Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม1

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม1

Description: ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม1.

Search

Read the Text Version

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 1 หา้ มซอ้ื -ขาย จดั ท�ำโดย การกีฬาแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2563 www.satc.or.th



คำ� น�ำ คมู่ อื ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ น้ี กองวชิ าการกฬี า การกฬี าแหง่ ประเทศไทย จดั ขนึ้ เพอื่ เผยแพรใ่ หก้ บั ผทุ้ ส่ี นใจตอ้ งการศกึ ษาคน้ ควาเกย่ี วกบั ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า ท่ีได้มาตราฐานสากล พร้อมท้ังสามารถน�ำข้อมูลไปใช้ประกอบการจัดท�ำสนาม หรอื จัดหาอุปกรณ์ไดด้ ้วยตนเอง การกีฬาแห่งประเทศไทย ขอขอบคุณสมาคมกีฬา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีชว่ ยใหก้ ารจัดท�ำหนังสอื เล่มนส้ี ำ� เรจ็ ดว้ ยดมี า ณ โอกาสน้ี กองวชิ าการกีฬา การกฬี าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2563



สารบญั กรีฑา 1 กฬี ากอล์ฟ 18 กฬี าฟนั ดาบ 27 กีฬาฟุตบอล 43 กีฬาฟุตซอล 50 กีฬาวอลเลย์ 57 กีฬาเซปกั ตะกร้อ 61 กีฬาเทควันโด 75 กฬี าเทนนิส 80 กฬี าเทเบิลเทนนิส 87 กฬี าบาสเกตบอล 94 กฬี าแบดมินตนั 115 กฬี ามวยสากลสมัครเลน่ 120 กฬี ามวยไทยสมคั รเลน่ 129 กฬี ามวยไทยอาชพี 136 กฬี ามวยปลำ�้ 141 กฬี ายกน้�ำหนัก 144 กฬี ายงิ เปา้ บิน 155 กฬี ารณยทุ ธ 162 กฬี าวา่ ยนำ้� 196 กฬี าวอเลยบ์ อล 204 กีฬาเปตอง 217 กฬี าโบลงิ่ 225 ไตรกีฬา 230 กีฬาคริกเก็ต 237 กีฬาชกั กะเย่อสากล 242 กีฬาปัญจกฬี า 252

กีฬาราชยายนต์ 294 กีฬาลอนโบวล์ส 301 กีฬาวซู ู 305 กฬี าวู้ดบอล 312 กีฬาสควอช 320 กีฬากาบัดดี้ 324 กฬี าจักรยาน 331 กฬี าดารท์ 341 กีฬาดำ� น�ำ้ 348 กฬี าเบสบอล 357 กีฬาเพาะกายและฟติ เนส 369 กฬี าแฮนดบ์ อล 379 คณะผู้จัดทำ� 384

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 1 กรีฑา มาตรฐานสนามแข่งขันและอปุ กรณ์กฬี า สนามกรีฑา 400 เมตร คำจำกัดความ สนามกรีฑา 400 เมตร คือ สนามที่มีทางวิ่งเป็นวงรอบ ประกอบด้วยทางวิ่งที่เป็นทางตรงและทางโค้ง ถ้าวิ่งชิดขอบในสุดโดยห่างขอบใน 30 เซนติเมตร (ขอบในทำด้วยคอนกรีตหรือโลหะ) หรือ 20 เซนติเมตร (ขอบในทำด้วยปูน ขาว หรอื ทาดว้ ยส)ี ครบหน่งึ รอบจะได้ระยะทาง 400 เมตร พอดี สนามกรีฑา 400 เมตร สิ่งทคี่ วรทราบ ลู่วง่ิ คอื ทางวง่ิ ทง้ั หมด ชอ่ งวิง่ คือ เขตที่แบ่งย่อยจากลู่วิ่ง เป็นช่องวิ่งที่ 1 ช่องวิ่งที่ 2 ช่องวิ่งที่ 3 ช่องวิ่งที่ 8 มีความกว้าง ช่องวิ่งละ 1.22 เมตร การวัดความกว้าง วัดจากขอบนอกถึง ขอบใน เสน้ ของชอ่ งวง่ิ กวา้ ง 5 เซนติเมตร (ดูภาพที่ 1) 1

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 รศั มีทางวิง่ คอื รศั มที ีว่ ัดจากจดุ ศนู ย์กลางไปถึงทางวง่ิ ของชอ่ งวิง่ นัน้ ๆ รศั มีขอบใน คือ รัศมีที่วัดจากจุดศูนย์กลางไปถึงขอบในช่องวิ่งนั้นๆ จุด ศูนย์กลาง ภาพที่ 1 รัศมที างวง่ิ รศั มขี อบใน R1 = รัศมขี อบในช่องว่ิงที่ 1 (ขอบในทำด้วยคอนกรตี หรอื โลหะ) R2 = รศั มีขอบในชอ่ งวิง่ ท่ี 2 r1 = รศั มีทางว่ิงของช่องว่งิ ที่ 1 หา่ งขอบใน 30 เซนตเิ มตร r2 = รศั มีทางวิง่ ของชอ่ งว่ิงที่ 2 ห่างขอบใน 20 เซนติเมตร วธิ ีการตเี ส้น 1. ลากเส้นแกนกลางสมมตทิ ี่กลางพืน้ ที่ ยาว 84.39 เมตร 2. ลากเส้นตั้งฉากสมมติ ผ่านจุดหัวท้ายของเส้นแกนกลางสมมติและตั้งฉากกับ เสน้ แกนกลางสมมติ 3. ใช้รัศมี 36.50 เมตร ทำเส้นขอบในชอ่ งวิง่ ท่ี 1 (ถ้าขอบในทำดว้ ยคอนกรีตหรือ โลหะ) หรือ 36.60 เมตร (ถ้าจะทำขอบในดว้ ยปูนขาวหรือสี) แต่ในท่ีนจ้ี ะกล่าวถึงเฉพาะท่ี ขอบในทำดว้ ยคอนกรีตหรอื โลหะ 4. ต่อทางวิ่งทางตรง จะไดข้ อบในของช่องว่างที่ 1 5. ทำขอบในช่องวิง่ ที่ 2 - 8 โดยใชร้ ศั มีตามตารางที่ 1 และต่อทางวงิ่ ทางตรง 2

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 1 ตารางท่ี 1 รัศมขี อบใน รัศมีขอบใน ช. 1 36.50 รัศมขี อบนอก ช. 2 37.72 ช. 3 38.94 ช. 4 40.16 ช. 5 41.38 ช. 6 42.60 ช. 7 43.82 ช. 8 45.04 ช. 8 46.26 หมายเหตุ ชอ่ งวง่ิ กวา้ ง = 1.22 ม. 6. ต่อทางวิ่งทางตรง สำหรับระยะ 100 เมตร 110 เมตร และเขตชะลอความเร็ว ต่อเลยออกไปจากเสน้ ชยั ประมาณ 30 เมตร ภาพที่ 2 สนามกรฑี า 7. ทางวิง่ วบิ าก บอ่ น้ําอยู่ดา้ นนอก (ภาพที่ 3) 7.1 วัดระยะจากขอบในช่องวิ่งท่ี 1 ไปถึงขอบในช่องบ่อนํ้าตามแนวรัศมี ได้ระยะเทา่ ใดเอาไปตอ่ เพิม่ จากเส้นแกนกลางสมมติ 7.2 ใช้จุดศูนย์กลางใหม่ คือ 0 รัศมี 36.60 เมตร เขียนทางโค้งในและ บวกกบั ความกว้างของบ่อนํา้ เขยี นโคง้ นอก เส้นโคง้ ในควรใช้เสน้ ปะ 3

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 7.3 จุดวางรั้วอีก 4 ตัว ให้ห่างเท่าๆ กัน โดยแบ่งทางวิ่งใน 1 รอบ ออกเป็น 5 ส่วนเท่ากนั ภาพที่ 3 ทางว่งิ วิบาก บ่อน้าํ อยดู่ า้ นนอก 7.4 ถ้า o - o ยาว 10 เมตร วง่ิ 1 รอบจะไดร้ ะยะทาง = 400 x (2 x 10) = 420 เมตร ถา้ ว่ิงวบิ าก 3,000 เมตร ต้องวิ่ง 7 รอบ กบั อกี 60 เมตร 7.5 จากเส้นเริ่มจนถึงบริเวณเส้นชัยในรอบแรก ระยะ 60 เมตร ไม่ต้อง ขา้ มรว้ั ใดๆ ต่อเมื่อเหลือ 7 รอบ จึงเริ่มขา้ มรั้วโดยต้องขา้ มรวั้ บอ่ นํ้า 7 คร้ัง และรวั้ ธรรมดา อกี 28 คร้งั 4

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 8. ทางวง่ิ วบิ าก บ่อนาํ้ อยดู่ า้ นใน (ภาพที่ 4) ภาพท่ี 4 ทางว่ิงวิบาก บอ่ นํา้ อยดู่ า้ นใน 8.1 ว่งิ 1 รอบ ได้ระยะทางเทา่ กับ 2 (ทางวิ่งทางตรง) + ทางวิ่งทางโค้ง 1 โค้ง + ทางโคง้ ที่มีบอ่ นาํ้ = 2 (84.39) + 115.61 + ทางว่ิงทางโคง้ ทมี่ บี ่อน้าํ ซ่ึงจะทราบค่าได้ด้วย การใช้เทปวัดเท่านั้น คือ วัดตามทางวิ่ง จากจุด A ผ่านบ่อนํ้าได้ไปถึงจุด B โดยให้สายวดั ห่างขอบใน 30 เซนติเมตร ตรงส่วนที่ขอบในทำด้วยคอนกรีตหรือโลหะ และห่างขอบใน 20 เซนติเมตร ตรงส่วนที่ขอบในทำด้วยคอนกรีตหรือโลหะ และห่างขอบใน 20 เซนติเมตร ตรงส่วนที่ขอบในทำด้วยปูนขาวหรือเขียนด้วยสี เช่น สมมติว่าได้ค่า 110.61 เมตร คา่ การว่งิ 1 รอบ ก็จะเปน็ ดงั น้ี = 2(84.39) + 115.61 + 110.61 = 395 เมตร 8.2 ว่งิ 1 รอบ ไดร้ ะยะทาง 395 เมตร วิง่ 7 รอบ ไดร้ ะยะทาง 395 x 7 = 2765 เมตร ถ้าวิ่งวิบาก 3,000 เมตร ก็ต้องวิ่ง 7 รอบกับอีก 235 เมตร หรือเส้นเริ่มวิ่งอยู่เลย เสน้ เริม่ ว่งิ 200 เมตร ของชอ่ งว่ิงที่ 1 ไปอีก 35 เมตร 5

