Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล

คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล

Description: คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล

Search

Read the Text Version

ค�ำ น�ำ

คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate เล่มน้ี กรมพลศึกษาจัดท�ำขึ้น เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการฝึกสอนกีฬาฟุตซอล ให้มีความทันสมัย มีมาตรฐานสูงข้ึน สอดคล้องกับการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตซอลในปัจจุบัน และมอบให้แก่ผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล ระดบั T-Certificate ผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ ซอลทว่ั ไปและผสู้ นใจไดใ้ ชเ้ ปน็ คมู่ อื ในการฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล การด�ำเนินการได้รับความร่วมมือจากสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ และผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นกฬี าฟตุ ซอลมาเปน็ วทิ ยากรและรว่ มจดั ทำ� ตน้ ฉบบั กรมพลศึกษา ขอขอบคุณสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และผเู้ ชย่ี วชาญทกุ ทา่ นทม่ี สี ว่ นรว่ มในการจดั การทำ� คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate เลม่ น้ี จนส�ำเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ฝึกสอน กฬี าฟตุ ซอลและผทู้ ส่ี นใจทว่ั ไปไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ และนำ� ไปใชใ้ นการพฒั นาการฝกึ สอน ฝกึ ซอ้ ม และการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตซอลให้มีมาตรฐานสูงขึ้น สนองต่อนโยบายและแผนพัฒนา การกฬี าของชาติต่อไป กรมพลศึกษา มนี าคม 2555



FUTSAL สารบญั คำ� นำ� 1 สารบญั 3 หลักสูตรการฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอลระดบั T-Certificate 4 ตารางการฝกึ อบรมหลกั สตู รผ้ฝู ึกสอนกีฬาฟุตซอลระดับ T-Certificate 9 ประวตั กิ ีฬาฟตุ ซอล (FUTSAL) 14 คณุ สมบตั ขิ องผ้ฝู ึกสอนกฬี า 24 จติ วทิ ยาสำ� หรบั ผฝู้ ึกสอนกฬี า 30 พฒั นาการของร่างกาย 39 กระบวนการและวธิ กี ารฝึกสอนกีฬาฟตุ ซอล 44 ขอบขา่ ยการฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล 50 หลักการฝกึ สอนเยาวชนในกลมุ่ อายตุ า่ งๆ 62 สมรรถภาพทางกาย 66 การวางแผนการฝึกซอ้ ม 123 กตกิ าฟุตซอลของสหพันธฟ์ ุตบอลนานาชาติ (FIFA) 179 ค�ำอธบิ ายกตกิ าการแขง่ ขนั กฬี าฟตุ ซอล 190 การฝกึ สอนเทคนคิ และยทุ ธวธิ กี ารเลน่ กฬี าฟุตซอล 198 ระบบและรูปแบบการเลน่ กฬี าฟตุ ซอล 201 อาหารและโภชนาการ การบาดเจ็บและการปอ้ งกนั

FUTSAL สารบญั (ต่อ) ภาคปฏิบัตใิ นการฝึกสอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate 205 การอบอุ่นรา่ งกาย 205 การฝึกเลย้ี งลูกบอล 209 การส่งและการรบั ลูกบอล 214 การควบคมุ ลกู บอล 219 การยิงประตู 221 การโหมง่ ลกู บอล 224 การรักษาประตู 228 บรรณานุกรม 231 คณะกรรมการจัดท�ำคู่มอื ผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 233

ห ลักสตู รการฝึกอบรม ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate ลำ�ดบั กจิ กรรม บรรยาย อภิปราย ปฏิบตั ิ วดี ิทัศน์ ประเมนิ ผล จ�ำ นวน หมายเหตุ ท่ี เนอื้ หา ชว่ั โมง 1 ประวัตกิ ีฬาฟุตซอล (FUTSAL) 1.30 - - - ถาม-ตอบ 1.30 เขียนตอบ 2 คุณสมบัตขิ องผู้ฝกึ สอนกีฬา 2 - - - ถาม-ตอบ 2 3 พัฒนาการของรา่ งกาย เขยี นตอบ หลกั การฝกึ สอนเยาวชนในกลมุ่ อายุตา่ งๆ 4 กระบวนการ วิธีการ 1.30 - - - ถาม-ตอบ 1.30 ขอบขา่ ยการฝึกสอนกีฬาฟตุ ซอล เขยี นตอบ 5 กติกากีฬาฟตุ ซอล และ ค�ำอธบิ ายกตกิ าการแขง่ ขันกฬี าฟตุ ซอล 2 - - - ถาม-ตอบ 2 6 การฝกึ สอนเทคนคิ เขียนตอบ และยุทธวธิ กี ารเลน่ กฬี าฟุตซอล 7 จติ วทิ ยาส�ำหรับผฝู้ ึกสอนกีฬา 1.30 - - - ถาม-ตอบ 1.30 เขียนตอบ 8 อาหารและโภชนาการ การบาดเจ็บและการปอ้ งกัน 1 - 1 - ถาม-ตอบ 2 9 สมรรถภาพทางกาย เขียนตอบ 10 การสัมผัสลูกบอลและการสรา้ งจังหวะ 1.30 - - - ถาม-ตอบ 1.30 กับลกู บอล เขยี นตอบ 11 การเลยี้ งลกู บอล (Dribbling) การควบคุมบอล (Controlling) 1.30 - - - ถาม-ตอบ 1.30 12 การส่งและการรับลกู บอล เขียนตอบ Passing – receiving 1 - 1 - ถาม-ตอบ 2 เขยี นตอบ .30 - 1.30 - ถาม-ตอบ 2 เขยี นตอบ .30 - 1.30 - ถาม-ตอบ 2 เขียนตอบ .30 - 1.30 - ถาม-ตอบ 2 เขยี นตอบ คมู่ อื ผ้ฝู ึกสอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate 1

ล�ำ ดบั กิจกรรม บรรยาย อภปิ ราย ปฏบิ ัติ วดี ิทศั น์ ประเมนิ ผล จำ�นวน หมายเหตุ ท่ี เน้ือหา ชว่ั โมง 13 การวางแผนการฝกึ ซ้อม 1.30 - .30 - ถาม-ตอบ 2 14 การโหม่งบอล (heading) เขียนตอบ .30 - 1.30 - ถาม-ตอบ 2 ฝึกสอน การยงิ ประตู (shooting) 15 การฝกึ เปน็ ผรู้ กั ษาประตู เขยี นตอบ .30 - 1.30 - ถาม-ตอบ 2 ฝกึ สอน 16 การเลน่ ในสถานการณ์ 1 ตอ่ 1 และการปอ้ งกนั .30 เขยี นตอบ - 1.30 - ถาม-ตอบ 2 ฝึกสอน (ยทุ ธวธิ กี ารเลน่ เฉพาะบุคคล การรุก) เขยี นตอบ 17 ระบบและรปู แบบการเลน่ กีฬาฟุตซอล .30 - 1.30 เขียนตอบ 2 ฝึกสอน 18 การทดสอบและประเมนิ เขยี นตอบ 2 - 3.30 - ถาม-ตอบ 5.30 ฝกึ สอน เขยี นตอบ หมายเหตุ : รวมเวลาในการฝึกอบรม 36.00 ชั่วโมง 2 ค่มู ือผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate

คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกฬี าฟุตซอล T-Certificate ตารางการฝึกอบรมหลกั สตู รผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate เวลา 08.30 - 10.00 น. 10.00 - 12.00 น. 13.00 - 15.00 น. 15.00 - 17.00 น. วันที่ คณุ สมบตั ิ วนั ท่ี 1 ประวัตกิ ฬี าฟตุ ซอล ของผูฝ้ ึกสอนกีฬา กระบวนการ วธิ กี าร และ การสมั ผัสลูกบอล ขอบขา่ ยการฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล และการสรา้ งจงั หวะกบั ลูกบอล พฒั นาการของร่างกาย การเลี้ยงและการควบคุม พกั 12.00-13.00 น. การวางแผนการฝึกซอ้ ม การสง่ และการรับลูกบอล วนั ที่ 2 หลักการฝกึ สอนเยาวชน ลกู บอล ในกลุ่มอายตุ ่างๆ วันท่ี 3 กติกากฬี าฟตุ ซอล การโหมง่ บอลและ ระบบและรูปแบบการเล่น ยุทธวธิ ีการเลน่ เฉพาะบุคคล และคำ�อธิบายกตกิ า การยงิ ประตู กีฬาฟตุ ซอล สถานการณ์การรุก การแข่งขนั กฬี าฟตุ ซอล และการป้องกนั วนั ที่ 4 จติ วิทยาสำ�หรบั ผู้ฝึกสอนกฬี า สมรรถภาพทางกาย การฝึกสอน เทคนิค และ การฝึกเป็นผู้รกั ษาประตู ยุทธวิธีการเล่นกีฬาฟตุ ซอล วนั ท่ี 5 อาหารและโภชนาการ การทดสอบและการประเมิน การทดสอบและการประเมนิ สรปุ ถาม – ตอบ การบาดเจ็บและการปอ้ งกัน (ทฤษฎีเฉพาะและทัว่ ไป) (ปฏิบัติ การฝกึ สอน) ปญั หา 3 หมายเหตุ ตารางการอบรมอาจมีการเปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม

ป ระวตั กิ ีฬาฟุตซอล (FUTSAL) ฟุตซอลเป็นกีฬาท่ีได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ทั้งในต่างประเทศ และประเทศไทยเปน็ กฬี าทเ่ี ลน่ กนั มานานแลว้ ดงั ประวตั คิ วามเปน็ มาดงั น้ี (Football Association of Singapore, 1997.P.26) คำ�วา่ “ฟตุ ซอล (Futsal)” เปน็ คำ�ทใ่ี ชเ้ รยี กในการแขง่ ขนั ระหวา่ งชาติ มาจากภาษาสเปน และโปรตุเกส ท่ใี ช้เรียก “ซอคเกอร์ (Soccer)” ว่า “Futbol หรือ Futebol” และคำ�ว่า “ในรม่ (Indoor)” นำ�มาจากภาษาฝรง่ั เศสและภาษาสเปน ทเ่ี รยี กวา่ “Salon หรอื Sala” เปน็ การ แขง่ ขนั ทม่ี กั เรยี กกนั อยเู่ สมอๆ วา่ เปน็ การเลน่ “ฟตุ บอล 5 คน (Five-A-Side Football or Soccer)” กีฬาฟุตซอลใช้เล่นในสนามบาสเกตบอลและสามารถเล่นได้กับพื้นผิวสนามหลายแบบ ลูกบอลท่ีใช้มีการกระดอนน้อย ผู้เล่นต้องใช้ความสามารถทางทักษะอย่างมากในการบังคับ ให้เกิดการเคล่ือนท่ี เป็นกีฬาท่ีพัฒนาให้เกิดทักษะต่างๆ อย่างมาก ต้องการปฏิกิริยาตอบสนอง ท่รี วดเร็ว ความคิดท่ฉี ับไวและการส่งท่แี ม่นยำ� ทำ�ให้การแข่งขันมีความต่นื เต้นเร้าใจท้งั ผ้เู ล่นและผ้ชู ม การเล่นกีฬาฟุตซอลเริ่มแรกนับย้อนหลังไปต้ังแต่ปี ค.ศ. 1930 ท่ีเมืองมอนเตวิดีโอ ประเทศอรุ กุ วัย ในขณะน้นั โจ อัน คาร์ลอส เซเรยี นี (Juan Carlos Ceriani) ไดค้ ิดค้นการเลน่ ฟุตบอล 5 คน เพอ่ื ใช้แข่งขันในระดบั เยาวชนของ วาย เอม็ ซี เอ (Y M C A) การแข่งขันเล่นกนั ในสนามบาสเกตบอลทั้งในร่มและกลางแจ้งโดยไม่มกี ารใชก้ ำ�แพงก้นั ด้านขา้ ง ตอ่ มากฬี าฟตุ ซอลไดข้ ยายออกไปทว่ั ในอเมรกิ า โดยเฉพาะในบราซลิ ทกั ษะตา่ งๆ ไดถ้ กู พฒั นา ใช้ในการเล่นอย่างเห็นได้ชัดในสไตล์การเล่นของผู้เล่นระดับโลกท่ีนำ�ไปใช้เล่นในสนามใหญ่ เช่น เปเล่ ซิโก้ โซเครตสิ เบเบโต และผเู้ ลน่ ในระดบั ดาวเดน่ อน่ื ๆ ของบราซลิ อกี หลายคนทีพ่ ัฒนา ทักษะจากการเล่นฟุตซอล ในขณะท่ีบราซิลเป็นจุดศูนย์กลางในการพัฒนาการเล่นกีฬาฟุตซอล อย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันฟีฟ่าได้รับเอาการแข่งขันกีฬาฟุตซอลไว้ภายใต้การควบคุมดูแล โดยมีประเทศทั่วโลกกว่า 100 ประเทศ จากยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และคาริบเบียน อเมริกาใต้ แอฟริกา เอเชยี และโอเชียเนยี ซ่งึ มผี ู้เลน่ กวา่ 12 ล้านคน 4 คมู่ อื ผ้ฝู ึกสอนกฬี าฟุตซอล T-Certificate

การแข่งขนั กีฬาฟตุ ซอลในต่างประเทศ กีฬาฟุตซอลมีการแข่งขันอย่างเป็นทางการมาช้านาน ดังรายการต่างๆ ดังนี้ (Football Association of Singapore, 1997.P.26) ในปี ค.ศ. 1965 มกี ารแขง่ ขนั ระหวา่ งประเทศครง้ั แรก เรยี กวา่ “การแขง่ ขนั อเมรกิ าใตค้ พั ครง้ั ท่ี 1” ตอ่ มามกี ารแขง่ ขนั อเมรกิ าใตค้ พั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งมากกวา่ 6 ครง้ั จนถงึ ปี ค.ศ. 1979 ซง่ึ ประเทศบราซลิ เปน็ ทมี ทช่ี นะเลศิ ทกุ ครง้ั และประเทศบราซลิ ยงั ไดร้ บั ชยั ชนะอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการแขง่ ขนั แพนอเมรกิ นั คพั ในปี ค.ศ. 1980 และชนะเลศิ อกี ครั้งในเวลาตอ่ มาท่จี ัดการแขง่ ขันข้ึนในปี ค.ศ. 1984 การแข่งขันชิงแชมป์โลกคร้ังท่ี 1 จัดข้ึนภายใต้การควบคุมของฟีฟุซซ่า (Fifusa) ซึ่งปัจจุบันได้ถูกรวมไว้เป็นสมาชิกอยู่ในฟีฟ่าตั้งแต่ปี 1989 ได้จัดการแข่งขันข้ึนท่ีเมืองเซาเปาโล ประเทศบราซลิ ในปี ค.ศ. 1982 โดยประเทศบราซลิ เปน็ ทมี ชนะเลศิ และประเทศบราซลิ ยงั คงแสดง ความสามารถไดเ้ ชน่ เดมิ เมอ่ื เปน็ แชมปอ์ กี สมยั ในปี ค.ศ. 1985 ทป่ี ระเทศสเปน แตม่ าเสยี แชมปโ์ ลก ครง้ั ที่ 3 ใหแ้ กป่ ระเทศปารากวยั ทป่ี ระเทศออสเตรเลยี ในปี ค.ศ. 1989 ฟฟี า่ ไดเ้ ขา้ มาดำ�เนนิ การสนบั สนนุ การจดั การแขง่ ขนั โดยตรงทป่ี ระเทศฮอลแลนด์ ในปี ค.ศ. 1992 ทป่ี ระเทศฮอ่ งกง และในปี ค.ศ. 1996 ท่ีประเทศสเปน ซ่ึงประเทศบราซิลชนะเลิศท้ัง 3 คร้ัง นับเป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกคร้ังท่ี 1 ถึงคร้ังท่ี 3 อย่างเป็นทางการภายใต้การควบคุมของฟีฟ่า ต่อมาในปี ค.ศ. 2000 มีการจัด การแข่งขันชงิ แชมป์โลกครัง้ ที่ 4 ทปี่ ระเทศกัวเตมาลา ทมี ชาตไิ ทยไดผ้ ่านเขา้ ไปเลน่ ในรอบสุดทา้ ย ชิงแชมป์โลกครง้ั นด้ี ว้ ย โดยทมี ชนะเลศิ ไดแ้ ก่ ประเทศสเปน การแขง่ ขนั ครง้ั ท่ี 5 มขี น้ึ ในปี ค.ศ. 2004 ทป่ี ระเทศจีนไต้หวัน ทมี ชนะเลศิ ไดแ้ ก่ ประเทศสเปน ตอ่ มาในปี ค.ศ. 2008 มกี ารจดั การแขง่ ขนั ชิงแชมป์โลกคร้งั ท่ี 6 ท่ปี ระเทศบราซิล ทีมชนะเลิศได้แก่ ประเทศบราซิล และในปี ค.ศ. 2012 มกี ารจดั การแขง่ ขนั ชงิ แชมปโ์ ลกครง้ั ท่ี 7 ทป่ี ระเทศไทย โดยทมี ชนะเลศิ ไดแ้ ก่ ประเทศบราซลิ การแขง่ ขันกีฬาฟตุ ซอลในประเทศไทย การแข่งขันกีฬาฟุตซอลในประเทศไทยเร่ิมจัดการแข่งขันอย่างเป็นทางการเม่ือประมาณ ปี พ.ศ. 2535-2536 โดยความรว่ มมอื ระหวา่ งสมาคมฟตุ บอลแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ กับบริษัท รีบอค โดยนำ�ทีมสโมสรฟุตบอลระดับถ้วยพระราชทานประเภท ก ซ่งึ เป็นระดับสูงสุด เขา้ รว่ มแขง่ ขนั ตอ่ มาประมาณปี พ.ศ. 2540 บรษิ ทั เดอะมอลล์ กรปุ๊ จำ�กดั ไดเ้ รม่ิ เขา้ มาดำ�เนนิ การ จัดการแข่งขันร่วมกับสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยใช้ชื่อว่า “Bangkok Star Indoor Soccer” คมู่ อื ผู้ฝึกสอนกฬี าฟุตซอล T-Certificate 5

