Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลายผ้าเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ

ลายผ้าเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ

Description: ลายผ้าเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ

Search

Read the Text Version

การออกแบบและพฒั นาลายผ้าเอกลักษณ์ จังหวดั ศรีสะเกษ ผู้เขียน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศกั ดช์ิ าย สิกขา คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี E-mail: [email protected] Tel. 081-7900290 คณะที่ปรึกษาในการดำเนนิ งาน : นายสมศกั ด์ิ สวุ รรณสจุ รติ ผวู้ า่ ราชการจังหวัดศรสี ะเกษ นายวินัย สิทธิมณฑล รองผ้วู ่าราชการจงั หวัดศรสี ะเกษ นายทวปี มสุ กิ รนิ ทร์ พฒั นาการจงั หวัดศรีสะเกษ นายทวี ดำรงเลศิ บวร หวั หนา้ กลมุ่ งานสง่ เสรมิ การพฒั นาชุมชน นายวทิ ยา ราเต หวั หนา้ ฝ่ายอำนวยการ ดร. สทิ ธิชยั สมานชาติ : วิทยากรภาคทฤษฎี สาขาวิชาการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ (กลมุ่ วชิ า ส่ิงทอและแฟช่นั ) คณะศลิ ปประยกุ ตแ์ ละการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี นายบันเทิง ว่องไว : วิทยากรภาคปฏบิ ัติ ผเู้ ช่ียวชาญด้านผา้ ทอมอื และการย้อมสีธรรมชาติ บา้ นดา่ นเจรญิ ตำบลกระเทียม อำเภอสังขะ จงั หวัดสุรนิ ทร์ หนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ : สำนกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั ศรสี ะเกษ ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รม : ศกั ดชิ์ าย สิกขา. 2554. การออกแบบและพัฒนาลายผา้ เอกลกั ษณ์ จงั หวัดศรีสะเกษ: โรงพมิ พอ์ บุ ลกจิ ออฟเซท็ . 1. การออกแบบและพฒั นา 2. จักสานร่วมสมยั 3. ศรีสะเกษ ISBN : 978-974-458-342-0 พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 : กรกฎาคม พ.ศ. 2554 จำนวน 200 เลม่ สนบั สนุนโดย : งบประมาณ โครงการยุทธศาสตร์การพฒั นาจงั หวดั ศรีสะเกษ พิมพ์ท่ี : โรงพมิ พอ์ ุบลกจิ ออฟเซท็ 74-74/1 ถนนนครบาล ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี 34190 Tel. 045-264364, 045-265275

คำนำ ในปงี บประมาณ 2554 นี้ จงั หวดั ศรีสะเกษ การผลิตมาอย่างยาวนาน ทำให้ผู้ผลิตหลายกลุ่ม โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ ได้จัด พยายามคิดค้นลายผ้าใหม่หลายลวดลายเพ่ิมเติม โครงการ/ กจิ กรรมพฒั นาสนิ คา้ 2 กจิ กรรมยอ่ ย คอื แต่ยังไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นผ้าเอกลักษณ์จังหวัด กิจกรรมย่อย 1 การออกแบบและพัฒนา ศรีสะเกษ โครงการนี้จึงเป็นโครงการท่ีต้องมีการ ลายผา้ เอกลักษณ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ นัดหมายร่วมกัน มาช่วยกันสร้างสรรค์ลายผ้า กิจกรรมย่อย 2 การออกแบบและพัฒนา เอกลักษณ์ร่วมกัน และต้องยอมรับร่วมกัน เพราะ ผลิตภณั ฑจ์ ักสานรว่ มสมัย จงั หวดั ศรสี ะเกษ เกิดจากแนวคิดร่วมกันของทุกคน ซ่ึงเป็นผู้ผลิต ในการดำเนนิ การคร้ังน้ี ผู้เขียน ในฐานะท่ีเปน็ ผา้ ไหมทอมือในจงั หวัดศรีสะเกษ ส่วนหนึ่งในคณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้ ผลจากการดำเนินกิจกรรมตลอด 6 เดือน (KBO) จังหวัดศรีสะเกษ เป็นทีมงานวิทยากร ทั้งการระดมความคิดร่วมกัน การแยกกลุ่มทดลอง ในการจัดอบรม และทำหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษาด้าน ผลิต 7 กลุ่มย่อย และจัดประเมินติดตามผล การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ได้ติดตาม ทำให้เกิดลายผ้าเอกลักษณ์ ในจังหวัดศรีสะเกษ ผลการดำเนินงานทั้งสองกิจกรรมและรวบรวม หลายรูปแบบ ซึ่งคาดว่าน่าจะเกิดประโยชน์ต่อ ข้อมูลเขียนเอกสารสรุปโครงการเพื่อใช้ในการ การพฒั นาในระยะยาว เผยแพร่กิจกรรม ซ่ึงผู้เขียนเห็นว่า กิจกรรมทั้งสอง ผู้เขียนในนามของคณะทำงาน หวังใจว่า กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อกลุ่มผู้ผลิต กิจกรรมทุกอย่างท่ีเกิดข้ึนจากโครงการน้ี จะเกิด โดยกลมุ่ จกั สานและกลมุ่ ผผู้ ลติ ผา้ ทอมอื ถอื เปน็ กลมุ่ ประโยชน์ต่อบุคคลทั้ง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ผลิต ผู้ผลิตส่วนใหญ่ในจังหวัดศรีสะเกษ ในเอกสารชุดน้ี และกลุ่มผู้ใช้ผ้าไหมทอมือ จังหวัดศรีสะเกษ ท้ังน้ี จะเปน็ การสรปุ ขอ้ มลู การพฒั นาผา้ ทอมอื โดยเฉพาะ หากมีคุณความดีใดเกิดขึ้นจากการดำเนินงานใน ผู้ผลติ ผ้าไหม คร้ังน้ี ผู้เขียนขอมอบความดีนี้ให้กับความร่วมมือ จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดที่มีผลิตผ้าทอมือ ร่วมใจของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่คณะ หลายชนดิ โดยเฉพาะ ผ้าไหมย้อมมะเกลอื ถอื เป็น วิทยากร ผู้ประสานงานโครงการ ผู้นำชุมชน และ ผ้าเอกลักษณ์ที่มีความงามไม่แพ้จังหวัดอ่ืน กลุ่มอาชีพทุกกลุ่มที่ร่วมแรงร่วมใจผลิตลายผ้า ลายยอดนยิ ม คือ ผา้ ลายลูกแกว้ ดว้ ยระยะเวลาทม่ี ี ตน้ แบบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดชิ์ าย สิกขา



สารบัญ 01 หลักการและแนวคดิ เกีย่ วกับการพัฒนาลายผา้ พน้ื เมือง 01 ผ้าพน้ื เมืองในอีสาน กับแนวคดิ ในการพัฒนาลายผา้ 02 การสร้างสรรค์ลายผ้าดว้ ยเทคนิคตา่ งๆ ในภาคอีสาน 06 ผา้ ไหมลายลกู แก้วผ้าพ้ืนเมือง จงั หวดั ศรีสะเกษ 12 ผา้ ไหมมดั หมี่ จงั หวัดศรสี ะเกษ 13 ลวดลาย และการพฒั นาลายผ้าในจงั หวดั ศรีสะเกษ 15 การศกึ ษาเอกลกั ษณจ์ งั หวดั ศรสี ะเกษ เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการออกแบบลายผ้า 15 ประวัตศิ าสตร์ จังหวดั ศรสี ะเกษ 16 ตำนาน ชอ่ื เมืองศรีสะเกษ 18 การศึกษาปราสาทหิน ในจงั หวัดศรสี ะเกษ 22 การศึกษารปู แบบของปราสาทขอมในจงั หวัดศรสี ะเกษ 24 ดอกลำดวน ดอกไม้ประจำจงั หวัดศรสี ะเกษ 25 ขนมดอกลำดวน ขนมประจำจงั หวดั ศรีสะเกษ 25 ธรรมชาตใิ นจงั หวดั ศรสี ะเกษ 27 ประเพณีสเี่ ผ่าไทย จังหวัดศรสี ะเกษ 29 การพฒั นาลายผ้าเอกลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ 29 กจิ กรรมที่ 1 การจดั กิจกรรมระดมความคดิ 32 กจิ กรรมที่ 2 การเตรยี มการกอ่ นฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร 35 กจิ กรรมที่ 3 การจัดอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการในพืน้ ท่ี 49 กิจกรรมที่ 5 การตรวจและประเมินผลงาน 52 กจิ กรรมท่ี 6 การติดตามผลการดำเนนิ งาน 53 ข้อสรปุ จากการติดตามผลในพ้นื ท่ี 55 บรรณานุกรม 57 ภาคผนวก แบบลายผ้าเอกลักษณจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ



หลักการและแนวคดิ เกี่ยวกบั การพฒั นาลายผ้าพนื้ เมือง ผา้ พ้นื เมอื งในอีสาน กบั แนวคิดในการพฒั นาลายผา้ หากย้อนอดีต อาจกล่าวได้ว่า คนอีสานส่วน ผ้ามัดหมี่ ผ้าขิด ผ้าทอยกดอก มีทั้งฝ้ายและไหม ใหญ่เป็นชาวพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ด้ังเดิมไม่ได้อพยพ สว่ นลายผา้ ทเ่ี ปน็ วฒั นธรรมรว่ มมหี ลายประการ เชน่ มาจากไหน ในปัจจุบนั ภาคอสี าน แบง่ การปกครอง ผ้าซนิ่ จะเป็นลายที่ขนานกับลำตวั ซง่ึ ตา่ งกบั ลายผ้า ออกเป็น 20 จังหวัด คนในแถบอสี าน สว่ นใหญ่ ของชาวล้านนาหรือภาคเหนือท่ีเป็นลายรอบตัว มีศิลปวัฒนธรรมร่วมกัน แต่อาจมีแตกต่างกันบ้าง ผา้ ขาวมา้ และผา้ ซนิ่ ถอื เปน็ ผา้ พน้ื เมอื งทม่ี กี าร ในรายละเอียดท่ีเป็นปลีกย่อยของแต่ละวัฒนธรรม ใช้ทั้วไปในภาคอีสาน ลวดลายบนผืนผ้า ในแต่ละ ประเพณี สำหรับวัฒนธรรมการใช้ผ้า และกรรมวิธี ท้องถ่ินจะสะท้อนความงามท่ีแตกต่างกันตามความ การผลิตผ้ามีหลักการเดียวกัน ผ้าท่ีทอมากคือ นิยมทสี่ ืบต่อกนั มา กซลา้ ยาง: ผา้ ไหมมัดหมีล่ ายใบไม้ : ผา้ ไหมยกทอง ลายดาวลอ้ มเดอื น ขวา : ผ้าขาวม้าไหมเกบ็ ขิดลายชา้ ง และลายนาค 1