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 8.3 กติกากำหนดให้วิ่งวิบาก 3,000 เมตร นั้น ต้องวิ่งข้ามบ่อนํ้า 7 ครั้ง และข้าม ร้วั ธรรมดา ซงึ่ อยู่หา่ งเทา่ กนั 28 ครงั้ ดังนั้น การวงิ่ ในระยะ 235 เมตรแรก จึงไมต่ ้อว่งิ ข้าม บ่อนํ้า คือ ต้องวิ่งไปตามทางโค้งปกติและไม่ต้องข้ามรั้วธรรมดา รั้วธรรมดา 2 ตัว ที่อยู่ กอ่ นและหลงั บ่อน้าํ จงึ ต้องวางหลักจากนักวิ่งผา่ นจดุ น้ันไปกอ่ น 9. เส้นเร่มิ ว่งิ 400 เมตร (ภาพท่ี 5) 9.1 เส้นเริ่มวิ่งของช่องวิ่งที่ 1 คือ เส้นชัยส่วนที่ทอดผ่านช่องวิ่งที่ 1 ถ้าวิ่งห่าง ขอบใน 30 เซนติเมตรไปตลอด 1 รอบ จะได้ระยะทาง 400 เมตร พอดี 9.2 เสน้ เรม่ิ วิ่งของชอ่ งวง่ิ ที่ 2 หาไดโ้ ดยใชร้ ศั มที างวงิ่ ขอชอ่ งวง่ิ ที่ 2 (ดตู ารางที่ 2) ตารางที่ 2 รศั มีขอบใน รัศมที างวิง่ ชองวิง่ ท่ี รศั มีขอบใน รศั มที างวิง่ 1 36.50 36.80 2 37.72 37.92 3 38.94 39014 4 40.16 40.36 5 41.38 41.58 6 42.60 42.80 7 43.82 44.02 8 45.04 45.24 ทางวงิ่ ของช่องว่ิงที่ 2 1 รอบ ได้จาก ทางวง่ิ ทางตรง + ทางว่ิงโค้ง (2 π r) = 168.78 + 2 π 37.92 = 168.78 + 238.26 = 407.04 น่นั คือ ชอ่ งวิง่ ท่ี 1 ตอ้ งตอ่ ใหช้ ่องวิ่งที่ 2 = 7.04 โดยวิธีเดยี วกัน จะคำนวณไดว้ ่า ชอ่ งที่ 1 จะตอ้ งตอ่ ให้ชอ่ งว่งิ อ่ืนๆ ตามระยะ (แสดงในตารางท่ี 3) 6

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 ตารางที่ 3 ระยะตอ่ ของเสน้ เริ่มวิง่ 400 เมตร ช. 1 : ช. 2 เสนเริ่มว่ิง 400 เมตร ช. 1 : ช. 3 7.04 ช. 1 : ช. 4 14.70 ช. 1 : ช. 5 22.37 ช. 1 : ช. 6 30.04 ช. 1 : ช. 7 37.70 ช. 1 : ช. 8 45.38 53.05 9.3 วิธวี ัดทำเส้นเริม่ ว่งิ (ภาพท่ี 5) ต้องวัดตามทางวิ่ง จึงต้องตอกหมุดทุกๆ ครึ่งเมตร โดยหมุดห่างเส้นขอบใน 20 เซนตเิ มตร เพื่อจะดึงเทปวัดตามแนวหมดุ ชอ่ งท่ี 1 : ชอ่ งที่ 2 = 7.04 ม. ช่องท่ี 1 : ช่องที่ 3 = 14.70 ม. 10. เสน้ เร่ิมวิ่ง 200 เมตร เนื่องจาก วิ่ง 200 เมตร ระยะตอ่ เท่ากบั 1 โค้ง แต่ 400 เมตร ระยะตอ่ เท่ากับ 2 โค้ง ดังน้นั ระยะต่อของเส้นเร่ิม 200 เมตร จึงเปน็ คร้ัง หนง่ึ ของ 400 เมตร ดังแสดงในตารางที่ 4 7

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 1 11. เสน้ เรม่ิ วิ่ง 800 เมตร เส้นเริ่มวิ่ง 800 เมตร ต่อให้กัน 1 โค้ง ระยะต่อจะหมดไปเมื่อผู้ที่วิ่งที่ 2 - 8 วิ่ง ผา่ นเสน้ ตัด 11.1 วธิ ีทำเสน้ ตัด ใช้จุดศูนย์กลางที่เส้นเริ่มวิ่ง 200 เมตร ของช่องวิ่งที่ 1 ห่างขอบใน 30 เซนติเมตร รัศมี 84.39 เมตร เขียนเส้นโค้งตัดช่องวิ่งที่ 2 – 8 เน่ืองจากการวิ่งตัดเข้าช่อง ในของผู้วิ่งในช่องวิ่งที่ 2 - 8 ต้องเสียเปรียบผู้วิ่ง ในช่องวิ่งที่ 1 ถ้าใช้ระยะต่อของ 200 เมตร ระยะที่เสียเปรียบคำนวณได้โดยใช้ทฤษฎีบทที่ 29 ที่ว่า พื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสบน ดา้ นตรงขา้ มมุมฉากจะเท่ากับพื้นท่ีของสเ่ี หลย่ี มจตั ุรัสบนด้านประกอบมุมฉากรวมกัน 12. เสน้ เร่ิมว่ิง 4 x 400 เมตร กำหนดให้ตอ่ 3 โคง้ จงึ จะตดั เขา้ ในได้ จงึ เอาระยะต่อของ 400 เมตร ซ่งึ ต่อ 2 โค้ง บวกกับระยะต่อของ 800 เมตร ซึ่งต่อ 1 โค้ง ซึ่งได้บวกระยะเสียเปรียบที่คำนวณไว้แล้ว ผลทีไ่ ด้คือระยะตอ่ ของ 4 x 400 เมตร ดงั ตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 ระยะต่อของเสน้ เริม่ ว่ิง 200 เมตร 400 เมตร 800 เมตร ชองวงิ่ กวาง 200 เมตร 400 เมตร สนาม 400 เมตร 4 x 400 เมตร 1.22 เมตร 3.52 7.04 ระยะตอของเสนเริม่ 10.57 7.35 14.70 22.09 ช. 1 : ช. 2 11.19 22.37 เสนตดั 800 เมตร 33.64 ช. 1 : ช. 3 15.02 30.03 .01 3.53 45.19 ช. 1 : ช. 4 18.85 37.70 .04 7.39 56.76 ช. 1 : ช. 5 22.69 45.37 .08 11.27 68.37 ช. 1 : ช. 6 26.52 53.03 .14 15.16 79.97 ช. 1 : ช. 7 .21 19.06 ช. 1 : ช. 8 .31 23.00 .42 26.94 13. เสน้ เรม่ิ ว่งิ ท่ีปลอ่ ยเปน็ กลมุ่ โดยหลักการ ต้องการให้ทุกคนวิ่งในระยะทางที่เท่ากัน ถือว่าเมื่อทุกคนออกเร่ิม วิ่งแตล่ ะคนจะวิ่งพงุ่ ตรงไปยงั สว่ นโค้งทใี่ กลท้ ส่ี ดุ ในลกั ษณะของเสน้ สมั ผัสวง 8

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 ภาพท่ี 6 การทำเสน้ เร่ิมวิ่ง ทปี่ ลอ่ ยเปน็ กลมุ่ กลมุ่ เดียว AB คือสายวัดที่ขึงตึงตามแนวทางวิ่งของช่องท่ี 1 จุด B ยึดติดอยู่กับที่ จุด A ถูก คลอ่ี อกมาเร่ือยๆ เปน็ A1 = A6 นั่นคือ ผู้วงิ่ ไมว่ า่ จะออกเรม่ิ วิง่ ที่จดุ A หรอื A1 - A6ถ้าว่ิง พุ่งตรงไปยังส่วนโค้งที่ใกล้ที่สุดในลักษณะเส้นสัมผัสวง จะวิ่งได้ระยะทางเท่ากันหรือ เส้น AB = A1 B = A2 B = A3 B... A6 B เช่นเดียวกับเส้นเริ่มวิ่ง 500 เมตร ก็จะทำเหมือนกับเส้นเริ่มวิ่ง 10,000 เมตร สำหรับเส้น 1,500 เมตร ก็อาศัยหลักการเดียวกัน เพียงแต่จุด B จะอยู่ที่เส้นเริ่มวิ่ง 200 เมตร ของชอ่ งวงิ่ ท่ี 1 หา่ งขอบใน 30 เซนติเมตร และใชส้ ายวัดยาว 100 เมตร การเส้นเริ่มวิ่งวิบาก 3,000 เมตร บ่อนํ้าอยู่ด้านนอก เริ่มจากต้องวัดระยะจาก ขอบในช่องวิ่งที่ 1 ไปถึงขอบในของบ่อนํ้าตามแนวรัศมีว่าได้เท่าใด เช่น สมมติว่าได้ 10 เมตรการวิ่งวิบาก 1 รอบ ก็จะไดร้ ะยะทาง 420 เมตร วง่ิ 7 รอบ จะไดร้ ะยะทาง = 420 x 7 = 2940 เมตร ยังขาดอยู่ 60 เมตร จงึ ต้องวง่ิ 7 รอบ กับ 60 เมตร การทำเส้นเริ่มวิ่งแบบปล่อยเป็นกลุ่มอีกแบบหนึ่ง คือ การทำเส้นเริ่มวิ่ง 2 ท่ี สำหรบั 2 กลมุ่ นิยมทำสำหรบั วง่ิ 5,000 เมตร และ 10,000 เมตร 9