ครงั้ ที่ 1 ปี พ.ศ. 2540 ทมี การท่าเรอื แหง่ ประเทศไทย ได้ต�ำแหนง่ ชนะเลศิ ครงั้ ที่ 2 ปี พ.ศ. 2541 ทมี กรุงเทพมหานคร ไดต้ ำ� แหนง่ ชนะเลิศ ครง้ั ท่ี 3 ป ี พ.ศ. 2542 ไดเ้ ชญิ ทมี จากมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ทมี ชนะเลศิ ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ ครง้ั ท่ี 4 ป ี พ.ศ. 2543 ได้เปลี่ยนช่ือการแข่งขันใหม่ว่า “อัมสเทลฟุตซอลชิงแชมป์ ประเทศไทย” โดยมีการแข่งขันรอบคัดเลือกจากภาคต่างๆ ในนามทีมจังหวัดและเป็นตัวแทนเข้ามาเล่นรอบสุดท้าย ที่เดอะมอลล์บางกะปิ ร่วมกับทีมสโมสรระดับไทยแลนด์ลีก ทีมชนะเลศิ ไดแ้ ก่ ทีมทหารอากาศ ครง้ั ที่ 5 ปี พ.ศ. 2544 ทมี การทา่ เรอื แหง่ ประเทศไทย ไดต้ �ำแหนง่ ชนะเลิศ ครั้งท่ี 6 ปี พ.ศ. 2545 ทีมการท่าเรอื แห่งประเทศไทย ได้ต�ำแหน่งชนะเลศิ ครงั้ ที่ 7 ปี พ.ศ. 2546 ทีมราชนาวสี โมสร ไดต้ �ำแหนง่ ชนะเลศิ ปัจจุบันมีการแข่งขันกีฬาฟุตซอลในรายการต่างๆ เกิดข้ึนมากมายทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ไทยแลนด์ฟุตซอลลีกเป็นการแข่งขันฟุตซอลลีกสูงสุดในประเทศไทย โดยเร่มิ การแขง่ ขันครงั้ แรกเมื่อปี พ.ศ. 2549 มี 12 ทมี เขา้ รว่ มการแข่งขัน ต่อมาปี พ.ศ. 2554 เปน็ การแขง่ ขนั ครั้งท่ี 5 ได้มกี ารเพ่ิมจ�ำนวนทมี เปน็ 16 ทีม โดยทมี ชนะเลศิ ในแต่ละฤดูกาลได้แก่ ปี พ.ศ. 2549 ทีมชลบุรบี ลเู วฟ ได้ต�ำแหน่งชนะเลศิ ปี พ.ศ. 2550 ทมี การทา่ เรอื แห่งประเทศไทย ได้ต�ำแหน่งชนะเลิศ ป ี พ.ศ. 2552 ทมี ชลบุรบี ลเู วฟ ไดต้ ำ� แหนง่ ชนะเลิศ ปี พ.ศ. 2553 ทีม ธอส. อาร์แบค ได้ต�ำแหนง่ ชนะเลศิ ป ี พ.ศ. 2554 ทีม ธอส. อารแ์ บค ไดต้ ำ� แหนง่ ชนะเลิศ ป ี พ.ศ. 2555 ทีม ธอส. อาร์แบค ได้ต�ำแหนง่ ชนะเลิศ 6 คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

ความแตกต่างระหวา่ งกฬี าฟุตซอลกบั กฬี าฟตุ บอล กีฬาฟุตซอลเป็นกีฬาที่พัฒนาทักษะการเล่นและกติกาการแข่งขันมาจากกีฬาฟุตบอล หลายประการ ซ่ึงสามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง ดังตารางเปรียบเทียบต่อไปนี้ (Football Association of Singapore, 1997. P. 27) กีฬาฟุตบอล กีฬาฟตุ ซอล 1. ลูกบอลเบอร์ 5 1. ลูกบอลเบอร์ 4 ซึง่ ลดแรงกระดอนลง 2. ผู้เลน่ 11 คน 2. ผเู้ ล่น 5 คน 3. เปล่ียนตัวผู้เล่นส�ำรองได้ 3 คน 3. ไมจ่ ำ� กดั จำ� นวนการเปลยี่ นตวั เปน็ การเปลยี่ นตวั เขา้ ออก 4. มีการทมุ่ เมอื่ ลกู บอลออกนอกเส้นข้าง ไดต้ ลอดเวลา 5. มีผู้ตัดสิน 1 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสิน 2 คน 4. ใชก้ ารเตะเขา้ เลน่ (ผู้ก�ำกบั เส้น) 5. มีผู้ตัดสินกับผู้ช่วยผู้ตัดสินอย่างละคน รับผิดชอบ 6. การรกั ษาเวลาขึน้ อยู่กับผู้ตัดสนิ เหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึน้ ใกลต้ วั เอง 7. ไมม่ ขี อเวลานอก 6. ใชผ้ รู้ กั ษาเวลาเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การหยดุ นาฬกิ า 8. เตะจากประตู ตามเหตกุ ารณต์ ่างๆ 9. ท�ำการชนดว้ ยไหล่ต่อไหล่ และสไลด์ได้ 7. ขอเวลานอกได้ 1 นาทตี อ่ ทมี และทำ� ไดใ้ นแตล่ ะครง่ึ 1 0. ไมม่ ีการกำ� หนด 4 วินาที 8. สง่ ลูกเข้าเลน่ โดยผู้รักษาประตู 11. มีการล�้ำหน้า 9. ไม่มกี ารชนด้วยไหลต่ อ่ ไหล่ หรือการสไลดแ์ ย่งลูก 12. มีการนับการก้าวเทา้ ของผูร้ ักษาประตู 10. มีข้อบงั คับการเริม่ เลน่ ภายใน 4 วินาที 13. ไม่จ�ำกดั จ�ำนวนการท�ำผดิ กติกา 11. ไม่มกี ารล้�ำหน้า 14. ผู้รักษาประตูไม่สามารถสัมผัสลูกบอลโดยมือ 12. ไม่มกี ารนบั กา้ วของผ้รู ักษาประตู จากการเตะสง่ คืนมาให้ 13. ก�ำหนดจ�ำนวนการกระท�ำผิดกติกา 5 คร้ัง และ 15. ส่งคืนให้ผู้รักษาประตูเล่นดว้ ยเทา้ ไดต้ ลอด การเตะโทษโดยไม่มกี ารตงั้ ก�ำแพงป้องกนั 16. ไม่มกี ารเปลี่ยนตวั แทนผเู้ ลน่ ทีถ่ กู ไลอ่ อก 14. ผู้รักษาประตูไม่สามารถสัมผัสลูกบอลโดยมือได้ 17. การเตะจากมุมท�ำภายในเขตมมุ จากการเตะส่งคืนมาให้ รวมทั้งการส่งด้วยศีรษะ 18. ตอ่ เวลาพเิ ศษคร่ึงละ 15 นาท ี และหนา้ อก 15. อนุญาตให้ส่งกลับคืนผู้รักษาประตูเพียงคร้ังเดียว เช่น ภายหลังจากลูกบอลได้ผ่านข้ามเส้นแบ่งแดน ไปแลว้ หรือถกู สมั ผัสโดยฝ่ายตรงขา้ ม 16. สามารถเปลย่ี นตวั แทนผเู้ ลน่ ทถ่ี กู ไลอ่ อกได้ ภายหลงั ผ่านพ้นเวลา 2 นาทีไปแล้ว หรือฝ่ายตรงข้าม ท�ำประตูได้แลว้ 17. การเตะจากมุมตัง้ บนมมุ สนาม 18. ภายหลังเวลาการเล่นจบลง ผลการท�ำประตูเท่ากัน ใหต้ อ่ เวลาพเิ ศษออกไปอีก 2 ครึ่งๆ ละ 5 นาที คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate 7

พัฒนาการของกติกาการแขง่ ขัน สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติหรือ FIFA ได้เข้ามาดำ�เนินการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตซอล แทนฟฟี ซุ ซา่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 ไดม้ กี ารจัดทำ�กตกิ าการแข่งขันกฬี าฟุตซอลทใ่ี ช้เปน็ สากลเกิดขึ้น ซง่ึ เรยี กวา่ “กตกิ าการแขง่ ขนั ฟตุ บอล 5 คน ปี ค.ศ. 1988 (The Laws of the Game for Indoor (Five-A-Side) Football 1988)” ซึ่งถือว่าเป็นกติกาสากลฉบับแรกของ FIFA ที่ใช้ในการดำ�เนินการแข่งขันชิงแชมป์โลกฟุตซอล ครั้งที่ 1 ณ ประเทศฮอลแลนด์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1992 ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกติกาการแข่งขันอีกคร้ัง เพื่อรองรับการจัดการแข่งขัน ฟตุ ซอลชงิ แชมปโ์ ลก คร้งั ที่ 2 ณ ประเทศฮอ่ งกง ในปเี ดยี วกนั ซ่ึงการจัดการแขง่ ขันจะมีขน้ึ ทกุ ๆ 4 ปีตอ่ คร้ังเชน่ เดยี วกับการแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลก ต่อมาในปี ค.ศ. 1995 ไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงกตกิ า การแข่งขันอีกคร้ัง โดยปรับเปลี่ยนกติกาท้ังเนื้อหาและรูปแบบต่างๆ มากมาย และเรียกกติกา ฉบับใหม่นี้ว่า “กติกาการแข่งขันฟุตซอล ปี ค.ศ. 1995” และได้นำ�กติกาฉบับใหม่นี้ เป็นแนวทางในการแขง่ ขันชงิ แชมปโ์ ลกคร้งั ท่ี 3 ในปี ค.ศ. 1996 ณ ประเทศสเปน สำ�หรบั กตกิ า การแข่งขัน ซ่งึ เป็นฉบับใหม่ล่าสุดท่ยี ังคงใช้อย่ใู นปัจจุบัน คือ ฉบับปี ค.ศ. 2012 ท่มี ีการปรับปรุง เปลย่ี นแปลงข้ึนใหม่เพอ่ื ใช้กับการแข่งขันชงิ แชมปโ์ ลกครัง้ ท่ี 7 ในปี ค.ศ. 2012 ณ ประเทศไทย FIFA มักจะมีการปรับเปลี่ยนกติกาการแข่งขันทุกครั้งก่อนท่ีจะมีการแข่งขัน ชิงแชมปโ์ ลกในครงั้ ตอ่ ไป 8 คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate

คุ ณสมบัติของผ้ฝู ึกสอนกฬี า ผู้ฝึกสอน คือ ผู้ท่ีถ่ายทอดวิชาความรู้ หรือท�ำให้เป็นตัวอย่าง เกิดความรู้ความเข้าใจ จนเกดิ ความชำ� นาญ และสอนใหม้ คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม ดงั นน้ั ผฝู้ กึ สอนจงึ ตอ้ งมอี งคป์ ระกอบหลายอยา่ ง ทเ่ี ป็นองคค์ วามรทู้ จี่ ะถา่ ยทอดให้นักกฬี าเกิดความสามารถ เพอื่ ไปส่เู ปา้ หมาย ผูฝ้ ึกสอนควรมีคุณสมบตั อิ ะไรบา้ ง 1. มีความรเู้ ก่ียวกบั กฎกติกาและวธิ กี ารเลน่ ผ้ทู ี่จะท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ฝึกสอนตอ้ งมกี ารคน้ คว้าศึกษาดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เช่น จากการอบรม จากเอกสาร ต�ำรา และส่ือการเรียนรู้อ่ืนๆ และองค์ประกอบที่ส�ำคัญคือ การมีประสบการณ์ จากการเป็นนักกีฬามาก่อน เพราะจะช่วยให้มีความชัดเจนมากขึ้นและเป็นท่ียอมรับของนักกีฬา นอกจากน้ันการมีประสบการณ์การเล่นมาก่อนจะท�ำให้ผู้ฝึกสอนสามารถให้ค�ำแนะน�ำได้เหมาะสม กับสถานการณ์ในระหว่างท่นี ักกีฬาปฏิบัติการฝกึ ซอ้ มรวมทงั้ การลงเลน่ จริง 2. มแี รงบันดาลใจ แรงบนั ดาลใจในการเป็นผูฝ้ ึกสอนเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะเปน็ แรงผลกั ดนั ให้ผฝู้ กึ สอนทำ� หนา้ ท่ี ในการพัฒนานักกีฬาไปสู่จุดหมายที่ก�ำหนดไว้ ความรู้และความสามารถทางทักษะท้ังหมดท่ีมีอยู่ ไมส่ ามารถนำ� พาไปสูเ่ ปา้ หมายได้ ถา้ ขาดแรงจงู ใจท่ีเป็นเหมือนพลงั ขับเคลือ่ นท่ีดี 3. มีเหตมุ ผี ล ต้องเป็นผู้ท่ีรู้ถึงเหตุที่ท�ำให้เกิดผลจากการกระท�ำท้ังโดยตรงและโดยอ้อม ท�ำไมนักกีฬา จึงไม่สามารถปฏิบัติได้ ต้องวิเคราะห์ออกมาได้อย่างถูกต้องและรู้ถึงเหตุที่เกิด เม่ือวิเคราะห์ได้ กค็ วรทจ่ี ะแกไ้ ขใหเ้ กดิ ผลทด่ี ไี ด้ เหตผุ ลของการฝกึ วา่ ทำ� ไมตอ้ งฝกึ ฝกึ อยา่ งไร และควรทจี่ ะเรม่ิ ทไ่ี หน ซึ่งจะเปน็ ปจั จยั ส�ำคญั ท่ีจะทำ� ให้นักกีฬาเกิดพัฒนาการ 4. มคี วามกระตือรอื ร้น ผู้ฝึกสอนต้องท�ำงานท่ีเป็นกระบวนการต่อเน่ืองไม่หยุดย้ัง งานฝึกสอนเป็นงานที่ ตอ่ เนอื่ งไมม่ วี นั หยดุ การทจ่ี ะทำ� ใหง้ านบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคน์ น้ั ไมไ่ ดใ้ ชเ้ วลาสนั้ ๆ การฝกึ สอนเปน็ งาน ท้ังศาสตร์และศิลป์ท่ีต้องใช้ความพยายาม ความทุ่มเท ความกระฉับกระเฉง มีความสุขสนุก กบั งานทท่ี ำ� และโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การมแี รงบนั ดาลใจทเี่ ปน็ ตวั กระตนุ้ กย็ ง่ิ เปน็ เหตใุ หก้ ระตอื รอื รน้ ที่จะท�ำงานนั้นให้ส�ำเร็จด้วยดี แต่เมื่อใดที่ไม่มีเป้าหมาย ไม่มีแรงบันดาลใจหรือไม่สนุกกับงานท่ีท�ำ ความกระตอื รือรน้ ท่จี ะทำ� กล็ ดน้อยลง งานท่ีทำ� กจ็ ะไมเ่ กดิ ผลดี คู่มือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตซอล T-Certificate 9

5. มคี วามอดทนและอดกลัน้ คณุ สมบตั สิ ำ� คญั สำ� หรบั ผฝู้ กึ สอนคอื ตอ้ งมคี วามอดทนและอดกลนั้ อยา่ งสงู เพราะการทำ� งาน เป็นหมู่คณะต้องใช้ระยะเวลาเพื่อให้เกิดผลส�ำเร็จนั้น ต้องพบอุปสรรคปัญหามากมายท่ีเข้ามารุมเร้า ท้ังจากผรู้ ่วมงาน นกั กฬี า นโยบายตา่ งๆ รวมไปถงึ สภาพแวดล้อม ผฝู้ กึ สอนจงึ ตอ้ งสามารถทีจ่ ะแก้ไข ปญั หาตา่ งๆ ดว้ ยความอดทนและอดกลน้ั อย่างมีสติ 6. มจี ติ ใจมน่ั คงหนักแนน่ ตอ้ งมคี วามเชอื่ มนั่ ในคณะทำ� งาน นกั กฬี า และโดยเฉพาะตวั เองตอ้ งเปน็ ผทู้ ม่ี จี ติ ใจหนกั แนน่ ไม่ใช่ใครว่าอย่างไรก็เห็นดีเห็นงามจะท�ำอย่างน้ัน เห็นดีเห็นชอบไปกับเขาจนไม่เป็นตัวของตัวเอง ขาดความเชอื่ มน่ั เมอ่ื ขาดความเชอื่ มนั่ จติ ใจกเ็ กดิ ความกงั วลขาดสมาธกิ บั งานทที่ ำ� ผลเสยี จงึ เกดิ กบั งาน โดยเฉพาะความวติ กกงั วล มผี ลกระทบทำ� ใหค้ วามสามารถในการทำ� งานลดลงและเกดิ ความสบั สน ในงานทท่ี �ำเนอื่ งจากสภาพของจิตใจท่ไี มม่ ่นั คงหนักแนน่ 7. มีความรบั ผิดชอบสูง ความตั้งใจท่ีจะท�ำงานให้ประสบความส�ำเร็จ การที่ต้องท�ำงานอย่างหนัก มีความอดทน กบั งานทจี่ ะใหเ้ กดิ ผลดี ตอ้ งปฏบิ ตั ภิ ารกจิ มากมายหลายอยา่ งในแตล่ ะวนั ทมุ่ เทอยา่ งเตม็ ความสามารถ ตั้งแต่เร่ิมเป็นผู้ฝึกสอน คือ การเร่ิมมีภาระและเริ่มท่ีจะต้องรับผิดชอบทันที ดังนั้น ถ้าไม่รู้ถึง ความรบั ผดิ ชอบและไมม่ คี วามรบั ผดิ ชอบในสง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งทำ� กจ็ ะไมม่ คี วามสำ� เรจ็ ในงานอยา่ งแนน่ อน 8. มคี วามรคู้ วามสามารถเก่ยี วกบั การศกึ ษาคน การท�ำงานร่วมกับกลุม่ คนเป็นหม่คู ณะ ส่ิงหนงึ่ ทสี่ ำ� คัญ คือ การเรียนรู้ลกั ษณะนสิ ยั ใจคอ พฤติกรรมทแ่ี สดงออกมา และแนวความคิดของแต่ละคน ผู้ฝึกสอนก็สามารถท่ีจะก�ำหนดบทบาท แกไ้ ขหรอื ใชค้ นใหถ้ กู กบั งานทตี่ อ้ งการเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดง้ า่ ย ซง่ึ จะมผี ลถงึ การพฒั นานกั กฬี า ตามศักยภาพท่ีเขามี คุณสมบัติเหล่านี้เป็นองค์ประกอบส�ำคัญส�ำหรับการเป็นผู้ฝึกสอน เพราะการเป็น ผู้ฝึกสอน สิง่ แรกท่ีเกย่ี วขอ้ งในทนั ที คือ ความรับผดิ ชอบและเมื่อรับผิดชอบแล้วกไ็ มต่ ้องไปกังวล กับผลท่ีจะมากระทบในทุกๆ ด้าน เพราะเม่ือใดก็ตามท่ีมัวแต่คิดก็จะท�ำให้เกิดความกังวลและลังเล ซ่ึงจะส่งผลให้ความม่ันใจลดลงและมีผลถึงความกระตือรือร้นที่จะท�ำงาน แรงจงู ใจกจ็ ะลดลงความเขม้ ลดลง ผลกจ็ ะไปตกอยทู่ เี่ นอ้ื งานและผลของงาน นน่ั คอื การสอน การฝกึ และพฒั นาการของนักกฬี า 10 คู่มือผูฝ้ กึ สอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate

