใสห่ มวกอย่างถูกตอ้ งโดยหนา้ หนั ปีกหมวกไปดา้ นหลัง 365

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 หมวกแกป๊ 2. เสือ้ ตัวใน 2.1 กตกิ าไม่ได้บังคับให้ผู้เล่นใส่เสื้อตัวใน แต่หากทีมใด ต้องการใส่เส้ือตัวในผเู้ ล่น ตอ้ งใส่เสอ้ื สี และรปู แบบเดียวกนั 2.2 ผู้เล่นต้องใส่เสื้อตัวในทีอ่ ยูส่ ภาพท่ีเรียบร้อย และไม่ขาดหลุดลุ่ยหรือมรี อยตดั และรอยฉีกขาด เสอื้ ตวั ใน 3. กางเกงเบสบอล กางเกงเบสบอล ผู้เล่นต้องใส่กางเกงเบสบอลเหมือนกันสีเดียวกันเป็นทีม ผู้เล่น จะตอ้ งใสก่ างเกงเบสบอลขายาว ซ่งึ ผเู้ ลน่ ไม่สามารถใส่ขาสนั้ เลน่ ได้ กางเกงเบสบอล 366

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 1 4. เลขเส้อื เสื้อของผูเ้ ลน่ ตอ้ งเป็นตวั เลขอารบกิ และตอ้ งอย่บู นหลังเสื้อแขง่ ขันทกุ ตัว มีขนาด ความสูงไม่น้อยกวา่ 15.2 เซนติเมตร (6 นิ้ว) มีสีตัดกับสีเสื้อ ผู้จัดการทีม ผู้ฝึกสอน และผู้ เล่นในทีมเดียวกันจะสวมเสื้อที่มีหมายเลขเดียวกันไม่ได้ ให้ใช้เลขจำนวนเต็มตั้งแต่ 01.ถึง 99 เท่าน้ัน เลขเสื้อ 5. ช่ือ ชื่อของผเู้ ล่นจะตอ้ งอย่เู หนอื หมายเลขด้านหลงั เสอ้ื แขง่ ขนั ชอื่ 6. เข็มขดั เป็นเครื่องแต่งกายที่จะเป็นต้องสวมใส่ตามแบบชุดยูนิฟอร์มของกีฬาเบสบอลซ่ึง แต่ละทีมสามารถเลือกสที ่ีเข็มขดั ไดต้ ามความตอ้ งการ และเหมาะสมกบั ทีมผูเ้ ลน่ 367

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 1 เขม็ ขดั 368

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 กีฬาเพาะกายและฟติ เนส มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณก์ ีฬา สนามแขง่ ขนั 1. เวทแี ข่งขันและหอ้ งเตรยี มความพรอ้ มหลังเวที • ขนาดเวทีการแข่งขัน หน้าเวทีกว้าง 16 เมตร ลึก 6 เมตร สูงจากพ้ืน 80-100 เซนติเมตร พื้นเวทีปูด้วยพรมสีดำ มีบันไดขึ้นลงจากด้านหน้าเวทีทั้งด้านซ้ายและ ขวา และบนั ไดขึ้นลงจากด้านหลังเวทที ั้งดา้ นซา้ ยและขวา • ห้องเตรียมความพร้อมหลังเวที ขนาดกว้าง 16 เมตร ลึก 5 เมตร มีฝา ปิดรอบข้างมิดชิด มีประตูเข้าออก 2 ทาง ภายในมีการแบ่งส่วนพื้นที่ สาหรับนักกีฬาชาย และหญงิ พน้ื หอ้ งปพู ้นื กนั ลน่ื และกันความเสียหาย • แผน่ กนั เป้อื นหลังเวที 2. BACK DROP ตดิ ตงั้ บนเวทแี ขง่ ขนั ขนาดสงู 4 เมตร กว้าง 14 เมตร 3. ฉากบัง 2 ข้างสาหรับติดป้ายสปอนเซอร์ และช่วยบังช่องขึ้นลงเวทีจาก ด้านหลังเวที (ปัจจุบันนิยมจัดทาแป็นกล่องสี่เหลี่ยม กว้าง 1 เมตร สูง 2 เมตร หนาพอให้ ตั้งทรงตัวอยบู่ นเวทไี ด้ 4. ติดตั้งไฟส่องสว่าง 4 ชุด เป็นหลอดไฟสปอร์ตไลท์ไฟสีเหลือง และเสริมด้วย หลอด LED • ไฟส่องสว่างชุดแรก ส่องจากด้านหน้าเวที ทั้งด้านซ้ายและขวา ใช้ไฟ สปอรต์ ไลท์ไฟสีเหลอื ง ขา้ งละ 3000W รวมสองข้าง 6000W 369