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 ภาพที่ 7 เสน้ เริม่ วิง่ สำหรับปลอ่ ย 2 กลุ่ม พร้อมกนั เสน้ เร่ิมวิง่ 10,000 เมตร ของกลุ่ม 2 จะทำที่เสน้ เรม่ิ วิ่ง 800 เมตรของชอ่ งว่งิ ท่ี 5 เส้นเริ่มวิ่ง 5,000 เมตร ของกลุ่มที่ 2 จะทำที่เลยเส้นเริ่มวิ่ง 200 เมตร ช่องวิ่งที่ 5เลยไป 14 เซนติเมตร (เท่ากับระยะที่เสียเปรียบเมื่อนักวิง่ ช่องว่ิงที่ 5 ต้องตัดเข้าในทีเ่ ส้น ตัด) นกั วิ่ง 10,000 เมตร กลมุ่ ที่ 2 จะตดั เขา้ ช่องในท่ีเสน้ ตดั นกั วิง่ 5,000 เมตร กลุ่มที่ 2 จะตัดเขา้ ชอ่ งในท่ีเส้นตัด ซงึ่ อยตู่ รงเส้นตงั้ ฉากสมมติ ใกลก้ ับเส้นเร่ิมวงิ่ 100 เมตร 14. จดุ วางร้วั ตารางท่ี 5 ระยะวางรั้ว ประเภท วิ่งขามร้ัว จากเสนวิ่งถึง รว้ั ความหาง รั้วตัวที่ 10 ระยะ ตัวที่ 1 ระหวางรว้ั ถงึ เสนชยั หญงิ 13.00 ชาย 100 เมตร 13.72 8.50 10.50 ชายหญงิ 110 เมตร 45.00 9.14 14.02 400 เมตร 35.00 40.00 การวดั จุดวางรั้ว 400 เมตร ในสว่ นทเ่ี กี่ยวข้องกบั ทางโค้ง ตอ้ งวัดเช่นเดยี วกับการ วัดระยะต่อของเส้นเริ่มวิ่ง 200 400 800 และ 4 x 400 เมตร คือต้องวัดตามทางวิ่ง โดย ห่างขอบใน30 เซนติเมตร สำหรับช่องวิ่งท่ี 1 และห่าง 20 เซนติเมตร สำหรับช่องวิ่งอื่นๆ 10

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 1 และการวัดนั้นควรวัดไปตามทางวิ่งครึ่งสนาม วัดทวนทางวิ่งอีกครึ่งสนาม วัดทวนทางวิ่ง อีกคร่ึงสนามไปบรรจบกัน เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดความผดิ พลาด 15. การวัดทแยง คอื 1. การวดั จากจดุ ถึงจุด โดยดึงสายวัดเป็นเสน้ ตรง 2. เป็นการวัดที่มีความแม่นตรงสูงกว่าการวัดตามทางวิ่ง (ถ้าการวัดตามทางว่ิง นน้ั ไม่ไดต้ อกหมุดตามทางว่ิง) 3. ประหยัดเวลามาก เพราะไมต่ อ้ งตอกหมดุ ขดี จำกดั ของการวดั แบบทแยง ข้อมูลที่ได้จากการวัดแบบทแยงจากสนามที่มีทางวิ่งทางตรงยาวเท่าใด จะ นำไปใช้ได้เฉพาะกับสนามที่มีทางวิ่งทางตรงยาวเท่ากันเท่านั้นเป็นเพียงการวัดเก็บข้อมูล จากผลท่ไี ดจ้ ากการวัดตามทางว่งิ การวัดทแยง เสน้ เร่มิ วงิ่ 400 เมตร วัดตามทางว่งิ และวัดทแยง ชอ่ งว่ิงกวา้ ง 1.22 เมตร อธิบายภาพ 1. แรกเรม่ิ การทำเสน้ เรม่ิ วิ่งของชอ่ งวิ่งที่ 2 - 8 ตอ้ งวัดตามทางว่งิ คือ 1 : 2 = 7.04 เมตร 1 : 3 = 14.70 เมตร 1 : 4 = 22.37 เมตร ฯลฯ 2. วัดทแยง เกบ็ ข้อมูลไว้ 1 : 2 = 6.99 เมตร 11

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 2 : 3 = 7.37 เมตร 3 : 4 = 7.15 เมตร ฯลฯ 3. นำข้อมูลที่เก็บไว้ไปใช้ในการทำสนามครั้งต่อไป อาจเป็นสนามเดิม หรือสนาม เดมิ หรือสนามอ่นื ๆ ท่ีมีทางตรงยาวเท่ากัน และมีชอ่ งวงิ่ กว้างเท่ากนั ระยะต่อสนาม 400 เมตร วัดทแยง ช่องวิ่งกว้าง 1.22 เมตร ใช้ได้เฉพาะสนาม มาตรฐานทมี่ ีทางวิ่งทางตรง 84.39 เมตร รัศมขี อบใน 36.50 เมตร 2 : 3 = 7.37 เมตร 3 : 4 = 7.15 เมตร ฯลฯ 3. นำข้อมูลที่เก็บไว้ไปใช้ในการทำสนามครั้งต่อไป อาจเป็นสนามเดิม หรือสนาม เดมิ หรอื สนามอืน่ ๆ ท่มี ที างตรงยาวเทา่ กนั และมีชอ่ งวงิ่ กวา้ งเท่ากนั ระยะต่อสนาม 400 เมตร วัดทแยง ช่องวิ่งกว้าง 1.22 เมตร ใช้ได้เฉพาะสนาม มาตรฐานที่มีทางวิ่งทางตรง 84.39 เมตร รศั มขี อบใน 36.50 เมตร ตวั ตอวั อยย่าา่ งงขขอองรงวั้ รวั้ 12

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 ส่วนตา่ งๆของรัว้ ทีใ่ ชใ้ นการแขง่ ขันวงิ่ วบิ าก ส่วนตา่ งๆของรั้วทใ่ี ช้ในการแข่งขันว่งิ วบิ าก ส่วสน่วตน่าตง่าๆงขๆอขงอรงั้วรท้วั ทใ่ี ช่ีใชใ้ น้ในกกาารรแแขขง่ ่งขขนั นั วว่งิ วบิ าก เสากระโดสูง ไมพ้ าดและพุกรองรับ เสากเรสะาเสกโารดกะรสโะดงูโสดงูสไงูมไมไพ้ มพ้ ้พาาาดดดแแแลละละพพะกุ ุกพรรออุกงงรรรับับองรับ เบเบาเาะบะารระออรงองรงรับรบัับกกาการารกกรรระกะโโดรดดะดโดด เบาะรองรบั การกระโดด 13

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 การตดิ ตั้งพุกของการกระโดดคำ้ รางกระโดดค้ำ กระดานเรม่ิ และกระดานดนิ นำ้ มัน หมายเหตุ : เมื่อกึ่งกลางของทางวิ่งไม่ทับเส้นกึ่งกลางของหลุมทราย ให้ใช้เทป 1 เส้น หรือถ้าจำเป็นใช้เทป 2 เส้น แบ่งหลุมทรายออกเป็นส่วนๆ กึ่งกลางของหลุมทรายที่แบ่ง แลว้ จะตรงกบั กงึ่ กลางของทางว่ิงพอดี (ดแู ผนภาพ) 14

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 1 CenCternatlriasleisdedLLJJ//TTJJ LLaannddinignAgreAarea ภาพแภสาดพงแวสงดกงวลงมกลทมุ่มทลุ่มกู ลนกู นํา้ ้าํหหนนกััก ภาภพาแพสแดงสกดรงะดการนะหดยาุดนหยดุ ภาพแสดงลกั ษณะของจกั ร ภาพแสดงลกั ษณะของจักร 15

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 1 วงกลมขวา้ งจกั ร ภาพแสดงกรงสำหรบั ขวา้ งจักรและขวา้ งคอ้ น 16

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 1 ภาพทางว่งิ ในการพ่งุ แหลนและเซคเตอรข์ องการพงุ่ แหลน 17

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 กีฬากอล์ฟ มาตรฐานสนามแขง่ ขนั และอปุ กรณก์ ฬี า สนามกอลฟ์ กีฬากอล์ฟเล่นในพืน้ ท่ีซึ่งเรียกว่า “สนามกอล์ฟ” (อังกฤษ : golf course) สนาม กอลฟ์ ประกอบไปดว้ ยหลุมหลายหลมุ โดยในทางกอล์ฟ “หลมุ ” หมายาถงึ ทง้ั หลุมท่ีเจาะ ลงไปในพื้นดิน และอาณาเขตตั้งแต่แท่นตั้งทีไปจนถึงกรีน สนามกอล์ฟส่วนใหญ่ประกอบ ไปด้วยหลุม 18 หลมุ แท่นทอี อฟ การตีครั้งแรกในแต่ละหลุมเริ่มจากเขตที่เรยี กว่า “แท่นตั้งที” (Teeing Ground) ผู้เนสามารถใช้แท่งหมุดขนาดเล็ก ซึ่งเรียกว่า “ทีตั้งลูก” (Tee) ทำจากไม้หรือพลาสติก ช่วยให้การตี “ทีช็อต” ง่ายขึ้น ก่อนที่จะมีทีสมัยใหม่นั้น นักกอล์ฟมักจะก่อกองทรายเล็ก เป็นทรงพีรามิดในการตั้งลูกกอล์ฟ สนามกอล์ฟส่วนใหญ่ จะมีแท่นตั้งทีหลายระยะให้ เลือก ซึ่งทำให้หลุมนั้นยาวขึ้นหรือสั้นลงได้ตามแต่จะเลือก บริเวณแท่นตั้งทีนั้น มักจะมี พื้นผิวราบ แฟรเ์ วยแ์ ละรัฟ 18