ผู้ฝึกสอนควรมีทักษะและความร้อู ะไรบ้าง 1. ทักษะในกีฬาที่สอน สิ่งส�ำคัญคือถ้าจะเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอลแล้วไม่เคย มปี ระสบการณ์เกยี่ วกบั การเล่นเลย ความชดั เจนท่จี ะสอนและฝึกนักกีฬาคงท�ำได้ไมด่ ี ความเขา้ ใจ ในมมุ การสมั ผสั ลกู บอล ตลอดจนการทจี่ ะแสดงหรอื สาธติ ใหน้ กั กฬี าเหน็ ภาพและรวมไปถงึ ยุทธวิธี ในการคิดขณะที่ปฏิบัตกิ ค็ งจะเกดิ การพัฒนาขึน้ ได้ยาก 2. ความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา เพราะกีฬาฟุตซอลเป็นกีฬาที่ต้องใช้ การเคลื่อนไหวของร่างกายโดยอาศัยการท�ำงานของระบบต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งในแต่ละส่วน ของร่างกายมีทั้งกระดูก ข้อต่อ เอ็น กล้ามเน้ือ เป็นโครงสร้างและเป็นกลไกในการเคล่ือนไหว รา่ งกายจะเคลอ่ื นไหวไดด้ เี พยี งใดขนึ้ อยกู่ บั การทำ� งานทปี่ ระสานสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกระดกู ขอ้ ตอ่ เอน็ กลา้ มเนื้อ จึงจำ� เปน็ อย่างย่ิงท่ผี ฝู้ ึกสอนจะต้องมีความรู้ในเรอ่ื งนี้เปน็ พืน้ ฐาน 3. หลักและวิธีการฝึก เก่ียวข้องกับกระบวนการที่ใช้ในการฝึกนักกีฬา หากไม่มีความรู้ ในหลักการฝึกและใช้วิธีการท่ีถูกต้อง อันเป็นกุญแจส�ำคัญเก่ียวข้องกับการแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่อง ของผเู้ ลน่ และเปน็ หวั ใจของลำ� ดบั ขน้ั ตอนของการพฒั นานกั กฬี า วตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี อ้ งการจากการฝกึ ก็จะลม้ เหลว 4. ทักษะในการสื่อสาร เป็นองค์ประกอบของทักษะท่ีส�ำคัญของผู้ฝึกสอน เพราะการสื่อสารเป็นเครื่องมือท่ีจะท�ำให้นักกีฬาเกิดความเข้าใจในส่ิงที่ผู้ฝึกสอนต้องการและประสงค์ ให้นักกีฬาปฏิบัติ จ�ำเป็นอย่างย่ิงที่ผู้ฝึกสอนจะต้องมีทักษะการส่ือสารท่ีดี ท้ังการเป็นผู้ส่ือ และการเปน็ ผรู้ บั สอื่ ซงึ่ องคป์ ระกอบทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในงานทปี่ ฏบิ ตั ริ ว่ มกนั ดว้ ยความเขา้ ใจ และจะนำ� พาไปสจู่ ุดหมายเดียวกัน 5. การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ เปน็ ทกั ษะหนง่ึ ทผ่ี ฝู้ กึ สอนตอ้ งรแู้ ละมคี วามเขา้ ใจในเบอ้ื งตน้ เพราะในการเล่นกีฬาทุกชนิด อาจเกิดอุบัติเหตุท�ำให้บาดเจ็บได้ โดยเฉพาะกีฬาที่มีการปะทะกัน อยตู่ ลอดเวลา ไม่ต้องรู้ลึกถึงขั้นวินิจฉัยได้ เพียงแต่ผู้ฝึกสอนจ�ำเป็นต้องรู้ถึงวิธีดูแลอาการบาดเจ็บ เบ้ืองต้น เพ่ือเป็นการบรรเทาหรือคงสภาพไม่ให้หนักมากขึ้นและง่ายต่อการฟื้นฟู รวมไปถึง เร่ืองของจิตวิทยาส�ำหรับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ เพราะจะท�ำให้เกิดผลบวกหรือลบกับความรู้สึก ของนักกีฬาได้ 6. จิตวิทยาท่ัวไปและจิตวิทยาทางการกีฬา มีความส�ำคัญอย่างย่ิง จิตวิทยาทั่วไป หรือจิตวิทยาเบ้ืองต้นเป็นเร่ืองเกี่ยวกับการศึกษาพฤติกรรมในแง่มุมท่ีแตกต่างท้ังภายในและ ภายนอก เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในทกุ ดา้ นในสว่ นของการเจรญิ เตบิ โต อารมณ์ สงั คมและสตปิ ญั ญา ในแต่ละช่วงวัย เพ่ือพิจารณาแบ่งกลุ่มการฝึกสอน เพื่อการพัฒนาส่วนจิตวิทยาทางการกีฬา สามารถท่ีจะใช้ท้ังระหว่างเวลาฝึกสอนให้นักกีฬาฝึกซ้อมและใช้ในการแข่งขัน การกระตุ้นนักกีฬา จนเกิดแรงจูงใจ ท�ำให้นักกีฬามีความมุ่งม่ัน ส่งผลในทางความคิด จิตใจและเกิดการพัฒนา คู่มอื ผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate 11

ทางทักษะกีฬา ให้รู้สึกเกิดความเช่ือม่ันในตัวเองมากยิ่งขึ้นและท่ีส�ำคัญท�ำให้นักกีฬาสามารถท่ีจะ ควบคมุ ตวั เองในเร่ืองของอารมณ์อีกด้วย 7. ความรู้ทางสถิติและรายงาน การที่จะพัฒนานักกีฬาให้ก้าวไปสู่ความเป็นผู้ที่มี ความสมบูรณ์ทางกายและประสบความส�ำเร็จทางกีฬาได้นั้น จะต้องวางแผนจัดระบบการฝึกซ้อม อย่างมีคุณภาพ ปัจจัยส�ำคัญท่ีจะช่วยให้การวางแผนจัดการอย่างมีคุณภาพ คือ หลักฐานที่รวบรวม เปน็ ขอ้ มลู รายงานทผ่ี ฝู้ กึ สอนควรทจ่ี ะตอ้ งทำ� หรอื จดั ทำ� ขน้ึ เพอื่ ใชเ้ ปน็ องคป์ ระกอบสำ� หรบั การพจิ ารณา จดั รปู แบบการฝกึ และเพอื่ พจิ ารณาในสว่ นตวั นกั กฬี า เพอ่ื ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและหรอื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหด้ ยี ่งิ ขึ้น ซ่งึ จะชว่ ยใหก้ ารทำ� งานเกิดผลดมี ากยงิ่ ข้ึน ผูฝ้ กึ สอนตอ้ งท�ำหนา้ ทีอ่ ะไรบ้าง หน้าที่ ครู (Teacher) ให้ความรู้ ทักษะ และความคิดใหม่ๆ แก่นักกีฬา ทั้งดา้ นการกฬี าและการดำ� รงชีวติ ผู้ฝึกซ้อม (Trainer) โดยการปรับปรุงสมรรถภาพ เทคนิค และทักษะ ใหน้ กั กฬี า ผ้ใู หค้ �ำแนะน�ำ (Instructor) แนะน�ำกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติท่ีเหมาะสม และปลอดภยั ผ้สู รา้ งแรงจงู ใจ (Motivator) พั ฒ น า ใ ห ้ นั ก กี ฬ า เ ป ็ น บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม เ ช่ื อ ม่ั น และมีก�ำลังใจ ผสู้ ร้างวินัย (Disciplinarian) มีความยุติธรรมและให้ความเสมอภาคกับนักกีฬา ทุกคน นกั จดั การ/ผจู้ ดั การ (Manager) จดั ระบบและวางแผนการฝกึ ซอ้ มและการแขง่ ขนั ผบู้ ริหาร (Administrator) จัดด�ำเนินการฝึกซ้อมให้เป็นไปในแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสม ตัวแทนสาธารณะ (Publicity Agent) การให้ข่าวสารกบั สาธารณะและหรือสอื่ มวลชน นักสงั คมสงเคราะห์ (Social Worker) การให้ค�ำปรกึ ษาและแนะนำ� ชว่ ยเหลอื นักกีฬา เพ่ือน (Friend) ใหค้ วามสนิทสนมกบั นักกีฬาเหมือนกับเพ่อื นคนหนงึ่ นักวิทยาศาสตร์ (Scientist) การวิเคราะห์ การประเมินผลและการแก้ไขปัญหา ของนกั กฬี า นกั เรียน (Student) รบั ฟัง เรยี นรู้ และแสวงหาความรใู้ หม่ๆ 12 คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate

การท�ำหน้าท่ีผู้ฝึกสอนกีฬา จึงเปรียบเสมือนนักแสดงท่ีบางครั้งต้องแสดงหลายบทบาท ในเวลาเดยี วกนั และตอ้ งทำ� ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สถานการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ตอ้ งใชอ้ งคป์ ระกอบหลายอยา่ ง ในการช่วยตัดสินใจเม่ือเจอกับปัญหาท่ีเกิดข้ึน ดังนั้น การฝึกสอนกีฬาของผู้ฝึกสอนจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ทต่ี ้องมที กั ษะท่ีเกย่ี วข้องหลายๆ อยา่ งและท�ำหนา้ ท่ไี ด้หลากหลายในเวลาเดยี วกัน ผู้ฝึกสอนสามารถท่ีจะบันดาลให้นักกีฬาเป็นไปได้ต่างๆ การให้ค�ำแนะน�ำนักกีฬา การให้โอกาสแสดงความคิดเห็น แสดงความสามารถได้ตามที่คิดจะท�ำให้นักกีฬาเกิดความเช่ือมั่น เป็นเหมือนก�ำลังใจเติมก�ำลังกายให้นักกีฬาในการปฏิบัติ ตรงกันข้ามถ้าผู้ฝึกสอนเอาแต่ติเตียน ต่อว่า ก�ำหนดกรอบและการลงโทษอย่างเข้มงวด ความสนุกสนานในการฝึกก็จะหายไปกลายเป็น แรงกดดันต่อตัวนักกีฬา เปรียบเสมือนกับเป็นการท�ำลายพลังใจและส่งผลถึงพลังกายอีกด้วย ท�ำให้บรรยากาศการฝึกตึงเครียด ซ่ึงมีผลไปถึงพัฒนาการอย่างแน่นอน การที่นักกีฬาถูกต�ำหนิ ติเตียนบ่อยๆ ท้ังนอกและในระหว่างการฝึก เหมือนกับการตอกย�้ำจนเหมือนกับการเหยียบย่�ำ ท�ำร้ายจิตใจความรู้สึกและการท่ีนักกีฬาไม่ค่อยได้รับโอกาสในการเข้าร่วมการฝึกหรือแข่งขัน ก็จะเกิดเป็นผลลบทางใจ ท้ังการได้รับบาดเจ็บท่ีขาดการดูแลหรือการรักษาอย่างต่อเนื่องก็ดี การสมยอมหรือตกลงกันในผลการแข่งขันระหว่างผู้ฝึกสอนด้วยกัน ซึ่งผลก็จะมาตกอยู่ท่ีนักกีฬา ทต่ี ้องปฏบิ ตั ติ ามที่ผู้ฝกึ สอนตอ้ งการโดยผลประโยชน์ใดๆ กต็ าม ดังนั้น คณุ ลกั ษณะพิเศษทผี่ ฝู้ ึกสอนจำ� เปน็ อยา่ งย่งิ ต้องมีอยูใ่ นตวั และจิตใจ คอื จรรยาบรรณ หมายถึง ความประพฤตทิ ีผ่ ูป้ ระกอบอาชีพการงานแตล่ ะอยา่ งกำ� หนดขนึ้ เพอ่ื รักษาและสง่ เสริมเกียรติคุณช่อื เสยี งและฐานะของสมาชิก จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรมถ้าผู้ฝึกสอนมี นกั กฬี าจะเคารพและยอมรบั ในกฎกตกิ าต่างๆ และถ่ายทอดสนู่ กั กีฬาของเขา จริยศึกษา หมายถึง การศึกษาเก่ียวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติ และการปฏบิ ตั ิเพื่อใหอ้ ยใู่ นแนวทางของศีลธรรมและวฒั นธรรม คู่มอื ผู้ฝึกสอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate 13

จิ ตวทิ ยาสำ�หรบั ผูฝ้ ึกสอนกีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา เป็นบุคคลที่มีความใกล้ชิดกับนักกีฬามากท่ีสุดและมีบทบาทส�ำคัญ ในการก�ำหนดโปรแกรมการฝึกซ้อม ดังนั้นจึงมีหน้าที่ในการส่งเสริมให้นักกีฬาเห็นความส�ำคัญ ของการเปน็ นกั กฬี าและแสดงพฤติกรรมของการเลน่ กีฬาอยา่ งถูกต้อง โดยค�ำนงึ ถึงการสร้างกจิ กรรม หรือโปรแกรมการฝึกซ้อมกีฬาที่มีความสนุกสนาน มีความท้าทาย เพราะจะส่งผลให้นักกีฬา รู้สึกอยากฝึกซ้อมและอยากแข่งขันด้วยความเต็มใจ ทั้งน้ีผู้ฝึกสอนกีฬาต้องเข้าใจความแตกต่าง ของนกั กฬี าแต่ละบุคคลดว้ ย ผฝู้ กึ สอนกฬี าทด่ี คี วรเปน็ ผทู้ ม่ี ลี กั ษณะผนู้ ำ� มองการณไ์ กล สามารถเปน็ ผนู้ ำ� ทมี ไดอ้ ยา่ งมวี สิ ยั ทศั น์ สร้างบรรยากาศภายในทีมให้เกิดข้ึนและต้องตระหนักถึงความแตกต่างของนักกีฬาแต่ละบุคคล ซึ่งมีพื้นฐานของพฤติกรรมท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะกีฬาฟุตซอลซ่ึงเป็นลักษณะกีฬาประเภททีม มีจ�ำนวนนักกีฬาหลายคน จึงมีความจ�ำเป็นต้องสร้างความอันหนึ่งอันเดียวกันของทีมให้เกิดขึ้น การน�ำหลักการทางจิตวิทยาการกีฬาไปใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะและพฤติกรรมการเรียนรู้ของแต่ละ บคุ คล ตอ้ งมคี วามอดทนและยอมรบั วา่ การฝกึ ดา้ นจติ ใจตอ้ งใชร้ ะยะเวลาและตอ้ งการความตอ่ เนอ่ื ง ในการฝกึ ฝน หากละเลยหรอื หยุดการฝึกเป็นระยะเวลานานก็เทา่ กบั ว่าการฝึกนนั้ ไม่มีประโยชน์ใดเลย การเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาที่ดี ต้องมีความสามารถในการน�ำทีมหรือนักกีฬาของตนเองไปสู่ เป้าหมายสูงสุดได้ และต้องมีความสามารถในการจัดการปัญหาที่อาจเกิดข้ึนได้ในทุกสถานการณ์ อาจไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ยนกั ในบทบาทหนา้ ทซี่ งึ่ ตอ้ งรบั ผดิ ชอบ แตห่ ากมคี วามเขา้ ใจลกั ษณะความแตกตา่ ง ของนกั กฬี าแต่ละบุคคลอย่างดี ปญั หาทกุ อยา่ งจะสามารถจัดการแก้ไขได้โดยงา่ ย ควรแสวงหาโอกาส ในการพฒั นาตนเอง ไมว่ า่ จะเปน็ การอา่ นหนังสือ การฝกึ อบรม การสมั มนาต่างๆ เพอ่ื เป็นแนวทาง ในการพัฒนาทักษะส�ำหรับการดูแลและให้ค�ำปรึกษากับนักกีฬาเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถ ของนักกีฬา โดยสรุปผู้ฝึกสอนกีฬาท่ีดีต้องสามารถรับรู้บทบาทหน้าท่ีของตนเองตามสภาพ ความเป็นจรงิ ได ้ ชัยชนะไมใ่ ชค่ วามส�ำคัญทัง้ หมดของกีฬา แตห่ นทางทจี่ ะไปสู่ชัยชนะ คอื ส่งิ สำ� คัญกว่า 14 คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate

