Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เลี้ยงไก่พื้นเมือง

เลี้ยงไก่พื้นเมือง

Description: เลี้ยงไก่พื้นเมือง.

Search

Read the Text Version

เลี้ยงไกพื้นเมือง1 \" ขอ มูลเลย้ี งไกพืน้ เมอื ง รศ. ดร. อภิชัย รตั นะวราหะ2 ! ไกพื้นเมืองกับคนไทย ! ไกพ น้ื เมอื งกบั ความสามารถในการผลติ ! พนั ธแุ ละการผสมพนั ธุ ! การสรา งคอกไก ! การปรบั ปรงุ บํารงุ พนั ธุ ! การเลอื กและฟก ไกพ น้ื เมอื ง ! การสองไขฟก ! การเลย้ี งไกว ยั ออ น ! การใหอ าหารลกู ไก ! การใหอ าหารไกร นุ ไกพ น้ื เมอื งกบั คนไทย ไกพ้ืนเมอื งหรอื ไกบ า น คอื ไกท เ่ี ลย้ี งไวใ ตถ นุ บา นของเกษตรกร นักวิชา การบางทา นเรยี ก “ไกต กสํารวจ” มีจํานวนรวมทว่ั ประเทศ ประมาณ 800-120 ลานตัว เปน พนั ธไุ กช นบา ง ไกแ จบ า ง สว นหนง่ึ กลายเปน อาหารของชาวบา น แต อีกสวนหน่ึงกลายเปน เงนิ ออมกระแสรายวนั ตอ งการเงนิ เมอ่ื ใดกจ็ บั ขายใหพ อ คา ชวยแกปญหาเมอ่ื เกดิ ความลม เหลวจากการเกษตรได ราคาไกพน้ื เมอื ง หรอื ไกบ า นแพงกวา ราคาของไกพ นั ธเุ นอ้ื และไกกระทง ประมาณรอยละ 25-30 ไกพ ื้นเมืองจึงใหผ ลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงกวา ขณะทต่ี น ทุนผลิตตํ่ามากหรอื เกอื บไมม เี ลย เพราะไกพ น้ื เมืองหากินจากเศษอาหารทีต่ กหลนจาก ครัวเรือน ขา วเปลอื กหลน หลงั เกบ็ เกย่ี ว หนอนและแมลงในธรรมชาติ ไกพ้ืนเมืองในแงการบริโภคเปนอาหารก็มีเนื้อท่ีรสชาติดีกวาไกพันธุเนื้อจาก ตางประเทศ เปน ทย่ี อมรบั กนั ดอี ยแู ลว และยงั เปน อาหารโปรตนี ทด่ี ที ส่ี ดุ อยา งหนง่ึ สําหรับชาวบา นในชนบท และงานเทศกาล งานประเพณตี า งๆ กน็ ํามาปรงุ เปน อาหาร ………………………………………………………… 1. จาก มติชนบท เทคโนโลยี ชาวบาน ป 4 ฉบับที่ 38 พฤศจิกายน 2534, ป 4 ฉบับที่ 39 ธันวาคม 2534 และ ป 4 ฉบับที่ 40 มกราคม 2535 2. สาํ นกั วจิ ยั และสงเสริมวิชาการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ เชยี งใหม