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 • ไฟส่องสวา่ งชดุ ที่สอง ส่องจากด้านข้างเวที ท้ังด้านซ้ายและขวา โดยใช้ มุมเยื้องมาทางด้านหน้าเวที ประมาณ 25 -30 องศา โดยใช้ไฟสปอร์ตไลท์ไฟสีเหลือง ใช้ ไฟขา้ งละ 6000W รวมสองข้าง 12000W • ไฟส่องสว่างชุดที่สาม ส่องจากด้านบนหน้าเวที ลงมาที่พื้นเวที ประมาณ 6 ดวง ดวงละ• ไ1ฟ0ส0่อง0สWว่างรชวดุ มท่ีส6อ0ง 0ส0่องWจากดา้ นข้างเวที ท้ังด้านซ้ายและขวา โดยใช้ ไฟ ขา้ งละมไฟุม1ขเยา้0งื้อ0ลง0ะมWา6•ท0าไ0รฟง0ดวWส้าม•น่อรไห2งฟวนสม0ส้าสว0่อเอา่ว0งงทงWสขชี ว้าปุดง่ารงทะ1ชม2่ีสุด0าี่ 0ณทส0ี่ส่อW2าง5มจ-า3สก0่อดองง้าจศนาากขดโ้าด้างยนเใพบช้ไนื่อฟหตสนัดป้าอเงเรวา์ตทไทลี ลทั้งง์ไดฟม้าสานทีเหซ่ีพล้าื้ือนยงเแวใทลชี้ะขวา ใช้ 5ป.ระมมีจาุดณต6่อดไวฟง ดแวลงะละปล10ก๊ั 003Wตารวตมา6ม0ท00่ีกWำหนดในแผนผงั สนามแขง่ ขนั 6. เครื่องเสีย•งไปฟสร่อะงจสวำา่ สงชนุดาทม่ีสี่ ขส่อนงาจาดกมดา้านตขร้างฐเพา่ือนตคัดเรงาบทชั้งุดด้านแซล้ายะแเลคะรขืว่อางใเชล้ ่นเพลง แปผระน่ กดอวี บดี ไกฟ)ี ารขา้แงขล65ง่ะ..ข1เมัน0คีจ0รุด(0ื่อตปWอ่งรเไะรสฟวกียมแองล2ปบะ0รปด0ะล0้วจั๊กWยำ3สลตนาำาโตมพาขมงนทชาี่กุดดำใมหหานตญดรใ่นฐมแาิกผนนเคซผรองั บสรชน์ ุดาไมมแแลลข์ล่งะขอเนัคยรื่4อตงเัวล่นแเลพะลเงครื่องเลน่ 7ป.ระกกาอรบปการระแขดง่ ับขันต(กปแระตก่งอบแด้วลยะลจำัดโพภงชูมุดิทใหัศญน่ ม์เิกวเซทอีกร์ าไมรลแ์ลขอย่งข4ตันัว แแลละะเคภรื่อางยเลใน่ นบริเวณ สนามแข่งแขผ่นัน.ดวี ีดี) สนามแข7่งข.••นักจใ.าชรัด้ผป•สา้ร,ใะรชดดผ้้าับอา้ ง,ตกดกไซอแมกุต้้มไห่งมส้รแหอืาลรตหอืะตจน้ รน้ัดไับไมภมู้มถ้ ใใิทนน่าักศกยานารภ์เรตวกาตทแกพีกตแา่งรเตโวแด่งทขเกียว่งาทขปรันแีกรขาแ่งะรขลกแนั ะข.อภ่งาบขยดันใน.้วบยริเแวณผ่นไวนิล ประชาสมั พันธก์ ารแข่งข• ันจัแดลสะร้กางารซตุ้มกสแาตห่งรใัหบ้สถ่วายยงภาามพ โดยประกอบด้วยแผ่นไวนิล ประชาสัมพนั ธ์การแข่งขนั และการตกแตง่ ใหส้ วยงาม 370