บทบาทของผู้ฝกึ สอนกฬี า ผ้ฝู ึกสอนกีฬา มีลกั ษณะการทำ� งานท่ีผสมผสานบทบาทหน้าท่ีหลายอยา่ งเข้าด้วยกนั ดงั นี้ ผนู้ �ำ ในสถานการณก์ ารกฬี าเมอ่ื สมาชกิ ในทมี ตอ้ งการบรรลเุ ปา้ หมายทร่ี ว่ มกนั กำ� หนดไว้ จึงจ�ำเป็นต้องมีผู้ท�ำหน้าท่ีเป็นผู้น�ำ ดังนั้น ผู้ฝึกสอนกีฬาจึงมีหน้าที่ในการน�ำทีมไปยังเป้าหมาย ทท่ี มี ไดร้ ว่ มกนั กำ� หนดไว้ ผฝู้ กึ สอนกฬี าทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพตอ้ งเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบในทกุ สถานการณ์ แมใ้ นยามที่ทมี ประสบความพ่ายแพ้ผดิ หวังตอ้ งสามารถให้ค�ำชี้แนะแก่นักกีฬาของตนเองได้ ตอ้ งมี ความสามารถในการคิดเทคนคิ หรือกุศโลบายเพือ่ วางแผนการเล่นและมีการส่ือสารทด่ี ี ผู้ตาม ผู้ฝึกสอนกีฬาที่ดีต้องรู้ช่วงจังหวะเวลาท่ีเหมาะสมว่าช่วงใดไม่ควรเป็นผู้น�ำ ซึ่งช่วงท่ีไม่ได้เป็นผู้น�ำก็ควรเป็นผู้ตามที่ดี เพราะผู้ฝึกสอนกีฬาควรมีความสามารถในการรับฟัง เคารพการตดั สินใจ และรับรคู้ วามรู้สกึ หรอื ความตอ้ งการของนักกฬี าอยา่ งจริงใจ ครู ผู้ฝึกสอนกีฬาท่ีมีประสิทธิภาพ คือ ผู้ถ่ายทอดความรู้ได้ดี มีความสามารถใน การเรียนรู้และพัฒนาทักษะกีฬาได้ นักกีฬาต้องได้รับการพัฒนาด้านความคิดสร้างสรรค์ ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง และประสบความส�ำเร็จได้ และสงิ่ ส�ำคัญตอ้ งมีความสามารถเก่ยี วกบั การสอ่ื สาร หรือมีรูปแบบการสอนท่ีสามารถส่ือให้นักกีฬาเข้าใจได้ มีการแสวงหาความรู้อยู่เสมอ สามารถใช้ รูปแบบการส่อื สารไดห้ ลากหลายเพ่อื ความเข้าใจทดี่ ขี ึ้น ตัวแบบ ผู้ฝึกสอนกีฬามักเป็นผู้ท่ีนักกีฬายึดถือเป็นตัวแบบ จึงควรตระหนักว่า การกระท�ำทุกอย่างของผู้ฝึกสอนกีฬามีผลต่อการปฏิบัติตามของนักกีฬาด้วย บทบาทที่มีผล ตอ่ การลดความนา่ เชอื่ ถอื ของผฝู้ ึกสอนกีฬา เชน่ การติดสุรา การใชย้ าท่ีผดิ กฎหมาย การไมร่ กั ษา มาตรฐานในการดูแลนักกีฬาแต่ละคน ส่ิงเหล่าน้ีล้วนส่งผลต่อการลดความน่าเช่ือถือและท�ำให้ นกั กีฬาสญู เสียความเชื่อม่ันในตวั ผ้ฝู กึ สอนกีฬาได้ นักจิตวิทยาหรือผู้ให้ค�ำปรึกษา ผู้ฝึกสอนกีฬาควรเข้าถึงความรู้สึกและความต้องการ ของนกั กฬี า สามารถรบั ฟงั และตอบสนองความตอ้ งการของนกั กฬี าได้ โดยตอ้ งไมม่ ที า่ ทหี รอื วธิ กี าร อันใดที่สง่ ผลต่อความคิดหรือความรูส้ กึ ของนกั กีฬาให้เกดิ ข้นึ ทางลบ ตัวแทนของพ่อแม่ บทบาทของผู้ฝึกสอนกีฬามิใช่การเป็นพ่อแม่ แต่เป็นลักษณะ การดูแลเอาใจใส่ที่มีเป้าหมายเหมือนกับเป็นพ่อแม่เท่านั้น คือ การให้ความรัก ความเข้าใจ เอาใจใสแ่ ละดแู ลนักกีฬาของตนเปรยี บเสมอื นเปน็ ลกู ของตนเอง คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 15

การสร้างแรงจงู ใจใหก้ ับนกั กีฬา การสรา้ งแรงจูงใจให้กับนกั กฬี า มสี ง่ิ ทต่ี ้องค�ำนึงถงึ 2 ประการ คอื 1. ความแตกต่างของบุคคล ประกอบด้วย ความพร้อมในการเรียนรู้ ระดับสติปัญญา ความพร้อมทางร่างกาย เพศ และความต้องการประสบความส�ำเร็จ ซ่ึงถือว่าเป็นปัจจัยภายใน ของแตล่ ะบุคคลที่มผี ลต่อระดับแรงจงู ใจ 2. ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม ซ่ึงถือเป็นปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อแรงจูงใจ ประกอบด้วย ระบบการให้รางวัล รปู แบบการฝกึ ประเภท และชนดิ ของกฬี า รวมถงึ ปจั จยั ดา้ นวัฒนธรรมและสงั คม หลักการเกิดพฤตกิ รรม การท�ำความเข้าใจกับหลักของพฤติกรรมเป็นส่ิงที่ผู้ฝึกสอนกีฬาต้องเรียนรู้และเข้าใจ มีค�ำกล่าวท่ีว่า ผู้ฝึกสอนกีฬาท่ีประสบความส�ำเร็จคือผู้ที่ท�ำหน้าท่ีเป็นนักจิตวิทยาการกีฬาท่ีดี เพราะองคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั จติ วทิ ยาการกฬี าเปน็ การอธบิ ายพฤตกิ รรมของบคุ คลซงึ่ ลว้ นมาจากความคดิ ความรู้สึกที่อยู่ภายในตัวบุคคล ดังนั้นความสามารถในการใช้ทักษะเพื่อท�ำความเข้าใจและ ปรับพฤติกรรมของนักกีฬาได้จึงเป็นส่ิงจ�ำเป็น ซ่ึงประเด็นหลักที่ควรค�ำนึงถึงในการท�ำหน้าท่ี ผู้ฝึกสอนกีฬาให้มีประสิทธิภาพ คือ การท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ส่ือสารท่ีดี โดยเป้าหมายของการส่ือสาร คอื การท�ำความเข้าใจรว่ มกันระหวา่ งผู้สง่ และผูร้ ับขา่ วสาร ผู้ฝกึ สอนกฬี าต้องสามารถ สรา้ งแรงจงู ใจ และจัดการกับพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ของนักกีฬาได้ โดยแนวทางการจัดการกับพฤติกรรม ท่ีไม่พึงประสงค์ของนักกีฬา ประกอบด้วย การเป็นผู้ส่ือสารท่ีดี การสร้างแรงจูงใจให้นักกีฬา และการท�ำใหน้ ักกฬี ารสู้ ึกสนุกกับการเล่นกีฬา โดยมีรายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ การจดั การกบั พฤติกรรมทไี่ มพ่ ึงประสงค์ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ หมายถึง พฤติกรรมที่สมวัย สมอายุ ถูกกาลเทศะเหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ ส่งเสริมการเรียนรู้และการเข้าสังคม ไม่มีพฤติกรรมท่ีท�ำร้ายตนเอง และผู้อื่น สามารถด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันเย่ียงปกติได้ ซึ่งมีความหมายตรงข้ามกับพฤติกรรม ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ ซงึ่ หมายถงึ พฤตกิ รรมทไ่ี ม่สมวัย ไมส่ มอายุ ไม่ถกู กาลเทศะ ไม่เข้ากับสถานการณ์ ขัดขวางการเรียนรู้และการเข้าสังคม โดยเฉพาะพฤติกรรมการท�ำร้ายตนเองและผู้อื่น ทำ� ให้ไม่สามารถด�ำเนินชวี ิตประจำ� วันตามปกติได้ 16 คูม่ ือผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

เทคนิคการจัดการกับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ มีอยู่หลายวิธีการ ซึ่งประกอบด้วย การลงโทษ เช่น การดุ การไม่ให้สิ่งของหรือไม่ให้ท�ำกิจกรรมท่ีชอบ การเพิกเฉย การให้ของ หรือให้ท�ำพฤติกรรมที่ไม่ชอบ การจับล็อค การปิดตา การตี การให้ท�ำพฤติกรรมท่ีสังคมยอมรับ การขยายเวลาในการสอนใหน้ านขนึ้ เพอ่ื ไมใ่ หม้ เี วลาไปทำ� พฤตกิ รรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ การเบย่ี งเบน ความสนใจ เป็นตน้ ซงึ่ ในสถานการณ์การกฬี า สงิ่ ทนี่ ำ� มาใชใ้ นการจัดการกับพฤติกรรมทีไ่ มพ่ งึ ประสงค์ และเกิดประโยชน์สูงสุด คือ การเป็นผู้สื่อสารที่ดี การสร้างแรงจูงใจให้นักกีฬา การสร้าง ความสนุกสนานให้นักกีฬา การสร้างความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ซ่ึงเป็นวิธีการแก้ปัญหาท่ีมี ความยัง่ ยนื มากกว่าการลงโทษดว้ ยวธิ รี นุ แรง โดยมวี ิธีการดังต่อไปนี้ 1. การเป็นผสู้ อื่ สารทีด่ ี มีสิง่ ทค่ี วรค�ำนึง 3 ประการ คือ 1.1 ผสู้ ่งและผรู้ ับข้อความ การเปน็ ผพู้ ดู ทดี่ เี ปน็ สง่ิ ส�ำคญั แตก่ ารเปน็ ผฟู้ งั ทดี่ เี ปน็ สงิ่ ส�ำคญั กวา่ เพราะหาก มีทักษะการพูดท่ีดีเพียงอย่างเดียวโดยไม่มีความสามารถในการรับฟัง ย่อมก่อให้เกิดการสูญเสีย โอกาสในการรับฟังปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึนจริง ดังนั้นควรมีการพัฒนาทักษะการฟังควบคู่ไปกับ ทกั ษะการพดู รว่ มดว้ ย โดยผู้ฝึกสอนกีฬาต้องให้ความสนใจขณะมีการสนทนา พยายามหลีกเลี่ยง การขัดจังหวะการพูด ควรมีการแสดงออกทางอารมณ์ท่ีเหมาะสมกับความหมายท่ีนักกีฬา ส่ือออกมา เช่น มีการพูดถึงส่ิงที่ดี ส่ิงท่ีถูกต้อง ส่ิงที่มีความสุข ควรแสดงอาการย้ิมรับ ผนวกกับ การแสดงความเข้าใจหรือความเห็นใจผ่านทางสายตาร่วมด้วย จากค�ำกล่าวท่ีว่า “ดวงตา เปน็ หนา้ ต่างของหัวใจ” จึงเปน็ สงิ่ ทเ่ี ปน็ จริงเสมอมา เพราะแววตาท่ีเปลง่ ประกายออกมาสามารถ สะกดความรูส้ ึกของคูส่ นทนาได้เสมอ ท�ำใหร้ บั รู้ว่าขณะนค้ี สู่ นทนาก�ำลงั ร้สู กึ อยา่ งไร ผูส้ ่งและผู้รบั ข้อความ ควรมีสตสิ มั ปชญั ญะอยตู่ ลอดเวลา ควรให้ความสนใจใน ทุกประโยคท่ีเปล่งออกมาจากการสนทนาครั้งนั้น เพราะข้อความท่ีถูกถ่ายทอดออกมาเป็นค�ำพูด เป็นส่ิงที่บ่งบอกถึงตัวตน ส่ิงที่ต้องการหรือความรู้สึกนึกคิดท่ีอยู่ภายในจิตใจของคนเราเสมอ ขณะเดียวกันต้องท�ำหน้าท่ีเป็นผู้รับข้อความท่ีมีประสิทธิภาพด้วย คือ มีความต้ังใจ สามารถ จับประเด็นการสนทนาได้อย่างถูกต้องและตอบสนองข้อความนั้นได้อย่างสมเหตุสมผล และตรงประเดน็ เสมอ คมู่ อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate 17

1.2 ภาษาพูดและภาษาท่าทาง ภาษาพูดเป็นส่ิงท่ีคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี แต่การพูดนับเป็นทักษะท่ีต้องเรียนรู้ และฝึกฝน เม่ืออยู่ในฐานะผู้ฝึกสอนกีฬาสิ่งท่ีควรระลึกอยู่เสมอ คือ การเป็นแบบอย่างท่ีดี กับนักกีฬา สามารถสร้างศรัทธาให้เกิดข้ึนในตัวเองขณะเดียวกันต้องสร้างความเชื่อม่ันให้กับ นักกีฬาได้ นอกจากภาษาพูดแล้วการพัฒนาการสื่อสารด้วยภาษาท่าทางเป็นส่ิงที่ละเลยไม่ได้ ซงึ่ ลกั ษณะการใชภ้ าษาทา่ ทาง ประกอบดว้ ย 5 ลกั ษณะ คอื การเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย ลกั ษณะทาง รา่ งกาย การสมั ผสั นำ�้ เสยี ง และตำ� แหนง่ รา่ งกาย การพฒั นาภาษาทา่ ทางใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ นน้ั ควรสังเกตขอ้ มูลยอ้ นกลบั หลงั จากท่ไี ดส้ ง่ ขอ้ ความและรบั ขอ้ ความตอบกลบั นน้ั แล้วเพ่อื ตรวจสอบ ผลตอบรับในสิง่ ท่ีได้แสดงลักษณะการสอื่ สารออกไป ซง่ึ ในแต่ละลกั ษณะการใชภ้ าษาท่าทางมดี งั น้ี การเคลื่อนไหวของรา่ งกาย เปน็ การเคล่อื นไหวโดยใช้อวัยวะส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย ควรให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น การเคลื่อนไหวของมือ ขณะพูดเพ่ืออธิบายส่ิงต่างๆ ควรให้อยู่ในลักษณะที่มีการเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสม คือ ไม่แกว่งมือหรือโบกสะบัดมากเกินไป หรือการอยู่นงิ่ ไมข่ ยบั เลยกไ็ ม่ใช่ สงิ่ ทีด่ ี เพราะจะท�ำใหข้ าดความรสู้ ึกยืดหยุ่น ลกั ษณะทางรา่ งกาย เปน็ การแสดงออกทางรา่ งกาย เชน่ การยนื การนัง่ การกอดอก ทา่ ทางตา่ งๆ มผี ลตอ่ นกั กฬี าทจี่ ะใหค้ วามหมายของการแสดงออกนน้ั ไดต้ า่ งๆ นานา ซง่ึ อาจมคี วามถกู ตอ้ ง และไมถ่ ูกต้องได้เสมอ การสัมผัส เป็นการสัมผัสด้วยอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เช่น การตบไหล่เบาๆ การวางมือที่หน้าขาขณะนั่งสนทนาร่วมกัน เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความเห็นอกเห็นใจ หรือแสดงความเข้าใจในส่ิงท่ีนักกีฬาแสดงออกมา การสัมผัสเป็นส่ิงท่ีท�ำให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย และก่อให้เกดิ ความรู้สึกมั่นคง น�ำ้ เสียง น�ำ้ เสียงทนี่ �ำมาใช้ควรเป็นนำ้� เสยี งท่นี มุ่ นวลแต่มีความชดั เจนและหนกั แน่น หลีกเลี่ยงการใช้น�้ำเสียงแข็งกระด้าง เสียงดังเหมือนพูดตะโกนตลอดเวลา เพราะจะท�ำให้นักกีฬา เกิดความรู้สึกไม่ไว้วางใจ อีกท้ังยังสร้างความรู้สึกกลัวมากกว่าความรู้สึกสงบ สบายใจ และ การระบายความรูส้ กึ คับข้องใจของนกั กฬี าได้ ต�ำแหนง่ รา่ งกาย การจัดวางต�ำแหนง่ ของร่างกาย เชน่ การยืน การนัง่ การสบสายตา ควรมีระยะที่เหมาะสมไม่ใกล้จนรู้สึกอึดอัด ขาดความเป็นส่วนตัว หรือไกลจนไม่สามารถ ส่งข้อความหรือความรู้สึกต่อกันได้ การนั่งหรือการยืนควรมีระยะห่างพอประมาณหรือหนึ่งช่วงไหล่ เพ่ือไม่ต้องใช้วิธีการตะโกนคุยกันและขณะเดียวกันยังเปิดโอกาสให้มีการสัมผัสร่างกาย อยา่ งเหมาะสมไดใ้ นระยะพอดี 18 คูม่ ือผูฝ้ ึกสอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

1.3. เน้ือหาและสภาพอารมณ์ เน้ือหาหรือข้อความท่ีส่งออกไปควรเป็นเนื้อหาท่ีมี สาระเหมาะสมกับเร่ืองท่ีหยิบยกมาสนทนา หากการสนทนาคร้ังน้ันยังไม่สามารถเริ่มต้นด้วย เนอ้ื หาใดเป็นหลกั ได้ อาจใหเ้ ลือกประเด็นทเ่ี ป็นความสนใจร่วมกันมาเป็นประเดน็ เปดิ การสนทนา เพราะจะเป็นส่ิงที่ง่ายท่ีสุดส�ำหรับการเร่ิมต้น พึงระลึกว่าไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาสาระในเร่ืองใดก็ตาม ขอเพียงให้มีเนื้อหาและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานักกีฬาไปสู่ความส�ำเร็จ นอกจากเน้ือหา ทต่ี อ้ งมสี าระและเปน็ ประโยชนแ์ ลว้ ทกุ ขณะทม่ี กี ารสง่ ขอ้ ความตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั สภาพอารมณ์ ในขณะนั้นดว้ ยวา่ มีความร้สู กึ และแสดงออกไปอย่างสมเหตสุ มผลกบั สถานการณ์หรอื ไม่ ข้ันตอนการสือ่ สารทม่ี ีประสิทธภิ าพระหวา่ งผูฝ้ กึ สอนกฬี ากบั นักกฬี า เป้าหมายของการสื่อสาร คือ การท�ำความเข้าใจร่วมกันระหว่างบุคคลท่ีส่งข้อความ และบุคคลท่ีรับข้อความ โดยกระบวนการส่งข้อความหรือส่งสารจากผู้ฝึกสอนกีฬาไปยังนักกีฬา มี 6 ขน้ั ตอนด้วยกัน คอื 1. ผู้ฝกึ สอนกฬี า คดิ ในส่ิงที่จะนำ� ไปถา่ ยทอดกบั นกั กีฬา 2. ผู้ฝึกสอนกีฬา ท�ำการแปลในส่ิงที่คิดให้เป็นข้อความที่เหมาะสมส�ำหรับการส่งต่อ ข้อความน้นั สู่นกั กีฬา 3. ผฝู้ กึ สอนกฬี า ถา่ ยทอดขอ้ ความในรปู แบบของการสอ่ื สารแบบใดแบบหนง่ึ กบั นกั กฬี า (ภาษาค�ำพูดหรือภาษาท่าทาง) 4. นักกีฬา รบั ขอ้ ความท่ผี ฝู้ กึ สอนกฬี าถา่ ยทอดมา (ถ้านักกีฬาให้ความสนใจ) 5. นกั กฬี า ท�ำการตีความหมายข้อความทไี่ ด้รบั 6. นักกฬี า ตอบสนองตอ่ ข้อความทีไ่ ด้รับจากผูฝ้ ึกสอนกีฬา สาเหตุทท่ี ำ� ให้การส่ือสารขาดประสทิ ธิภาพระหวา่ งผฝู้ กึ สอนกฬี ากบั นกั กีฬา 1. เน้อื หาท่สี อ่ื ออกไปไมเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ 2. การถา่ ยทอดข้อความไม่มีภาษาพดู หรอื ภาษาท่าทางท่ดี พี อ 3. นกั กีฬาไม่ได้รบั ขอ้ ความท่ีสง่ ไปเพราะขาดความสนใจ 4. นักกีฬาขาดการฟังหรือทักษะการสื่อสารด้วยภาษาท่าทาง ท�ำให้ตีความหมาย ของข้อความผิดพลาดหรอื ไม่เข้าใจข้อความนั้น คูม่ ือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate 19