เลี้ยงไกพื้นเมือง # 2 ตอ นรบั แขกเหร่ือไดอยางดี โดยทเ่ี กษตรกรไมต อ งสน้ิ เปลอื งคา ใชจ า ยมากนกั จงึ นา จะมี การสนับสนุนใหช าวบา นในชนบทขยายการเลย้ี งไกพ น้ื เมอื งออกไปใหม ากกวา น้ี โดยจะ ตอ งหาวิธีทาํ อยา งไรใหไ กไ มตายจากโรคระบาด และมคี าํ แนะนําการปรบั ปรงุ พันธใุ หไ ก พ้ืนเมืองของเราโตเรว็ ไขด กมากขน้ึ ไกพ น้ื เมอื งกบั ความสามารถในการผลติ แมวาความสามารถในการผลติ เชน การใหเ นอ้ื และไขข องไกพ น้ื เมอื งเพอ่ื การ คาในปจจุบัน แตจริงๆ แลวผลตอบแทนจากไกพื้นบานจะนาสนใจทีเดียว เพราะในอายุ 8 สัปดาหเทากัน แมไ กพ น้ื เมอื งจะมนี า้ํ หนกั นอ ยกวา (768 กรัม) เมื่อเทียบกับไกพันธุ เนอ้ื อายุ 8 สัปดาหเทากัน (1,997 กรัม) แตก ก็ นิ อาหารนอ ยกวา กนั ถงึ 2 กิโลกรัม และไกพ น้ื เมอื งขายไดร าคาดกี วา คอื กโิ ลกรมั ละ 2.62 บาท ขณะทไ่ี กพ นั ธเุ นอ้ื ขายได เพยี งกโิ ลกรมั ละ 1.30 บาท เทา นน้ั กระทง่ั อตั รารอดกส็ งู กวา ไกพ นั ธเุ นอ้ื มีหลักฐานจากการศกึ ษาของนกั วชิ าการยนื ยนั วา ไกพ น้ื บา นมคี วามตา นทาน ตอโรคและพยาธิดีกวาไกพันธุจากตางประเทศ จากการศกึ ษาของ สวสั ด์ิ ธรรมบตุ รและคณะพบวา แมไกพื้นบาน 1 ตัวจะฟก ลูกไกได 19 ตวั ตอ ป ซง่ึ ถา ลกู ไกด งั กลา วไมต าย และเตบิ โตเตม็ ทข่ี นาดประมาณ 1 กิโลกรัม ปห นง่ึ ๆ ควรจะมรี ายไดจากไกประมาณ 600 บาท ตอ แมต อ ป โดยเฉลี่ยเกษตรกร จะเลี้ยงไกไวกับบาน ประมาณ 5-10 แมต อ ครอบครวั ดงั น้ัน รายไดใ นแตล ะปค วรจะเปน 3,000 บาท-9,000 บาท สําหรับ 1 ครอบครวั ซึ่ง เปนรายไดท ไ่ี มเ ลวนกั ซ่งึ จะเหน็ ไดว าเปน รายไดที่ 1. อยูในขดี ความสามารถทท่ี ําได 2. เปนรายไดที่คิดจากผลผลิตที่ต่ําสุดที่ไกพื้นเมืองจะทําไดในสภาพการ เล้ียงดขู องเกษตรกรในระดบั หมบู า น ถาหากเกษตรกรรจู กั การปรบั ปรงุ การเลย้ี งดู พยายามศึกษาการปองกนั โรค ระบาดดวยวคั ซนี อยเู สมอ รายไดจากไกพ้ืนเมืองทีค่ วรจะไดรบั จริงๆ นน้ั ยอ มไดเ พม่ิ ขน้ึ อยา งแนน อน