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 หลงั จกาตีลกู ออกจากแทน่ ตงั้ ที ผ้เู ล่นจะตีลกู กอล์ฟ (โดยมากไปยงั กรนี ) จากจุดที่ ลูกมาหยุดอยู่ ซ่ึงอาจจะเป็น “แฟร์เวย์” (Fairway) หรือว่า “รัฟ” (Rouhg) บนแฟร์เวย์ นน้ั หญ้าจะถกู ตดั สนั้ และเรยี บ ทำใหก้ ารตลี ูกน้นั ง่ายกวา่ การตีจากรัฟ ซ่ึงมักจะไว้หญ้ายาว กว่า อุปสรรค ในสนามกอล์ฟ หลุมหลายหลุมอาจมีเขต “อุปสรรค” (Hazard) ซึ่งแบ่งออกสอง ชนิดคือ “เขตอุปสรรคน้ำ” (Water Hazard) และ “บังเกอร์” (Bunker) บางครั้งเรียกว่า “หลุมทราย” หรือ “อุปสรรคทราย” จะมีกฎบังคับเพิ่มเติม ซึ่งทำให้การเล่นลำบากมาก ขึ้น ตั้งอย่างเช่น ในเขตอุปสรรค ผู้เล่นไม่สามารถใช้ไม้กอล์ฟสัมผัสพื้นก่อนการเล่นลูกได้ ลูกที่อยู่ในเขตอุปสรรค สามารถเล่นจากจุดที่ลูกหยุดอยู่ได้โดยไม่ถูกปรับแต้ม หากไม่ สามารถเล่นจากตำแหน่งนัน้ ได้ (โดยเฉพาในอุปสรรคนำ้ ) ผเู้ ล่นอาจจะเลอื กเล่นจากจุดอื่น โดยทั่วไปจะปรับโทษหนึ่งสโตรค (แต้ม) ซึ่งตำแน่งการเล่นนอกเขตนั้น ถูกบังคับอย่าง เขม้ งวดโดยกฎกอล์ฟ บังเกอร์เป็นเขตอปุ สรรคเพราะการเล่นลูกนั้นทำได้ยากกว่ากาตีจาก หญา้ 19

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 1 กรนี เมื่อลูกกอล์ฟอยู่บน “กรีน” (Putting Green) แล้ว ผู้เล่นจะพัตลูกไปยังหลุม จนกว่าจะลง “หลุม” (Hole หรือ Cup) การพัต (Putt) คือการตีลูกครั้งหนึ่ง มักจะทำบน กรีน (แต่ไม่เสมอไป) โดยใช้ไม้กอล์ฟซึ่งมีหน้าไม้แบนเรียบ ทำให้ลุกกลิ้งไปบนพ้ืนโดยไม่ ลอยจากพนื้ ดนิ หญ้าบนกรีนนั้นจะตัดส้ันมาก ทำใหล้ กู กล้ิงไปไดอ้ ย่างงา่ ยดาย ทศิ ทางของ ใบหญา้ และความลาดเอียงของพ้ืนจะส่งผลตอ่ ทิศทางการกล้ิงของลกู หลุมกอล์ฟจะอยู่บน กรีนเสมอ มีขนาด 108 มิลลิเมตร และลึกอย่างน้าย 100 มิลลิเมตร ตำเหน่งของหลุมบน กรีนอาจเปลี่ยนไปได้ในแต่ละวัน โดยทั่วไปมักจะมีธงปักในหลุมกอล์ฟเพื่อให้เห็นหลุมได้ จากระยะไกล แมว้ า่ อาจจะไมใ่ ช่จาก แท่นต้งั ทกี ต็ าม โอบี โอบี คือ เขตที่อยู่นอกเขตสนามที่กำหนดไว้ ซึ่งผู้เล่นไม่สามารถตีลูกได้ หากลูก ของผเู้ ลน่ ตกไปยังเขตโอบี ผเู้ ลน่ จะต้องเล่นลุกจากจดุ ทตี่ ีมา และปรับแต้มเพม่ิ หนึง่ สโตรค 20

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 เขตอนื่ บางส่วนในเขตสนาม อาจจะมี “เขตพื้นที่ซ่อม” (Ground Under Repair หรือ G.U.R) ซึ่งหากลุกกอล์ฟของผู้เล่นเข้าไปตกในเขตนี้แล้ว ผู้เล่นสามารถหยิบออกมาเล่น นอกเขตได้โดยไม่ถูกปรับแต้ม นอกจากนี้ยังอาจมี “สิ่งกีดขวาง” (Obstruction) ซึ่งเป็น สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่นมุดบอกระยะทางรั้ว เป้นต้น และมีกฎข้อบังคับเฉพาะซึ่งกำหนด วิธีเลน่ หากลกู ของผเู้ ล่นไดร้ บั ผลกระทบจากสง่ิ กดี ขวาง พาร์ แตล่ ะหลมุ ในสนามกอลฟ์ จะมกี ารกำหนด “พาร”์ (Par) ซึง่ เป้นจำนวนครั้งในการ ตขี องผเู้ ล่นควรจะตจี บหลุม เชน่ ใน หลมุ พาร์สี่ ผูเ้ ล่นควรจะตีครงั้ แรกจากแท่นตงั้ ที คร้ังที่ สองไปยงั กรนี และพตั อีกสองครั้ง หลุมกอลฟ์ โดยท่วั ไปมักจะมพี าร์ สาม ส่ี และห้า ปัจจบุ นั มหี ลุมพาร์หกอย่บู า้ งเลก็ น้อย แตไ่ มม่ ใี นสนามกอล์ฟแบบดั้งเดมิ สนามกอล์ฟสิบแปดหลุมส่วนใหญ่ มักจะมีหลุมพาร์สามและพาร์ห้าอย่างละสี่ หลุมและหลุมพาร์ส่อี กี สบิ หลมุ รวมทั้งสนิ สิบแปดหลุมเปน็ พาร์ 72 แม้ว่าจะมีการผสมแบบ อนื่ การแข่งขนั หลายรายการท่ีเล่นบนสนามพาร์ 71 หรือ 70 21

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 1 อุปกรณก์ อล์ฟ หวั ไม้ พัตเตอร์ และหัวเหลก็ โดยทั่วไปแล้ว นักกอล์ฟจะมีไม้หลายอันในถุงขณะเล่น โดยกฎระบุว่าสามารถมี ไม้ได้ไม่เกิน 14 อัน ไม้กอล์ฟแต่ละชิ้นจะมีความแตกต่างกันในเรื่องขององศาหน้าไม้ ซึ่ง สง่ ผลตอ่ เสน้ โคจรของลูกกอลฟ์ องศาหนา้ ไมข้ องไม้กอล์ฟน้ัน วดั จากแนวต้ังฉาก หวั ไม้ “หัวไม้” (Wood) เป็นไม้ทยา่ วที่สุดและมักจะใช้กับช็อตที่ต้องการระยะไกล หัว ของหัวไม้นั้นมีขนาดใหญ่ โดยดั้งเดิม หัวของหัวไม้ทำจากไม้พลับหรือเมเปิล ซึ่งเป็นที่มา ของช่อื หัวไม้สมัยใหม่มีลกั ษณะกลวง ทำจากเหล้ก็ ไทแทเนียม หรือวัสดุผสม หัวไม้ที่ยาวทีส่ ดุ เรียกว่าหัวไม้หนึ่ง หรือ “ไดรเวอร์” โดยหัวไม้นี้จะหัวขนาดใหญ่ ที่สุด ซึ่งเหมาะสมสำหรับการตีจากที หัวไม้อื่นที่สั้นกว่า เช่น หัวไม้สาม หรือหัวไม้ห้า มัก เรียกเป็นหัวไม้แฟร์เวย์ โดยหัวไม้เหล่านี้จะสั้นกว่า และมีองศาหน้าไม้มากกว่า ทำให้ 22

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 สามารถตีจากพื้นหญ้าได้ ไดรเวอร์สามารถใช้ตีจากพื้นหญ้าได้เช่นกัน แต่ต้องใช้ ความสามารถทีส่ งู กว่าในการควบคุม ในปัจจุบัน มีหัวไม้แบบใหม่ที่รู้จักกันในชื่อไฮบริด (Hybrid) หรือที่บางครั้งคนไม้ เรียกว่าไม้กระเทย ซึ่งรวมคุณสมบัติการตีตรงๆ แบบเหล็กรวมกับจุดศูนย์กลางแรงโน้ม ถ่วงที่ต่ำแบบหัวไม้ที่มีองศาหน้าไม้สูง โดยไม้ไฮบริดนี้มักจะใช้ในการเล่นช็อตระยะไกล จากรัฟหรอื ผูเ้ ล่นท่มี ีปัญหาในการตเี หล็กยาว หัวเหลก็ “ไม้หัวเหล็ก” (Iron) หรือที่มักเรียกสั้นๆ ว่า “เหล็ก” ใช้ในการตีระยะสัน้ กว่าหวั ไม้ โดยทว่ั ไปจะเป้นชอ็ ตที่ตีข้ึนกรีนเหลก็ เปน็ ไม้กอล์ฟทส่ี ามารถใชป้ ระโยชน์ได้หลายอย่าง โดยนกั กอลฟ์ ท่ีมคี สามสามารถสูงสามารถตีช็อตได้หลายแบบโดยไม้อันเดยี ว เหล็กมักจะมี เลขตั้งแต่ 1 ถึง 9 โดยยิ่งเลขต่ำ องศาหน้าไม้ก็ต่ำ และก้านจะยาว เหล็กที่สั้นที่สุดเรียกวา่ เวดจ์ ชุดเหล็กทั่วไปมักประกอบไปด้วยเหล็กตั้งแต่เบอร์ 3 ถึงพิชชิงเวดจ์ ผู้เล่นที่มี ความสามารถบางคนอาจใช้เหล็ก 2 แต่เหล็ก 1 ในปัจจุบันมีใช้กันน้อยมาก แม้แต่กับ นักกอล์ฟอาชีพความนิยมใช้เหล็กยาว (เบอร์ต่ำ) ที่ลดลง มีผลมาจากการพัฒนาไม้ไฮบริด ซงึ่ ใหเ้ ส้นโคจรทด่ี ีและตงี า่ ยกว่า 23