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 1 อปุ กรณ์การแขง่ ขนั 1. แท่นยืนแสดงท่าบังคบั บนเวที ในการแขง่ ขัน ขนาดกว้าง 120 เซนติเมตร ยาว 240 เซนติเมตร สูง 30เซนติเมตร จานวน3ชิ้น เพื่อนามาเรียงต่อกันบนเวที สาหรับให้ นักกฬี ายนื แสดงทา่ บงั คบั ในการแขง่ ขนั • แท่นยืนตอ้ งปพู รมสีดา ท้งั ดา้ นบน ด้านหนา้ และด้านข้าง ยกเว้นด้านท่ี หันเขา้ หาเวที • แท่นยืนต้องมีตัวอักษร T B P A ติดอยู่ กึ่งกลางของแท่นยืน (ตัวที่ตั้ง อยกู่ ลางเวท)ี • แท่นยืนต้องมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะรับน้าหนักตัวนักกีฬาเพาะ กาย • แท่นยืนควรมีน้าหนักไม่มากนัก เพื่อสะดวกในการโยกย้ายในระหว่าง การแขง่ ขนั • แท่นยืนควรมีช่องจับด้านข้างเพื่อสะดวกในการหยิบจับในการ เคลอ่ื นยา้ ย 2. แผ่นจิกซอร์สำหรับปูเต็มพื้นที่บนเวที เพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาฟิตเนสจานวน 100 แผน่ 371

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 3. อปุ กรณใ์ นการวอร์มอัฟก่อนการแขง่ ขนั • ดัมเบลล์ชุดเล่นมือ ขนาด 4กก., 6กก., 8กก., และ 10กก. อย่างละ 2 คู่ • ชัน้ วางดัมเบลลช์ ดุ เล่นมอื 372

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 1 ชุดนักกีฬาและอุปกรณ์ นักกีฬาชาย ชุดแช่งชันกีฬาเพาะกายชาย ต้องเป็นชุดกีฬาเพาะกายที่มีความกระชับ และต้องมีซับในดูเรียบร้อย กางเกงจะต้องมีสีเดียวกันทั้งตัว ห้ามใช้กางเกงที่มีลวดลาย หรอื มีหลายสีในตัวเดยี วกนั หรอื มีวัสดทุ ี่เปน็ โลหะหรอื มีเส้นทองเส้นเงินในการแขง่ ขนั ชุดแข่งขนั กฬี าเพาะกายชาย นักกีฬาหญงิ ชุดแช่งชันกีฬาเพาะกายหญิง ต้องเป็นชุดกีฬาเพาะกายบิกินนี่ 2 ชิ้น สามารถ มองเหน็ กลา้ มเน้อื หนา้ ท้อง ตน้ แขน หัวไหล่ หลงั ต้นขา เป็นชดุ ที่มีความกระชบั และตอ้ งมี ซบั ในดเู รยี บรอ้ ย ตอ้ งมสี เี ขม้ ไมส่ ะดุดตา ทอ่ งลา่ งของบิกินน่ีต้องปดิ สะโพกอยา่ งนอ้ ย 2 ใน 3 ส่วน สายบิกินนี่ตอ้ งเรียบห้ามตกแต่งใดๆทั้งสิ้น ห้ามใช้วัสดปุ ระเภทเมทัลลิก เช่นผ้าทอ ท่สี อดเสน้ ทองหรือเงิน หา้ มเสริมแต่งบิกินนีไ่ มว่ า่ จะในจุดใดๆ ก็ตาม ชดุ แข่งขันกฬี าเพาะกายหญงิ 373

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 1 แอธเลตคิ ฟิสิคชาย ชุดทใ่ี ช้ในการแข่งขนั แอธเลติคฟิสคิ ชายผู้แขง่ ขนั ชาย ตอ้ งสวมชดุ Trunks ( กางเกงแข่งขัน ) ทม่ี ีข้อกาหนดเหมือนกีฬาเพาะกายทกุ ประการ แต่ขอบกางเกงแขง่ ขนั ดา้ นข้าง จะตอ้ งมีความหนา 10 cm ชุดแขง่ ขนั แอธเลติคฟสิ คิ ชาย แอธเลติคฟิสิคหญงิ ชุดที่ใช้ในการแข่งขัน แอธเลติคฟิสิคหญิงนักกีฬาจะสวมใส่ชุดบิกินี 2ชิ้น สวมใส่ รองเท้าส้นสูง ลักษณะของบิกินีที่ใช้ เหมือนกับกีฬาเพาะกายหญิง แต่อาจมีการตกแต่งได้ บ้างเล็กน้อย แต่ตอ้ งไม่มากเกนิ ไป ชุดแขง่ ขันแอธเลติคฟิสิคหญงิ 374