เลี้ยงไกพื้นเมือง # 3 พนั ธแุ ละการผสมพนั ธุ ไกพน้ื เมอื งทน่ี ยิ มเลย้ี งกนั ทว่ั ไปมอี ยู 2 พันธุ คอื 1. ไกอู เปน ไกพ นั ธุหนกั ลาํ ตัวใหญ เนอ้ื มาก น้าํ หนกั มาก ตวั เมยี ขนสดี ํา ปก คลุมทั้งตัว สว นตวั ผมู ลี กั ษณะเปน ไกช นมขี นาดใหญ แข็งแรง ลักษณะคลายไกฝรั่ง พันธุคอรนิช หนาอกใหญ หงอนมหี ลายชนดิ เชน หงอนกุหลาบ (ไกชนสวนใหญมี หงอนชนิดน)้ี หงอนจักร เนอ้ื ดํา เนอ้ื แดง ขนขาว ขนลาย ขนเขยี ว เปน ตน 2. ไกชน เปนไกพ นั ธพุ น้ื เมอื งทช่ี าวบา นเลย้ี งไวเ พอ่ื เกมกฬี า แตน า จะถอื ไดว า เปนสายพันธแุ ทข องไกพ น้ื เมอื งของคนไทยเราไดด พี นั ธหุ นง่ึ เพราะไดผานการผสม พันธุและคัดเลือกพันธุมาเปนเวลาชานาน ควรทจ่ี ะใชเ ปน พนั ธพุ น้ื ฐานในการขยาย พันธุและปรับปรุงพันธุเพื่อผลทางดานเศรษฐกิจตอไป อีกพันธุหนง่ึ เปน ไกพ นั ธพุ น้ื บา นของไทยเหมอื นกนั คอื ไกแจ เปน ไกพ นั ธเุ ลก็ นิยมเล้ียงไวดเู ลน แตใหไขดก ถา มกี ารปรบั ปรงุ พนั ธใุ หด อี าจกลายเปน ไกพ น้ื เมอื งพนั ธุ ไขไ ปกไ็ ด นอกจากน้ี ไกพ นั ธพุ น้ื เมอื งทน่ี ยิ มเลย้ี งไวต ามทอ งถน่ิ ตา งๆ ในประเทศไทยยังมี อีกหลายพันธุ อาทิ ไกตะเภา ไกเบตง เปน ตน ไกทุกเพศทุกรุน จะถกู ปลอ ยรวมกนั ในบรเิ วณบา น การผสมพนั ธเุ ปน ไปตาม ธรรมชาติ แมไกจะไดรับการผสมพันธุจากตัวผูที่คุมฝูง จาํ นวนไกพ อพนั ธุตอ แมพ นั ธใุ ห อยูประมาณ 1 ตวั ตอ แมพ ันธุ 7 ตวั แมไ กจะวางไขช ุดละ 10-15 ฟอง ปล ะประมาณ 3 ชุด เม่ือแมไ กวางไขจ นหมดชดุ แลว กจ็ ะหยดุ ไขแ ละเรม่ิ ฟก ไข เมอ่ื ลกู ออกเปน ตวั แมไ ก จะเลี้ยงดูลูกไกไประยะหนึ่ง จนลกู ไกห ากนิ เองได แมไ กจ ะเรม่ิ วางไขอ กี ครง้ั การสรา งคอกไก โดยทั่วไป เกษตรกรมกั จะมองไมเ ห็นความสาํ คญั ของการสรา งคอก หรือกรง สําหรบั ใหไ กพ น้ื เมอื งอาศยั อยู จึงมักประสบปญหาทั้งในแงที่ทําใหผลผลติ ที่ไดจากไกล ด นอยลงไป ปลอ ยใหศ ตั รขู องไกเ ชน สนุ ขั แมว งู พังพอน หนู นกเคา แมว หรือนกเหยี่ยว ทําอนั ตรายตอ ลกู ไก หรอื พอ แมไ กไ ดง า ย และยังเปนสาเหตุทาํ ใหไกมีโอกาสเกิดโรค ระบาดไดง า ย

เลี้ยงไกพื้นเมือง # 4 การสรางคอก หรอื กรงไกจ งึ นบั วา มคี วามสําคญั อยา งย่งิ มองขา มไมไ ดท เี ดยี ว สวนหลักในการสรา งคอกหรอื กรงไกพ น้ื เมอื งนน้ั มอี ยวู า ตอ งใชว สั ดทุ ม่ี อี ยใู นทอ งถน่ิ ไว กอน เพราะเปน หนทางหน่งึ ทีจ่ ะชวยประหยดั คากอสรา งได เชน ไมไผ แฝก หญาคา ใบ ตองตึง และจาก เปน ตน เพราะคอกหรอื กรงนน้ั มเี ปา หมายอยทู ก่ี ารปอ งกนั ลมและฝน และศัตรูของไก เมอ่ื เกดิ โรคระบาดกส็ ามารถควบคมุ ไดไ มใ หน าํ เชอ้ื ไประบาดในยา น อ่ืนๆ ไดด ว ย หรอื เมอ่ื ฉดี วคั ซนี กท็ ําไดง า ย ลักษณะของคอกหรือกรงไก ควรจะมลี กั ษณะดงั น้ี 1. ตองระบายอากาศไดด ี กนั ลมโกรก และกนั ฝนสาดไดด ี 2. สรา งไดง า ย ประหยัดเงิน 3. อากาศเยน็ สบาย ไมอ บั ชน้ื 4. รักษาความสะอาดไดง า ย ใชน า้ํ ยาฆาเชื้อโรคไดทั่วถึง 5. สะดวกตอ การเขา ไปปฏบิ ตั ดิ แู ลไก คอกไกที่นิยม สวนมากเปนแบบเพง่ิ หมาแหงน เพราะเปน แบบทส่ี รา งไดง า ย ไมซับซอน สว นหนา ของคอกใหอยทู างทศิ ตะวนั ออก สว นทา ยคอกอยทู างตะวนั ตก จะ ชวยลดผลเสียอนั เกดิ จากแดดในตอนบา ยเมอ่ื อากาศรอ นไดด ี และคอกไมค วรหนั หนา เขาหาแนวลมมรสมุ ควรมชี ายคายน่ื ยาวออกมาขา งละ 1 เมตร เพื่อบรรเทาไอแดด และละออง