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 เวดจ์ “เวดจ์” (Wedge) คือเหล็กที่มีองศาหน้าไม้มากว่า 44 องศา “พิชชิงเวดจ์” (Pitching Wedge) มีองศาหน้าไม้ 44 ถึง 50 องศา แบะมีการออกแบบที่ใกล้เคียงกับ เหล็กทั่วไป \"แซนดเวดจ์\" (sand wedge) มีการออกแบบเป็นพิเศษซึ่งสิ่งที่เรียกวา่ \"เบานซ์\" (bounce) และมีองศาหนาไม้ 54 ถึง 58 องศา ทำให้ ผู้เล่นสามารถตีจากทราย หรือรัฟได้งา่ ย \"แกปเวดจ์\" (gap wedge) มีองศาหนาไม้ อยู่ระหว่างพิชชิงเวดจและแซนด์ เวดจ์ ซ่ึงเป็นที่มาของชื่อ (gap มีความหมายว่าช่องวางระหว่างกลาง) \"ลอบเวดจ์ (lob wedge) คอื เวดจท์ ม่ี ีองศาหน้าไม้ สูงมาก (อาจถึง 68 องศา) ใช้ในการตีขึน้ กรีน จากทราย หรือใช้ในช้อตแก้ไขที่ต้องใช้ช้อตลูกโด่งมากและระยะทางสั้น ผู้ผลิตไม้กอล์ฟส่วนใหญ่ ผลติ เวดจต์ ัง้ แต่ 48 ถงึ 60 องศา พัตเตอร์ \"พัตเตอร์\" (putter) มีหัวหลายรูปแบบ แต่สิ่งที่สำคัญคือจะมีองศาหน้าไม้ที่ต่ำ มาก และก้านที่สั้น ออกแบบมาเพื่อผลักลูกกอล์ฟให้กล้ิงบนพืน้ มากกว่าที่จะลอยสู่อากาศ 24

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 1 โดยทั่วไปพัตเตอร์จะใช้บนกรีน แต่บางครั้งอาจใช้ในการตีขึ้นกรีนจากแฟร์เวย์หรือฟรินจ์ (พื้นทรี่ อบกรีน) ทตี่ ดั หญา้ สนั้ และเรียบ ลูกกอล์ฟ จากภาคผนวกในกฎกีฬากอลฟ์ ลูกกอล์ฟ ตอ้ งมลี ักษณะเปน็ ทรงกลมสมมาตร มี เส้นผา่ นศนู ยก์ ลางอย่างน้อย 42.67มิลลเิ มตร และมีมวลไม่เกิน 45.93 กรมั พืน้ ผิวของลกู กอลฟ์ ในปจั จบุ ันมรี อยบุ๋มประมาณ 300 ถงึ 500 รอย โดยวิธีการและวัสดทุ ่ีใชใ้ นการผลิต ลูกกอล์ฟนั้น สง่ ผลต่อคุณสมบัตติ ่างๆ ในการเล่น เชน่ ระยะทาง เส้นโคจร การหมุนของ ลกู และความรู้สึก วัสดุทม่ี ีความแข็ง เชน่ เซอรล์ นี มกั จะส่งผลใหล้ ูกกอล์ฟเคลื่อนทีไ่ กล ขึน้ ในขณะทีว่ สั ดุที่นุ่มกวา่ อย่างยางบาลาตา มกั จะให้การหมนุ ของลกู (สปิน) และ ความรสู้ ึกท่ีดีกวา่ ลูกกอล์ฟทีไ่ ด้รบั การยอมรับอย่างเปน็ ทางการ จะต้องผ่านการออกแบบ ให้เป็นทรงสมมาตรให้มากทส่ี ุด ซ่งึ มาจากการผลิตลูกกอลฟ์ ซงึ่ มรี ูปแบบรอบบ๋มุ อสมมาตร ช่วยในการควบคุมทิศทางของลูกกอล์ฟ ในอดีตลูกกอล์ฟเคยทำจากไม้ ขนนก และยางไม้ ลกู กอลฟ์ สามารถมไี ดห้ ลายสี แตส่ ีทน่ี ยิ มที่สดุ คอื สขี าว ถงุ กอล์ฟ 25

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 ถงุ มือ รองเท้า ท่ีมารค์ ลูก 26

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 กฬี าฟันดาบ มาตรฐานสนามแข่งขนั และอุปกรณก์ ฬี า อาวุธดาบ (รูปที่ 1) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ดาบฟอยล์ (Foil) ดาบเอเป้ (Epee) และ ดาบเซเบอร์ (Sabre) โดยทั่วไป การแข่งขันกีฬาฟันดาบจะจัดให้มีประเภท การแข่งขัน ดงั น้ี ชาย ฟอยล์ (บุคคล) หญงิ ฟอยล์ (บคุ คล) เอเป้ (บคุ คล) เอเป้ (บคุ คล) เซเบอร์ (บคุ คล) เซเบอร์ (บุคคล) ฟอยล์ (ทีม) เอเป้ (ทีม) ฟอยล์ (ทีม) เซเบอร์ (ทมี ) เอเป้ (ทมี ) เซเบอร์ (ทมี ) รูปที่ 1 อาวธุ ดาบแตล่ ะประเภท 1. สนามแขง่ ขนั สนามประลองมาตรฐานสำหรับดาบทง้ั สามประเภท สนามแข่งขันที่ใช้สำหรับฟันดาบ เรียกว่า “สนามประลอง” (ปริ้สท์-Piste) การ แข่งขันด้วยดาบทั้งสามประเภทอันได้แก่ ฟอยล์ เอเป้ และเซเบอร์นั้น กระทำบนสนาม ประลองเดียวกันที่มีพื้นราบเรียบเสมอกัน และเป็นสื่อนำกระแสไฟฟ้า ซึ่งทำด้วยโลหะ ขนาดกว้างตั้งแต่ 1.50 เมตร ไปจนถึง 2 เมตร และยาว 14 เมตร (รูปที่ 2) เมื่อผู้เข้า แขง่ ขนั ยนื ประจำทห่ี ่าง 2 เมตรจากเสน้ แบ่งครึ่งแดนแล้วจะมีพ้ืนทท่ี ่ีถอยได้ข้างละ 5 เมตร 27

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 สำหรับเส้นแบ่งเขตห้าเส้นบนสนามประลองควรแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน โดยแสดงด้วย มุมท่ถี ูกตอ้ งกับความยาวของสนามประลอง ดังตอ่ ไปนี้ (รูปท่ี 3) รูปที่ 2 สนามประลองมาตรฐานสำหรบั ดาบทัง้ สามประเภท A 1.5-2 ม. 2 ม. 3 ม. 2 ม. 2 ม. 3 ม. 2 ม. 1.5-2 ม. M RL L R 1.5-2 ม. ES GC G SE A โตะ๊ วางเครือ่ งตัดสนิ อตั โนมัติ M น้อยสุด 1 ม. C เส้นก่ึงกลาง L พื้นทสี่ ุดทา้ ยของสนามประลอง 2 ม. G เส้นจรดดาบ E เส้นจำกัดเขตหลงั รูปท่ี 3 เส้นแบ่งเขตบนสนามประลองมาตรฐานสำหรับดาบท้ังสามประเภท - เส้นกึ่งกลางหนึ่งเส้น (C) ลากแบ่งสนามประลองออกเป็นสองส่วนลากขวางตลอด ความกวา้ ง - เส้นจรดดาบ (G) สองเส้นห่างจากเส้นกึ่งกลางด้านละ 2 เมตรข้างละเส้น ลาก ขวางตลอดความกวา้ งของสนามประลอง 28

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 - เส้นจำกัดเขตหลงั (E) ของสนามประลองสองเสน้ ลากขวางตลอดความกวา้ ง ณ ระยะห่างจากเส้นกึ่งกลางด้านละ 7 เมตรทั้งสองด้าน นอกจากนี้ ในระยะ 2 เมตรก่อนถึง เส้นจำกัดเขตหลังทั้งสองด้านต้องแสดงเส้นเตือน (S) ให้เห็นได้ชัดเจน โดยอาจใช้สีต่าง จากสนามประลองเพ่ือใหง้ า่ ยตอ่ นกั ดาบเพอ่ื ใหท้ ราบว่าตนอยตู่ รงที่ใดบนสนามประลอง สำหรับดาบฟอยล์และดาบเอเป้ พื้นที่ที่เป็นตัวนำไฟฟ้าต้องครอบคลุมความยาว และความกวา้ งของสนามประลอง รวมถึงครอบคลมุ สว่ นพ้ืนทีเ่ พอ่ื วิ่ง (R) ดว้ ย สนามประลองสำหรับรอบรองชนะเลศิ และรอบชิงชนะเลศิ สนามประลองสำหรับรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศมีรายละเอียดด้าน ขนาด และเส้นแบง่ เขตแดนเหมอื นสนามประลองมาตรฐานสำหรบั ดาบทง้ั สามประเภททุก ประการ แต่มีความแตกต่างเพิ่มเติม ได้แก่ ต้องยกระดับพื้นสนาม (สูงสุดไม่เกิน 50 ซม.) โดยมีทางขึ้นลงที่มีความชันไม่มากนัก ด้านข้างตามแนวยาวของสนามประลองควร สามารถแสดงผลคะแนนการแข่งขันและไฟแสดงผลการแทง/ฟันได้ และต้องมีพื้นที่เป็น ตัวนำไฟฟ้าที่กำหนดไว้เป็นส่วนปลอดภัย (Conductive safety border) มีความกว้าง 0.25 เมตร เพิ่มเติมตลอดสองข้างตามแนวยาว โดยสำหรับดาบฟอยล์และดาบเอเป้ พื้นที่ ที่เป็นตัวนำไฟฟ้าต้องครอบคลุมความยาวและความกว้างของสนามประลอง รวมถึง ครอบคลมุ สว่ นพน้ื ที่เพอื่ ว่งิ (R) และบริเวณส่วนพื้นที่ปลอดภัยดว้ ย (รูปท่ี 4 และ 5) A โตะ๊ วางเครือ่ งตดั สนิ อัตโนมัติ M นอ้ ยสดุ 1 ม. พ้ืนท่เี ป็นตัวนำไฟฟา้ ท่ีกำหนดไว้ C เส้นกง่ึ กลาง L พนื้ ทสี่ ดุ ทา้ ยของสนามประลอง 2 ม. เปน็ สว่ นปลอดภัย G เส้นจรดดาบ E เส้นจำกัดเขตหลงั R พ้ืนทเี่ พือ่ ว่งิ (เพิม่ เตมิ ) S เส้นเตอื นพื้นที่ 2 ม. สดุ ท้าย 29