การสร้างสรรคล์ ายผา้ ด้วยเทคนคิ ต่างๆ ในภาคอีสาน ศิลปะการสร้างลวดลายบนผืนผ้าไม่มีกำหนด ภาษาถน่ิ อสี านหมายถงึ ปราสาท ลายนาค คนอสี าน เป็นตำรา แต่ผู้ผลิตจะผูกลายวิจิตรสวยงามขึ้นตาม มคี วามเชอื่ เรอ่ื งนาค โดยมนี ยั แหง่ ความอดุ มสมบรู ณ์ จินตนาการท่ีประสบ แฝงด้วยศิลปวัฒนธรรม ลายสโี ห ซง่ึ เปน็ ชอ่ื เรยี กตวั ละครในวรรณกรรมพน้ื ถน่ิ อนั ประณีต ละเอยี ดอ่อน จนกอ่ เกดิ เป็นเอกลกั ษณ์ ท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกับสัตว์หิมพานต์ท่ีเรียกว่า ของชุมชน เช้ือชาติ มีการสืบทอดในครัวเรือนจาก คชสีห์ คอื มีหวั เป็นช้าง หางเป็นมา้ ลำตวั เป็นสงิ ห์ รุ่นสู่รุ่น ในอดีตลวดลายบนผืนผ้ากลายเป็นสิ่ง และสุดท้าย ลายเอี้ย หรือลายซิกแซ็ก ซึ่งในกลุ่ม บ่งบอกความนิยมเฉพาะถ่ิน โดยใช้ความประณีต ช่างทอไทลาวใช้เรียกลายนาคที่ไม่มีหัวปรากฏ ละเอยี ดออ่ นของผา้ เปน็ สง่ิ บง่ บอกฐานะของผสู้ วมใส่ รูปร่าง ดังนั้นในการออกแบบลวดลายผ้าทอจาก จวบจนเวลาเปลี่ยนแปลงไปผ้าทอมือพ้ืนบ้าน แนวคดิ ลายโบราณอาจเปน็ การนำแนวคดิ และความ เหล่านั้นกลับไม่ตอบสนองความต้องการของตลาด เชื่อมาจัดองค์ประกอบใหม่โดยวิธีลดทอนจำนวน การพฒั นาลายผา้ กลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการพฒั นา ลายให้น้อยลง และจัดองค์ประกอบใหม่โดยเฉพาะ เข้าสู่ตลาด แต่การที่จะออกแบบลวดลายใหม่ไม่ได้ ลวดลายมัดหมี่จากเส้นพุ่ง มีการมัดหมี่หลายหัวใน เป็นส่ิงท่ีง่ายกับทุกคน ซ่ึงต้องยอมรับความจริงว่า ผ้าหนึ่งลาย ในงานออกแบบอาจใช้คอมพิวเตอร์ ช่างทอพ้ืนบ้านมีข้อจำกัดในการออกแบบลายใหม่ เข้ามาช่วยเพ่ือทำให้งานออกมาสะดวกรวดเร็วและ เน่ืองจากช่างทอไม่มีพ้ืนฐานความรู้ด้านศิลปะและ เป็นระบบมากข้ึน ซึ่งควรต่างจากในยุคก่อนที่จะใช้ การออกแบบ ซง่ึ ในสว่ นทช่ี า่ งทอจะสามารถออกแบบ วิธีการสืบทอดลายด้วยการสอนแบบปากต่อปาก ลายผ้าได้เองน้ันมีน้อย ความจริงที่เกิดข้ึนจึงมัก หรือการลอกเลียนแบบจากผ้าเก่า อีกท้ังโปรแกรม เป็นการลอกเลียนแบบลวดลายระหว่างชุมชน คอมพิวเตอร์ จะช่วยให้เกิดสีสัน และลวดลาย คณุ สำรวย เยน็ เฉอ่ื ย เจา้ ของรา้ น ชลบถพบิ ลู ย์ ท่เี หมาะสม สามารถนำไปพฒั นาได้ต่อเน่ือง ช่วยให้ ผู้ออกแบบและผลิตผ้าไหมมัดหม่ีอีสานแนวใหม่ การออกแบบรวดเรว็ และงา่ ยขนึ้ เมอ่ื ไดล้ วดลายแลว้ ของจังหวดั ขอนแก่น เคยกลา่ วถึงแนวคิดที่ใชใ้ นการ หลังจากน้ันจึงให้ช่างพื้นบ้านทำการคำนวณการ ออกแบบลายใหม่ในหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ สร้าง ลำหม่ี เพ่ือทำการมัดหมี่ ซึ่งกระบวนการ (ฉบับที่ 2394 วันที่ 22- 24 มกราคม พ.ศ. 2552) การมัดหม่ี มักจะมีปัญหาเล็กน้อยเพราะการทอผ้า วา่ วธิ กี ารออกแบบลายผา้ ใหมอ่ าจนำหาแรงบนั ดาล หน่ึงลายแต่หลายหัว นั้นทำให้ช่างทอสับสนบ้าง ใจจากลวดลายโบราณท่ีปรากฏในลวดลายผ้าอีสาน เพราะเป็นส่ิงที่ช่างทอพ้ืนบ้านไม่คุ้นเคย ดังนั้น ก็ได้ เช่น ลายผาสาด เป็นการเขียนและอ่านใน ลายผ้าจากการออกแบบในกระดาษต้องอธบิ ายราย 2

ละเอียดให้ชัดเจน ถึงโครงสร้างของการวาง ซึง่ มีความหมายเดยี วกันกบั อุปราคา ราหูอมจันทร์ องค์ประกอบศิลป์ใหม่ และในระหว่างทอสิ่งที่ จันทรุปราคา จึงได้กำหนดโครงสร้างลายเป็นรูป ชา่ งทอผา้ จะตอ้ งระวงั คอื ผา้ ทอมหี มหี่ ลายหวั ดงั นน้ั วงกลมซ่งึ ใชแ้ ทนพระจนั ทร(์ เดอื น) และทำการออก ช่างทอจึงต้องไม่ให้ลายหมี่ (ลวดลาย) ขาดหรือ แบบและพัฒนาลวดลายจากรูปทรงกบจากโครง สบั สนกัน นอกจากลวดลายโบราณแล้ว คณุ สำรวย สร้าง และนำมาจัดเปน็ แบบท่งี า่ ยสำหรับการมัดหมี่ เย็นเฉื่อย ยังได้นำแนวคิดการพัฒนารูปทรงของ ทย่ี งั คงรปู แบบของสเ่ี หลยี่ มซง่ึ เปน็ โครงสรา้ งของกบ ศิลปะพื้นบ้านมาเป็นแรงบันดาลใจจากสีสันและเงา เอาไว้ แล้วนำไปจัดองค์ประกอบใหม่ แต่ยังคงลาย การแสดงจาก หนังตะลุงอีสาน หรือที่ชาวอีสาน มดั หมี่แบบประเพณเี อาไว้ สว่ นกระบวนการทอเมื่อ เรียกว่า หนังปราโมทัย โดยการถ่ายภาพขณะท่ี ได้ลวดลายแล้ว ช่างพื้นบ้านได้ทำการคำนวณการ คณะหนังตะลุงทำการแสดง แล้วนำรูปร่างที่ได้จาก สร้าง ลำหมี่ เพอื่ ทำการมัดหมี่ ซง่ึ กระบวนการการ การเก็บขอ้ มูลภาคสนาม มาคดั เลอื กเพื่อพัฒนาเปน็ มัดหมีม่ ีปญั หามากโดยเฉพาะรปู วงกลม เพราะเป็น ลวดลายในการทอผา้ ดว้ ยเทคนคิ มดั หม่ี และไดใ้ ชว้ ธิ ี สิ่งที่ช่างทอพ้ืนบ้านไม่คุ้นเคย ดังนั้นในการมัดหม่ี การตัดทอนรูปร่างของเงาหนังตะลุง เน่ืองจากเงามี ลายนี้จึงมัดเพียงครึ่งวงกลม เพื่อท่ีเวลาทอลาย ลายละเอียดมาไม่เหมาะในการสร้างลวดลายด้วย ครึ่งวงกลมจะกลับออกมาจะเป็นรูปวงกลมได้ใน การมดั หมี่ เมอ่ื ไดล้ วดลายทตี่ อ้ งการแลว้ ชา่ งพน้ื บา้ น กระบวนการทอเนื่องจากรูปทรงกลมที่ผู้ออกแบบ จะคำนวณการสร้าง ลำหม่ี เพื่อทำการมัดหมี่ กำหนดเมื่อทอในข้ึนแรกรูปทรงกลมไม่ได้กลมอย่าง ซ่ึงกระบวนการการมัดหม่ีมีปัญหาเน่ืองจากเป็น ทีอ่ อกแบบคือมลี ักษณะเปน็ รูปทรงร(ี วงกลมถกู บบี ) รูปแบบการสร้างลวดลายของรูปทรงอิสระ เพราะ ช่างทอและผู้ออกแบบจึงได้ใช้เทคนิคการสอด เป็นสิ่งท่ีช่างทอพื้นบ้านไม่คุ้นเคย ดังนั้นในการ เสน้ พงุ่ เพม่ิ เพอื่ ใหโ้ ครงสรา้ งของรปู ทรงขยายออกไป มดั หมกี่ ลมุ่ ลายหนงั ตะลงุ นจ้ี งึ มกี ารรา่ งเสน้ ตามแบบ จงึ ทำใหล้ วดลายที่ออกมาในผา้ ผนื ตอ่ มาเปน็ รปู ทรง บนเส้นใหม่ทางพุ่งก่อนการมัด และช่างทอมัดตาม กลมได้ หลงั จากทอผา้ ออกมาเปน็ ผนื แลว้ จะมที ง้ั สไบ ลายเว้นทร่ี า่ งเอาไว้ และผ้าตัดชุด สนนราคาหลกั รอ้ ยจนถึงหลักพนั บาท นอกจากการนำลายผ้าโบราณ การนำศิลปะ ข้ึนไป นับว่าเป็นอีกวิธีหน่ึงท่ีคนรุ่นใหม่จะรักษา พนื้ บา้ นมาใชใ้ นการออกแบบลายผา้ แลว้ คณุ สำรวย มรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินไว้ โดยใช้เทคโนโลยี เยน็ เฉอื่ ย ยงั ไดน้ ำคตคิ วามเชอื่ จากเรอ่ื ง กบกนิ เดอื น เข้ามาช่วย และเชื่อว่าดีกวา่ แบบดัง้ เดมิ มาเปน็ แนวคดิ ในการออกแบบ ซงึ่ เปน็ ภาษาชาวบา้ น 3

แนวคิดดังกล่าวข้างต้น แม้จะผ่านมา หลายปีแล้ว ก็ถือว่ายังเป็นแนวคิดท่ีทันสมัย สามารถนำมาใช้ได้ในยุคปัจจุบัน เป็นแบบอย่างท่ีดี ของการคดิ สร้างสรรค์ ผา้ ไหมมัดหม่ีลายนาคเกี้ยว ผ้าไหมมดั หมล่ี ายเต่างับ ผา้ ไหมมัดหมลี่ ายเรือหงส์ ผ้าไหมมัดหมค่ี ่นั ลายดอกพกิ ลุ ผา้ ไหมมัดหม่ีลายดอกมะเขือ ผ้าไหมมดั หมี่ลายโคมหา้ ตัวอย่าง ลายผ้าไหมมัดหมี่ แบบตา่ งๆ ในภาคอสี าน 4

ในปัจจุบันคนอีสานได้ปรับตัวเข้าสู่การเป็น อาชพี น้จี ากเดิมที่เกษตรกรยดึ ถือภูมปิ ญั ญาพ้นื บา้ น สังคมสมัยใหม่มากข้ึน แต่วิถีแห่งเกษตรกรรมอัน ท่ีได้รับการถ่ายทอดกันมาเป็นหลักในการเลี้ยง เป็นรากเหง้าที่แท้จริงไม่ได้เปลี่ยนแปลง ในความ หม่อนไหมจนกระท่ังถึงการทอผ้า แม้ว่าท่ีผ่านมา เรียบง่ายของการดำรงชีวิตอย่างเกษตรกรได้มีผู้คน ผู้ผลิตจะสามารถผลิตผ้าไหมได้สวยงามและมี จำนวนหนึ่งที่ง่วนอยู่กับการถักทอเส้นใย มีความ เอกลักษณ์ หากแต่ต้องยอมรับความจริงว่าผลผลิต สามารถในการถกั ทอผ้าไหมผนื สวย ทช่ี ว่ ยสรา้ งงาน ที่ผ่านมานั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยังไม่ เสริมรายได้ให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น แน่นอน ส่งผลต่อการพัฒนาในเชิงธุรกิจระยะยาว การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหมจึงเป็น การได้รับการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก กจิ กรรมท่ีมีความผูกพันกับคนอีสานมาชา้ นาน และ หลายหน่วยงานท่ีร่วมด้วยช่วยกันในหลักวิชาการที่ มีพัฒนาการอันเป็นผลมาจากความร่วมมือกันของ ถูกต้องและเหมาะสมถือเป็นส่ิงสำคัญที่จะทำให้ หลายหนว่ ยงาน นบั ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2544 เปน็ ตน้ มา ปริมาณและคณุ ภาพของผลผลิตปรบั ตวั ดขี นึ้ ภาครัฐเล็งเห็นความสำคัญและศักยภาพของสาขา การตรวจรงั ไหม การสาวไหม(สาวหลอก) และการทอผา้ ไหม ในปี พ.ศ. 2554 เป็นอกี คร้งั หนงึ่ ท่หี น่วยงาน เอกลักษณ์ของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นการกระตุ้นให้ ภาครัฐ โดยคณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้ เกดิ การตืน่ ตัวในการพัฒนา สรา้ งส่ิงใหม่เข้าสู่ตลาด (KBO) จังหวัดศรสี ะเกษ เห็นความสำคญั ทจ่ี ะตอ้ งมี และให้ความสำคัญกับคุณภาพของผ้าไหม ในการนี้ การปรับตัวให้สอดคล้องกับวิถีทางการตลาด จำเปน็ ตอ้ งมกี ารทบทวนการพฒั นาทผี่ า่ นมา จากผา้ จงึ ไดจ้ ดั ทำโครงการ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพด้านการย้อม ยอ้ มมะเกลอื ผา้ ลายลกู แกว้ และผา้ หมดั หมล่ี ายตา่ งๆ สีธรรมชาติ การสร้างสรรค์ลายผ้าใหม่ให้มี สู่การพฒั นาใหม่ 5