เลี้ยงไกพื้นเมือง # 5 การปรบั ปรงุ บํารงุ พนั ธุ ไกพ น้ื เมอื ง ไกพ้ืนเมืองจะตอ งมกี ารปรบั ปรงุ บํารงุ พนั ธุ เพอ่ื ใหม ีสายพันธดุ ีขน้ึ โดยสามารถ ทาํ ไดง า ยๆ ดงั น้ี 1. คัดแตตัวที่ดีไวขยายพันธุตอไปโดยเฉพาะพอพันธุ อยาเสียดายตัวที่มี ลักษณะไมด ไี วใ นฝงู 2. อยาใหม กี ารผสมพนั ธกุ นั ระหวา งพอ กบั ลกู หรอื พน่ี อ งชดุ เดยี วกนั ผสมกนั ที่เราเรียกวาการผสมแบบเลือดชิด ควรมกี ารปรบั ปรงุ พอ พนั ธบุ อ ยๆ 3. อัตราสว น พอพันธแุ มพ ันธุไ มควรเกนิ 1 ตอ 10 (แมพันธุ 10 พอพันธุ 1) 4. ลักษณะของไกพ น้ื เมอื งทด่ี ี ควรมรี ปู ทรงดงั น้ี - หลงั กวา ง - กระดกู อก ยาว ลกึ ลาํ ตวั มคี วามจุ - ขาแข็งแรง ทึบ หนา หางกัน - คอสน้ั - ขนงอกเร็ว ลักษณะไกพ ืน้ เมอื งที่ไมดี - หลังแคบ - กระดกู อกส้นั ตน้ื - ขายาวบาง ชิดกัน - คอยาว - ขนงอกชา 5. เนนลักษณะ การเจรญิ เตบิ โตเรว็ เปน หลกั มากกวา การใหไ ข เพราะลักษณะ นี้คัดไดงายกวา และโดยทว่ั ไปเราเลย้ี งไกพ น้ื เมอื งเพอ่ื กนิ เนอ้ื มากกวา เพอ่ื กนิ ไข การเลอื กและฟก ไกพ น้ื เมอื ง ไขฟก คือ ผลทเ่ี กดิ จากการผสมพนั ธใุ นการสบื สายเลอื ดลกู ยอ มไดล กั ษณะ ตางๆ ของพอ พันธแุ ละแมพนั ธุ ซง่ึ อาจไดท ง้ั ลกั ษณะดแี ละลกั ษณะเลว การคดั เลอื กไข เขา ฟก จงึ ควรพจิ ารณาดงั น้ี 1. ควรเปน ไขท ม่ี าจากฝงู พอ พนั ธุ แมพันธุที่ดี 2. ภายนอกสะอาด ไขร ปู ทรงปกตไิ มร า ว ไมเบี้ยว เปลอื กบาง ชอ งอากาศ หลุดลอยหรืออยูผิดที่ มจี ดุ เลอื ดโต เปน ตน 3. ขนาดไข ไมใ หญห รอื เล็กเกินควร