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 1 รูปที่ 4 เสน้ แบ่งเขตบนสนามประลองสำหรับรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลศิ รูปที่ 5 สนามประลองสำหรบั รอบรองชนะเลิศและรอบชงิ ชนะเลศิ อปุ กรณ์ท่นี ักดาบเปน็ ผู้จัดเตรียม นักดาบจะต้องจัดหาเสื้อผ้า อาวุธ และอุปกรณ์เองโดยมีกติกาและวิธีการ กำหนดควบคุมไว้ เครื่องแต่งกายหลักของนักดาบจะคล้ายคลึงกันสำหรับแต่ละประเภท ของอาวุธดาบ โดยเครื่องแต่งกายจะต้องสะอาด มีสภาพดี และเพื่อความปลอดภัยต้อง ทนทานตอ่ แรงได้ 800 นิวตนั รายละเอยี ดของเกณฑ์กำหนดด้านเคร่อื งแตง่ กาย มีดงั นี้ เสื้อ (Jacket) ของนักดาบสำหรับทั้งผู้หญิงและผู้ชายวัสดุควรมีความหนา 2 ชั้น แขนยาว ขอบล่างของเสื้อจะต้องทับซ้อนกางเกง (Breeches) อย่างน้อย 10 ซม. 30

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 ขณะที่นักดาบอยู่ในท่าจรดดาบ ชื่อของนักดาบผู้เข้าร่วมการแข่งขัน ซึ่งมีสีน้ำเงินเข้ม ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวอักษรมีความสูงอยู่ระหว่าง 8-10 ซม. และมีความกว้างอยู่ระหว่าง 1-1.5 ซม. จะแสดงอยดู่ า้ นหลังของเส้อื โดยมตี วั อักษรยอ่ ของชอ่ื ประเทศอยดู่ า้ นลา่ ง เสื้อของนกั ดาบ กางเกง ของนักดาบจะต้องมีความยาวถึงใต้เข่า โดยนักดาบจะต้องสวมถุง เทา้ คลุมขาท่ตี ้องดงึ ขึน้ ให้ถึงชายกางเกง กางเกงและถุงเท้าของนกั ดาบ หน้ากาก (Mask) ทำด้วยสเตนเลส สตีล (Stainless steel) เป็นตาข่าย มี ช่องว่างระหว่างเส้นตาข่ายไม่เกิน 2.1 มม. ด้านหน้าภายในของหน้ากากจะต้องทำมุมจากเส้น กลาง 130 องศา ควรมีสายรัดศีรษะด้านหลัง ส่วนที่เหลือทำด้วยผ้าที่แน่นหนามั่นคงยาว 31

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 1 ประมาณ 10-12 ซม.ปิดบริเวณคอโดยต้องทนแรงกระแทกได้ 1,600 นิวตัน ทั้งนี้หน้ากากของ นกั ดาบตอ้ งมรี ายละเอียดเปน็ ไปตามมาตรฐานความปลอดภัยดังกำหนดไวใ้ น Annexe A สูง 10-12 ซม. หนา้ กาก นอกจากน้ี นักดาบจะต้องสวมถุงมือสำหรับการฟันดาบ สำหรับเครื่องป้องกัน เต้านมและหน้าอก (Breast/Chest protector) ซึ่งทำจากโลหะหรือวัสดุที่มีความแข็งจะ ถูกบังคบั ใชใ้ นนกั ดาบผหู้ ญิง ส่วนผู้ชายจะใชห้ รือไม่ใช้ก็ได้ เครอ่ื งปอ้ งกนั เตา้ นมและหนา้ อก 32

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 สำหรับสิ่งอุปกรณ์ที่นักดาบเป็นผู้จัดเตรียมที่มีความแตกต่างกันจำแนกตามแต่ละ ชนดิ ของอาวุธดาบ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ดาบฟอยล์ (Foil) ดาบฟอยล์เป็นดาบที่ใช้สำหรับการแทงเท่านั้น เป้าหมายของดาบฟอยล์คือ บริเวณลำตัว จะยกเวน้ บริเวณแขน-ขาทั้งสองขา้ งและบรเิ วณศีรษะ โดยเป้าหมายถูกจำกัด ในแต่ละด้าน ดังน้ี ด้านบนสูงขึ้นไปตามลำคอเหนือกระดูกต้นคอ (Collar bone) 6 ซม. ด้านข้างถึงตะเข็บแขนเสื้อกับตัวเสื้อซึ่งควรคลุมส่วนหัวของกระดูกต้นแขน (Head of humerus) ทั้งสองข้าง และด้านล่างลากตามแนวข้ามจากด้านหลังผ่านส่วนบนของ กระดูกสะโพก (Hip bone) ทั้งสองข้าง แล้วลากตรงลงมาบรรจบกันที่บริเวณขาหนีบ (Groin) สิ่งอปุ กรณ์ท่นี กั ดาบเป็นผ้จู ัดเตรยี มเพือ่ ทำการแข่งขนั สำหรับดาบฟอยล์ มดี งั นี้ ส่ิงอปุ กรณ์สำหรับดาบฟอยล์ 1.1 อาวุธ (Weapon) ดาบฟอยล์ที่พร้อมใช้งานต้องมีน้ำหนักโดยรวมน้อยกว่า 500 กรัม มีความยาว โดยรวมสูงสุดไม่เกิน 110 ซม. (วัดจาก A ถึง E) ด้ามจับ (The handle) มีความยาวไม่ เกิน 20 ซม. เมื่อวัดจาก B ถึง E หรือ 18 ซม. เมื่อวัดจาก B ถึง D ใบดาบทำด้วย เหล็กกล้า ขอบเรียบ เมื่อใบดาบถูกตัดขวางจะเป็นมุมฉาก มีความยาวไม่เกิน 90 ซม. (วัด จาก A ถึง B) นอกจากน้ี ใบดาบต้องมีความยืดหยุ่นที่เหมาะสมโดยสามารถโค้งงอ (วัด จากส1 ถึง ส2) ได้อย่างน้อย 5.5 ซม. และไม่เกิน 9.5 ซม. เมื่อวัดด้วยการไม่ใช้น้ำหนัก 33

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 หรือใช้น้ำหนัก 200 กรัมห้อยไว้ห่าง 3 ซม.จากส่วนปลาย โดยยึดตรึงดาบตามแนวนอน บริเวณห่างจากส่วนปลาย 70 ซม. สำหรับโกร่งดาบ (Guard) จะต้องมีเส้นผ่านศูนย์กลาง อยู่ระหว่าง 9.5-12 ซม. โดยใบดาบจะต้องผ่านบริเวณจุดกึ่งกลางของโกร่งดาบ จุดปลาย ของดาบ (Pointe d’arret) ต้องเป็นทรงกลมเรียบ มีเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 5.5-7 มม. และสปรงิ ของจดุ ปลายของดาบ ต้องรับน้ำหนกั ไดม้ ากกวา่ 500 กรัม 70 ซม. ก 3 ซม. สl 200 กรัม ส2 ข ไม่ต่ากว่า 9.5 ซม. ไม่เกิน 12 ซม. จดุ ก่ึงกลางของ โกร่งดาบ ค อาวธุ ดาบฟอยล์ 34

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 1 1.2 สายไฟฟ้าประจำตวั (Body wire) ดาบฟอยลใ์ ช้สายไฟฟา้ (Electric wire) เส้นเด่ียว ยึดติดอยู่ในรอ่ งตลอดแนวของใบดาบ เชื่อมต่อจากจุดปลายของดาบไปยังเบ้า (Socket) ที่โกร่งดาบสำหรับเสียบสายไฟฟ้า ประจำตัว (รูปที่ 19) สายไฟฟ้าประจำตวั จะมีปลั๊กเชื่อมต่อบริเวณปลายของสายแต่ละข้าง โดยด้านท่ีเชื่อมต่อไปยังสายเคเบิลสำหรบั ต่อกับรอกประจำสนาม (Spool) เป็นปลั๊กตัวผู้ที่มี 3 ขา (Pin) นอกจากน้ี ยังต้องมคี ลปิ (Crocodile clip) หนีบติดกับเส้อื ไฟฟ้าบริเวณด้านหลัง ข้างที่ถอื อาวธุ ของนักดาบ ซึ่งมีความยาวอย่างน้อย 40 ซม. สายไฟฟ้าประจำตัวสำหรับดาบ ฟอยลค์ วรมีความตา้ นทานไฟฟ้าสงู สดุ ไมเ่ กิน 1 โอมห์ สายไฟฟา้ ประจำตัวสำหรับดาบฟอยล์ 1.3 เครอ่ื งแตง่ กาย (Clothing) เครื่องแต่งกายของนักดาบฟอยล์มีข้อกำหนดนอกเหนือจากที่กล่าวไว้ เกีย่ วกบั เครื่องแต่งกายโดยท่ัวไปของนักดาบข้างต้น ดังนี้ - หนา้ กาก (Mask) บรเิ วณท่เี ป็นตาขา่ ย (Mesh) ควรครอบคลุมพน้ื ทีใ่ หเ้ ลยคาง หน้ากากสำหรบั ดาบฟอยล์ 35