ผา้ ไหมลายลกู แกว้ ผ้าพนื้ เมือง จังหวดั ศรีสะเกษ ในปัจจุบันอาจถือได้ว่า ผ้าไหมลายลูกแก้ว ถ่ินฐานอยู่หนองบัวลำภูต่อเน่ืองมาหลายชั่วอายุคน เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตมากท่ีสุด มีอยู่แทบทุก ก่อนท่ีจะอพยพหนีภัยสงครามที่เกิดความขัดแย้ง พ้ืนที่ในจังหวัดศรีสะเกษ หน่วยงานราชการภายใน กบั ลาวในยุคน้ัน การอพยพไมไ่ ด้มาแต่ตวั คน แต่ยงั จังหวดั ต่างใหก้ ารสนับสนนุ จนไดร้ บั เลือกใหเ้ ปน็ ผา้ ไดน้ ำงานฝีมือติดมาด้วย เอกลักษณจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ ดงั นัน้ ในการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ครั้งนี้ คงหลีกไม่พ้นที่จะต้อง วถิ ชี มุ ชนคนศรสี ะเกษกบั ผา้ ลายลกู แกว้ ศกึ ษาคน้ ควา้ แนวทางในการพฒั นาเพอื่ สรา้ งจดุ ขาย กว่าจะเห็นเป็นผืนผ้าคงต้องเร่ิมตั้งแต่รังไหม ให้กับจังหวัดศรีสะเกษ ในการนี้ ผู้เขียนได้ศึกษา ซ่ึงชาวบ้านเรียกว่า “ฝักหรอก” มีเส้นใยไหม ข้อมลู จากเอกสารต่างๆ ที่รวบรวมไว้ จากสำนักงาน แบง่ เป็นสองชน้ั ชั้นนอกเรียกว่า “ไหมเปลอื กนอก” พัฒนาชุมชนจังหวดั ศรสี ะเกษ ซ่ึงมขี ้อมลู ท่ีนา่ สนใจ เมื่อสาวออกมาจะได้เส้นใยไหมที่มีขนาดใหญ่ ควรค่าแก่การศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา หยาบ เรียกอีกอย่างว่า “ไหมใหญ่” ช้ันในถัดจาก ดังน้ี ไหมเปลือกนอกเข้าไปจะเป็นเส้นใยขนาดเล็ก ละเอียด มีความวาวกว่าไหมเปลือกนอก เรียกว่า ตำนานผ้าไหมลายลกู แกว้ “ไหมน้อย” จากลักษณะตามธรรมชาติของ ผา้ ลายลกู แกว้ เดิม ชาวบา้ นเรยี กกว่า ผา้ แพร เส้นใยไหมดังกล่าว เป็นเหตใุ ห้เกิดแนวคิดในการนำ เหยียบ ท่ีเรียกผ้าแพรเหยียบ ก็เพราะในการทอ เสน้ ไหมไปใชป้ ระโยชนใ์ หเ้ หมาะกบั สภาพการใชง้ าน ผทู้ อจะต้องเลือกเหยียบไมส้ ลบั ตะกอ ซง่ึ มี 4 ตะกอ “ ไ ห ม เ ป ลื อ ก น อ ก ” ห รื อ “ ไ ห ม ใ ห ญ่ ” เพือ่ ใหไ้ ด้ลายผ้าทเ่ี ป็นลายเฉพาะของผา้ แพรเหยียบ เมื่อทอเป็นผ้าจะได้ผ้าเน้ือหนา หยาบ เหมาะ ซึ่งก็คือ ลายลูกแก้ว การทอผ้าไหมลายลูกแก้วใน สำหรับตัดเปน็ เส้อื ใสท่ ำงานทีต่ อ้ งสมบกุ สมบัน เชน่ จังหวัดศรสี ะเกษมีมานาน กวา่ 200 ปีก่อน เริม่ ตน้ ใส่ทำนา ทำไร่ หรือเดินทางฝ่าแดดลมไปค้าขายใน จากภูมิปัญญาชาวบ้านในการปลูกหม่อน เล้ียงไหม ท้องถิ่นห่างไกลออกไป การทอจะนิยมทอด้วย และสาวเอาเสน้ ไหม มาทอเปน็ ผา้ ตา่ งๆ เชน่ ผา้ โสรง่ เทคนิคพิเศษผ้า 4 ตะกอ ยกดอกเป็นลายลูกแก้ว ซิ่นคั่น ผ้าหางกระรอก และผ้าไหมลายลูกแก้ว ซ่ึงนอกจากจะทำให้ได้ผ้าท่ีหนา ทนทานแล้ว ชาวบ้านได้สืบทอดต่อกันมาจากบรรพบุรุษท่ีมี ยังแสดงให้เห็นถึงฝีมือผู้ทออีกด้วย เพราะผู้ท่ี 6

สามารถทอผ้า 4 ตะกอได้ ต้องมีคุณสมบัติเป็น การสืบทอดภูมปิ ัญญา คนทอผา้ เกง่ มคี วามชำนาญ มคี วามละเอยี ดละออ การสืบสานผลิตภัณฑ์ และภูมิปัญญาการ ประณตี และความวริ ยิ ะอตุ สาหะสงู ชายใดไดส้ วมใส่ ทอผ้าไหมลายลูกแก้ว ชาวจังหวัดศรีสะเกษได้นำ ผา้ ลายลกู แกว้ กแ็ สดงวา่ ชายนน้ั มภี รรยาทม่ี คี ณุ สมบตั ิ ผา้ ไหมลายลกู แกว้ มาตดั เยบ็ เปน็ เสอื้ ยอ้ มดำมะเกลอื ดังกล่าวอยู่อย่างเพียบพร้อม ในอดีตชาวบ้านทุก ใช้สวมใส่ทำงานมาอย่างต่อเน่ือง จนถึงปัจจุบัน เพศทุกวัยจะนิยมสวมเส้ือไหมลายลูกแก้วย้อมดำ ในช่วงเดือนกันยายน ตุลาคม และพฤศจิกายน มะเกลือในการทำงาน เมอ่ื ถงึ ฤดูกาลท่มี ะเกลือมีผล ทมี่ ะเกลือยงั มผี ลอย่กู ็จะเหน็ ผา้ ย้อมดำมะเกลอื ตาก ก็ต้องนำมาย้อมซ้ำ ทำให้ได้เสื้อที่มีความหนา อย่กู บั พ้นื ลานบา้ นทั่วไป มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น เสื้อย้อมดำมะเกลือนี้ชาวบ้าน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า กล่าวว่ามีคุณสมบัติพิเศษตรงท่ีซักแล้วไม่ต้องรีด อยู่หวั (รัชกาลท่ี 5) ทรงสง่ เสรมิ การทอผา้ ไหมของ สวมใส่ทำงานได้เลย และสามารถสวมใส่ซ้ำได้ถึง ชาวอีสาน โดยให้ข้าราชบริพารผู้ปกครองมณฑล 3 วัน โดยไม่มีกล่ินเหม็น และเหนียวเหนอะหนะ จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการทอผ้าไหมข้ึนท่ีจังหวัด จากคราบเหงอื่ ไคล รกั ษาผวิ พรรณในรม่ ผา้ จากแดด อุบลราชธานีและจังหวัดนครราชสมี า มีชาวจนี เปน็ ลมไดเ้ ปน็ อย่างดี ผู้มาให้ความรู้ทั้งทางด้านการปลูกหม่อนเล้ียงไหม เดิมชาวบ้าน จะใช้ไหมน้อยทอเป็นผ้าโสร่ง การสาวไหม การฟอก การย้อม การออกแบบ ซ่ินค่ัน ผ้าหางกระรอก และผ้าไหมมัดหม่ี ลวดลายและการทอ ทำให้การทอผ้าไหมในภาค ไม่นิยมทอเป็นผ้าลายลูกแก้ว ต่อเมื่อได้ไปเห็นการ อีสานเฟื่องฟู มีการทอเพ่ือขายให้กับข้าราชบริพาร ประกวดผ้าไหมลายลูกแก้วที่พระตำหนักภูพานราช และราชสำนักไทย นอกเหนือจากการทอเพ่อื ใช้เอง นิเวศน์ จึงได้เร่ิมใช้ไหมน้อยทอเป็นผ้าลายลูกแก้ว เป็นคร้ังแรก หลังจากสิ้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จ เพื่อส่งเข้าประกวดบ้าง ต่อมาในปี พ.ศ. 2544 พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การทอผ้าไหมในภาค ทางราชการเหน็ วา่ จงั หวดั อบุ ลราชธานี เลอื กผา้ ไหม อีสานเพ่ือการค้าซบเซาลง แต่ชาวบ้านก็ยังคงทอ ล า ย ก า บ บั ว เ ป็ น ผ้ า เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง จั ง ห วั ด เพ่ือใช้เอง ต่อมาเม่ือสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ สภาวัฒนธรรมอำเภอบึงบูรพ์ ได้เลือกผ้าลาย พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดำเนนิ เพ่ือเย่ียม ลูกแก้วบ้านเป๊าะเป็นผ้าเอกลักษณ์ของอำเภอโดย เยียนราษฎร ทรงทอดพระเนตรเห็นราษฎร ใช้ช่ือว่า “ผ้าลายลูกแก้วบึงบูรพ์” และกรรมการ ชาวไทยอสี านสวมใสผ่ า้ ไหมรบั เสดจ็ ฯ มลี วดลายสสี นั สภาวฒั นธรรมอำเภอบรู พ์ ไดเ้ สนอตอ่ สภาวฒั นธรรม ท่ีสวยงาม ประณีตก็ทรงสนพระทัยและทรงมี จังหวดั ศรีสะเกษ ใหใ้ ชผ้ า้ ลายลกู แกว้ บงึ บูรพ์เป็นผา้ พระราชดำริที่จะส่งเสริมการทอผ้าไหมเพ่ือให้ เอกลักษณ์ของจังหวัดศรีสะเกษ และเพื่อให้เข้ากับ ชาวบ้านที่ยากจนมีรายได้เพิ่มอีกทางหนึ่งต้ังแต่ปี ต้นไม้ประจำจังหวัด จึงกำหนดให้ผ้าลายลูกแก้ว พ.ศ. 2519 และต่อมาทรงโปรดฯ ให้มีการประกวด สีดอกลำดวนเป็นผ้าเอกลักษณ์ของจังหวัด ผ้าไหมขึ้นท่ีพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัด ศรสี ะเกษ ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา สกลนครเปน็ ประจำอย่างตอ่ เนอื่ งมาหลายปี 7

วัฒนธรรม ความเช่ือที่เก่ียวข้องกับ ผ้าลายลูกแกว้ ผ้าลายลูกแก้วจากอดีตถึงปัจจุบัน ไม่เป็นแต่ ลูกแก้วยังต่างถ่ินเป็นกลุ่มๆ เป็นท่ีสะดุดตาแก่ผู้พบ เพียงลายผ้าที่สร้างความสวยงามสำหรับการสวมใส่ เห็นกลายเป็นเอกลักษณ์สะท้อนความเป็นชุมชน แตม่ หี ลายแงม่ มุ ทสี่ ะทอ้ นถงึ ความเปน็ ชมุ ชนทม่ี เี อก อย่างชัดเจน เพราะไม่มีคนจากถิ่นอื่นสวมเสื้อผ้า ลักษณ์ในการใช้ส่ิงของ มีภูมิปัญญาท่ีเช่ือมโยง เหมือนอย่างชาวศรสี ะเกษ คนผพู้ บเห็นมักจะเข้ามา กับหลายสิ่ง ซ่ึงพอสรุปคุณค่าของผ้าแพรเหยียบ ขอลูบคลำเน้ือผ้าด้วยความช่ืนชมในความงาม หรือผา้ ลายลกู แก้ว ในแงม่ ุมตา่ งๆ 4 ประการ ดังน้ี ปจั จบุ นั กลมุ่ ทอผา้ ไหม เมอ่ื นำผา้ ไหมไปจำหนา่ ยทใ่ี ด 1) ลวดลายทีส่ ะท้อนความเปน็ ชมุ ชน ต้งั แต่ ก็มักจะสวมเสื้อผ้าแพรเหยียบยกดอกลายลูกแก้ว อดีตจนถึงปจั จุบนั ชาวจังหวดั ศรสี ะเกษ นยิ มสวม ย้อมดำมะเกลือ เส้ือผ้าแพรเหยียบย้อมดำมะเกลือยกดอกลาย การทอผ้าไหม ลายลูกแก้ว 8

2) การเชื่อมโยงกับส่ิงแวดล้อม เดิมมี 3) สะทอ้ นภมู ปิ ญั ญาทางดา้ นศลิ ปหตั ถกรรม ต้นมะเกลือขึ้นอยู่ตามธรรมชาติมากมาย และ ของชาวบ้าน มกี ารผลติ เพอื่ ใหเ้ หมาะแก่การใช้งาน ชาวบา้ นกม็ ภี มู ปิ ญั ญาในการยอ้ มผา้ ดว้ ยผลมะเกลอื แบบพ่ึงพาตนเอง ในขณะเดียวกันก็แสดงให้เห็น มานาน รู้ถึงคุณค่าของผ้าย้อมดำมะเกลือเป็น ถึงศิลปะการทออันประณีตก่อให้เกิดความภาค อย่างดี ทำให้ยังคงรักษาภูมิปัญญาและต้นมะเกลือ ภูมิใจท้ังผู้ทอและผู้สวมใส่ มีผลทำให้เกิดความรัก ไว้ แม้ความเจริญในปัจจุบันจะทำให้ต้นมะเกลือ ความผูกพนั ของคนในท้องถ่นิ ได้อยา่ งลึกซงึ้ มนี อ้ ยลง แตก่ ย็ งั พอมี พอยอ้ มอยู่ สง่ิ ทน่ี า่ เปน็ หว่ งคอื ปัจจุบันชาวบ้านไม่มีพ้ืนท่ีสำหรับการปลูกหม่อน เลี้ยงไหม และขาดพ้นื ทป่ี ลูกปา่ เพ่ือปลกู ต้นมะเกลือ เพม่ิ บางส่วนจึงไดพ้ ยายามนำมาปลกู บรเิ วณบ้าน ตน้ มะเกลือ ลกู มะเกลอื การแยกลกู มะเกลอื ออกจากก่งิ ผา้ ยอ้ มมะเกลอื 9