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 แข่งขันกีฬาฟิตเนสชาย ชุดแข่งขันกีฬาฟิตเนสชายรอบแสดงสรีระ (BODY) ผู้แข่งขันชายต้องสวม กางเกงแข่งขันขาสั้นสีพื้น สามารถเห็นกล้ามเนื้อต้นขาให้พิจารณาได้ ต้องปิดสะโพก ครึง่ หนึ่ง ห้ามสวมจสี ตรงิ เดด็ ขาด และไมส่ วมรองเทา้ กาจดั ขนร่างกายในบรเิ วณท่ีเปดิ เผย หรอื ทีส่ ามารถมองเห็นได้ หา้ มสวมเครอ่ื งประดับ ผแู้ ข่งขันทั้งหมดจะต้องแต่งกายด้วยชุด ดังกล่าว ในขณะ ชั่งน้าหนัก และวัดส่วนสูง เพื่อให้คณะกรรมการที่รับผิดชอบตรวจสอบ ความถกู ต้อง เพือ่ อนุมตั ใิ หใ้ ช้ชดุ ดงั กล่าวในการแข่งขนั และตลอดการแขง่ ขนั ผูเ้ ข้าแขง่ ขนั ตอ้ งใช้ชดุ ทไี่ ดร้ ับอนมุ ตั ดิ งั กล่าวเท่านัน้ ในการแขง่ ขัน ชุดแขง่ ขนั กีฬาฟิตเนสชายรอบแสดงสรรี ะ กีฬาฟติ เนสหญงิ ชุดแข่งขันกีฬาฟิตเนสหญิงรอบแสดงสรีระ (BODY) ผู้แข่งขันหญิงต้องสวมชดุ บิกิน่ี 2 ชิ้น และสวมรองเท้าส้นสูง สีและแบบของบิก่ี และรองเท้าส้นสูงแล้วแต่ความ พอใจของผู้เขา้ แข่งขนั แตบ่ ิกินจ่ี ะต้องปิดสะโพกอยา่ งนอ้ ยครึ่งหนง่ึ หา้ มสวมใส่จีสตริงโดย เด็ดขาด สามารถตกแต่งทรงผม และสวมเครื่องประดับได้ ห้ามใช้น้ามันทาตัวโดยเดด็ ขาด กาจัดขนร่างกายในบริเวณที่เปิดเผย หรือที่สามารถมองเห็นได้ ชุดที่ใช้ในการแข่งขันต้อง ผา่ นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการทีร่ บั ผิดชอบเพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง และอนมุ ัตใิ ห้ 375

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 ใช้ชุดดังกล่าวในการแข่งขันและตลอดการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันต้องใช้ชุดที่ได้รับอนุมัติ ดังกลา่ วเท่านน้ั ในการแขข่ นั ชุดแขง่ ขนั กฬี าฟิตเนสหญงิ รอบแสดงสรีระ ฟติ เนส ชาย - หญงิ ท่าชุดประกอบเพลง (Fitness Routine) ชุดการแข่งขันกีฬาฟิตเนส ชาย - หญิง ในรอบการแสดงท่าชุดประกอบเพลง (Fitness Routine) ผู้เข้าแข่งขันสามารถแต่งตัวได้ตามความคิดสร้างสรรค์ให้เหมาะสมท่ี จะแสดงท่าชุดประกอบเพลง ทั้งนี้ห้ามสวมใส่จีสตริงและชุดแต่งกายต้องปิดสะโพกอย่าง น้อยครึ่งหนึ่ง และชุดที่สวมใส่จะต้องถูกต้องตามมาตรฐานของสหพันธ์กีฬาเพาะกายและ ฟิตเนสนานาชาติ 376