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 1 - เสื้อไฟฟ้า (Conductive jacket) ต้องใส่คลุมด้านนอกเสื้อ (Jacket) ของนักดาบ ลักษณะของเสื้อไฟฟ้า สำหรับดาบฟอยล์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของการแทงที่ถูกต้องตามกติกาดังที่ได้กล่าว มาแล้ว โดยส่วนคอต้องมีความสูงอย่างน้อย 3 ซม. มีความต้านทานไฟฟ้าไม่เกิน 5 โอมม์ ความทนทานสามารถทดสอบได้โดยใช้ทองแดง (Copper) น้ำหนัก 500 กรัม หรือ ทองเหลือง (Brass) ที่มีรัศมี 4 มม.ทำการขูดทดสอบ แถบที่เป็นสว่ นไม่นำไฟฟ้าที่อยู่พาด ผา่ นชว่ งขาจะตอ้ งมีความกวา้ งอย่างนอ้ ย 3 ซม. ช่วงคอ (3 ซม.) ดา้ น ดา้ นหน้า ดา้ น หลงั 3 ซม. หลงั เหนือกระดูก เหนือกระดูก สะโพก สะโพก เสื้อไฟฟา้ สำหรบั ดาบฟอยล์ ก 2. ดาบเอเป้ (Epee) ดาบเอเป้เป็นอาวุธที่ใช้สำหรับการแทงเท่านั้น เป้าหมายของดาบเอเป้คือทุกส่วน ของร่างกายของนกั ดาบ ไม่ว่าจะเปน็ ลำตวั แขน ขา หรอื ศรี ษะ รวมท้งั เสอื้ ผา้ และอุปกรณ์ ด้วย สิ่งอุปกรณ์ที่นักดาบเป็นผู้จัดเตรียมเพื่อทำการแข่งขันสำหรับดาบเอเป้ (รูปที่ 22) มี ดังน้ี 36 ข

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 1 สิ่งอปุ กรณส์ ำหรับดาบเอเป้ 2.1 อาวธุ (Weapon) ดาบเอเป้ที่พร้อมใช้งานต้องมีน้ำหนักโดยรวมน้อยกว่า 770 กรัม มีความยาว โดยรวมสสง่ิ อูงสุปกุดรไณม่เส์ กำินหร1บั 1ด0าบซเอมเป. ้(วัดจาก A ถึง E) ด้ามจับ (The handle) ต้องมีความยาว ไม่เกิน 20 ซม2..1เมอื่อาววธุ ัด(WจาeกapoBnถ) ึง E หรือ 18 ซม. เมื่อวัดจาก B ถึง D ใบดาบทำด้วย เหล็กกล้า มีควดาามบยเอาเวปไ้ทมี่พ่เกร้อินมใ9ช0้งาซนมต.้อ(งวมัดีนจ้ำหากนักAโดถยึงรวBม)นเ้อมยื่อกใวบ่า ด7า7บ0 ถกูรกัมตัดมีคขววาามงยจาะวเป็นมุม ตสา้อมงมเหีคลไโเวหดมี่ยายล่เมมกร็กโหวินกคมรล้2งส้ืาอ0ูง(มมสCซุดีุคมuมไวงม.rาอv่เเมกมซeยินื่อ)ึ่งาววแไ1ไัมด1ลมจ0่เ้ว่เกากแซกินินมต.B่ย91(0วี่หถซัดึงซ้อจมมEา.แ.กห(แตวAรลัด่มือจะถีคาึมง1วก8ีคEา)Aซวมมากดถม.้ึางวเมย้าBมจืดง)ื่อับไหเวมม(ยัดื่อT่เุ่จนกhใบาeินทกดี่เhา2หBaบ.nม4ถถdาูกึงlมะตeDมสัด) ขตม.ใบว้อนโาดดงองมายจกีคบสะวจทเาาปาำมม็นกดยาม้นวารุมยวี้ถใโบคด้งางบอ (วัดจากสสา1มเถหลึงี่ยสม2ห)รือไดมุม้ตง่ำอสซุดึ่งแ4ล.้ว5แตซ่ยมี่ห.้อแแลตะ่มสีคูงวสาุดมก7ว้าซงไมม.่เกเมินื่อ2ว.4ัดมดม้ว.ยนกอากรจไามก่ในชี้ ใ้นบ้ำดหาบนัก หรือ ใชน้ ้ำหนต้กัองม2ีค0ว0ามกโรคมั้งห(C้อuยrvไeว)ห้ ไ่ามง่เก3ิน ซ1มซ.มจ.าแกลสะ่วมนีควปาลมายยืดหโยดุ่นยทยี่เึดหมตาระึงสดมาโบดยตสาามมแารนถวโนค้งองนอบริเวณ ห่างจาก(วสัด่วจนากปสล1าถยึง 7ส02) ซไดม้ต.่ำจสุุดดป4.ล5าซยมข.อแงลดะสาูงบสุด(P7oซinมt.eเมdื่อ”วaัดrดre้วยt)กเาปรไ็นมท่ใชร้นง้ำกหลนมักเหรียรือบ มีเส้น ผ(B่าaนseศ)ูนหใผไชย่ม่าาน้ งน์ก่เำ้จกศหลาินูนกนาสยกั ง7่ว์กข2น.ล70อปา0งลมงจกาขมยรอุด.มั ง7ยหแจ0อ้อลุดซยดะยไมอสว.(้หดปCจ่าุรดr(งCoิปงr3wขลoาอซwnยมงn)ข.จ)จอ8ุดา8งก+ดป+สาลว่บ00นา..5(5ปยPลขมoมาiมอnยม.tงe.โโดดดdโายยด”บยมaยึดrีเrตตมสeร้อt้นีเ)งึ สงดผเรปา้่นาับบ็นนผตทนศ่าารูน้ำมงนหยกแศ์นลกนูมนวลักนเายรไองียด์กขนบ้มอลบางมราฐกิเีเงวสากขณ้นนวอ่างฐ7า5น0 กรัม สำ(หBaรsับe)โกไมร่เง่ กดินาบ7.7(Gมuมa. rแdล)ะจสปะรติง้อขงอมงจีเสุด้นปลผา่ายนขศอนูงดยา์กบลตา้องง1รับ3น.5้ำหซนมัก.ไมด้มีจาุดกทกี่ใวบ่าด7า5บ0ผ่านซงึ่ จะต้องหกร่ามังไสมำ่เหกรินบั โ3กร.5่งดซาบม.(จGาuกarบdร) เิจวะณตอ้ จงดุมกเี สึง่ น้ กผลา่ นางศขูนอยก์งลโกางร่ง1ด3.า5บซมค.วมาจี มุดลทกึใ่ี บขดอางบโผกา่ รน่งซดึง่ าบ (วัด จาก B จถะึงตC้อง)หค่าวงไรมอ่เกยนิ รู่ ะ3ห.5วซา่ มง.จ3า.ก5บ-5ริเวซณมจ.ดุ กึง่ กลางของโกร่งดาบ ความลกึ ของโกรง่ ดาบ (วดั จาก B ถงึ C) ควรอยรู่ ะหวา่ ง 3.5-5 ซม. ไม่เกิน 110 ซม. ไมสู่เงกสินุด 20 ซม. ไไมมสเ่ กเ่ ูกงินสิน1ุด190900ซซม.ม. ไมสูเ่งกสินุด 20 ซม. ไมสเ่ ูกงสินุด9900 ซม. ไ11สม88ูงเ่ กสซซินุดมมไ11สม..88ูงเ่ กสซซินุดมม.. ไไตสมม่าูงต่เไไกสสตส่ามมินุดุกด่าูงตเ่ กสสว่า35ินุดุกดา่.ซว535า่3ม.ซซ5.3มมซซ.ม.ซม.ม.. กก E D ED C CB B AA สูงสุด 1 ซม. สูงสุด 1 ซม. ไมเ่ กิน 2.4 ไมเ่ กิน 2.4 70 ซม. ไมเ่ กิน 2ซ.ม4. ไมเ่ กซินม.2.4 3 ซม. 70 ซม. ซม. ซม. ส1 3 ซ2ม00. กรัม ส2 ข ส1 200 กรัม ส2 ข 37

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 ไม่เกิน 13.5 ซม. ไม่เกิน 3.5 ซม. อาวุธดาบเอเป้ 2.2 สายไฟฟ้าประจำตวั (Body wire) ดาบเอเป้ใช้สายไฟฟ้าสองเส้น (Two electric wires) ยึดติดอยู่ในร่องตลอดแนวของใบ ดาบเชื่อมต่อจากจุดปลายของดาบไปยังเบ้า (Socket) ที่อยู่ภายในโกร่งดาบสำหรับเสียบ สายไฟฟ้าประจำตัว สายไฟฟ้าประจำตัว (รูปที่ 24) ที่จะเชื่อมต่อไปยังสายรอกประจำ สนาม (Spool) ของดาบเอเป้จะต้องเป็นสายนำไฟฟ้าที่สามารถป้องกันกระแสไฟฟ้าไม่ให้ รั่ว และทนต่อความชื้นได้ดี มีปลั๊กต่อที่ปลายแต่ละด้านของสาย โดยขาของปลั๊กต้องไม่ไป แตะโกร่งที่เป็นโลหะ (Metal) สายไฟฟ้า 2 เส้นที่มาจากจุดปลายของดาบ (Tip) จะต้องถูก หุ้มกันไฟฟ้ารั่ว 2 ชั้น ทั้งนี้ สายไฟฟ้าประจำตัวของดาบเอเป้ควรมีความต้านทานไฟฟ้า สูงสุดไมเ่ กิน 1 โอมม์ 2.3 เครอื่ งแต่งกาย (Clothing) เครื่องแต่งกายของนักดาบเอเป้มีรายละเอียดเหมือนที่กล่าวไว้เกี่ยวกับ เครื่องแตง่ กายโดยท่ัวไปของนกั ดาบข้างตน้ โดยมีข้อกำหนดเพมิ่ เตมิ ดังน้ี - หนา้ กาก (Mask) 38