4) ความเกย่ี วขอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรม ความอดทนอดกล้ัน ความมีเมตตา กรุณาและ ของชุมชน นอกจากชาวบ้านจะนิยมสวมเสื้อผ้า ความมีสติ เป็นต้น เช่น ห้ามดุด่า สาปแช่ง และ แพรเหยียบลายลูกแก้วย้อมดำมะเกลือทำงานอย่าง ตีลกู เมยี หากดดุ ่า สาปแช่ง ลกู เมียกจ็ ะมอี ันเปน็ ไป หลากหลาย จนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ ตามท่ีถูกด่า สาปแช่ง หรือหากอดกลั้นไม่ได้ ชุมชนแล้ว ในด้านวัฒนธรรมที่เก่ียวข้องกับ หลงตีลูกตีเมีย ลูกเมยี กจ็ ะถึงกับตาย หรือหา้ มไม่ให้ พระพุทธศาสนาที่ชาวบ้านนับถือ ก็มีการนำผ้าไหม ผิดลูกผิดเมียคนอ่ืน ห้ามกินของในกระด้ง ฯลฯ ไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ผู้เรียนวิชาเองหากรักษาข้อห้ามต่างๆ ไม่ได้ หลายอยา่ ง อาทเิ ชน่ การทอผา้ ไหมตดั เยบ็ เปน็ ผา้ สบง ก็จะเกิดโทษแก่ตนด้วย เช่น กลายเป็นผีปอบบ้าง จวี ร อังสะ สังฆาฏิ ถวายพระภิกษทุ ่ตี นเคารพนบั ถือ เป็นบ้าบ้าง และอาจถึงตายไปเลยก็มี ฉะน้ันวิชา หรือห่มพระพุทธรูป การนำไปทำ “ธุง” หรือ ความรู้หลายอย่าง เช่น การรักษาโรคด้วยสมุนไพร ธงสามเหลย่ี ม ดา้ มธงเปน็ ไมร้ วกยาวทง้ั ลำในงานบญุ ประกอบเวทมนต์ จึงไม่ค่อยมีคนกล้าเรียน กฐนิ เปน็ ต้น นอกจากนั้นยงั มคี ำเลา่ ขานทเ่ี ช่อื มโยง หาคนท่ีจะรับการถ่ายทอดได้ยาก คร้ันจะถ่ายทอด กบั ผา้ ไหมลายลกู แกว้ วา่ วชิ าความรทู้ เี่ ปน็ ภมู ปิ ญั ญา ให้บุตรหลานก็เกรงจะรักษาข้อห้ามไม่ได้ ของคนในสมัยโบราณหลายอย่าง เป็นวิชาท่ีมักจะ บุตรหลานก็จะมีอันตราย คร้ันจะท้ิงวิชาความรู้ให้ มีเวทมนต์กำกับและผู้เรียนต้องถือปฏิบัติตาม ตายไปกับตัวก็เกรงว่าภูมิปัญญาจะเสื่อมสูญไป ข้อห้ามอันเป็นกฎข้อบังคับท่ีครูผู้ถ่ายทอดให้ถือ คนท่ีมีวิชาในสมัยโบราณท่ีไม่สามารถหาคน ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั กฎขอ้ บงั คบั ดงั กลา่ ว มกั บงั คบั ถ่ายทอดได้จึงเลือกจารึกวิชาความรู้เป็นคัมภีร์ เอาแก่ผู้เรียนเพื่อให้เป็นคนดี มีคุณธรรม เช่น ลงในใบลานเย็บเป็นสมุดผูกห่อด้วยผ้าแพรเหยียบ ผา้ ลายลกู แกว้ การกรอไหมที่จงั หวดั ศรสี ะเกษ ผา้ ดำย้อมมะเกลือปกั แซว่ 10

ลายลูกแก้ว ถวายเก็บไว้ในหอคัมภีร์ตามวัดใน กระบวนการผลิตผา้ ไหม ชุมชนท่ีตนอาศัยอยู่ การกระทำเยี่ยงน้ีคงจะมีเป็น กระบวนการผลิตผ้าไหมเป็นกระบวนการท่ี จำนวนมากและมีสรรพวิชาอยู่อย่างหลากหลาย ซับซ้อน มีเทคนิคในรายละเอียดมาก ซึ่งก่อนจะถึง จึงมีคำสุภาษิตเป็นปริศนา บอกไว้แต่โบราณว่า ขั้นตอนการออกแบบลายควรจะรู้ขั้นตอนทั้งหมด “ไผอยากมีควมฮู่ ให่ไปแก้ผ่าในวัด” คำแปล กอ่ น ทง้ั นพี้ อสรปุ เปน็ ขน้ั ตอนอยา่ งกวา้ งๆ 7 ขนั้ ตอน “ใครที่ต้องการมีความรู้ ให้ไปแก้ผ้าในวัด” คำว่า โดยขอเรม่ิ ตน้ จากเมือ่ สาวเป็นเสน้ ไหมแลว้ ดงั น้ี “แกผ้ า้ ในวดั ”หมายถงึ การไปแกผ้ า้ ไหมทใ่ี ชห้ อ่ คมั ภรี ์ ขน้ั ตอนท่ี 1 การฟอกไหมเพอ่ื ใหก้ ารย้อมสี เก็บไว้ในวัดเพื่อศึกษาหาความรู้จากคัมภีร์นั่นเอง ตดิ สีหรอื กินสตี ามทต่ี อ้ งการ ซ่งึ เรียกวา่ ดอ่ งไหม อุบายวิธีนี้นับว่าช่วยทำให้ภูมิปัญญาไม่สูญหายไป ข้นั ตอนที่ 2 การมัดหม่เี พือ่ ให้เกิดลวดลาย แต่เม่ือภายหลังขาดคนดูแล และบันทึกซ่อมแซม (กรณีที่ต้องการสรา้ งลายด้วยวธิ ีมัดย้อม) คมั ภรี ์ ตา่ งๆ กผ็ พุ งั เสยี หาย ภาษาและตวั หนงั สอื ทใี่ ช้ ขน้ั ตอนท่ี 3 การยอ้ มสเี พอ่ื ใหไ้ ดส้ ที ต่ี อ้ งการ บันทึก คนในรุ่นในยุคปัจจุบันก็อ่านไม่ออกความรู้ ขั้นตอนที่ 4 การปน่ั ไหมเปน็ ขบวนป่นั เสน้ ต่างๆ จงึ สญู หายไปเป็นจำนวนมาก ไหมเพอื่ พนั รอบหลอดไมส้ ำหรบั นำไปใชก้ บั กระสวย ในการทอเสน้ แนวนอนหรือเส้นพุ่ง ขน้ั ตอนท่ี 5 การคน้ ไหม เปน็ การใชอ้ ปุ กรณ์ ที่ทำขน้ึ จากภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เพื่อทำใหเ้ ส้นไหมมา เรยี งกนั เป็นเสน้ ยนื ท่ีใชส้ ำหรับทอ ขน้ั ตอนท่ี 6 การเกบ็ เขาฟมื เปน็ กระบวนการ ท่ีนำเส้นไหมยืนมายึดเข้ากับอุปกรณ์การทอหรือที่ ชาวบา้ นเรยี กวา่ ฟืม ขน้ั ตอนท่ี 7 การทอตามลวดลายทต่ี อ้ งการ (หากตอ้ งการสรา้ งลายขณะทอกใ็ ชว้ ธิ เี กบ็ ขดิ หรอื จก) ในแตล่ ะขน้ั ตอนจะมขี บวนการทม่ี คี วามยงุ่ ยาก ผู้ที่ทอต้องใช้ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวค่อน ข้างสูง ผนวกกับการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและต้องมี ทั้งนี้ ผ้าจะสวยหรือไม่สวยก็ข้ึนกับผู้ทอที่มี ใจรกั ในการทออย่างแท้จรงิ ด้วย การย้อมไหมจากสีธรรมชาติ ด้วยวิธีย้อมร้อนแบบดั้งเดิม 11

ผา้ ไหมมดั หม่ี จังหวัดศรีสะเกษ ในการพัฒนาลายผ้าในจังหวัดศรีสะเกษ เกบ็ ขดิ มคี วามถนดั ในบางพน้ื ที่ ซงึ่ ถา้ หากใชว้ ธิ กี ารท่ี คณะทำงานได้เลือกศึกษาเทคนิคการสร้างลาย คนส่วนใหญ่ไม่ถนัดหรือคุ้นเคยอาจไม่สามารถ จากวิธีการมัดหมี่เพื่อสร้างลาย ซ่ึงถือว่าเป็นวิธีการ พัฒนาลายได้ในช่วงเวลาท่ีจำกัด ท้ังน้ีในโอกาสข้าง ดั้งเดิมที่เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน ชาวบ้านในจังหวัด หน้าอาจมีการพฒั นาโดยใชห้ ลายเทคนิควธิ กี ารรว่ ม ศรีสะเกษมีความถนัดเดิมอยู่แล้ว แต่อาจยังไม่ถนัด กัน โดยพิจารณาจากความต้องการทางการตลาด ในการสร้างสรรค์ลวดลายด้วยตนเอง ส่วนวิธีการ ควบคไู่ ปดว้ ย ลายตน้ สน ลายขอโทรศพั ท์ ลายผีเส้ือ ลายหมากจบั หมู่ ผ้ามดั หมคี่ นั่ ลายขอเชิงเทียน ลายดอกพกิ ุล ผา้ มัดหมีข่ อ ตัวอยา่ ง ลายผ้ามัดหมใ่ี นจงั หวัดศรีสะเกษ 12

ลวดลาย และการพฒั นา ลายผา้ ในจังหวัดศรสี ะเกษ จากการศึกษาข้อมูลในภาพรวม พบข้อมูล ลายปลาตะเพยี น และทอลายประยกุ ต์ เชน่ ลายนกยงู ท่ีน่าสนใจจากการผลิตลายของกลุ่มอาชีพต่างๆ เปน็ ตน้ ในจังหวัดศรีสะเกษหลากหลายลวดลายด้วยกัน บ้านกุดเมืองฮาม ตำบลกุดเมืองฮาม อำเภอ นอกเหนอื จากลายลกู แกว้ ทม่ี กี ารผลติ เกอื บทกุ พนื้ ท่ี ยางชุม ทอผ้าไหมมดั หมี่ ทัง้ 2 และ 3 ตะกอ ลายขอ ซึง่ มขี อ้ มลู ดังน้ี ลายบกั จับเครอื บางลายเป็นลายดั้งเดมิ รวมกับลาย บ้านเป๊าะ และบ้านหนองคูใหญ่ ตำบลเป๊าะ ประยุกต์ เช่น ลายนาคต้นสน ลายโคมห้าเอ้ือ อำเภอบึงบูรณ์ พบว่ามีความนิยมในการทอผ้าไหม สอดไสด้ ว้ ยลายกาบ มดั หมี่ ลายขอ ลายดอกพกิ ลุ ผา้ ลายลกู แกว้ และอนื่ ๆ บา้ นเขนิ ตำบลเขนิ อำเภอนำ้ เกลย้ี ง บา้ นโนนคณู อกี มากมาย ตำบลโนนค้อ อำเภอโนนคูณ และบ้านหนองหว้า บ้านไทร ตำบลสำโรงพลัน อำเภอไพรบึง ตำบลหนองหว้า อำเภอเบญจลักษณ์ มีการทอผ้า พบมีการทอผ้าไหมมัดหมี่ 3 ตะกอลายด้ังเดิม มัดหมี่ท่ีชาวบ้านคิดลายเอง ส่วนใหญ่จะไม่มีชื่อ ในหลายหมู่บ้าน เช่น ลายเต่า ลายไทยใหญ่ เรียก ทอเป็นผา้ ซนิ่ ผ้าเบย่ี ง และผา้ ขาวมา้ เป็นตน้ โดยส่วนใหญ่ใช้ทอเป็นผ้านุ่งผ้าพื้นที่ไม่มีลวดลาย บ้านนิคม ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอขุขันธ์ หลัก และมีการทอแบบ 2 ตะกอ เป็นลายโคม มี ผ้ า ไ ห ม โ ด ด เ ด่ น คื อ ผ้ า ล า ย ลู ก แ ก้ ว ลายพญานาค และลายประยุกต์ เช่นลายโคม ผ้ามัดหมลี่ ายพรกิ ไทย 5 ตะกอ ผ้าลายหางกระรอก ลายสีดา เปน็ ตน้ (ผ้ากระแนว) บ้านห้วย ตำบลบัวทุ่ง อำเภอราษีไศล และ จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในแต่ละ บา้ นโนนคำแก้ว ตำบลสังเมก็ อำเภอ กนั ทราลกั ษณ์ พื้นที่ในจังหวัดศรสะเกษมีความชำนาญที่หลาก นิยมทอผ้าไหมมัดหม่ี 2 ตะกอ ด้วยไหมที่เลี้ยงเอง หลาย นอกจากการผลิตผ้าไหมลายลูกแก้วแล้ว มลี ายประยกุ ต์ เชน่ ลายงนู อ้ ย ลายไทย ลายเชงิ เทยี น ยังได้ผลิตผ้าลายใหม่ๆอย่เู สมอ แม้ว่าบางครง้ั ลายท่ี ลายต้นสน ลายไก่และมีการทอลายดั้งเดิม คดิ คน้ ขนึ้ มาจะยงั ไมม่ ชี อ่ื เรยี กขานแตก่ ถ็ อื วา่ มคี วาม อยู่บ้างเป็น ลายขอคั่น ลายขอพวง ลายนาคน้อย สวยงาม ดังน้ันการจัดกระบวนการร่วมคิดร่วมจะ ลายนาคปรก เปน็ ต้น ช่วยให้ได้ลายผ้าที่รับรู้ร่วมกัน มีชื่อเรียกขาน บ้านหาด ตำบลผักไหม อำเภอห้วยทับทัน ในแนวทางเดียวกัน และท่ีสำคัญมีเทคนิควิธีการ และ บ้านหนองถ่ม ตำบลดู่ อำเภอ กันทรารมย์ ผลิตท่ีเข้าใจตรงกัน ส่วนการไปพัฒนาต่อยอด มีการทอผ้าไหมมัดหมี่ 2 ตะกอลายโบราณ เช่น ก็ถือว่าเป็นความสามารถเฉพาะบุคคล เป็นส่ิงท่ีดี ลายโคมห้า ลายดอกแก้ว ลายขอค่ัน ลายไทย มีประโยชนต์ อ่ การพฒั นา 13