5. นักกีฬาเข้าใจความหมายของข้อความ แต่ตีความหมายข้อความผิดพลาดไป จากความเปน็ จรงิ 6. ขอ้ ความทผ่ี ฝู้ กึ สอนกฬี าสง่ ไปขาดประสทิ ธภิ าพ หรอื นกั กฬี าสบั สนเกย่ี วกบั ความหมาย 2. การสร้างแรงจูงใจให้นักกีฬา แรงจูงใจมีอิทธิพลต่อรูปแบบการคิดและผลักดัน ให้เกดิ พฤติกรรม นอกจากนน้ั แรงจงู ใจยังเป็นตัวขับเคลือ่ นพฤติกรรมเพอื่ ตอบสนองความต้องการ ท่ีพึงปรารถนา สิ่งท่ีนักกีฬาต้องการมากที่สุดมี 2 ประการคือ ความสนุก ซ่ึงเป็นส่ิงที่ท�ำให้เกิด การปลกุ เรา้ หรอื เปน็ การกระตนุ้ และสรา้ งความตน่ื เตน้ และความรสู้ กึ วา่ ตนเองมคี ณุ คา่ มคี วามสามารถ และมีโอกาสท่ีประสบความสำ� เร็จได้ 3. การสรา้ งความสนกุ สนานใหน้ กั กฬี า มนษุ ยเ์ กดิ มาพรอ้ มกบั ความตอ้ งการในการปลกุ เรา้ และความต่ืนเต้น ซ่ึงในทางกีฬาได้ค�ำนึงถึงระดับการกระตุ้นที่เหมาะสม และการมีประสบการณ์ ไหลลนื่ ซง่ึ ระดบั ของความทา้ ทายทเ่ี หมาะสมยอ่ มนำ� ไปสคู่ วามสนกุ ในการฝกึ ซอ้ ม การสรา้ งความสนกุ ในการฝึกซ้อมจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงแหล่งที่มาของความสนุกร่วมด้วย ซึ่งส่วนหน่ึงของความสนุก ตอ้ งมาจากการยอมรบั เหตผุ ลสำ� หรบั การเขา้ รว่ มกจิ กรรมกฬี า ตอ้ งมกี ารสรา้ งกจิ กรรมทสี่ รา้ งสรรค์ ส่งิ แวดล้อมภายในทมี ให้เกดิ ความนา่ สนใจทา้ ทาย และนา่ ตนื่ เตน้ อยู่เสมอ 4. นกั กฬี าตอ้ งการความรสู้ กึ มคี ณุ คา่ ไมว่ า่ ผลการแขง่ ขนั จะแพห้ รอื ชนะกต็ าม นกั กฬี า ตอ้ งตระหนักว่าตนเองมีคณุ คา่ อยเู่ สมอ เปิดโอกาสให้นกั กฬี าไดใ้ ชค้ วามคิดในการจนิ ตนาการเกยี่ วกับ ตนเองในทุกสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นจริงและเตรียมพร้อมรับกับสิ่งที่อาจเกิดข้ึนได้เสมอ ใหค้ วามสำ� คญั กบั ความคดิ ของนกั กฬี าวา่ นกั กฬี าคดิ อยา่ งไรเมอ่ื ไดร้ บั ชยั ชนะ และนกั กฬี าคดิ อยา่ งไร เม่ือได้รับความพ่ายแพ้ ค�ำตอบของนักกีฬาจะเป็นส่ิงสะท้อนให้เห็นความคิดและการมองเห็นคุณค่า ในตนเองเป็นอยา่ งดี 20 คูม่ อื ผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

แนวทางการสร้างแรงจงู ใจใหก้ บั นกั กีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา ควรหล่อหลอมให้นักกีฬาตระหนักอยู่เสมอว่าความส�ำเร็จไม่ใช่อยู่ที่ ชัยชนะเพียงอย่างเดียว แต่อยู่ที่ความเพียรพยายาม ความมุ่งมั่น ความอุตสาหะในการฝึกซ้อม และได้รับประสบการณ์ท่ีแปลกใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อยู่เสมอ ส่ิงท่ีเกิดขึ้นเป็นสิ่งท่ีท�ำให้ เกิดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาต่อไป ควรกระตุ้นให้นักกีฬามีการก�ำหนดเป้าหมายของตนเอง ท่ีตรงตามสภาพความเป็นจริงและย้�ำเตือนให้ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเองก�ำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบและปรับปรุงเป้าหมายของตนเองอย่างสม่�ำเสมอและต้องยอมรับความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคล ผู้ฝึกสอนกีฬา เพื่อน ผู้ชม ผู้ปกครอง และผู้ท่ีเก่ียวข้องอื่นๆ มีส่วนช่วยในการส่งเสริม สขุ ภาพจติ แกน่ กั กฬี าไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก แตค่ วรตอ้ งทำ� อยา่ งสมำ่� เสมอและตอ่ เนอื่ ง โดยใชก้ ระบวนการ และวธิ ีการดงั ต่อไปนี้ • การใหค้ �ำชมเชย ยกยอ่ ง แสดงออกซึง่ การยอมรบั ซ่งึ กนั และกัน • การให้ความอบอ่นุ และความสมั พันธ์ท่ดี ี • การให้กำ� ลังใจ การไปร่วมเชยี ร์เม่อื มกี ารแข่งขนั • การฝกึ ทกั ษะจติ ใจ เชน่ การกำ� หนดเปา้ หมาย การควบคมุ อารมณ์ การลดความวติ กกงั วล การสร้างจนิ ตภาพ เปน็ ตน้ • การจดั สภาพแวดล้อมความเปน็ อย่ใู ห้เอ้ือต่อความพงึ พอใจของนกั กฬี า สอน แนะน�ำ หล่อหลอมใหม้ คี วามร้สู กึ นึกคิดเชิงสร้างสรรคอ์ ยเู่ สมอ • จัดโปรแกรมการฝึกซ้อมให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพจิตท่ีดี เช่น การให้โอกาส ประสบผลส�ำเรจ็ ใหท้ ราบความก้าวหน้า เพอ่ื สะสมความสขุ และความพงึ พอใจทีละเลก็ ละน้อย • สร้างความมั่นคงในอนาคตแกน่ กั กฬี า เชน่ ความมน่ั คงในการเรียนหรอื การดำ� เนินชีวติ การฝกึ ทักษะทางจติ ใจสำ� หรับนักกีฬา การน�ำทักษะทางจิตใจไปใช้ร่วมกับการฝึกซ้อมทางร่างกายและทักษะกีฬา จะท�ำให้เพ่ิม ความสามารถในการเรยี นรขู้ องนกั กฬี าไดด้ ขี นึ้ ซงึ่ ผฝู้ กึ สอนสามารถนำ� แนวทางการฝกึ ทกั ษะทางจติ ใจ ต่างๆ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นช่วงการฝึกซ้อมทกั ษะกฬี าได้ เชน่ 1. การก�ำหนดเป้าหมายในการฝึกซ้อมแต่ละวันและมีการประเมินผลเพื่อปรับปรุง หรือเสรมิ แรงหากนกั กฬี าสามารถบรรลเุ ปา้ หมายในการฝึกวันนั้นไดเ้ ป็นอย่างดี คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 21

2. การพูดกับตนเอง เพ่ือเป็นการก�ำหนดสัญญาณก่อนการแสดงทักษะกีฬา เช่น พดู กับตนเองวา่ “พร้อม” ในขณะทีจ่ ะเตะลกู โทษ 3. การจินตภาพ เพื่อการสร้างความเชื่อม่ันในตนเองและเป็นการเก็บสะสมข้อมูล ที่ต้องการให้เกิดข้ึนจริงไว้ในสมอง เช่น จินตภาพว่าตนเองก�ำลังอยู่ในสถานการณ์การแข่งขัน และแสดงทกั ษะได้สมบูรณ์อยา่ งทฝี่ ึกซอ้ มหรือจินตภาพทกั ษะกฬี า เชน่ ทกั ษะการเล้ียง – ส่ง บอล ทักษะการยงิ ประตู 4. การผ่อนคลายกล้ามเนือ้ เพือ่ ให้กลา้ มเน้อื ท่ตี ึงเครียดไดร้ ับการผ่อนคลาย 5. การสรา้ งสมาธิ เพอื่ รกั ษาความสงบในจติ ใจและลดความตน่ื เตน้ ความกลวั ความวติ ก กงั วลทมี่ าจากสถานการณห์ รอื ความคาดหวงั ของนกั กฬี าเอง อาจทำ� ไดด้ ว้ ยวธิ กี ารกำ� หนดลมหายใจ เขา้ – ออกอยา่ งชา้ ๆ การสรา้ งความสามัคคีภายในทมี ความสามัคคีภายในทีม (Team cohesion) เป็นหัวใจของความส�ำเร็จในการแข่งขันกีฬา และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ความสามัคคีมีความจ�ำเป็นส�ำหรับนักกีฬาประเภททีมมาก เพราะความสามัคคีเป็นกระบวนการของความสัมพันธ์ ทุกคนท่ีอยู่ร่วมกันถือเป็นสมาชิกในทีม ต้องมีความสัมพันธ์อันดีต่อกันจึงจะส่งเสริมให้ทีมไปสู่เป้าหมายสูงสุดได้ สมาชิกในทีมต้องรับทราบ บทบาทหน้าท่ีของตนเองตามสภาพความเป็นจริง เพื่อให้แสดงบทบาทของตนเองได้อย่างถูกต้อง และช่วยลดการเกิดปัญหาความขัดแย้งท่ีมาจากความไม่เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง ความสามัคคีในการกีฬาสามารถส่งผลต่อระดับแรงจูงใจและการแสดงความสามารถของนักกีฬา แตล่ ะบุคคล ซ่ึงลกั ษณะของความสามัคคี แบง่ ออกเปน็ 2 ลักษณะคือ 1. การรวมกลมุ่ ทางสงั คม (Social cohesion) เปน็ การรวมกลมุ่ ทเ่ี กดิ จากการมคี วามรสู้ กึ ท่ีดีต่อกัน ก่อให้เกิดเป็นทีมสปิริต (Team spirit) ซึ่งจะน�ำไปสู่การฝึกซ้อมท่ีสนุกสนานและ การแข่งขนั อย่างมคี วามสุข 2. การรวมกลุ่มด้วยงาน (Task cohesion) เป็นการรวมกลุ่มเพ่ือมุ่งหวังให้ทีม ประสบความส�ำเรจ็ ในการแข่งขันก่อให้เกิดการท�ำงานเป็นทมี (Team work) 22 คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกฬี าฟุตซอล T-Certificate

วิธีการสร้างความสามัคคี 1. เรียนร้แู ละทำ� ความเขา้ ใจบคุ ลกิ ภาพของนกั กีฬาแต่ละบุคคล 2. สรา้ งแรงจงู ใจใหก้ บั นกั กฬี าทกุ คนอยา่ งสมำ่� เสมอ ดว้ ยการกระตนุ้ การรบั รคู้ วามสามารถ ของตนเอง เช่น การก�ำหนดเป้าหมายรายบุคคลและเป้าหมายของทีมในช่วงการฝึกซ้อม และมีการประเมินผลหลังการฝึกซ้อมทุกคร้ัง ทั้งน้ีผู้ฝึกสอนกีฬาต้องให้ความใส่ใจกับเป้าหมาย ท่ีนักกีฬาแต่ละบุคคลก�ำหนดขึ้นตั้งแต่แรก ซึ่งต้องเน้นเป้าหมายท่ียากขึ้นแต่สามารถท�ำได้จริง ในระยะเวลาทเี่ หมาะสม 3. มีการให้แรงเสริมที่เหมาะสมตามโอกาส คู่มือผูฝ้ ึกสอนกฬี าฟุตซอล T-Certificate 23

พั ฒนาการของรา่ งกาย การฝึกสอนที่จะท�ำให้เกิดผลดี มีความส�ำเร็จได้นั้น องค์ประกอบไม่ได้อยู่ที่รูปแบบ ของการฝึกซ้อมเพียงอย่างเดียว แต่ยังต้องใช้ความรู้เร่ืองของพัฒนาการทางร่างกายผู้เล่นด้วย เพราะระยะของการพัฒนาร่างกายของผู้เล่นแต่ละคนแต่ละกลุ่มอายุจะแตกต่างกัน เมื่อผู้ฝึกสอน มีความรู้ในส่วนน้ีก็จะมีแนวการฝึกที่ถูกต้องเหมาะสม และยังน�ำไปใช้ในการเตรียมร่างกาย เพอื่ เปน็ การสรา้ งพ้นื ฐานส�ำหรับการฝกึ ซอ้ มทหี่ นักและยากขน้ึ ในวันข้างหน้า พฒั นาการและปจั จัยท่ีมีผลต่อการพฒั นาการของบุคคล พัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ เช่น ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของบุคคลอย่างมีข้ันตอนและเป็นระเบียบแบบแผน นับแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระท่ัง เสียชีวิต โดยมากจะเป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพ เพ่ือให้บุคคลนั้นพร้อมจะแสดง ความสามารถในการกระทำ� กจิ กรรมใหมๆ่ ทเี่ หมาะสมกับวยั ปัจจัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ พฒั นาการของมนษุ ย์ พัฒนาการด้านต่างๆ ของบุคคลจะสมบูรณ์ได้น้ันจ�ำเป็นต้องอาศัยปัจจัยส�ำคัญ 3 ประการ คอื 1. การเจริญเติบโต (Growth) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างส่วนต่างๆ ของร่างกายที่เกี่ยวกับขนาด น�้ำหนัก สัดส่วน กระดูก กล้ามเนื้อ รูปร่าง เป็นการเปลี่ยนแปลง ในเชงิ ปริมาณ การเจริญเติบโตจะเป็นปจั จัยแรกท่มี อี ิทธิพลตอ่ พฒั นาการในด้านต่างๆ ของบุคคล 2. วุฒิภาวะ (Maturation) หมายถึง การเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งจะเกิดข้ึนกับบุคคลตามล�ำดับข้ัน และเป็นไปตามธรรมชาติจนถึงสูงสุด มีผลท�ำให้บุคคลน้ัน เกิดความพร้อมท่จี ะกระท�ำกิจกรรมตา่ งๆ ได้เหมาะสมกบั วยั 3. การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร โดยอาศยั การฝึกฝน ฝกึ หดั หรือประสบการณเ์ ดมิ ทม่ี อี ยู่ ยง่ิ มกี ารฝึกหดั มากเทา่ ไร การแสดงพฤติกรรม เหล่านัน้ กจ็ ะเกิดความเชี่ยวชาญมากขึ้นเทา่ นัน้ ดังนัน้ จะเหน็ ได้ว่าการเรียนรจู้ งึ มคี วามสัมพันธ์กับ การเจริญเติบโตและวฒุ ิภาวะในการเกดิ พัฒนาการด้านต่างๆ 24 คู่มือผ้ฝู ึกสอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate

พฒั นาการของบุคคลในวยั ต่างๆ วัยเด็ก (Childhood) เป็นวัยท่ีพัฒนาต่อจากวัยทารก จัดอยู่ในช่วงอายุ 2-12 ปี เป็นระยะที่ร่างกายเจริญเติบโตช้าลงกว่าวัยทารก โดยเฉพาะระยะแรกเร่ิมต้นของวัย (3-5 ปี) ความสูงจะมีการเปลยี่ นแปลงนอ้ ยมาก แตจ่ ะไปแสดงในช่วงปลายวยั โดยทั่วไปกระดูกและกลา้ มเนื้อ จะเจริญเติบโตและแข็งแรงขึ้น เป็นวัยที่เด็กจะเริ่มควบคุมร่างกายและอวัยวะต่างๆ ให้ท�ำงาน ประสานกนั ไดต้ ามตอ้ งการของตน เนอ่ื งจากเปน็ วยั ทเี่ รมิ่ จะทำ� อะไรดว้ ยตนเองและเกดิ พฒั นาการ ใช้อวัยวะต่างๆ เด็กจึงมักไม่อยู่นิ่งจะกระโดดโลดเต้น ปีนป่ายหรือขีดเขียน ผู้ใหญ่จึงมักเรียกว่า “วัยซน” เด็กเริ่มเรียนรู้ที่จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองอารมณ์จากพ่อแม่คนใกล้ชิดรอบข้าง โดยธรรมชาตขิ องเดก็ จะแสดงอารมณอ์ ยา่ งเปดิ เผยไมป่ ดิ บงั ซอ่ นเรน้ แตแ่ ปรปรวนงา่ ย อารมณไ์ มม่ นั่ คง เกิดง่ายหายเรว็ จะเริ่มเรียนรู้รว่ มกับการอย่รู ่วมกับผ้อู น่ื ทไ่ี มใ่ ชพ่ ่อแม่ พ่ีนอ้ งของตน มคี วามสงสยั อยากรูอ้ ยากเห็น ซึง่ เป็นพฒั นาการทางสมองและมกั จะกลวั ในส่ิงท่ีไมม่ เี หตุผล เชน่ ความมดื หรอื ส่ิงท่ีผู้ใหญ่บอกเล่า แต่สิ่งที่สำ� คัญสติปัญญาจะเริ่มพัฒนาการมากขึ้นกว่าเดิม จะเริ่มเรียนรู้ เข้าใจ สัญลักษณ์ และค�ำศัพท์ต่างๆ เพ่ิมขึ้น เป็นวัยที่ชอบลอกเลียนแบบท้ังการพูดและกิริยาท่าทาง จากผใู้ หญจ่ นบางครั้งเหมือนกบั พวกเขาพูดและมที า่ ทางเกนิ วัย วยั เดก็ ตอนกลาง ระหว่างอายุ 6-9 ปี จะมกี ารเปลี่ยนแปลงไม่มากนกั การเจรญิ เติบโต ของรา่ งกาย กระดกู และกล้ามเน้อื เปน็ ไปอยา่ งชา้ ๆ จะมีความคลอ่ งตัวในการเคลือ่ นไหวร่างกาย ได้ดีขึ้นกว่าเดิม สามารถควบคุมอวัยวะต่างๆ ให้ท�ำงานประสานกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็น ผลมาจากพัฒนาการในวัยเด็กตอนต้นที่ผ่านไป ในช่วงระยะเวลานี้เด็กจึงมักจะใช้ประสิทธิภาพ ของร่างกายดังกล่าวในการท�ำกิจกรรมด้านการเรียนและด้านกีฬาท่ีเขาต้องการได้เป็นอย่างดี เริ่มท่ีจะควบคุมอารมณ์ต่างๆ ได้บ้างแล้ว พัฒนาการทางด้านอารมณ์ของเด็กวัยนี้ จะเต็มไปด้วย ความสนุกสนาน ร่าเริง และมีความสุขกับการที่ได้ท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับเพ่ือน จนบางคร้ัง ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีที่ตนได้รับมอบหมาย โดยผู้ใหญ่มักเรียกวัยน้ีว่า “วัยสนุกสนาน” อยา่ งไรกต็ าม วยั นยี้ งั จะทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั ในระหวา่ งผหู้ ญงิ และผชู้ ายยงั ไมม่ กี ารแบง่ กลมุ่ ทชี่ ดั เจน จะลดความเป็นจุดศูนย์กลางของตัวเองลง จะให้ความส�ำคัญในความคิดของผู้อื่นและกระท�ำ ในสงิ่ ทผี่ อู้ นื่ ปรารถนามากขนึ้ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเพอ่ื นจะแนน่ แฟน้ จะเรยี นรวู้ ธิ ที ำ� กจิ กรรมเปน็ กลมุ่ เด็กที่มีนิสัยคล้ายกันจะเริ่มรวมกลุ่มกัน เอ้ือเฟื้อกัน แบ่งปันกัน รู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล ในการตัดสินใจ เลือกทำ� ในสิ่งทีต่ นต้องการและใช้วธิ ีแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ด้วยตัวของเขาเอง มีความรับผิดชอบมากข้ึน นอกจากน้ียังสามารถจดจ�ำส่ิงต่างๆ ท่ีได้เรียนรู้อย่างแม่นย�ำ เช่น เรยี งลำ� ดบั ตวั เลขทไี่ มม่ ากนกั จากนอ้ ยไปหามาก หรอื จากมากไปหานอ้ ย แยกแยะสตี า่ งๆ ไดเ้ พมิ่ ขนึ้ ค่มู ือผูฝ้ กึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate 25

วัยเด็กตอนปลาย ระหว่างอายุ 10-12 ปี ถือว่าเป็นช่วงเวลาที่ส�ำคัญ เน่ืองจากเป็นวัย ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงท่ีชัดเจนในทุกด้านหลายประการ ส่วนของร่างกายเร่ิมมีการเปล่ียนแปลง อยา่ งรวดเรว็ อกี ครง้ั หนงึ่ โดยเฉพาะผหู้ ญงิ จะแสดงอาการเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย โดยจะมนี ำ�้ หนกั และส่วนสูงเพ่ิมขึ้นเม่ืออายุ 10 ปีคร่ึง ในขณะที่เด็กผู้ชายเริ่มต้นเปลี่ยนแปลงเม่ืออายุ 12 ปีคร่ึง ดงั นน้ั เดก็ ผหู้ ญงิ จงึ เขา้ สวู่ ยั รนุ่ หรอื แตกเนอื้ สาว (Puberty) เรว็ กวา่ เดก็ ผชู้ าย 2 ปี เปน็ การเปลยี่ นแปลง จากวัยเด็กไปสู่วัยรุ่น วัยนี้จะมีความคล่องตัวในการท�ำกิจกรรมมากกว่าเด็กวัยตอนต้นและเด็ก วัยตอนกลาง สามารถควบคุมการท�ำงานของร่างกาย เช่น มือ เท้า ตา ให้เกิดการประสานงานกัน อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น เด็กจะใช้ประสิทธิภาพทางร่างกายเหล่าน้ีท�ำกิจกรรมต่างๆ ตอบสนอง ความต้องการของตนอย่างเต็มท่ี จะควบคุมอารมณ์ได้บ้าง เรียนรู้การแสดงอารมณ์ที่รุนแรง และไมม่ กี ารควบคมุ ไมค่ อ่ ยยอมรบั การตำ� หนิ เดก็ บางคนเรมิ่ ทจี่ ะมคี วามเครยี ดจากปญั หาการคบเพอ่ื น และการท�ำให้เพอื่ นยอมรับตน ซง่ึ บางคร้งั แสดงออกดว้ ยการแขง่ ขันแม้กระทงั่ ในกจิ กรรมตา่ งๆ พัฒนาการที่ส�ำคัญด้านหนึ่งส�ำหรับเด็กวัยน้ี คือ การแสดงให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลง จากความเป็นเด็กเข้าสู่วัยรุ่น กล่าวคือ จะเริ่มมีการแบ่งกลุ่มระหว่างเพศหญิงและเพศชาย ขณะเดียวกันก็จะเลือกท�ำกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับเพศของตน เพ่ือนในวัยเดียวกันก็จะเร่ิมเข้ามา มีบทบาท มีอิทธิพลต่อความคิดและการกระท�ำมากข้ึน ในด้านสติปัญญาจะเริ่มมีความคิด แบบสร้างจินตนาการได้กว้างไกลข้ึน สามารถคิดเปรียบเทียบจนเกิดความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ และความแตกตา่ งระหว่างสิ่งท้งั หลายรอบตัว มคี วามจ�ำทีแ่ ม่นยำ� ข้นึ กวา่ เดิม วยั ร่นุ (Adolescence) จะอย่ใู นชว่ งอายุ 12-20 ปี เป็นวัยท่ีมคี วามสำ� คญั มากวยั หนึ่ง อาจกล่าวได้ว่าเป็นช่วงหัวเล้ียวหัวต่อของชีวิต เน่ืองจากเป็นวัยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการ ในทุกด้าน ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นอารมณ์ รา่ งกาย สังคม และสตปิ ัญญา เพื่อเปลีย่ นแปลงจากภาวะเดก็ ไปสู่ภาวะผู้ใหญ่ มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายอย่างรวดเร็วและชัดเจนในหลายด้านทั้งน�้ำหนัก ส่วนสูงที่เพ่ิมขึ้น เร่ิมแสดงสัดส่วนของความเป็นผู้ใหญ่ รวมท้ังการเปล่ียนแปลงและแสดงสัญลักษณ์ ทางเพศ (Sex Characteristics) อยา่ งชดั เจน ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงเปน็ ผลมาจากการทำ� งานของฮอรโ์ มน จากตอ่ มไรท้ อ่ เช่น ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) และต่อมเพศ (Gonads Gland) เป็นต้น การเปลย่ี นแปลงระหวา่ งเดก็ ผูห้ ญิงและเดก็ ผ้ชู ายจะมคี วามแตกตา่ งกันดงั น้ี เด็กผู้หญิง จะเร่ิมมีรอบเดือน (Menstruation) ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้น การเปน็ วยั รนุ่ ของเดก็ ผหู้ ญงิ สว่ นจะเรม่ิ ตน้ อายเุ ทา่ ใดขน้ึ อยกู่ บั สขุ ภาพและพนั ธกุ รรมของแตล่ ะบคุ คล ซง่ึ โดยเฉลีย่ เดก็ ไทยจะเรม่ิ ประมาณอายุ 12 ปี 6 เดือน จากนนั้ จะเริ่มมีหนา้ อก สะโพกเร่มิ ขยาย เนอื่ งจากมไี ขมนั เพม่ิ ขน้ึ เสยี งเรมิ่ เลก็ ใส มขี นลบั ขนึ้ ทบ่ี รเิ วณอวยั วะเพศ เปน็ ตน้ โดยทว่ั ไปเดก็ ผหู้ ญงิ จะเปล่ยี นแปลงดา้ นความสงู โดยเฉลี่ยมากกว่าเดก็ ผชู้ ายในวัยเดียวกัน 26 คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate

เด็กผู้ชาย อัณฑะจะเจริญเต็มที่และเริ่มต้นผลิตอสุจิ (Sperm) ในช่วงอายุประมาณ 14 ปี 6 เดอื น จากนัน้ หนา้ อกจะเริ่มแตกพาน กล้ามเน้ือบรเิ วณไหล่ หน้าอก และแขนจะเพ่มิ ขึน้ มักจะปรากฏหนวดและขนบริเวณหน้าอกและอวัยวะเพศ อวัยวะเพศจะเจริญคล้ายผู้ใหญ่ เกิดการฝนั เปยี กและเสียงแตกหา้ ว เปน็ ต้น การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจะเกิดช่วงระยะแรกของวัย และจะเริ่มช้าลงเมื่อเข้าสู่ วยั รนุ่ ตอนปลาย ธรรมชาตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ กบั วยั รนุ่ ในชว่ งตน้ นี้ บางคนทไี่ มไ่ ดเ้ ตรยี มตวั กบั การเปลยี่ นแปลง ไวล้ ว่ งหนา้ อาจเกดิ ปญั หากบั การปรบั ตวั ในระยะแรก ซงึ่ จะสง่ ผลตอ่ อารมณแ์ ละสงั คมตามมาได้ วยั รนุ่ มกั จะแสดงอารมณอ์ ยา่ งเปดิ เผยและมคี วามรสู้ กึ คอ่ นขา้ งรนุ แรงแปรปรวนงา่ ย เชน่ บางครง้ั รสู้ กึ มคี วามสขุ แต่บางครั้งร้สู กึ หดหู่ บางคร้งั โอบออ้ มอารี แต่บางครง้ั อาจเหน็ แกต่ วั แบบเด็กๆ ไมค่ อ่ ยยอมใครงา่ ยๆ จึงมักขัดแย้งกับผู้ใหญ่เสมอ วัยนี้มักจะเกิดความขัดแย้งในใจอยู่เสมอ เช่น บางครง้ั อยากเปน็ ผใู้ หญ่ จะได้ท�ำตามใจตัวเอง แต่บางคร้ังอยากสบายแบบเด็กๆ ที่มีคนเอาใจใส่ดูแล นอกจากน้ียังมักมี ความวติ กกงั วลสงู ในหลายเรอ่ื ง โดยเฉพาะเรอื่ งรปู รา่ งหนา้ ตา ซงึ่ จะใหค้ วามสนใจ เอาใจใสเ่ รอื่ งความสวยงาม และความเปลยี่ นแปลงทจี่ ะเกดิ กบั ตนเองมากขน้ึ กวา่ เดมิ เชน่ กลวั จะสงู หรอื เต้ยี เกินไป ลกั ษณะเดน่ ทส่ี ำ� คญั อยา่ งหน่งึ คอื เป็นวยั ทเ่ี ด็กจะตอ้ งเผชิญกบั ความคาดหวังจากผู้ใหญ่ มากกว่าวัยที่ผ่านไป จะเริ่มพึ่งพาตนเองแบบผู้ใหญ่มากข้ึน เริ่มรู้จักรับผิดชอบต่อตัวเอง ต้องเกิด การปรับตัวอย่างมาก จะพยายามค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง สร้างทัศนคติและคุณค่าแห่งชีวิต จะมีความสัมพนั ธใ์ กลช้ ิดกับเพื่อนร่นุ ราวคราวเดยี วกนั มากกว่าพอ่ แม่ จากการพยายามค้นหาตัวเองอย่างแท้จริงในแง่มุมต่างๆ เช่น ความชอบ ความถนัด ความสนใจ เปา้ หมายชวี ติ การเลอื กอาชพี แมก้ ระทงั่ ปรชั ญาในการดำ� เนนิ ชวี ติ นเี้ อง จงึ ทำ� ใหว้ ยั รนุ่ ต้องการความเป็นอิสระจากการควบคุมของผู้ใหญ่ เพื่อที่จะทดลองและแสวงหาประสบการณ์ ด้วยตนเอง ขณะเดียวกันก็ยังคงต้องการได้รับการยอมรับจากคนรอบข้าง โดยเฉพาะกลุ่มเพื่อน รุ่นราวคราวเดียวกัน นอกจากนี้ยังต้องการที่จะเลือกคบเพ่ือนท่ีมีทัศนคติตรงกันกับตนเองด้วย แม้วัยรุ่นต้องการความเป็นอิสระจากผู้ใหญ่ก็ตาม แต่ก็ยังคงต้องการความรัก ความเข้าใจ การเอาใจใส่ รวมทง้ั การรบั คำ� ปรึกษาและแนะนำ� จากผูใ้ หญด่ ้วย ส�ำหรับพัฒนาการทางสตปิ ญั ญา จะเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและมีความก้าวหน้าจนใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ แต่แตกต่างกันที่ความสุขุมรอบคอบ และประสบการณ์ โดยวยั รนุ่ จะสามารถคดิ แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมรี ะบบ แสวงหาเทคนคิ ในการจำ� ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง รจู้ กั ใชเ้ หตผุ ลในการตง้ั สมมตุ ฐิ านแบบวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ความสามารถทางสติปัญญาดังกล่าวน้ีเองจะน�ำไปสู่ความสามารถในการเรียนรู้มีความคิดใน การแกป้ ญั หา มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ รวมทง้ั การใชเ้ หตผุ ลและวจิ ารณญาณของตนเองในการตัดสิน เรอ่ื งตา่ งๆ นอกจากนยี้ งั มคี วามสามารถในการปรบั ตวั ไดด้ ี ซงึ่ เปน็ คณุ สมบตั ทิ สี่ ำ� คญั ตอ่ ความสำ� เรจ็ ของชีวติ ในวัยผใู้ หญต่ ่อไป คูม่ อื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 27

วยั ผใู้ หญ่ (Adulthood) วยั นเี้ รมิ่ ตน้ ตงั้ แตอ่ ายุ 21 ขน้ึ ไป เปน็ อกี วยั หนงึ่ ทมี่ คี วามสำ� คญั ต่อชีวิตมนุษย์ นอกจากจะเป็นวัยแห่งความสมบูรณ์สูงสุดของพัฒนาการในด้านต่างๆ ท้ังร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาแล้ว ยงั เปน็ วัยเร่ิมต้นแหง่ ความเส่ือมของพัฒนาการทกุ ด้านอกี ดว้ ย ในวัยนี้จะเป็นระยะที่ร่างกายของบุคคลจะมีความเจริญสมบูรณ์สูงสุดเต็มท่ี ซ่ึงอยู่ใน ระหว่างอายุ 20-25 ปี จากน้ันจะเร่มิ คงทไ่ี ประยะหน่งึ เมอื่ ถงึ อายตุ ้ังแต่ 30 ปเี ปน็ ต้นไปรา่ งกาย ก็จะเร่ิมค่อยๆ เส่ือมลงตามวัย โดยท่ัวไปแล้ววัยผู้ใหญ่จะมีพัฒนาการทางอารมณ์ที่สมบูรณ์สูงสุด จึงเป็นวัยท่ีควรมีความมั่นคงทางอารมณ์ ไม่แปรปรวนง่าย สามารถควบคุมอารมณ์ได้เป็นอย่างดี นอกจากน้ียังสามารถแสดงพฤติกรรมตอบสนองอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ บุคคล จะเร่ิมรู้จักวางแผนชีวิตให้กับตนเอง เช่น การเลือกอาชีพ การสร้างฐานะ การเลือกคบเพ่ือน เป็นต้น การที่ผู้ใหญ่วัยน้ีจะสามารถประสบความส�ำเร็จตามท่ีตนวางแผนไว้มากน้อยเพียงใด ยอ่ มขนึ้ อยกู่ บั พฒั นาการทางสงั คมในชว่ งระยะวยั รนุ่ กลา่ วคอื ถา้ สามารถคน้ พบตวั ตนทแ่ี ทจ้ รงิ ไดแ้ ลว้ ก็จะเลือกเรียนหรือประกอบอาชีพในสาขาที่ตนสนใจและถนัด เน่ืองจากวัยนี้เป็นวัยท่ีร่างกาย จะมีความเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมบูรณ์เต็มที่ จึงเป็นวัยที่บุคคลควรจะมีประสิทธิภาพสูงสุด ในการท�ำงาน สามารถจะทุ่มเทให้กับงานด้วยความอดทน กระตือรือร้น และมุ่งมั่น เพ่ือให้ได้ การยอมรับจากเพื่อนร่วมงานและการสร้างฐานะ จากการศึกษาพบว่าวัยผู้ใหญ่ตอนต้นในช่วง ระหวา่ งอายุ 20-30 ปี เป็นวัยที่บุคคลจะสามารถสะสมประสบการณ์ในการท�ำงานได้เป็นอย่างดี ดงั นนั้ งานประเภททตี่ อ้ งใชค้ วามอดทน มานะ พยายามและกระตอื รอื รน้ จงึ เหมาะกบั ผใู้ หญใ่ นวยั นที้ สี่ ดุ นักจิตวิทยาเช่ือว่าพัฒนาการทางสติปัญญาจะเจริญสูงสุดเต็มที่เมื่ออายุ 25 ปี จากน้ันจะเร่ิมลดลง แต่สง่ิ ท่ีวัยผูใ้ หญส่ ามารถไดม้ าทดแทน ไดแ้ ก่ ประสบการณ์ตา่ งๆ ที่สะสมไว้ จะเหน็ ไดว้ า่ การศกึ ษาเรอื่ งพฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ของมนษุ ยน์ นั้ เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ และมปี ระโยชน์ อย่างมาก ซึ่งนอกจากจะเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สตปิ ญั ญาของคนในวยั ตา่ งๆ อนั จะมผี ลทำ� ใหส้ ามารถตอบสนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งเหมาะสมแลว้ การน�ำไปใช้ประกอบการพิจารณาเก่ียวกับการจัดกิจกรรมแก่บุคคลในวัยต่างๆ ก็พิจารณา จัดได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องเกิดประสิทธิภาพในวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะกิจกรรมที่เก่ียวข้อง กบั การฝกึ สอนกีฬาทุกชนดิ 28 คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate

ขั้นตอนระยะพฒั นา กลุ่ม เด็กอายนุ ้อย กา้ วสูเ่ ยาวชน วัยรนุ่ อาย ุ 6-12 ป ี 11-16 ปี 15-19 ปี สงู ตำ�่ กวา่ 120 ซม. 110-170 ซม. เกิน 160 ซม. (7ซ.ม./ป)ี ลกั ษณะทางกายวภิ าค อวยั วะสบื พันธเ์ุ ล็ก ขนาดกลางมขี นอ่อน ใหญ่ขึ้น มีขนหยกิ ไม่แข็งแกร่ง ไมม่ ีขน แขนขายาว แขง็ แกร่ง กล้ามเน้อื พฒั นาขึน้ เกยี่ วขอ้ งกับกีฬา วอ่ งไวดี สมรรถภาพ ว่องไวนอ้ ย สามารถสนบั สนุน เลียนแบบ กลา้ มเนือ้ ตึง ใหม้ าก จริงจงั ลักษณะของจิตใจ ก�ำลังนอ้ ยใจ ใจร้อน อารมณร์ า้ ย ประชดประชนั ไมย่ อมรบั การใชอ้ ำ� นาจ ไม่รจู้ กั พอ สขุ ภาพดี ทำ� ตัวดีเด่น ภัยจากบหุ รี่ สรุ า เพศ ตอ้ งท�ำอย่างไร ความสามารถรอบตวั 70% ความเรว็ ความอดทน เพิม่ ระดบั ความหนกั แสดงความสามารถทีด่ ี แขง็ แรง ส่ิงส�ำคญั โดยเฉพาะสว่ นสำ� คญั เอาใจใส่สุขภาพ คือเทคนิค ความแขง็ แรง และกำ� ลัง ความอดทนยทุ ธวิธี ตาราง 3.1 แสดงช่วงระยะพัฒนาการของการพัฒนาทางชีววิทยาของผ้เู ล่นเยาวชนเป็นเร่อื งท่สี ำ�คัญ และจะเกิดประโยชน์อย่างมากสำ�หรับผ้ฝู ึกสอนถ้าได้ศึกษาเร่อื งน้ี ซ่งึ อันท่จี ริงจะมีข้อแตกต่างกัน 3 ปี ระหว่างการพฒั นาทางชีววิทยาและเปน็ จริงทางอายุ คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 29

ก ระบวนการ และวิธกี ารฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล ความส�ำเร็จของกีฬามีพ้ืนฐานมาจากการฝึกซ้อมที่มีประสิทธิภาพ ซ่ึงท�ำให้ผู้เล่น เกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง การวางแผนจัดการฝึกสอนจึงเป็นเร่ืองที่ส�ำคัญเป็นอย่างมาก ล�ำดับขั้นตอนของการฝึกสอน เหตุและผลของการฝึกสอนและวิธีปฏิบัติที่ใช้เปรียบเสมือนกุญแจ ท่ไี ขไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ฉะนน้ั การฝกึ ตอ้ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปทลี ะขน้ั ทลี ะตอน “Step by Step” โดยเฉพาะ ผเู้ ลน่ ใหม่ทตี่ อ้ งการการเรม่ิ ตน้ ทถี่ กู ตอ้ ง ไมเ่ รง่ รดั เปรยี บเสมอื นการสรา้ งตกึ สงู พนื้ ฐานโครงสรา้ ง ต้องแข็งแรงแน่นหนาไม่โยกคลอน เพราะถ้าฐานไม่ดีโอกาสท่ีจะสร้างให้ส�ำเร็จคงเป็นไปได้ยาก หรืออาจพังล้มทั้งอาคารฉันใดก็ฉันนั้น การฝึกสอนต้องเร่ิมด้วยโครงสร้างพื้นฐานท่ีดีที่ม่ันคง เปน็ ส่ิงแรกส�ำหรับผเู้ ลน่ ใหม่ ซง่ึ เป็นเรื่องของตัวบคุ คล โดยแยกเปน็ 3 ส่วน คอื 1. พน้ื ฐานเบอ้ื งตน้ (Basic) คอื การจดั ระเบยี บรา่ งกาย ทา่ ทาง บคุ ลกิ ภาพในการทจี่ ะเลน่ กับลูกบอลในลักษณะต่างๆ เหมือนกับการเขียนหนังสือ ก่อนท่ีจะเป็นประโยค ต้องน�ำค�ำที่มี ความหมายต่างๆ มารวมกัน ส่วนค�ำน้ันก็มาจากอักษรและพยัญชนะแต่ละตัวมาผสมผสานกัน ให้เกิดความหมาย แต่ก่อนที่จะเป็นตัวอักษรต้องเร่ิมฝึกหัดโดยการเขียนทีละตัวก่อน ซึ่งก็ต้อง เร่ิมจากการจัดท่าทางการนั่งให้เหมาะสมการจับดินสอหรือปากกาให้เหมาะและถนัดมือ ต่อด้วยการลากเส้นไปตามลายเส้นที่มีเป็นแนวไว้ก็จะได้ตัวอักษรท่ีสวยงาม เมื่อฝึกเขียนตามลายเส้น จนช�ำนาญขึ้นต่อไปก็ไม่จ�ำเป็นต้องมีลายเส้นเป็นแนวอีกสามารถเขียนได้ทันที จะสวยงามหรือ ไม่ข้ึนอยู่กับวิธีการจับดินสอ หรือปากกา ท่าทางในการนั่งหรือยืนในการเขียนเช่นเดียวกับเริ่มต้น ฝึกการสัมผัสลูกบอล จุดที่จะสัมผัสใช้ส่วนใดของเท้าสัมผัสส่วนใดของลูกบอลหรือสัมผัสส่วนใด ลกู บอลจงึ จะกลง้ิ หรอื ไปสเู่ ปา้ หมายในลกั ษณะใด ถา้ ผเู้ ลน่ ไดร้ เู้ หน็ และเขา้ ใจเหตแุ ละผลกจ็ ะปฏบิ ตั ิ ได้ถกู ต้องและเกิดผลดตี ่อไป 2. เทคนิค (Techniques) คือ ความช�ำนาญในวิธีการเล่นส่วนบุคคลที่จะควบคุม หรือจัดการกับลูกบอลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และท�ำได้อย่างท่ีคิด ไม่ว่าจะส่งหรือรับลูกบอล การควบคุมลูกบอล การเลี้ยง การพาลูกบอล หรือการยิงประตูได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งเป็นผลมาจาก ความช�ำนาญจากการฝึกทักษะเบ้ืองต้น ฉะนั้นจะเกิดความช�ำนาญได้ต้องฝึกซ�้ำ เป็นร้อยๆ คร้ัง เพ่ือให้ประสาทกล้ามเน้ือได้บันทึกหรือจ�ำรายละเอียดในท่าทางและวิธีท่ีจะควบคุมหรือจัดการ กับลูกบอลให้ได้ตามที่ต้องการ และเม่ือถึงเวลากล้ามเนื้อและร่างกายก็จะสามารถปฏิบัติได้ อยา่ งเป็น “อตั โนมัต”ิ 30 ค่มู อื ผู้ฝึกสอนกฬี าฟุตซอล T-Certificate

3. ทักษะ (Skills) คือ วิธีการใช้เทคนิคเปล่ียนแปลงการเล่นและเล่นได้อย่างต่อเน่ือง ถูกต้องรวดเรว็ ซึ่งขับเคลอ่ื นโดยความคดิ และสมรรถภาพทางกาย ดังนั้น องคป์ ระกอบที่เกย่ี วข้อง กบั การใชท้ กั ษะ คอื คตู่ อ่ สู้ สถานการณ์ การตดั สนิ ใจ เปา้ หมาย วธิ กี ารเลน่ และการเลน่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวดเร็ว ผู้เล่นที่จะปฏิบัติทักษะได้ดีต้องมีความช�ำนาญในด้านเทคนิคเป็นอย่างดี เพราะการเล่น จะถูกกดดนั จากหลายสง่ิ พรอ้ มกนั ผู้เล่นตอ้ งสามารถทีจ่ ะใชส้ ่วนของเท้าไดท้ ั้งสองเทา้ และทุกสว่ น ส่ิงที่ส�ำคัญคือทักษะการมอง ผู้ฝึกสอนต้องไม่ละเลยเพราะการเห็นจะเป็นตัวเร้าส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิด การตัดสนิ ใจเปลย่ี นแปลงการเล่นและเล่นไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งต่อเน่อื งรวดเรว็ ช่วงแรกของการฝึกจึงต้องเน้นทักษะส่วนบุคคล คือ ความสามารถท่ีจะส่ง รับ ควบคุม เลี้ยงยิงประตูให้ได้อย่างแน่นอน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อน ในส่วนน้ีถือเป็นสาระส�ำคัญอย่างย่ิง ถ้าผู้เล่นเร่ิมต้นได้ถูกต้อง สิ่งที่ถูกต้องนั้นก็จะติดตัวไปตลอดและสามารถท่ีจะพัฒนาไปสู่ระดับสูง ไดไ้ ม่ยาก เม่อื ผูเ้ ลน่ แต่ละคน “ด”ี กส็ ามารถไปส่กู ารฝึกเป็นกลุม่ ทมี ได้ไม่ยากเชน่ กัน วิธกี ารฝึกระดับเบือ้ งต้น • สอนใหป้ ฏิบัติอย่กู ับทใี่ หไ้ ด้ผล 100 เปอร์เซน็ ต์ • สอนให้ปฏบิ ัตเิ คลื่อนท่ใี หไ้ ด้ผลเกือบ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ • สอนใหป้ ฏบิ ัติเคล่อื นท่ี มคี ตู่ อ่ สู้และสามารถผา่ นไปได้ 100 เปอรเ์ ซ็นต์ ผู้ฝึกสอนต้องเป็นผู้ก�ำกับรูปแบบ รวมท้ังวัตถุประสงค์ของการฝึกและต้องศึกษาสังเกต ผเู้ ลน่ ในระหว่างที่ปฏิบัติควบคู่กันไปด้วย ยิ่งผู้ฝึกสอนรู้และเข้าใจในตัวผู้เล่นมากเท่าใด ก็สามารถ ชว่ ยผเู้ ลน่ ไดม้ ากขน้ึ เทา่ นนั้ สงิ่ นส้ี ำ� คญั มากผฝู้ กึ สอนบางคนเจตนาดี ตง้ั ใจดี แตข่ าดบางสง่ิ บางอยา่ ง อาจท�ำให้ผู้เล่นพัฒนาช้าหรือไปไม่ถึงเป้าหมาย การฝึกผู้เล่นใหม่ต้ังแต่เด็กจะต้องมีความเข้าใจ ในการฝึก ฝึกให้ถูกวิธีตั้งแต่เร่ิมต้น เด็กก็จะพัฒนาความสามารถไปพร้อมกับความเจริญเติบโต และเป็นผู้เล่นที่มีความสามารถท่ีเก่งกาจในกีฬาฟุตซอลได้ การสร้างนักกีฬาต้องใช้ระยะเวลา เป็นเดือนๆ ปีๆ สำ� คัญอกี ประการหนึ่งก็คอื รูปแบบ หรอื แบบฝึก รวมถึงกระบวนการและเทคนิค การสอนของผู้ฝกึ สอน ซ่ึงมผี ลต่อพัฒนาการของนกั กฬี าเป็นอย่างมาก กระบวนการฝกึ สอน 1. เตรยี มการฝกึ (Preparation) เปน็ สงิ่ แรกทผี่ ฝู้ กึ สอนจะตอ้ งทำ� อยา่ หลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ ไดแ้ ก่ • เปา้ หมายหรือวัตถปุ ระสงคข์ องการฝกึ • สถานทีส่ ำ� หรบั การฝกึ • จ�ำนวนและระดบั ความสามารถของผ้เู ขา้ รับการฝึก ค่มู ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 31

• แบบแผน รปู แบบและวิธีการฝึก • อปุ กรณแ์ ละสง่ิ อ�ำนวยความสะดวก • ระยะเวลาของการฝกึ 2. จัดการฝกึ (Organization) ผ้ฝู กึ สอนตอ้ งเป็นผู้จัดการเตรยี มสถานท่ีหรือสนามฝึก จดั วางอุปกรณ์รวมถึงสิ่งอำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ 3. แนะน�ำและเร่ิมการฝึก (Commence/Start) ก่อนการฝึกควรแนะน�ำถึง วัตถุประสงค์และวิธีการที่ผู้เล่นต้องปฏิบัติต้องมีความชัดเจนเข้าใจง่าย การเร่ิมเป็นส่ิงส�ำคัญ ผู้ฝึกสอนเองจะต้องมีความเข้าใจในส่ิงท่ีจะให้ผู้เล่นปฏิบัติว่าควรจะเร่ิมต้นอย่างไร เพราะมีผลต่อ ความสนใจของผเู้ ล่นท่จี ะปฏิบตั ติ าม 4. สังเกตการปฏิบัติ (Observe) ในระหว่างที่ผู้เล่นก�ำลังปฏิบัติ ผู้ฝึกสอนต้องเฝ้าดู เพอ่ื ท่ีจะได้เหน็ ถงึ ข้อบกพรอ่ งในวตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ้องการ 5. หยุดการปฏิบัติ (Stop) เมื่อผู้เล่นแสดงให้เห็นถึงข้อบกพร่องในการปฏิบัติ หรือ ความไม่เข้าใจในส่ิงท่ีต้องท�ำ ผู้ฝึกสอนต้องหยุดการปฏิบัติของผู้เล่น ซ่ึงเกี่ยวข้องกับเมื่อไร ท่ีควรให้หยุด และหยุดอย่างไร โดยต้องให้โอกาสผู้เล่นแก้ไขตนเองก่อน ถ้ายังไม่ดีข้ึนจึงให้หยุด และการหยุดควรท่ีจะคงสภาพสถานการณ์ท่ีบกพร่องไว้ ซ่ึงจะท�ำให้ช้ีเห็นข้อบกพร่องได้ง่าย และชัดเจน 6. เขา้ ไปแกไ้ ข (Intervene) สง่ิ แรกทตี่ อ้ งทำ� เมอ่ื เขา้ ไปแกไ้ ข คอื ตอ้ งชใี้ หผ้ เู้ ลน่ (ทง้ั หมด) เหน็ ถงึ ขอ้ บกพรอ่ งเสยี กอ่ น แลว้ จงึ จะชน้ี ำ� สงิ่ ทถ่ี กู ตอ้ ง พดู สนั้ ๆ ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยๆ ชดั เจนและตรงประเดน็ 7. สอนใหเ้ กดิ ผล (Teach Effect) การทจี่ ะใหเ้ กดิ ผลนน้ั การพดู อยา่ งเดยี วโดยไมเ่ หน็ ภาพ คงเขา้ ใจไดย้ าก “พูดสิบคร้ังไม่เท่าเห็นภาพครั้งเดียว” และท่ีส�ำคัญหากผู้เล่นได้ทดลองท�ำในส่วน ทีถ่ ูกต้องด้วย จะยง่ิ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและชัดเจนย่งิ ขึ้น 8. สรุปหลังการฝึก (Conclusion) เม่ือการฝึกเสร็จสิ้นลง จ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีผู้ฝึกสอน จะต้องสรุปถึงส่ิงท่ีท�ำ ผลท่ีจะเกิด ให้รางวัลความต้ังใจด้วยการชมเชยและไม่ลืมท่ีจะชี้ให้เห็น ถึงความส�ำคัญของความรับผิดชอบ ความมีวินัย เพราะสิ่งเหล่านี้ส่งผลถึงการด�ำรงชีวิตในสังคม นอกเหนือจากการเลน่ กีฬา ผฝู้ กึ สอนตอ้ งเขา้ ใจถงึ ระยะของการพฒั นาของผเู้ ลน่ แตล่ ะคนแตล่ ะกลมุ่ ซงึ่ เปน็ กญุ แจสำ� คญั ในการไขไปสู่ความส�ำเรจ็ ของผู้เลน่ และทมี 32 คู่มือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

กระบวนการฝกึ สอน เตรยี มการฝึก Preparation จดั การฝกึ Organization แนะนำ�และเริม่ การฝกึ Commence/Start สอนใหเ้ กิดผล สงั เกตการณ์ปฏบิ ตั ิ Teach Effect Observe เขา้ ไปแกไ้ ข หยุดการปฏบิ ัติ Intervene Stop สรุปหลังการฝึก Conclusion คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate 33

วิธีการฝึกสอน : การเลือกวิธีฝึกสอนขึ้นอยู่กับความสามารถ วัย และระยะเวลาของการพัฒนาของผู้เล่น พื้นท่ี จ�ำนวน และเป้าหมายของการฝึก เช่น หากเป็นผู้เล่นใหม่ควรเร่ิมจากการฝึกเทคนิคและ ทักษะก่อน แต่ผู้เล่นทุกคนมีระดับการเรียนรู้และการพัฒนาท่ีต่างกัน ดังน้ัน วิธีการและรูปแบบ อาจแตกต่างกนั ไป ขน้ึ อยู่กับความสามารถของผู้เล่น และเป้าหมายของการฝกึ เปน็ สำ� คัญ วิธีการฝกึ สอน การฝึกเทคนคิ : หมายถึง การฝึกเฉพาะบคุ คลหรอื การฝกึ รวมทงั้ กลมุ่ เชน่ การส่ง-รับ การยงิ ประตู เปน็ ต้น โดยไมม่ ีความกดดนั และตอ้ งใหถ้ กู ต้อง รวมท้งั การเคลอ่ื นไหว และเคล่ือนท่ี การฝึกเทคนคิ 34 คู่มือผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate

การฝกึ ทักษะ : การฝึกเฉพาะบุคคล หรอื การฝึกเปน็ คู่ เป็นกลมุ่ โดยให้ผเู้ ล่นใช้เทคนคิ ท่ีถูกต้องภายใต้สถานการณ์ที่มีการกดดัน ซึ่งผู้เล่นต้องมีการตัดสินใจและมีการเปล่ียนแปลง วธิ กี ารเลน่ และตอ้ งเลน่ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องรวดเร็ว โดยอาจใช้คู่รว่ มฝึกกดดนั กไ็ ด้ การฝกึ ทักษะ การฝึกสนามเล็ก : หมายถึง การเล่นซึ่งแบ่งเป็นสองทีม จะมีผู้เล่นทีมละเท่ากันก็ได้ ข้ึนอยู่กบั วัตถปุ ระสงคแ์ ละความเหมาะสมของวยั ความสามารถและความตอ้ งการของผู้ฝกึ สอน การฝกึ สนามเล็ก 35 คู่มือผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate

การฝกึ โดยเกมทมี่ เี งอ่ื นไข : หมายถงึ การเลน่ ทแี่ บง่ ผเู้ ลน่ เปน็ สองทมี จะมผี เู้ ลน่ เทา่ กนั หรือไม่เท่ากันก็ได้ มุ่งเน้นเพ่ือการพัฒนาทักษะ โดยการสร้างเงื่อนไขการเล่นหรือการใช้กฎบางอย่าง เชน่ การเลน่ โดยสัมผสั ลกู บอลได้สองครง้ั การฝึกโดยเกมท่ีมีเงอ่ื นไข การฝึกเป็นกลุ่ม : หมายถึง การฝึกท่ีมีการแบ่งทีม รวมทั้งผู้รักษาประตู มีเป้าหมาย การฝกึ เหมอื นกัน มกี ารจดั เปน็ กลมุ่ เพ่ือใหร้ ู้หน้าทีแ่ ละการประสานสัมพันธ์ระหวา่ งกัน การฝึกเปน็ กลุ่ม 36 คู่มือผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate

การฝึกหน้าที่ : หมายถึง การฝึกผู้เล่นให้ได้รู้ถึงบทบาทหน้าท่ีในแต่ละสถานการณ์ และพ้ืนที่โดยมคี ตู่ ่อสู้ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกบั สถานการณแ์ ละพื้นท่นี ้นั ๆ การฝกึ หน้าท่ี การฝึกรูปแบบ : หมายถึง การฝึกเพ่ือการรุก หรือเพ่ือการป้องกัน โดยพิจารณาจาก ความส�ำคัญของพน้ื ทท่ี ้ังเกมรุกและการป้องกนั เช่น การรุกกลับเมอ่ื ตัดแยง่ ลกู บอลได้ การฝกึ รูปแบบ 37 คู่มือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

เกม 5 ต่อ 5 : หมายถึง การฝึกเป็นทีมครบกระบวนการตามกฎการเล่น เพ่ือท่ี ผู้เล่นจะได้ใช้ความสามารถทางเทคนิค ทักษะในการแก้ปัญหา การใช้ยุทธวิธีการเล่นที่ใช้ การประสานสมั พนั ธข์ องผเู้ ลน่ ทกุ คนในทมี ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ทข่ี องแตล่ ะคน โดยผูฝ้ กึ สอนจะตอ้ งบอกแนวทางในการเลน่ 38 คู่มอื ผูฝ้ ึกสอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

ข อบข่าย การฝกึ สอนกฬี าฟุตซอล ผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอลเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่ง ในการพัฒนาความสามารถของผู้เล่น ไปสู่ระดับที่สูงได้ เพราะผู้ฝึกสอนจะเป็นผู้ที่ก�ำหนด วางแผน จัดการให้ผู้เล่นได้ปฏิบัติในการฝกึ ซอ้ ม ดังนั้น ขอบเขตของการฝึกซ้อมจึงมีความมุ่งเน้นเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถด้านเทคนิคและทักษะ การเล่นของผู้เล่น โดยให้สัมพันธ์กับสมรรถภาพทางกายของผู้เล่นแต่ละคน ผู้ฝึกสอนจะต้องวางแผน การฝึกและจัดการให้ผู้เล่น พร้อมกับให้ความรู้แก่ผู้เล่นในด้านสรีรวิทยา จิตวิทยาและสังคมวิทยา เพราะส่งิ เหล่านีจ้ ะเก่ยี วข้องกบั ผเู้ ลน่ ตลอดเวลา ในการปรบั ปรงุ ส่วนของสรีระและการพฒั นาสภาพจติ ใจ ให้มีความพร้อม ผู้ฝึกสอนต้องท�ำควบคู่ไปกับการฝึกซ้อม และส่ิงท่ีผู้ฝึกสอนต้องให้ความส�ำคัญ เป็นพิเศษ คือ การสอนให้ผู้เล่นแต่ละคนเป็นผู้ที่มีคุณธรรมท่ีดีงาม มนี ำ้� ใจเปน็ นกั กฬี าและมรี า่ งกาย ที่สมบูรณ์ ผู้เล่นควรได้รับการพัฒนาทักษะท่ีหลากหลาย รวมถึงสภาพจิตใจและวิธีการรับมือ จัดการความเครียดจากการฝึกซอ้ มและจากการแข่งขนั ซึง่ เปน็ สง่ิ สำ� คญั ทผ่ี ้ฝู กึ สอนต้องให้ความรแู้ กผ่ ู้เลน่ การท่ีจะพัฒนาความสามารถของผเู้ ลน่ ไปสู่ระดับสูงไดน้ ้ัน ระบบการฝึกซ้อมจะต้องมีคณุ ภาพ ขอบขา่ ยการฝกึ สอน • เทคนิคและทักษะการเล่นกีฬาฟตุ ซอล • การทำ� งานท่ีประสานกนั ระหวา่ งระบบประสาทกบั ระบบกลา้ มเน้อื • การเรียนรเู้ ทคนิค ทกั ษะพ้นื ฐานทถี่ กู ต้อง • การฝกึ ยทุ ธวธิ ีเฉพาะบุคคล (แทคติค) การฝึกสอนระดบั นมี้ ีเปา้ หมายมงุ่ เน้นการฝึกเฉพาะบคุ คลเป็นหลัก เพอื่ พัฒนาผเู้ ลน่ เปน็ รายบคุ คล โดยทกุ คนต้องมีสว่ นเขา้ ร่วมในการฝกึ ปจั จยั ที่เปน็ องคป์ ระกอบสนับสนนุ และตัวแปรในการฝึก จากตวั ผูเ้ ล่น พันธกุ รรม เพศ อายุของนักกฬี า โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของรา่ งกาย การเจริญเติบโตและพัฒนาการของรา่ งกาย การปรบั ตวั และฟื้นคืนสภาพของรา่ งกาย สุขภาพและการบาดเจ็บของนกั กีฬา คู่มอื ผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 39

โภชนาการและการพกั ผอ่ น ฐานะ อาชีพ หน้าที่การงาน จากภายนอก สถานท่ี สภาพสนาม อุปกรณ์ และส่งิ อ�ำนวยความสะดวก สภาพภมู ิอากาศ สภาพมลพษิ ทางอากาศ การฝึกเทคนิคการเล่นกีฬาฟุตซอล การเลีย้ งลกู บอล (Dribbling) การส่งลกู บอล (Passing) การรบั ลูกบอล (Receiving) การควบคมุ ลูกบอล (Controlling) การโหมง่ ลูกบอล (Heading) การยิงประตู (Shooting) การเปน็ ผรู้ กั ษาประตู (Goalkeeping) องคป์ ระกอบของรา่ งกายทใ่ี ช้ในการเลน่ และควบคมุ ลูกบอล ฝา่ เทา้ (sole) หลังเทา้ (Instep) หวั รองเท้า (Toes) ขา้ งเท้าด้านใน (Inside of the Foot) ข้างเท้าด้านนอก (Outside of the Foot) ส้นเท้า (Heel) หนา้ ขา (Thigh) หน้าอก (Chest) ศรี ษะ (Head) ส่วนต่างๆ ของร่างกายน้ีเองเป็นองค์ประกอบส�ำหรับผู้เล่นท่ีจะต้องใช้ปฏิบัติในการ เล่นในสนาม ดังนั้น ผู้เล่นต้องมีความช�ำนาญในการจัดการ บังคับ ควบคุมลูกบอลทั้งอยู่กับท่ี เคลอ่ื นท่ี ทงั้ สถานการณท์ ไี่ มม่ แี ละมคี ตู่ อ่ สู้ จงึ เปน็ เรอื่ งทผี่ ฝู้ กึ สอนตอ้ งจดั การฝกึ สอนใหแ้ กผ่ เู้ ลน่ ทกุ อย่าง แม้วา่ เทคนิคบางอยา่ งจะไมค่ ่อยได้ใชห้ รอื เห็นในการเลน่ สกั เทา่ ใดกต็ าม เชน่ การใชส้ น้ เท้า ส่งลูกบอล การส่งด้วยหน้าขาและหน้าอก รวมท้ังการโหม่งลูกบอล เป็นต้น เพราะบอกไม่ได้ว่า 40 คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ ซอล T-Certificate

สถานการณท์ ตี่ อ้ งใชเ้ ทคนคิ นนั้ ๆ จะเกดิ ขน้ึ เมอื่ ไร ถา้ ผฝู้ กึ สอนเตรยี มพรอ้ มใหแ้ กผ่ เู้ ลน่ ดว้ ยการจดั ฝกึ และพัฒนาการเล่นของผู้เล่นอย่างต่อเนื่อง จนผู้เล่นสามารถปฏิบัติได้อย่างเป็นอัตโนมัติในการใช้ เทคนคิ ตา่ งๆ ในทุกสถานการณ์ผูเ้ ล่นกส็ ามารถทจ่ี ะพัฒนาไปสูร่ ะดับสูงไดเ้ รว็ ขอบข่ายการฝึกเทคนคิ การเลน่ กีฬาฟตุ ซอล 1. ฝกึ การควบคมุ ลกู บอลในลกั ษณะตา่ งๆ ใหส้ มั พนั ธ์ และสมดลุ กบั รา่ งกายอยา่ งถกู ตอ้ งและ ใชไ้ ดอ้ ยา่ งช�ำนาญ 2. แบบแผนการฝึกต้องใช้เทคนิคที่แตกต่างกันผสมผสานให้ต่อเนื่องกันและเกิดความช�ำนาญ ไดอ้ ย่าง “อตั โนมตั ”ิ 3. จัดให้มีการฝึกท่ีเป็นเกมการเล่นที่สนับสนุนการใช้เทคนิคและทักษะ เพ่ือให้ผู้เล่น ไดเ้ กดิ ไหวพรบิ กบั การตัดสินใจเพอื่ การพฒั นาของผเู้ ล่น การฝึกเพือ่ การท�ำงานประสานกันระหวา่ งระบบประสาทกลา้ มเน้ือ (Co-ordination) การท�ำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทกับระบบกล้ามเน้ือ เป็นส่ิงจ�ำเป็นส�ำหรับ ผู้เล่น เพราะในการเคล่ือนไหวเคลื่อนท่ีของผู้เล่นแต่ละคนจะมีทักษะการเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี ทแี่ ตกตา่ งกนั แตต่ อ้ งอาศยั การทำ� งานของกลา้ มเนอ้ื สว่ นตา่ งๆ ทตี่ อ้ งทำ� งานรว่ มกนั ในระหวา่ งกลมุ่ เพื่อการเคลื่อนไหวเคล่ือนที่ของร่างกายให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดและสิ่งท่ีเป็นปัจจัยส�ำคัญ ท่ีท�ำให้เกิดประสิทธิภาพ คือ ความสมดุลของร่างกายขณะเคลื่อนไหวเคล่ือนที่ การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ในกีฬามีความแตกต่างกัน เช่น จังหวะ ปฏิกิริยา ความสมดุล รูปแบบการเคล่ือนท่ี ลักษณะตา่ งๆ ขอบขา่ ยของการฝกึ การทำ� งานประสานกนั ระหว่างระบบประสาทกับระบบกลา้ มเน้อื 1. การเคลอื่ นไหวเคลอ่ื นทด่ี ว้ ยรปู แบบการวง่ิ ในระยะตา่ งๆ ดว้ ยทา่ ทางทถี่ กู ตอ้ งเพอื่ คณุ ภาพ ของการเคลอื่ นไหวเคลื่อนที่ 2. การเคล่ือนไหวเคลื่อนที่ทุกประเภท เช่น วิ่งไปข้างหน้า วิ่งถอยหลัง ว่ิงกลับตัว การหมุนตวั การเปลีย่ นทศิ ทาง เปน็ ต้น 3. การเคลอ่ื นไหวเคลื่อนท่ีทีต่ อบสนองต่อสญั ญาณตา่ งๆ ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดปฏกิ ริ ยิ า 4. การเคลือ่ นไหวเคลือ่ นทก่ี บั ลกู บอล 5. การเคลื่อนไหวเคลือ่ นทร่ี ะหวา่ งผ้เู ลน่ กับผู้เล่น คู่มือผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 41

การฝึกเพอื่ พัฒนาเทคนคิ และทักษะของผ้เู ล่น เพ่ือการพัฒนาผู้เล่นวิธีการท่ีผู้ฝึกสอนน�ำมาใช้ คือ กระบวนการฝึกที่ผู้ฝึกสอนต้องมี การเตรียมการเลือกวธิ ีการท่ดี ที ่สี ุด และกำ� หนดบรรยากาศในการฝกึ ท่ีดที ส่ี ุด ทส่ี �ำคัญคอื แนวคิด ทางเทคนิคและทักษะท่ีตัดสินใจเลือก ปัจจัยที่จะช่วยให้ผู้ฝึกสอนตัดสินใจเลือกวิธีการฝึก เพือ่ พัฒนาผเู้ ลน่ มดี ังนี้ • การวเิ คราะห์ปัญหาและองคป์ ระกอบต่างๆ • สอนให้ผเู้ ล่นรู้ถึงลักษณะและกระบวนการทีถ่ กู ต้อง • วางแผนและหาวธิ ีเพอ่ื น�ำสิง่ ทีฝ่ ึกไปใช้ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ • ตอ้ งทำ� ใหผ้ เู้ ลน่ มีการปรบั ปรุงการเลน่ ตลอดเวลา สิ่งต่างๆ เหล่านี้ จะบ่งบอกถึงวัตถุประสงค์ท่ีผู้ฝึกสอนต้องการ แต่สิ่งที่ต้องค�ำนึงถึง คือ การฝกึ สอนทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ มกี ารเปลยี่ นแปลงและปรับปรุงใหด้ ีขน้ึ ขอบข่ายของการฝกึ เพ่อื พฒั นาเทคนิคและทักษะของผูเ้ ล่น - จัดการฝึกในสถานการณ์ที่มีคู่ต่อสู้ซ่ึงผู้เล่นต้องตัดสินใจและเปล่ียนวิธีการเล่น และเลน่ ได้อยา่ งตอ่ เนื่อง - ใช้เกมฝึกโดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของ ผู้เลน่ รวมถงึ ส่ิงทผี่ ู้ฝึกสอนต้องการ - ใช้การฝึกท่ีมีเงื่อนไข เพ่ือเน้นการพัฒนาทักษะ การสร้างเงื่อนไขการเล่นหรือการใช้ กฎเกณฑบ์ างอย่าง เช่น การเลน่ ที่กำ� หนดใหส้ ัมผสั ลูกบอลไม่เกินสองครั้ง การฝึกยุทธวิธกี ารเล่น (เฉพาะบคุ คล) ยุทธวิธีการเล่นระดับนี้ จะเน้นเฉพาะส่วนของบุคคลในการเล่นท่ัวไปเท่านั้น เพราะ โดยความเป็นจริงในเกมของกีฬาฟุตซอลไม่ว่าจะรุก หรือป้องกันสถานการณ์ที่ผู้เล่นต้องเจอะเจอมาก ทส่ี ดุ คือ สถานการณ์ 1 ตอ่ 1 เกือบตลอดเวลาของเกมและในทกุ พ้นื ท่ีของสนามและทกุ ตำ� แหนง่ หน้าที่ที่ผู้เล่นรับผิดชอบต้องฝึกให้ผู้เล่นแต่ละคนได้รู้และเข้าใจในหลักและวิธีการเล่นของทุกต�ำแหน่ง ไม่ว่าจะรุกหรือป้องกัน เม่ือผู้เล่นทุกคนรู้และเข้าใจในการเล่นเฉพาะบุคคลในแต่ละต�ำแหน่ง แต่ละพื้นท่ีแลว้ การที่จะพฒั นาไปสู่การเลน่ รว่ มกันเป็นกลุ่มเปน็ ทีมกจ็ ะท�ำได้สะดวกมากขน้ึ 42 คู่มือผ้ฝู ึกสอนกีฬาฟตุ ซอล T-Certificate

ขอบข่ายการฝึกยทุ ธวธิ กี ารเลน่ (เฉพาะบุคคล) 1. จดั การฝกึ ใหผ้ เู้ ลน่ ไดร้ หู้ นา้ ทโ่ี ดยทว่ั ไปและหนา้ ทเี่ ฉพาะตำ� แหนง่ ทง้ั การรกุ และการปอ้ งกนั 2. จดั การฝึกเป็นเกมเลก็ ๆ เพื่อใหเ้ กิดลำ� ดบั ความเข้าใจ 3. ใช้เกมท่ัวไปเพอ่ื ชว่ ยในการพฒั นา ในเกมฝกึ เฉพาะบคุ คล สง่ิ สำ� คญั คอื ผฝู้ กึ สอนไมค่ วรกำ� หนดหนา้ ทต่ี ายตวั และควรอยา่ งยงิ่ ทจี่ ะใหผ้ เู้ ลน่ ไดเ้ กดิ ไหวพรบิ และปฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบฉบั พลนั ในการฝกึ พรอ้ มกนั ไปดว้ ย เพราะจะชว่ ยใหผ้ เู้ ลน่ ซมึ ซับกับความต่อเนอื่ งของสถานการณ์เหมอื นในการเล่นจริง คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตซอล T-Certificate 43