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 สปอรต์ ฟสิ คิ ชาย ชุดท่ีใช้ในการแข่งขัน สปอรต์ ฟสิ ิคชาย * ผู้แข่งขนั ชาย (รอบแรก) สวมกางเกงแข่งขนั (Trunks) เหมอื นนกั กฬี า ฟติ เนสไมส่ วมเสอื้ ไมส่ วมรองเทา้ * ผู้แขง่ ขันชาย (รอบสอง) ใสก่ างเกงขาส้นั อิสระ (ชายทะเล) ความยาว ประมาณเหนอื หัวเขา่ ไมส่ วมเสอื้ ไมส่ วมรองเทา้ ชดุ แข่งขันสปอร์ตฟสิ คิ ชาย โมเดลฟิสิคหญิง ผู้แข่งขันหญิง สวมใส่ชุดบิกินี 2 ชิ้นหลากสี บิกินี่ ต้องปิด ½ ของสะโพก บิกินีมี การตกแต่งได้ สามารถใส่เครื่องประดับได้ สวมใส่รองเท้าส้นสูงหุ้มส้น ความสูงของส้นไม่ เกิน 10ซม. ไม่อนุญาตใหใ้ สร่ องเท้าส้นตกึ ชุดแข่งขันโมเดลฟสิ ิคหญิง 377

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 ปา้ ยหมายเลขประจำตวั นักกฬี า ทรงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.5 นิ้ว พื้นสีขาว ตัวเลขอาระบิคสีดา เริ่มตั้งแต่ หมายเลข 1 ถึงหมายเลข 150 ที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในระยะไกล ด้านหลังของ หมายเลขวงกลม ติดขอเกี่ยวที่สามารถเกี่ยวติดกับ กางเกงแข่งขันของนักกีฬาได้ โดยไม่ หลุดงา่ ยและตวั หมายเลขควรเคลอื บดว้ ยพลาสติคจานวน 150 ป้าย สที าตัว มีลักษณะเป็นครีมสีแทน กันน้ำ สามารถทาเกาะติดผิวหนังได้ดี เป็นมันเงา สามารถชำระล้างทำความสะอาดออกได้ง่าย ทำให้มองเห็นลายกล้ามเนื้อได้อย่างชัดเจน การใช้สีทาตัวเพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบในกรณีนักกีฬามีสีผิวที่ต่างกัน และ ทำใหผ้ ้ตู ัดสนิ สามารถพจิ ารณาความแตกต่างของมัดกลา้ มเร้อื ได้อยา่ งชัดเจน * ชุดที่ใช้แข่งขัน, การใช้สีทาผิว, การทาน้ำมัน จะต้องตรวจให้เรียบร้อยไม่ผิด กติกาการแข่งขัน และห้ามสวมใส่เครื่องประดบั ทุกชนดิ ในการแชง่ ขัน 378

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 กฬี าแฮนดบ์ อล มาตรฐานสนามแขง่ ขนั และอปุ กรณก์ ีฬา สปขา้นรงะากมเสสมปอแน้นารบขะตขา1ด่งกรมอ.ว้ขฐอแบสยาบนัขนสน1ด่งเ.สนขว้ขาสยนมาตนั นามปแเมขาทขรมตแสี่ะ่งปแขตั้นขขร่งูะขกนัง่ 2ตขนัวเปูนั่าแเ2ขเน็เลรปตเะรขียน็ อูปตเกรปุขสปูวเกตข่เีสา่ รหตกเ่ีเณหสกลาลาน้ก์กร่ยี รยี่ีฬีฬเปมเลมลาาผรน่ผแน่ ะืนืนฮต11ผผนูา้า้ดเเขขขขบ์ นตนตอาาเลดสเดสย้นยา้นขวาอขว4บอ0ส4บน0เสมานตมเมราทตมี่ยกรทาวว้าี่ยกกงาวว2วา่้า0กเงรวเีย2มา่ก0ตเวรร่าเียเมสกตน้ วร่าเสน้ ขา้ ง เสน้ ขอบสนามทสี่ ัน้ กว่าเรยี กวา่ เส้นประตู สสนนาามมแแขขง่่งขขนั ัน 379