การศกึ ษา เอกลกั ษณ์จงั หวัดศรสี ะเกษ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการออกแบบลายผ้า การศึกษาประวตั ิศาสตร์ และตำนาน ประวัติศาสตร์ จังหวัดศรีสะเกษ จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ เ ป็ น เ มื อ ง โ บ ร า ณ ซึ่งหมายความว่า เมืองป่าดง และโปรดเกล้าฯ มปี ระวตั ศิ าสตรย์ าวนาน ตง้ั แตส่ มยั ขอมเรอื งอำนาจ ให้ตากะจะ หรอื หลวงแกว้ สวุ รรณ เปน็ พระไกรภักดี จะเหน็ ได้จากโบราณสถานสมัยขอม ท่ียังปรากฏอยู่ ศรนี ครลำดวน เจา้ เมอื งขขุ นั ธ์ ตอ่ มา ใน พ.ศ. 2321 ซึ่งได้ร้างไปนาน จนถึงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา สมยั พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี เจา้ เมอื งขขุ นั ธถ์ งึ แกอ่ นจิ กรรม มีชาวไทยพื้นเมืองท่ีเรียกตัวเองว่า ส่วย หรือ กวย ไดโ้ ปรดเกล้าฯ ใหห้ ลวงปราบ (เชยี งขัน) เปน็ พระยา หรือ กุย ได้อพยพข้ามลำน้ำโขงมาสู่ฝ่ังขวา ไกรภักดีศรีนครลำดวน เจ้าเมืองขุขันธ์ ต่อมาเมือง ในปี พ.ศ. 2260 และไดแ้ ยกยา้ ยกนั ออกเปน็ 6 กลมุ่ ขุขันธ์กันดารน้ำ จึงอพยพย้ายไปอยู่บ้านแตระ กลุ่มที่มี เชียงขัน หรือ ตากะจะ ได้มาต้ัง ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ปัจจุบัน ต่อมาในปี ถิ่นฐานท่ีบ้านโคกลำดวน ต่อมา สำเด็จพระบรม พ.ศ. 2329 พระภักดีภูธรสงคราม (ท้าวอุ่น) ราชาท่ี 3 หรือพระเจ้าอยู่หัวสุริยามรินทร์ ป ลั ด เ มื อ ง ขุ ขั น ธ์ ข อ ต้ั ง บ้ า น โ น น ส า ม ข า ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ยกบา้ นโคกลำดวน หรอื ลา้ นปราสาท สระกำแพงใหญ่ ขนึ้ เปน็ เมอื งศรีสะเกษ พระบาท ส่ีเหลี่ยม ดงลำดวนข้ึนเป็นเมือง ชื่อ เมืองขุขันธ์ สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลที่ 1 15

จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระภักดีภูธรสงครามเป็นพระยา ขุขันธ์ และสุรินทร์ ซ่ึงเข้าใจว่าเมืองศรีสะเกษคง รัตนวงศา เจ้าเมืองศรีสะเกษ ข้ึนกับเมืองขุขันธ์ ถูกยุบเป็นอำเภอขึ้นกับเมืองขุขันธ์ พ.ศ. 2476 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อยกเลิกมณฑลเทศาภบิ าล ไดแ้ ยกตัวออกมาเปน็ ไดย้ า้ ยที่ทำการเมอื งขุขันธม์ าตัง้ อยู่ท่เี มืองศรีสะเกษ จังหวัดขุขันธ์ และในปี พ.ศ. 2481 ได้เปล่ียนช่ือ (ทบ่ี า้ นเมอื งเกา่ ตำบลเมอื งเหนอื ) แตย่ งั ใชช้ อื่ เมอื งวา่ จงั หวดั ขขุ นั ธ์ เปน็ จงั หวดั ศรสี ะเกษ มาจนถงึ ปจั จบุ นั เมืองขุขันธ์ และยุบเมืองขุขันธ์เดิมเป็น อำเภอ จังหวัดศรีสะเกษมีเนื้อท่ี ประมาณ 8,839 ห้วยเหนือ ในปี พ.ศ. 2447 ครั้นถึงปี 2455 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองเป็น 20 อำเภอ ได้เปลี่ยนช่ือมณฑลอีสาน เป็นมณฑลอุบล 2 กง่ิ อำเภอ มเี มืองขึน้ ตรงตอ่ มณฑลนี้ 3 เมอื ง คอื อุบลราชธานี ตำนาน ช่ือเมืองศรีสะเกษ คำวา่ ตำนาน แตกตา่ งจากคำวา่ ประวตั ศิ าสตร์ ศรีสะเกษได้ถูกยุบรวมอำนาจให้ขึ้นตรงต่อเมือง เพราะตำนานเปน็ เรอื่ งเลา่ ทส่ี บื ตอ่ กนั มาปากตอ่ ปาก ขุขันธ์ จากนั้นได้ย้ายท่ีตั้งเมืองขุขันธ์ (ซ่ึงอยู่ที่บ้าน ดา้ นหลกั ฐานอ้างองิ อาจขาดความสมบูรณ์ แต่กถ็ ือ แตระ ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน) เป็นส่ิงท่คี วรรู้เพราะเป็นความเชื่อของคนในทอ้ งถ่ิน มาอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า(ปัจจุบันคือตำบลเมืองเหนือ บางราย เล่าว่า ดินแดนแถบนี้เคยมีบคุ คลสำคัญมา ในเขตเทศบาลเมอื งศรีสะเกษในปจั จุบนั ) และยงั คง สระผมที่บริเวณนี้ ก็เลยต้ังชื่อว่า ศรีสะเกษ ใช้ชื่อ เมืองขุขันธ์ ซึ่งได้ยุบเมืองขุขันธ์เดิมเป็น แต่ตำนานที่เล่าขานกันมาก คือ ตำนานเกี่ยวกับ อำเภอห้วยเหนือ(อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบันน้ี) ตากะจะและเชยี งขนั ธ์ ซ่งึ เป็นพนี่ ้องกัน ท้ังสองนั้นมี ต่อมาสมัยรัตนโกสินทร์น้ัน ได้แบ่งการปกครอง ความสามารถในการคลอ้ งชา้ งเปน็ อยา่ งมาก เมอ่ื สมยั ใหเ้ ปน็ จงั หวดั เมอื งทกุ เมอื งจงึ เปน็ จงั หวดั แลว้ พนื้ ท่ี กรุงศรอี ยุธยา พระเจ้าเอกทศั น์ปกครอง มีชา้ งเผือก บริเวณโนนสามขา(เมืองศรีสะเกษ)ก็กลายเป็น หลดุ มาทอ่ี าณาเขตทีม่ เี ขมรป่าดงอาศัยอยู่ ตากะจะ จังหวัดศรีสะเกษ โดยให้พื้นที่บริเวณโนนสามขา และเชียงขันธ์จึงช่วยกันคล้องช้าง แล้วนำส่ง เปน็ ตวั จงั หวดั สว่ นเมอื งขขุ นั ธน์ นั้ แตเ่ ดมิ เปน็ จงั หวดั ให้เมืองกรงุ ศรีอยุธยา ตากะจะได้ความดีความชอบ แตก่ ไ็ ด้เปล่ียนเปน็ อำเภอขุขนั ธใ์ นเวลาตอ่ มา เลอื่ นขนั้ เปน็ หลวงสวุ รรณ ครองอาณาเขตเขมรปา่ ดง และอีกตำนานท่ีชาวบ้านเชื่อว่าเป็นเรื่องจริง (หมู่บ้านที่ตนอาศัย) ต่อมาเขมรป่าดงได้ส่งส่วยให้ กค็ ือ เรอ่ื งเกีย่ วกับนางพญาขอม ในอดตี มีนางพญา กรุงศรีอยุธยาจนหลวงสุวรรณได้เลื่อนขั้นเป็น ขอมท่านหนึ่งได้เดินทางจากเมืองพิมายโคราช พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน ได้ปกครอง จะไปยังนครธมและมีเส้นทางผ่านปราสาท สี่เหลี่ยมดงลำดวน หรือเมืองขุขันธ์โดยเมือง สระกำแพงใหญ่ ปราสาททีม่ ีอยูใ่ นสมยั นั้นเรียกกนั 16

ว่า ศาลาพกั รอ้ น พอเจา้ เมอื งหรือนางพญาองค์ไหน เมอ่ื นางพญาขอมเดนิ ทางมาถงึ กจ็ ะพกั ทป่ี ราสาทนี้ จะเดินทางไปแรมคืนไกลๆ จะต้องมาพักศาลา พอค่ำนางก็จะลงอาบน้ำ ขณะที่ยืนมัดมวยผมอยู่ท่ี ที่สร้างไว้ตามจุดต่างๆ ใกล้ปราสาท จะมีสระน้ำ รมิ สระนำ้ นัน้ มชี าวบ้านหลายคนมาเหน็ ก็ชอบใน ทุกท่ีไป ปราสาทหินสระกำแพงก็เหมือนกันมี ความสวยงามของนางพญาขอม ก็เลยเอาเรอ่ื งน้ีมา สระนำ้ กว้างใหญ่ ซงึ่ ไม่อยูห่ า่ งจากปราสาทเทา่ ไหร่ ตัง้ เปน็ ชอ่ื เมือง ที่มา : การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย 17

คำขวัญ “แดนปราสาทขอม หอมกระเทยี มดี มสี วนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลศิ ล้ำสามัคคี” ตราสญั ลกั ษณจ์ ังหวดั ศรีสะเกษ การศกึ ษาปราสาทหนิ ในจังหวดั ศรีสะเกษ จงั หวัดศรสี ะเกษ เป็นดินแดนท่มี ปี ราสาทหิน อำเภอราษีไศล อำเภอกันทรลักษณ์ และชาว และวัตถุโบราณมากมายหลายแห่ง แสดงให้เห็นถึง พื้นเมืองท่ีพูดภาษาเขมร ได้แก่ อำเภอขุนหาญ ความเจริญรุ่งเรืองของอารยธรรมขอมยุคก่อนๆ อำเภอขุขันธ์ อำเภอภูสิงห์ อำเภอปรางค์กู่ ที่เกิดข้ึนในบริเวณแถบนี้ ประชาชนในจังหวัด และอำเภอกันทรลักษณ์ บางส่วน นอกจากนั้น ศรีสะเกษ เป็นผู้รักความสงบ มีความเอ้ือเฟ้ือ ยังมีชนพื้นเมืองด้ังเดิมท่ีพูดภาษาส่วย ภาษาเยอ และจรงิ ใจกบั คนท่วั ไป รักอสิ ระ เนอ่ื งจากสว่ นใหญ่ อยู่ในบางท้องท่ีมีไม่มากนัก จังหวัดศรีสะเกษเป็น อาศัยอยู่ในชนบท มีวิถีเป็นสังคมเกษตรกรรม จงั หวดั หนง่ึ ทไ่ี ดร้ บั การประกาศเปน็ จงั หวดั ทอ่ งเทย่ี ว อยู่กันแบบเครือญาตินับถืออาวุโส อาศัยจารีต เน่ืองจากมีแหล่งท่องเที่ยว ทั้งทางโบราณวัตถุและ ประเพณีและวัฒนธรรมด้ังเดิมเป็นแนวทางในการ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เป็นจำนวนมาก ดำเนนิ ชวี ติ สำหรบั ภาษาพดู ของประชากร สว่ นใหญ่ ซ่ึงถือเป็นข้อมูลท่ีควรศึกษา เพื่อนำมาเป็นข้อมูล ซ่ึงเป็นคนพื้นเมือง แบ่งได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ ประกอบการคิดค้นลายผ้าเอกลักษณ์ โดยปราสาท ชาวพ้นื เมอื งทีพ่ ูดภาษาไทยอสี าน ไดแ้ ก่ ประชากรท่ี ทค่ี วรศึกษา มีดงั นี้ อยู่ในท้องท่ีอำเภอเมือง อำเภออุทุมพรพิสัย 18