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 จะต้องไม่ทำด้วยวัสดุที่เป็นเหตุให้เกิดการแฉลบเมื่อมีการแทงบริเวณ หน้ากาก ส่วนที่เป็นผา้ (Bib) จะตอ้ งคลุมถงึ ใต้กระดกู คอ หรอื จนถึงไหปลาร้า หน้ากากสำหรบั ดาบเอเป้ 3. ดาบเซเบอร์ (Sabre) ดาบเซเบอรเ์ ป็นอาวธุ ทใี่ ช้ไดท้ ้ังการแทงและการฟนั เป้าหมายของดาบเซเบอร์คือ ส่วนใดๆของร่างกายเหนือเส้นระดับที่ลากผ่านระหว่างส่วนบนจากสะโพกโดยรอบลำตัว ของนักดาบเมื่ออยู่ในท่าจรดดาบ สิ่งอุปกรณ์ที่นักดาบเป็นผู้จัดเตรียมเพื่อทำการแข่งขัน สำหรบั ดาบเซเบอร์ มีดงั นี้ สิง่ อปุ กรณ์สำหรบั ดาบเซเบอร์ 3.1 อาวธุ (Weapon) ดาบเซเบอร์ที่พร้อมใช้งานต้องมีน้ำหนักโดยรวมน้อยกว่า 500 กรัม มีความยาว โดยรวมสูงสุดไม่เกิน 105 ซม. (วัดจาก A ถึง C) ด้ามจับ (The handle) มีความยาวไม่ เกิน 17 ซม. เมื่อวัดจาก B ถึง C ใบดาบทำด้วยเหล็กกล้า มีความยาวสูงสุด 88 ซม. (วัด 39

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 จาก A ถึง B) เมื่อใบดาบถูกตัดขวางจะเป็นมุมฉาก ใบดาบบริเวณปุ่มที่อยู่ปลายดาบ (Buttจoาnก)AมถีคึงวาBม) เกมว่ือ้าใงบไดมา่เบกถินูก4ตัดมขมว.างแจละะเปค็วนรมมุมีคฉวากามใหบนดาาบอบยร่าิเงวนณ้อปยุ่ม1ท.ี่อ2ยมู่ปมล.ายสด่วานบปลาย ของใ(บBuดtาtoบnต)้อมงีคมวีคามวกาวม้าโงคไม้ง่เก(Cินu4rvมeม).ไแมล่เะกคินวร4มีคซวมา.มแหลนะาอใบย่าดงานบ้อจยะ1ต.2้องมมีค. สว่วานมปยลืดาหยยุ่นที่ เหมาขะอสงมใบโดดยาบสตาม้อางมรถีคโวคาม้งงโคอ้ง(ว(Cัดuจrาvกe)สไ1ม่เถกึงินส42ซ) มได. ้ตแล่ำสะใุดบด4าซบมจะ. ตแ้อลงะมสีคูงวสาุดมย7ืดซหมยุ่.นเทม่ี ื่อวัด ด้วยกเหามราไะมส่ใมชโ้นด้ำยหสานมัการหถรโคือ้งใงชอ้น(้ำวัดหจนาักกส210ถ0ึงกสร2ัม) หได้อ้ตย่ำสไวุด้ห4่างซม1. แซลมะ.สจูงาสกุดส7่วนซปม.ลเามยื่อวโัดดยยึด ตมรีคงึวดาตมดามรคี้วบกึงยวดตวากามา้าาบมกงรตไวแ1มาา้ น4ม่ใงชวแ1ซ้นนน4ม้ำอวหซ.นนมนอแบ.ักนลรแบะิเหลวรมระเิณคีวือมณวใหคี ชาวหา่ ้นมางา่ ้มำยจงหยจาานาากวกวักส1ส1ว่ ่ว255นน0ซป0ซปมมลลก..าารยโยโัมดดห7ย7ย0้ใอ0ใบยบซดซไมดวาม.บ้หาส.บใ่าำสสงให่ขำส1รนหข่ บั าซรนโนมับกาต.รโนจาก่งามตดรกแาา่งสนมบด่ววแา(นขGนบปอuวงลa(ขโGาrกdอยuร)งaง่ โจโดrดกะdายตร)บย่ง้อจึดดงะาตบ้อง กก ไมสเ่ ูงกไสมินสุดเ่ ูงกสนิ 1ุด7 1ซ7มซ.ม. ไไมมเ่่เกกินิน 110055ซซม.ม. ไไสสมมูง่เูงเ่กสกสินุดินุด88888888ซซซมซม.ม.ม.. C C BB AA ขข 1.2 มม. 44-6-6มมมม.. จจุดุดยอยดอด(T(ipT)ip) 1.2 มม. 3 มม. 3 มม. ฐาน (Base) 4 มม. ฐาน (Base) 4 มม. 3 มม. 3 มม. 1.2 มม. 3 มม. 3 มม. 1.2 มม. ค 70 ซม. 4 ซม. ค 70 ซม. 4 ซม. ง 200 กรัม สl ส2 1 ซม. ง 200 กรัม สl ส2 40 1 ซม.

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 1 อาวธุ ดาบเซเบอร์ 3.2 สายไฟฟ้าประจำตวั (Body wire) ดาบเซเบอรใ์ ช้สายไฟฟา้ ประจำตัวเหมือนกับดาบฟอยล์ สายไฟฟ้าประจำตัวสำหรบั ดาบเซเบอร์ 3.3 เคร่อื งแต่งกาย (Clothing) - หนา้ กาก (Mask) ตาข่าย (Mesh) ของหน้ากากควรทำด้วยโลหะ (Metal) และนำไฟฟ้าได้ รวมถึงส่วนที่เป็นผ้ายื่นปิดคอของหน้ากากก็ต้องนำไฟฟ้าได้ด้วย ต้องมีการเชื่อมต่อไฟฟ้า ระหว่างเสื้อไฟฟ้าและหน้ากากด้วยสายคลิปปากจระเข้ (Crocodile clip) ที่มีความยาว ระหว่าง 30-40 ซม. ทั้งนี้สายคลิปปากจระเข้ และบริเวณใดๆบนหน้ากากต้องมีความ ตา้ นทานไม่น้อยกวา่ 5 โอมห์ หนา้ กาก และสายคลิปสำหรบั ดาบเซเบอร์ 41

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 - เส้อื ไฟฟา้ (Conductive jacket) นักดาบต้องสวมเสื้อไฟฟา้ ไว้ดา้ นนอกของเส้ือดาบ ลักษณะของเส้ือไฟฟ้า สำหรับดาบเซเบอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของการแทงที่ถูกต้องตามกติกาดังที่ได้กล่ าว มาแล้ว โดยส่วนคอต้องมีความสงู อย่างน้อย 3 ซม. มีแถบสำหรบั หนีบสายคลิปปากจระเข้ (Crocodile clip) อย่ดู ้านหลัง ช่วงคอ (3 ซม.) ชายสาหรับคลิปปากจระเข้ หดหา้ลนลงั งั อยดู่ า้ นหลงั ของเส้ือไฟฟ้า หหดลา้ลนงั งั ดา้ นหหนนา้ ้า แถบยางยดื ส่วนท่ีไมน่ าไฟฟ้า เสื้อไฟฟา้ สำหรับดาบเซเบอร์ - ถงุ มือ (Glove) ถุงมือสำหรับดาบเซเบอร์ทำด้วยวัสดุที่นำไฟฟ้า จะยึดติดไว้หรือถอด ออกได้ก็ได้ โดยจะต้องคลุมบริเวณชายของแขนเสื้อ หรือปุ่มกระดูกของข้อมือ (The external cubital styliod) ทง้ั ในท่าจรดดาบ และท่าเหยียดแขนข้างท่ถี อื อาวุธตรง 42

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 กฬี าฟุตบอล มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณก์ ีฬา สนามแขง่ ขนั สนามแข่งขันต้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยความยาวของเส้นข้างต้องยา วกว่า ความยาวของเสน้ ประตู สนาม 43

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 1 การแขง่ ขันท่วั ไป ความยาว ตํ่าสุด 90 เมตร (100 หลา) สงู สดุ 120 เมตร (130 หลา) ความกว้าง ตาํ่ สดุ 45 เมตร (50 หลา) สูงสดุ 90 เมตร (100 หลา) การแข่งขันระหว่างชาติ ความยาว ต่ําสุด 100 เมตร (110 หลา) สูงสุด 110 เมตร (120 หลา) ความกว้าง ต่าํ สุด 64 เมตร (70 หลา) สูงสุด 75 เมตร (80 หลา) การทำเคร่ืองหมายตา่ งๆ ของสนาม สนามแข่งขันทำด้วยเส้นต่างๆ ซึ่งเส้นต่างๆ เหล่านี้จะเป็นพืน้ ทีข่ องเขตนั้นๆ ด้วย เส้นที่ยาวกว่า 2 เส้น เรียกว่า “เส้นข้าง” เส้นที่สั้นกว่า 2 เส้น เรียกว่า “เส้นประตู” ทุก เส้นต้องมคี วามกวา้ งไม่เกิน 12 เซนตเิ มตร (5 นวิ้ ) สนามแขง่ ขันต้องแบ่งออกเป็นสองส่วน เทา่ กนั โดยเส้นแบ่งแดนที่กึง่ กลางของเส้นแบง่ แดนจะทำจดุ กึ่งกลางสนามไว้และทำวงกลม รศั มี 9.15 เมตร (10 หลา) ลอ้ มรอบจุดนไ้ี ว้ เขตประตู เขตประตูจะทำไว้ตรงส่วนท้ายของสนามแตล่ ะด้าน ดงั น้ี จากขอบเสาประตูด้านในแต่ละข้างวัดออกไปตามแนวเส้นประตูด้านละ 5.5 เมตร (6 หลา) และทำเส้นเป็นแนวตั้งฉากกับเส้นประตูเข้าไปในสนามแข่งขันเป็น ระยะทาง 5.5 เมตร (6 หลา) เส้นสองเส้นนี้จะเชื่อมต่อด้วยเส้นหน่ึงที่เขียนขนานกับ เสน้ ประตู พืน้ ทภ่ี ายในเขตที่เส้นเหล่าน้แี ละเสน้ ประตลู ้อมรอบ เรยี กว่า “เขตประต”ู เขตโทษ เขตโทษจะทำไวต้ รงสว่ นท้ายของสนามแตล่ ะด้าน ดังน้ี จากขอบเสาประตูด้านในแต่ละข้างวัดออกไปตามแนวเส้นประตูด้านละ 16.5 เมตร (18 หลา) เส้นทั้งสองเส้นนี้จะเช่ือมต่อด้วยเส้นหนึ่งเขียนขนานกับเส้นประตู พื้นท่ี ภายในเขต ที่เสน้ เหลา่ น้ีและเสน้ ประตลู ้อมรอบ เรียกว่า “เขตโทษ” ภายในเขตโทษแตล่ ะ 44