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 ควรจะมีเขตปลอดภัยรอบๆ สนามแขง่ ขันทางด้านข้างอยา่ งนอ้ ย 1 เมตร และ ทางด้านหลงั เส้นประตอู ยา่ งน้อย 2 เมตร 2. ประตู จะอยู่ระหว่างกลางของเสน้ ประตูแตล่ ะดา้ นประตจู ะตอ้ งวางอยู่บนพ้ืน อยา่ งม่ันคงมีความสูง 2 เมตร ความกวา้ ง 3 เมตร ประตู เสาประตทู ง้ั สองจะเชอ่ื มต่อกนั ด้วยคานประตู ขอบนอกของเสาประตู จะต้องต้ังอยบู่ นขอบนอกของเส้นประตู เสาประตแู ละคานประตจู ะตอ้ งมขี นาด 8 x 8 เซนติเมตร ทำดว้ ยวัสดุ ชนดิ เดยี วกัน (ไม้ โลหะชนิดเบา หรอื วสั ดสุ ังเคราะห์อนื่ ๆ) ประตูจะตอ้ งทาสี 2 สี สลับกนั ทกุ ดา้ น และตดั กบั สีของผนังดา้ นหลงั อยา่ งชดั เจน บริเวณทีเ่ ชื่อมต่อกนั ระหวา่ งเสาประตกู ับคานประตู จะตอ้ งทาสีเป็นสี เดยี วกันตลอด 28 เซนตเิ มตร และทบ่ี รเิ วณอ่นื ๆ ยาว 20 เซนติเมตร ประตจู ะต้องมตี า ข่ายขงึ ตดิ ไว้ และมีลักษณะทเี่ ม่อื ลูกบอลถูกขวา้ งเขา้ ไปแลว้ จะไม่กระดอนออกมาอย่าง ทนั ทีทันใด 3. เขตประตู จะกำหนดโดยเสน้ เขตประตู ซึ่งประกอบด้วย 1. เสน้ ยาว 3 เมตร ขนานกับเสน้ ประตแู ละหา่ งจากเส้นประตู 6 เมตร 2. ใชด้ า้ นในของเสาประตแู ตล่ ะตน้ เปน็ จดุ ศนู ย์กลางรัศมี 6 เมตร เขียน เสน้ โค้งจากเส้นประตูไปบรรจบกบั เส้น 3 เมตร 380

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 1 เขตประตู 3. เส้นส่งลูกกินเปล่า (เส้น 9 เมตร) เป็นเส้นปะ โดยเส้นปะแต่ละเสน้ จะ มีชว่ งหา่ งกัน 15 เซนติเมตร เสน้ ปะนี้จะอย่หู ่างและขนานกบั เส้นเขตประตู 3 เมตร 4. เสน้ 7 เมตร มคี วามยาว 1 เมตร เส้นน้ีจะขนานกับเส้นประตแู ละห่าง จากขอบนอกของเสน้ ประตู 7 เมตร อยูต่ รงกลางหนา้ ประตู 5. เส้นผู้รักษาประตู (เส้น 4 เมตร) มีความยาว 15 เซนติเมตร เส้นนี้จะ ขนานกบั เสน้ ประตู และหา่ งจากขอบนอกของเสน้ ประตู 4 เมตร อยู่ตรงกลางหน้าประตู 6. เสน้ กลางสนาม ลากต่อจากจดุ กึง่ กลางของเสน้ ข้างทั้งสองดา้ น 7. เส้นเปลี่ยนตัวมี 2 เส้น แต่ละเส้นอยู่ห่างจากเส้นกลางสนาม 4.50 เมตร โดยขนานกับเส้นกลางสนาม และลากยาวเข้าไปในสนาม 15 เซนติเมตร เพื่อให้ทีม มองเห็นอย่างชดั เจน เส้นนีจ้ ึงลากออกมานอกสนาม 15 เซนตเิ มตร 8. เส้นทุกเส้นบนสนามเป็นส่วนหนึ่งของเขตนั้นๆ และมีความกว้าง 5 เซนตเิ มตร (ยกเวน้ เส้นระหว่างเสาประตู) และสามารถมองเหน็ ไดอ้ ย่างชัดเจน 9. เส้นประตูระหว่างเสาประตูทั้งสองข้างจะต้องกว้าง 8 เซนติเมตร เพราะวา่ เสน้ ประตนู ้ีจะตอ้ งมีความกวา้ งเทา่ กบั เสาประตู หมายเหตุ ถ้าจะเพิ่มหรือลดขนาดต่างๆ ของสนามแข่งขันนี้ให้เป็นไป ตามขอ้ กำหนดของ ดี ไอ เอ็น (DIN Specifications) 381