1. ปราสาทวดั สระกำแพงใหญ่ แ ล ะ เ ม่ื อ ป ร ะ ม า ณ พุ ท ธ ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 1 8 ปราสาทวัดสระกำแพงใหญ่ ต้ังอยู่ท่ี ได้มีการเปล่ียนแปลง เป็นวัดในพุทธศาสนา บ้านกำแพงใหญ่ ตำบลสระกำแพงใหญ่ ริมทาง ลทั ธมิ หายาน หลวงหมายเลข 226 หา่ งจากจงั หวดั 26 กโิ ลเมตร หา่ งจากตวั อำเภอ 2 กโิ ลเมตร เปน็ ปราสาทขอมทม่ี ี 2. ปราสาทบา้ นปราสาท หรอื ปราสาท ขนาดใหญ่และสมบูรณ์ท่ีสุดของจังหวัด ลักษณะ ห้วยทบั ทัน เปน็ ปรางค์ 3 องคบ์ น ฐานเดยี วกนั เรยี งกนั ในแนวทศิ ปราสาทบ้านปราสาท (ปราสาทห้วยทับทัน) เหนือ-ใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ปรางค์ ตง้ั อยทู่ ว่ี ดั ปราสาทพนารามบา้ นปราสาทจากตวั เมอื ง ประธานอยู่ตรงกลาง ก่อด้วยหินทราย มีอิฐแซม ศรีสะเกษเดินทาง ไปตาม ทางหลวงสาย 226 บาง ส่วน มีทับหลังจำหลักภาพพระอินทร์ทรงช้าง ประมาณ 39 กิโลเมตร ถึงอำเภอห้วยทับทัน บนแท่นเหนือหน้ากาล ส่วนปรางค์อีก 2 องค์ แล้วเล้ียวขวาตามทางลูกรังไปอีก 8 กิโลเมตร เปน็ ปรางคอ์ ฐิ มสี ว่ นประกอบตกแตง่ ทเ่ี ปน็ หนิ ทราย ปราสาทห้วยทับทัน เป็นโบราณสถานแบบขอม เชน่ ทบั หลงั กรอบหนา้ บนั และกรอบเสาประตู ดา้ น แห่งหนึ่ง ที่ถูกดัดแปลงในสมัยหลังเช่นเดียวกับ หลังปรางค์องค์ทิศใต้มีปรางค์ก่ออิฐอีก 1 องค์ ปราสาทศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ โดยเฉพาะส่วน ดา้ นหนา้ มวี หิ าร กอ่ อฐิ 2 หลงั ลอ้ มรอบดว้ ยระเบยี ง หลังคาซึ่งคล้ายคลึงกันมาก แต่มีขนาดสูงกว่า คตก่อด้วยศิลาแลงและหินทราย มีโคปุระหรือ ประกอบด้วยปรางค์อิฐ 3 องค์ ตั้งอยู่บนฐานศิลา ประตูซ้มุ ท้งั 4 ทิศ ส่วนวิหารท่กี ่อด้วยอิฐซ่งึ อย่ทู าง แลงเดียวกันในแนวเหนือ-ใต้ มีกำแพงล้อมรอบ ดา้ นทศิ เหนอื มที บั หลงั สลกั ภาพพระนารายณบ์ รรทม พร้อมซุ้มประตูก่อด้วยศิลาแลง สันนิษฐานว่าเดิมมี สินธ์ุอยู่เหนือพระยาอนันตนาคราช ท่ามกลาง 3 หรือ 4 ทิศ ปัจจุบันคงเหลือเพียงด้านทิศใต้ เกษยี รสมทุ ร และทว่ี หิ ารกอ่ อฐิ ทางดา้ นทศิ ใต้ มที บั เท่าน้ัน ปรางค์องค์กลางขนาดใหญ่กว่าปรางค์อีก หลังรูปพระอิศวรกับพระอุมาประทับน่งั เหนือนนทิ 2 องค์ ที่ขนาบข้างเล็กน้อยแต่ส่วนหลังคาเต้ียกว่า ปจั จบุ นั ปราสาทแหง่ นอ้ี ยใู่ นความดแู ลของกองโบราณ เป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสย่อมุมไม้สิบสอง มีประตูเดียว คดี กรมศลิ ปากร และไดม้ กี ารขดุ คน้ พบโบราณวตั ถุ ด้านหน้าทางทิศตะวันออก มีกรอบประตูหินทราย จำนวนมาก เช่น ทับหลังจำหลักภาพศิวะนาฏราช, และทับหลังติดอยู่เป็นภาพบุคคลยืนอยู่เหนือ พระกฤษณะยกเขาโควรรธนะ และยงั พบพระพทุ ธรปู หน้ากาล ส่วนท่อนพวงมาลัย มีลายมาแบ่งที่เสี้ยว นาคปรก, พระพุทธรูปปางสมาธิ, พระพิมพ์ดินเผา ภาพบุคคลยืนในซุ้มเรือนแก้ว ไม่อาจสันนิษฐานว่า ฯลฯ จากหลักฐานลวดลายท่ีปรากฏบนหน้าบัน เปน็ ผใู้ ดดว้ ยลายสลกั ยงั ไมแ่ ลว้ เสรจ็ ปรางคส์ ององค์ ทบั หลงั และโบราณวตั ถตุ า่ งๆ โดยเฉพาะจารกึ ทห่ี ลบื ทขี่ นาบขา้ งขนาดเดยี วกนั ไดร้ บั การดดั แปลงรปู แบบ ประตูปราสาทสระกำแพงใหญ่ สรุปได้ว่าปราสาท ไปมากโดยเฉพาะส่วนหลังคาและประตูซึ่งก่อทึบ แหง่ นส้ี รา้ งขน้ึ ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 16 ตรงกบั ศลิ ปะ หมดทุกด้าน ยังคงปรากฏกรอบประตูหินทราย ขอมแบบบาปวน เพอ่ื เปน็ เทวาลยั ถวายแดพ่ ระศวิ ะ และชิ้นส่วนทบั หลงั สลกั ภาพการกวนเกษยี รสมทุ ร 19

ตกอยู่หน้าประตูปรางค์องค์ท่ีอยู่ด้านทิศใต้ 4. ปราสาทปรางคก์ ู่ จากลักษณะทางด้านศิลปกรรมของทับหลังที่ ปราสาทปรางค์กู่ ต้ังอยู่ที่บ้านกู่ อยู่ห่างจาก ปรากฏอาจสันนษิ ฐานไดว้ ่า ปราสาทแหง่ นี้มอี ายอุ ยู่ ศรีสะเกษเป็นระยะทาง ประมาณ 70 กิโลเมตร ในราวพุทธศตวรรษที่ 16 ร่วมสมัยศิลปะขอม สามารถเดินทางเขา้ ถึงไดส้ องเสน้ ทางคอื ใชเ้ สน้ ทาง แบบคลงั -บาปวนของเขมร และในสมยั หลงั ตอ่ มาได้ ศรสี ะเกษ-สรุ ินทร์ แลว้ แยกซ้ายเขา้ ทางหลวง 2234 รับการดัดแปลง หรือใช้เส้นทางศรีสะเกษ-ขุขันธ์ แล้วแยกขวา เขา้ เสน้ ทาง 2167 ปรางค์กอู่ ยหู่ า่ งจากตวั อำเภอ 10 กิโลเมตร ปรางค์องค์น้ีสร้างด้วยอิฐเรียงแผ่นโตๆ 3. ปราสาทวดั สระกำแพงนอ้ ย เหมือนปราสาทศรีขรภูมิ ท่ีจังหวัดสุรินทร์ ซ่ึงเป็น ศาสนสถานสมัยขอมท่ีเก่าแก่มาก มีอายุกว่าพันปี ปราสาทวดั สระกำแพงนอ้ ย ตงั้ อยทู่ บี่ า้ นกลาง มาแล้ว ด้านหน้าปรางค์กู่มีสระน้ำขนาดใหญ่ ตำบลขยง ห่างจากตัวจังหวัด 8.7 กิโลเมตร เป็นทำเลพักหากินของนก เป็ดน้ำ ซึ่งมีมากในช่วง อยดู่ า้ นขวามอื ตดิ เสน้ ทางสาย ศรสี ะเกษ-อทุ พุ รพสิ ยั ฤดแู ล้งต้ังแต่เดือนกมุ ภาพนั ธ์เป็นต้นไป (ทางหลวง 226) ปราสาทหินสระกำแพงน้อย ประกอบด้วยปรางค์ และวิหารก่อด้วยศิลาแลง ด้านหน้า ปรางค์มีสระน้ำใหญ่ ท้ังปรางค์ วิหาร และสระน้ำ ล้วนล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง 5. ปราสาทโดนตวล เคยมีทับหลังประตูสลักเป็น พระวรุณเทพ ปราสาทโดนตวล ตั้งอยู่ที่บ้านภูมิซรอล เจ้าแห่งฝนประทับบนแท่น มีหงส์แบก 3 ตัว ตำบลบึงมะลู ห่างจากหมู่บ้าน 8 กิโลเมตร อยู่เหนือเศียรเกียรติมุข เป็นศิลปะแบบบาปวนมี ห่างจากตัวอำเภอ 38 กิโลเมตร ตามเส้นทาง อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 สันนิษฐานว่าปราสาท อำเภอกันทรลักษ์-ผามออีแดง เป็นปราสามขอม หินแห่งน้ีเดิมเป็นศาสนสถานมาก่อน แล้วต่อมา โบราณขนาดเล็กที่ต้ังอยู่ริมหน้าผาสูง บนเทือกเขา ในพุทธศตวรรษที่ 18 รัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมัน พนมดงรัก ใกล้ชายแดนไทย-กัมพูชาประกอบด้วย ที่ 7 อาจมีการบูรณะหรือสร้างเพิ่มเติมข้ึนใหม่ ปรางค์รูปสี่เหลี่ยมย่อมุมก่อด้วยอิฐซุ้มประตูก่อด้วย สังเกตได้จากมีสถาปัตยกรรมแบบบายนอยู่ด้วย ศิลาและมรี ปู สงิ โตจำหลักอยหู่ นา้ ปราสาท สง่ิ กอ่ สรา้ งดงั กลา่ วเรยี กกนั ในสมยั นน้ั วา่ “อโรคยาศาล” หมายถึง สถานพยาบาลหรือสุขศาลาประจำชุมชน นั่นเอง 6. ปราสาทโดนตวล สร้างราวพุทธศตวรรษท่ี 15-16 อยู่บริเวณ บ้านภูมิซรอล เป็นปราสาทหินแบบขอม ตั้งอยู่ใน เขตประเทศไทย ห่างจากหน้าผาชายแดนไทย- กัมพูชา ประมาณ 300 เมตร มีตำนานเล่าว่า นามนมใหญ๋ (เนียงเดาะทม) ได้แวะพักที่แห่งนี้ใน ขณะ ท่ีเดนิ ทางไปเฝา้ กษตั รยิ ์พระองคห์ นง่ึ 20

7. อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาพระวหิ าร 9. ปราสาทตาเล็ง (Ta Leng Khmer อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ตั้งอยู่ในพื้นที่ Ruins) ปา่ สงวนแหง่ ชาตเิ ขาพระวหิ าร มเี นอ้ื ทปี่ ระมาณ 130 ปราสาทมลี ักษณะเปน็ ปรางคอ์ งค์เดียว ตัง้ อยู่ ตารางกิโลเมตรครอบคลุมพื้นท่ี 2 จังหวัดคือ บนฐาน องค์ปรางค์มีผังเป็นรูปสี่เหลียมจัตุรัส อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และกิ่งอำเภอ ยอ่ มมุ ไมส้ บิ สอง หนั หนา้ ไปทางทศิ ตะวนั ออก มปี ระตู น้ำขุ่น กับอำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี เข้าได้เพียงประตเู ดียว อกี สามด้านเปน็ ประตูหลอก ไดร้ บั การประกาศ เป็นอทุ ยานแหง่ ชาตลิ ำดบั ท่ี 83 ทส่ี ำคญั คอื เสาตดิ ผนงั ประตหู นา้ ทงั้ สองขา้ ง ยงั คงมี ของประเทศไทยเม่ือวันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2541 ลวดลายสลักเต็มแผ่นอย่างสวยงามประณีต สภาพภมู ปิ ระเทศทว่ั ไปอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาพระวหิ าร เป็นลายก้านขด ปราสาทตาเล็ง ต้ังอยู่ท่ีหมู่ 6 โดยสว่ นใหญ่ เปน็ เทอื ก เขาตามแนวทวิ เขาพนมดงรกั บ้านปราสาท ตำบลกันทรารมย์ ลกั ษณะเปน็ ปรางค์ กน้ั ชายแดนไทย-กมั พชู า พน้ื ทปี่ กคลมุ ดว้ ยปา่ ดบิ แลง้ องค์เดียวต้ังอยู่บนฐาน องค์ปรางค์มีผังเป็น ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง นอกจากน้ียัง เป็น รูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมไม้สิบสองหันหน้าไปทาง แหล่งอาศัยของสัตว์ป่าจำนวนมาก ท่ีอาศัยหากิน ทิศตะวันออก ปัจจุบันเหลือเพียงผนังด้านหน้า ข้ามไปมาในผนื ปา่ ระหว่างสองประเทศได้แก่ หมูป่า และผนังด้านข้างบางส่วน มีประตูเข้า ได้เพียง กวาง เก้ง กระต่าย กระรอก ชะนี ชะมด เป็นต้น ประตูเดียวด้านหน้า อีกสามด้านเป็นประตูหลอก อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาพระวิหารยังมแี หลง่ ท่องเทยี่ ว ที่สำคัญคือเสาติดผนัง ของประตู หน้าท้ังสองข้าง ภาพสลักนูนต่ำ รูปแกะสลักโบราณ ซึ่ง ยังคงมีลวดลาย ก้านขดสลักเต็มแผ่นอย่างสวยงาม ซ่อนตัวอยู่ใต้หน้าผามานับพันปีอยู่ทางทิศใต้ของ สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษท่ี 16–17 นอกจากนี้ ผามออีแดง มีบันไดให้ลงไป ชมได้สะดวก บนพื้นรอบๆ ยังมีทับหลังวางอยู่หลายชิ้น ช้ินหน่ึง เป็นภาพเทพ สามองค์ เช่ือว่าเป็นท่ีซ้อมมือของ วางอยู่หน้าประตูด้านทิศเหนือ สลักเป็นภาพ ช่างในการแกะสลัก ก่อนเริ่มการแกะสลักจริงท่ี พระอินทร์ทรงช้างในซุ้มเรือนแก้วเหนือหน้ากาล ปราสาทเขาพระวหิ าร ซึง่ คายทอ่ นพวงมาลัย ออกมาจากปาก และยึดทอ่ น 8. ปราสาทบ้านสมอ พวงมาลัยนั้นไว้ด้วยมือท้ังสองข้าง ทับหลังช้ินอ่ืนๆ ลักษณะคล้ายกัน ทับหลังชิ้นหน่ึงมีแนวภาพตอน ปราสาทบา้ นสมอตงั้ อยหู่ มทู่ ่ี2บา้ นทามจาน บนสลักเป็นรูปฤาษี น่ังเรียงกันในท่าสมาธิ 7 ตอน ตำบลสมอ อำเภอปรางค์กู่ ห่างจากตัวจังหวัดไป จากลักษณะทางสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมท่ี ตามทางหลวงหมายเลข 220 และ 2167 ประมาณ ปรากฏกล่าวได้ว่าปราสาทตาเล็ง สร้างข้ึนใน 52 กโิ ลเมตร ก่อนถึงตัวอำเภอประมาณ 8 กโิ ลเมตร ศิลปะขอมแบบบาปวน ซ่ึงมีอายุราว พ.ศ. 1560– เป็นปราสาทขอมโบราณขนาดเล็ก ภายในขององค์ 1630 ปรางค์มีรูปประติมากรรมจำหลัก สันนิษฐานว่า สรา้ งข้ึนในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 18 21

10. ปราสาททามจาน หรือ ปราสาท ซ่ึงเป็นด้านหน้า อีก 3 ด้าน เป็นประตูหลอก คือ ตำหนกั ไทร (Tamnak Sai Sanctuary) สลักเป็นรูปบานประตูลงในเนื้ออิฐ บริเวณทางเข้า ต้ังอยู่ที่บ้านตำหนักไทร ตำบลบักดอง มีสิงห ์จำหลักสองตัว เฉพาะด้านหน้ากรอบประตู ริมทางหลวงหมายเลข 2127 (ขุนหาญ- เป็นหินทราย แต่เดิมเคยมีทับหลังเป็นภาพ บ้านสำโรงเกียรติ) ห่างจากอำเภอขุนหาญ 20 พระนารายณ์บรรทมสินธ์ุ มีพระชายาลักษมี กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัด 81 กิโลเมตร นั่งอยู่ที่ปลายพระบาท และมีพระพรหมผุด ปราสาทตำหนักไทร เป็นปราสาทอิฐหลังเดียว มาจากพระนาภี สองข้างพระพรหมเป็นรูปฤาษี บนฐานศิลาทราย พ้ืนที่รอบๆ มีการปรับ สภาพ และบุคคลน่งั ในซมุ้ เรือนแกว้ ปัจจุบนั เก็บรักษาไวท้ ี่ จนราบเรียบ ปราสาทก่อด้วยอิฐเป็นรูปส่ีเหล่ียม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย ปราสาทตำนักไทร จตุรัสขนาดกว้าง-ยาว 4 เมตร ย่อมุมไม้สิบสอง เปน็ เทวาลยั ในศาสนาพราหมณ์ อายรุ าวพทุ ธศตวรรษ มีประตูเข้าออกได้ด้านเดียว คือ ด้านทิศตะวันออก ท่ี 16-17 การศกึ ษารปู แบบของปราสาทขอม ในจงั หวดั ศรสี ะเกษ การศึกษาปราสาทขอมในจังหวัดศรีสะเกษ การเลือกจึงจำเป็นต้องเลือกตามความเหมาะสม เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการคน้ หาความงามเพอ่ื นำมาใชใ้ น เพราะบางลายเป็นลายที่อยู่ในความเชื่อขั้นสูงไม่ การสร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้า ซึ่งพบว่า สามารถนำมาเปน็ ลวดลายบนผนื ผา้ สำหรบั การสวม ปราสาทขอมมีรปู ทรงทีน่ า่ สนใจมาก จนทางจังหวดั ใ ส่ ไ ด้ ซึ่ ง มี ข้ อ มู ล ภ า พ ถ่ า ย จ า ก We b s i t e ได้เลือกมาใช้เป็นตราสัญลักษณ์ประจำจังหวัด ประชาสัมพันธ์จังหวัด และการลงพ้ืนที่ถ่ายภาพ นอกจากลักษณะรูปทรงภายนอกแล้ว ลวดลายที่ ของผ้เู ขยี น เกิดจากงานแกะสลักหินก็มีจำนวนมาก ดังนั้นใน 22

ปราสาทวดั สระกำแพงใหญ่ ปราสาทวดั สระกำแพงนอ้ ย 23

ดอกลำดวน ดอกไม้ประจำจังหวดั ศรสี ะเกษ ในงานเทศกาลดอกลำดวนบาน สืบสาน ประเพณี ส่ีเผ่าไทศรีสะเกษ ถือเป็นงานประจำปี ของจังหวัดศรีสะเกษ ท่ีต้องจัดทุกปี ณ บริเวณ สวนสมเดจ็ ศรนี ครนิ ทร์ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ศรสี ะเกษ เพ่ืออนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีส่ีเผ่าไทยศรีสะเกษ และส่งเสรมิ การทอ่ งเท่ยี วของจงั หวัดศรีสะเกษ เมืองดอกลำดวน เป็นอีกช่ือเรียกหน่ึงของ จงั หวดั ศรสี ะเกษ ดว้ ยเปน็ จงั หวดั เดยี วในประเทศไทย ที่มีต้นลำดวนข้ึนตามธรรมชาติ อยู่รวมกัน หนาแน่นมากกว่า 50,000 ต้น ภายในบริเวณ สวนสมเด็จศรีนครินทร์ ซ่ึงเป็นสวนสมเด็จแห่งแรก ของประเทศไทย และช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี ต้นลำดวนจะพากันผลิดอกเบ่งบานส่งกล่ินหอมเย็น ทว่ั พื้นท่ี 237 ไร่ของสวนสมเด็จศรีนครนิ ทร์ 24

ขนมดอกลำดวน ขนมประจำจงั หวดั ศรีสะเกษ เป็นขนมรสชาติดี ท่ีนำเอารูปทรงของ คือ ช่ือเสียงขจร ขจายไปท่ัว และมีอีกความหมาย ดอกลำดวนดอกไม้ประจำจังหวัดมาทำเป็นขนม คือสร้างความงดงามให้กับชีวิต โดยดอกลำดวนใน ขนมกลีบลำดวนถือเป็นขนมมงคลอีกชนิดหนึ่งใช้ ตอนกลางคืนจะส่งกลิ่นหอมอบอวลเป็นดอกไม้ท่ีมี ในงานแต่งงาน สมัยก่อนความหมายของขนมน้ี เสนห่ ์เฉพาะตวั ธรรมชาตใิ นจงั หวัดศรสี ะเกษ ด้ ว ย เ ห ตุ ที่ จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ มี พื้ น ท่ี ที่อุดมสมบูรณ์ มีแหล่งน้ำ มีป่า มีต้นไม้สวยงาม มีเถาวัลย์ ทำให้สวยทั้งป่า แหล่งน้ำ และสัตว์ป่า ท่ีอยู่อาศัย ดังนั้นความสวยงามเหล่านี้ จึงน่าจะ เป็นส่วนหนึ่งของเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษได้ ในการนี้ทีมงานด้านการออกแบบลายผ้าจึงได้นำ ส่ิงต่างๆเหล่านี้มาเป็นข้อมูลในการศึกษา ประกอบ ดว้ ยสงิ่ สวยงามตา่ งๆ เชน่ เถาวลั ย์ ตน้ ไม้ แมลง ผเี สอ้ื นกแกว้ นกกางเขน นกเอ้ียง นกขุนทอง นกโพระดก ไก่ กระบอื และอื่นๆ 25

พชื และสัตวท์ ม่ี ีทว่ั ไปในจังหวดั ศรีสะเกษ 26

ประเพณสี ่ีเผา่ ไทย จังหวดั ศรสี ะเกษ จงั หวดั ศรสี ะเกษมวี ถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมประเพณี วาดภาพ การเลา่ เรอ่ื งจากวถิ ชี วี ติ ศรสี ะเกษ กจิ กรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ของชนส่ีเผ่า คือ ลาว เขมร กูย ลานสม้ ตำ ขา้ วเหนยี ว ไกย่ า่ ง การสาธติ และจำหนา่ ย และเยอ อาศัยอยู่ร่วมกันจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ OTOP และภาคค่ำร่วมรับประทาน ในชว่ งวันที่ 11-13 มีนาคม 2554 ทีผ่ ่านมาจังหวดั อาหารพื้นเมืองแบบพาแลงพร้อมชม การแสดง ศรีสะเกษร่วมกับ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย แสง สี เสียง “ศรีพฤทเธศวร” ทย่ี ่ิงใหญ่ตระการตา (ททท.) ได้จัดงาน “เทศกาลดอกลำดวนบาน ด้วยนักแสดงกว่า 800 ชีวิต ที่มาร่วมถ่ายทอด สืบสานประเพณีสีเ่ ผ่าไทศรสี ะเกษ” ประจำปี 2554 วัฒนธรรมประเพณีของชนเผ่าท้ังสี่เผ่า และตำนาน มีกิจกรรมในงานได้แก่ วัฒนธรรมประเพณีวิถีชีวิต การสรา้ งเมอื งศรีสะเกษ ซง่ึ จะสร้างความประทบั ใจ ของชนส่เี ผา่ ภายในหมูบ่ ้านลาว เขมร กูย และเยอ มิรู้ลืม ซึ่งถือเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ของจังหวัด การแสดงวัฒนธรรมส่ีเผ่า นิทรรศการภาพเก่า ศรสี ะเกษ การแสดงภาพวาดของศลิ ปนิ ในทอ้ งถน่ิ การประกวด 27



การพฒั นาลายผ้าเอกลกั ษณ์ จังหวดั ศรสี ะเกษ ในข้ันตอนน้ี เป็นภาคปฏิบัติของการพัฒนา เป็นกิจกรรมที่เน้นการสร้างความรู้ความ ลายผ้าเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ โดยนำส่วน เข้าใจร่วมกันในการพัฒนาลายผ้า โดยได้เชิญ ที่ได้จากการศึกษาเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ ดร. สิทธิชัย สมานชาติ จากคณะศิลปประยุกต์ ในสว่ นตา่ งๆ ทง้ั ด้านประวัติศาสตร์ ตำนาน รปู แบบ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปราสาท ประเพณี ดอกไมป้ ระจำจังหวดั รวมทง้ั พชื เปน็ ผใู้ หค้ วามรเู้ กย่ี วกบั แนวทางในการพฒั นา ผา้ ไหม และสัตว์ที่สะท้อนให้เห็นความอุดมสมบูรณ์ของ และช่วยสะท้อนภาพให้เห็นทิศทางทางการตลาด จงั หวดั ศรสี ะเกษมาเปน็ แรงบนั ดาลใจ คณะทำงานได้ หลงั จากนน้ั คณะทำงานไดจ้ ดั ใหม้ กี ารแบง่ กลมุ่ ยอ่ ย นำข้อมูลมาเป็นส่วนสำคัญในการสร้างสรรค์ลายผ้า ระดมความคิด เพ่ือค้นหาเอกลักษณ์ของจังหวัด ร่วมกัน โดยยึดความคิดเห็นของผู้ผลิตในจังหวัด ศรีสะเกษ รวมทั้งลายผ้าท่ตี อ้ งการพฒั นาเปน็ ลายผา้ ศรีสะเกษเป็นสำคัญ ท้ังนี้ได้กำหนดกิจกรรม เอกลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษโดยมีคณะทำงานร่วม ในการดำเนนิ การพัฒนาออกเป็น 6 กิจกรรม ดังนี้ เก็บข้อมูลและหาข้อสรุป ซึ่งในการระดมความคิด กจิ กรรมท่ี 1 กิจกรรมจัดประชมุ ระดมความคิด ครั้งน้ีมีกลุ่มอาชีพเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 42 กลุ่ม โดยจัดประชุมที่ ห้องประชุมโรงแรมบุญศิริ โดยสง่ ตัวแทนเขา้ ร่วมกลมุ่ ละ 2 คน บตู กิ โฮเตล จังหวดั ศรีสะเกษ เม่อื วนั ท่ี 18 มีนาคม พ.ศ. 2554 29