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 ลกู บอล 1. ลกู บอลต้องทำดว้ ยหนังหรือวัสดุเทยี มเป็นรูปทรงกลม ผวิ ของลกู บอลต้องไม่ สะท้อนแสงหรอื ล่นื ลูกบอล 2. ลกู บอลที่ใชใ้ นการแข่งขนั สำหรบั ชายมเี สน้ รอบวงระหวา่ ง 58 - 60 เซนติเมตร หนกั 425 - 475 กรัม สำหรบั หญิงมีเส้นรอบวงระหวา่ ง 54 - 56 เซนตเิ มตร หนกั 325 - 400 กรัม 3. การแข่งขันแต่ละครั้งตอ้ งมีลูกบอลทีถ่ กู ตอ้ งตามกตกิ าจำนวน 2 ลูก 4. เมือ่ เรม่ิ การแขง่ ขันจะเปลย่ี นลูกบอลไมไ่ ดถ้ ้าไม่มเี หตุจำเปน็ 5. สำหรบั การแข่งขันนานาชาตใิ หใ้ ช้ลกู บอลท่ีมีเครอื่ งหมายรับรองของสหพนั ธ์ แฮนดบ์ อลนานาชาติ (IHF) เทา่ น้ัน (ดูระเบยี บการรับรองลกู บอลของสหพันธ์แฮนดบ์ อล นานาชาต)ิ ทีม (The Team) ทีมหน่งึ ประกอบดว้ ยผเู้ ล่นจำนวน 12 คน และตอ้ งเขียนรายชอื่ ลงในใบบนั ทกึ ทีม หน่ึงตอ้ งมผี ้รู ักษาประตูตลอดเวลา เครอ่ื งแตง่ กาย ชดุ ผูเ้ ล่น ชุดผรู้ ักษาประตู 382

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 ถงุ เท้า รองเท้า สนับเข่า ถงุ มอื 383

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 คณะผจู้ ดั ทำ� ท่ีปรึกษา ผ้วู า่ การ การกฬี าแหง่ ประเทศไทย นายก้องศกั ด ยอดมณ ี รองผูว้ ่าการ การกีฬาแห่งประเทศไทย นายราเชลล์ ไดผ้ ลธัญญา (ฝา่ ยสง่ เสริมการกฬี า) รองผ้วู า่ การ การกีฬาแห่งประเทศไทย นายณัฐวฒุ ิ เรอื งเวส (ฝา่ ยกีฬาอาชีพและสทิ ธปิ ระโยชน์) รองผูว้ ่าการ การกีฬาแห่งประเทศไทย นายวษิ ณ ุ ไลช่ ะพิษ (ฝ่ายบรหิ าร) รองผ้วู ่าการ การกีฬาแห่งประเทศไทย พันโท รุจ แสงอดุ ม (ฝา่ ยกีฬาเปน็ เลศิ และวทิ ยาศาสตร์การกีฬา) ผอู้ �ำนวยการฝา่ ยสารสนเทศและวชิ าการกีฬา นายกอ้ งภพ โพธิสวุ รรณ ผอู้ ำ� นวยการกองวชิ าการกฬี า นายแสงชัย ต้นทัพไทย บรรณาธิการ หวั หนา้ งานพัฒนาองค์ความรู้ นายไพศาล ดวงสุวรรณ์ พนักงานบริหารงานทัว่ ไป 6 นายภณั ฑิล จิตต์หมวด พนกั งานบริหารงานท่ัวไป 4 นางสาวมธรุ ส สุขฤกษ ์ นักวชิ าการ 4 นางสาวจฑุ ามาศ วชั รดารา ผชู้ ่วยปฏบิ ัติงานโครงการฯ นางสาวกรรณกิ า จนี พวด ผชู้ ่วยปฏบิ ัติงานโครงการฯ นายนรตุ ภ์เดชษ ์ งามแสง ผู้ชว่ ยปฏิบตั ิงานโครงการฯ นางสาวคีตภทั ร กลบี จำ� ปา ผู้ช่วยปฏิบตั งิ านโครงการฯ นางสาวปฐมาวดี ปากศรี ผชู้ ่วยปฏบิ ัตงิ านโครงการฯ นางสาวศรสวรรค ์ ชาติสุทธิพงศ ์ ผชู้ ่วยปฏบิ ตั ิงานโครงการฯ นางสาวอรุณวรรณ แพทยป์ รีชา 384