นายทวี ดำรงเลิศบวร ดร. สทิ ธชิ ัย สมานชาติ หวั หนา้ กลุ่มงานส่งเสริมการพฒั นาชมุ ชน คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ ประธานในพิธเี ปดิ จดั ประชุมระดมความคิด มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี วิทยากร แนวทางการพฒั นาผา้ ไหม บรรยากาศในการฟงั คำบรรยาย กจิ กรรมแบง่ กลมุ่ ย่อยระดมความคดิ 30 แนวทางการออกแบบลายผา้ เอกลกั ษณ์

การใหค้ วามรูเ้ พิ่มเติมในการออกแบบ ซ้าย : นายบนั เทงิ วอ่ งไว ผเู้ ช่ยี วชาญท่ีใหค้ ำแนะนำรายกล่มุ ขวา : การให้คำแนะนำปรกึ ษาในการออกแบบลายผา้ ผลสรุปจากการประชุมระดมความคิด สรปุ ไดว้ า่ ควรมกี ารออกแบบลายผา้ เอกลกั ษณ์ ให้มีความหลากหลายเพื่อนำมาทดลองผลิต และค้นหาลายผ้าท่ีดีที่สุดเพื่อผลิตเข้าสู่ตลาด ซ่ึงลายผ้าที่ควรนำมาใช้ในการออกแบบควรนำ มาจากเอกลักษณ์ต่างๆ ของจังหวัด เช่น ดอกลำดวน ปราสาทหิน ลวดลายจำหลัก ท่ีพบในปราสาท พืชที่โดดเด่นในจังหวัด นก และสัตว์ต่างๆ เม่ือออกแบบแล้วจึงนำมา ทดลองผลติ ในการฝึกอบรมปฏบิ ตั ิการ การอภปิ รายและสรปุ ผล 31

กจิ กรรมท่ี 2 การเตรียมการก่อนฝกึ อบรม 1) การออกแบบลวดลายบนแผ่นกระดาษ จังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูลดังกล่าวได้ผ่านการระดม เป็นการศึกษาข้อมูลจากแหล่งท่องเที่ยวทาง ความคิด มาแลว้ เม่อื วนั ท่ี 18 มนี าคม พ.ศ. 2554 ธรรมชาติ งานสถาปัตยกรรม และวิถีธรรมชาติท่ี ซึ่งสามารถประมวลออกมาเป็นภาพลายเส้นต่างๆ จะสามารถสอื่ ความหมายใหเ้ หน็ เปน็ เอกลกั ษณข์ อง ดงั นี้ ภาพลายเส้น นก กระรอก ก่งิ ไม้ และดอกลำดวน ภาพลายเสน้ จากปราสาทหนิ 32

ภาพลายเส้น เกดิ จากการจัดวางลายที่พบจากปราสาท และจากธรรมชาติ 2) การออกแบบบนกระดาษกราฟ เป็นการนำลายเส้นที่ได้จากแนวคิดต่างๆ มากำหนดจุดบนกระดาษกราฟเพื่อนำไปใช้ในขั้น ตอนมัดหม่ี การกำหนดจุดบนกระดาษกราฟจะได้ ภาพที่สามารถนำไปคำนวณเส้นไหมในการมัด ความงามและความประณตี ของภาพทป่ี รากฏบนผนื ผ้าจะสวยงาม ละเอียด ประณีต ก็จะข้ึนอยู่กับ ขั้นตอนน้ี ดังน้ัน แผ่นกระดาษกราฟจึงถือเป็น สงิ่ สำคญั 33

การสร้างภาพและลาย บนกระดาษกราฟ 34

กจิ กรรมที่ 3 การจดั อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการในพ้นื ท่ี รุ่นท่ี 1 อบรมท่ี บ้านหนองคู หมู่ที่ 11 คณะทำงานดา้ นการจัดฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ า ตำบลก้านเหลือง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัด รในพื้นที่ได้กำหนดแนวทางในการดำเนินงานไว้ 3 ศรีสะเกษ ประการกอ่ นการจัดอบรม ดงั นี้ อบรมเมื่อวนั ท่ี 1-2 เมษายน พ.ศ. 2554 1) ให้อำเภอท่ีมีพื้นท่ีเป็นสถานที่ฝึกอบรม ผแู้ ทนกลมุ่ ทเ่ี ขา้ อบรมกลมุ่ ละ 2 ราย ประกอบ ประสานหมบู่ ้านสถานทฝ่ี กึ อบรม จัดเตรยี มสถานท่ี ด้วย อาหาร เคร่ืองดื่ม และที่พักสำหรับผู้เข้ารับการ 1) กลมุ่ สตรที อผา้ ไหมบา้ นมว่ ง หมู่ 5 ตำบลแต้ ฝกึ อบรม อำเภออทุ มุ พรพิสยั 2) ประสานกลุ่มอาชีพที่เข้ารับการฝึกอบรม 2) กลุม่ ทอผ้าไหมบ้านหนองคู หมู่ 11 ตำบล กลุ่มละ 2 คน พร้อมจัดเตรียมเสื้อผ้า ของใช้ท่ี ก้านเหลือง อำเภออุทุมพรพิสยั จำเป็นสำหรับพักคา้ งคนื 3) กลุ่มทอผ้าไหม หมู่ 14 ตำบลก้านเหลือง 3) ให้กลุ่มอาชีพ จัดเตรียมเส้นไหมที่พร้อม อำเภออุทุมพรพิสยั สำหรับการมัดขึ้นลาย และจัดเตรียมสีย้อมไหม 4) กลมุ่ สตรที อผา้ ไหมบา้ นหวั ชา้ ง หมู่ 1 ตำบล ธรรมชาติตามท่กี ลุ่มต้องการให้พร้อม หัวช้าง อำเภออทุ มุ พรพสิ ัย ในการจัดอบรมได้แบ่งการจัดอบรมออก 5) กลุ่มอาชีพสตรีทอผ้าพ้ืนเมืองโคกจาน เป็น 7 รุ่น โดยเลือกสถานที่จัดฝึกอบรมท่ีเป็น หมู่ 3 ตำบลโคกจาน อำเภออทุ มุ พรพสิ ยั ศูนย์กลาง ที่แต่ละกลุ่มอาชีพรู้จัก และสะดวก 6) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านอะลาง หมู่ 9 ตำบล ในการเดินทาง รวมทั้งมีความพร้อมในการเป็น โคกจาน อำเภออทุ ุมพรพสิ ยั สถานที่จัดฝึกอบรม วิทยากรหลักในการฝึกอบรม การฝกึ มดั ลายหม่ีและยอ้ มสธี รรมชาติคอื นายบนั เทงิ ว่องไว ผู้เช่ียวชาญด้านผ้าทอมือ และการย้อม สีธรรมชาติ ซึ่งเป็นประธานกลุ่มอาชีพทอผ้าไหม บ้านด่านเจริญ ตำบลกระเทียม อำเภอสังขะ จงั หวัดสุรนิ ทร์ การดำเนนิ การเกิดข้นึ โดยความร่วม มือระหว่างคณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้ (KBO) จงั หวดั ศรสี ะเกษ ผนู้ ำชมุ ชนในพนื้ ที่ สำนกั งาน พฒั นาชมุ ชนอำเภอ และศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี การจัดอบรมทง้ั 7 รุ่น มีดังนี้ 35

ภาพกิจกรรมการจดั อบรม รนุ่ ท่ี 1 36

รนุ่ ที่ 2 อบรมท่ี บา้ นเสยี ว หมทู่ ่ี 2 ตำบลเสยี ว อำเภอโพธิศ์ รีสวุ รรณ จังหวัดศรีสะเกษ เมอ่ื วนั ท่ี 3-4 เมษายน พ.ศ. 2554 ผู้แทนกลุ่มที่เข้าอบรมกลุ่มละ 2 ราย ประกอบด้วย 1) กลมุ่ แมบ่ า้ นหนองคูใหญ่ หมู่ 7 ตำบลเป๊าะ 4) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านตาโกน หมู่ 1 ตำบล อำเภอบงึ บรู พ์ ตาโกน อำเภอเมืองจันทร์ 2) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองคูน้อย หมู่ 8 5) กลมุ่ ทอผ้าไหมบ้านเสียว หมู่ 2 ตำบลเสียว ตำบลเปา๊ ะ อำเภอบงึ บูรพ์ อำเภอโพธ์ศิ รสี ุวรรณ 3) กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่บ้านโนนโก หมู่ 11 6) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองพระ หมู่ 7 ตำบลปราสาท อำเภอหว้ ยทบั ทัน ตำบลเสียว อำเภอโพธ์ศิ รีสุวรรณ ลายผา้ ไหม(เดิม) 37

การเขียนลายผ้าลงบนกระดาษกราฟ (เพมิ่ เตมิ ) 38

การอธิบายวธิ กี ารมดั หมีบ่ นโฮงมดั หม่ี เสน้ ไหม ก่อนมัดลาย ฝกึ มัดตามลาย กิจกรรมในการจดั อบรม ร่นุ ท่ี 2 39

รุ่นที่ 3 อบรมที่บ้านเชือก หมู่ท่ี 1 ตำบล จิกสังข์ทอง อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ เม่ือวันที่ 5-6 เมษายน พ.ศ. 2554 ผู้แทนกลุ่มที่เข้าอบรมกลุ่มละ 2 ราย ประกอบด้วย 1) วสิ าหกจิ ชมุ ชนแมบ่ า้ นทอผา้ ยอ้ มสธี รรมชาติ 4) กลมุ่ ทอผา้ บา้ นโจดมว่ งหมู่10ตำบลโจดมว่ ง หมู่ 5 ตำบลด่าน อำเภอราศีไศล อำเภอศิลาลาด 2) กลมุ่ สตรที อผา้ ไหม หมู่ 1 ตำบลจกิ สงั ขท์ อง 5) กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่ หมู่ 8 ตำบล อำเภอราษไี ศล กุดเมืองฮาม อำเภอยางชุมนอ้ ย 3) กลุ่มวิสาหกิจทอผ้าบ้านโจดม่วง หมู่ 10 6) กลุ่มทอผ้าบ้านกุดเมืองฮาม หมู่ 1 ตำบล ตำบลโจดม่วง อำเภอศิลาลาด กดุ เมืองฮาม อำเภอยางชุมน้อย การฝกึ มัดหมต่ี ามแบบในกระดาษกราฟ 40

กิจกรรมในการจดั อบรม รนุ่ ที่ 3 ร่นุ ที่ 4 อบรมทบ่ี า้ นหนองเชียงทูน หมู่ท่ี 5 ตำบลหนองเชยี งทนู อำเภอปรางคก์ ู่ จงั หวดั ศรสี ะเกษ เมื่อวนั ท่ี 7-8 เมษายน พ.ศ. 2554 ผู้แทนกลุ่มท่ีเข้าอบรมกลุ่มละ 2 ราย ประกอบดว้ ย 1) กลุ่มสตรีบ้านโปง่ หมู่ 6 ตำบลพมิ ายเหนือ 4) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองคูขาม หมู่ 7 อำเภอปรางคก์ ู่ ตำบลหนองเชียงทูน อำเภอปรางคก์ ู่ 2) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองเชียงทูน หมู่ 5 5) กลุ่มพัฒนาสตรีบ้านหนองอารี หมู่ 1 ตำบลหนองเชียงทนู อำเภอปรางค์กู่ ตำบลดินแดง อำเภอไพรบงึ 3) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองเชียงทนู หมู่ 15 6) กลุ่มพัฒนาสตรีบ้านหนองอีย่า หมู่ 9 ตำบลหนองเชียงทูน อำเภอปรางค์กู่ ตำบลธาตุ อำเภอวังหนิ 41

กจิ กรรมในการจัดอบรม รนุ่ ท่ี 4 42

รนุ่ ท่ี 5 จดั อบรมทบี่ า้ นโนนมะนาว หมูท่ ี่ 12 ตำบลซำ อำเภอเมือง จงั หวัดศรสี ะเกษ ในระหวา่ งวันท่ี 29-30 เมษายน พ.ศ. 2554 ผู้แทนกลุ่มที่เข้าอบรมกลุ่มละ 2 ราย ประกอบดว้ ย 1) กล่มุ ผา้ ไหมบา้ นหนองยาง หมู่ 5 ตำบลดู่ 4) วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกร อำเภอกนั ทรารมย์ บา้ นสรา้ งหวา้ หมู่ 7 ตำบลโนนเพ็ก อำเภอพยหุ ์ 2) กลุ่มผ้าไหมพลังสามัคคี หมู่ 18 ตำบล 5) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านไฮ หมู่ 6 ตำบลตูม ผกั แพว อำเภอกนั ทรารมย์ อำเภอศรรี ัตนะ 3) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเปือยใหม่ 6) กลมุ่ ทอผา้ บา้ นโนนมะนาว หมู่ 12 ตำบลซำ หมู่ 10 ตำบลพรหมสวสั ด์ิ อำเภอพยุห์ อำเภอเมืองศรสี ะเกษ การลงทะเบียน และศกึ ษาแบบกอ่ นเลอื กแบบเพ่ือนำไปมดั หมี่ 43

กจิ กรรมในการจัดอบรม รนุ่ ท่ี 5 44