เลี้ยงไกพื้นเมือง # 6 4. ไมควรเกบ็ ไวน านเกนิ 14 วัน โดยเฉพาะในฤดรู อ น อณุ หภมู ทิ เ่ี กบ็ ไขค วร อยูระหวาง 50-60 องศาฟาเรนไฮต (18 องศาเซลเซยี ส) ความชน้ื ในหอ งเกบ็ 80- 90 เปอรเ ซน็ ต 5. ควรมีการกลบั ไขว นั ละครง้ั กอนแมไกจะฟก 6. จาํ นวนไขฟ ก ควรอยรู ะหวา ง 10-12 ฟอง ดงั นน้ั ไข 1-2 ฟองแรกควรนํา ไปบริโภคจะดีที่สุด เพราะไขจ ะมเี ลก็ วา ปกติ อายุการเก็บมักจะเกิน 14 วัน เชื้อมักจะ ไมดีและจะเปนการแกปญหา “ไขล น อกแม” ไปในตวั ดว ย 7. หมั่นตรวจรังฟกอยูเสมอวามีตัวหมัด เหา ไร บา งหรอื เปลา ถามีใหยายแม ไกและไขฟ ก ไปรงั อน่ื สว นรงั ทม่ี ี หมัด เหา ไร น้นั ใหเผาไฟเสยี ปอ งกนั ไมใ หแพรพ นั ธุ ตอไป เพราะไรเปน ศตั รสู าํ คญั ในการบน่ั ทอนสขุ ภาพของไก หากมี เหา ไร เหลอื อยใู น รัง เมอ่ื ลกู ไกก ะเทาะเปลอื กไขอ อกมา จะถูกตัว เหา ไร กดั กนิ เลอื ด ทําใหลูกไกเสียสุข ภาพตั้งแตเล็กๆ เปน ของไมด เี ลย ฉะนน้ั ขอใหท า นระวงั เรอ่ื งนใ้ี หจ งหนกั 8. ในหนารอน (มนี าคม-เมษายน) แมไกจะฟกไขออกไมดี ควรพน นา้ํ ที่ไขฟก แมไกฟก ไขไดประมาณ 1 สัปดาห พนเชา-บา ย บรเิ วณรงั ไขท กุ วนั จะชว ยใหไ ขฟ ก ออก ไดม ากขน้ึ การสอ งไขฟ ก ประโยชนของการสอ งไขเ พอ่ื เอาไขท ฟ่ี ก ไมอ อก เชน ไขไ มม เี ชอ้ื ไขเ ชอ้ื ตาย และ ไขเสียออกทง้ิ กอ นทม่ี นั จะแตกสง กลน่ิ เหมน็ ในรงั ฟก การปฏิบัติเชนนี้ยิ่งทาํ ไดม ากครง้ั ก็ยิ่งชวยเปอรเซ็นตการฟกมากขึ้น สาํ หรับไขท ี่ไมม ีเชอ้ื ทสี่ อ ง 3 วัน อาจใชป รงุ อาหารได วิธีทําทส่ี อ งไขอ ยา งงา ยๆ อาจทาํ ไดโ ดยอาศัยแสงแดด ดว ยการมว นกระดาษ แข็งเปนวงกลมขนาดไข แลวนาํ ไขฟ ก มาใสต รงปลายกระดาษมว น แบบยอนแสงแดด ถาไขมีเชื้อแลวจะเหน็ เปนรางแห เสน เลอื ดกระจายอยใู นไขฟ ก ถา ไมม ีเช้อื ไขฟก จะวา ง เปลา วธิ เี ลย้ี งลกู ไกว ยั ออ น เมื่อลูกเจี๊ยบออกจากไขสักพักหนึ่ง ขนที่เปยกอยูจะแหง และเรม่ิ เดนิ เตาะแตะ ไดแลว แตย งั อยใู นความดแู ลของแมไ กต อ ไป ในระยะเวลาประมาณ 7 วนั แรก ลูกไกวัย ออนยังอยูในระยะอันตรายมากไมสมควรที่จะปลอยใหแมไกออกจากกรง มาเที่ยวคุย เขี่ยควรขังแมไกเอาไว โดยใชส มุ หรอื กรงขงั พเิ ศษทป่ี ลอ ยใหล กู ไกอ อกมาเดนิ เลน ยดื เสนยืดสายได แตต อ งระมดั ระวงั ศตั รขู องลกู ไก เชน หมาและแมงใหมาก บางทีเหยี่ยวก็ เปนตวั อนั ตรายมากตวั หนง่ึ

เลี้ยงไกพื้นเมือง # 7 การปลอ ยแมไ กอ อกมาคยุ เขย่ี อาหารใหล กู ไก ควรทาํ ไดบ า งหลงั จาก 1 สัปดาห ไปแลว แตไ มค วรปลอ ยในเวลาเชา ตรู เพราะน้าํ คางยังไมแ หง และไมค วรปลอ ยในเวลา ที่ฝนกาํ ลงั ตกหรอื เพง่ิ หยดุ ตกใหมๆ จะทาํ ใหลูกไกหนาวตายได และที่คอยระวังใหดีก็ คือตัวแมไ กเ อง เพราะบางทแ่ี มไ กเ องอาจปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องแมบ กพรอ ง เชน นาํ ลกู ไป เที่ยวตามที่ชื้นแฉะ หรอื ตามปา รกรา ง บอ ยครง้ั ในเวลาคยุ เขย่ี อาหารใหก บั ลกู ไก แมไก อาจทาํ ใหเศษไม เศษหิน เศษดิน กระเดน็ ไปถกู ลกู เขา กไ็ ด เปนเหตุใหลูกไกบอบชาํ้ เสียสุขภาพหรอื อาจถงึ พกิ ารตง้ั แตย งั อยใู นวยั ออ นหรอื ไมก อ็ าจทาํ ใหถ งึ ตายได เมื่อลูกไกอายุไดประมาณ 1 เดอื น หรอื เกนิ กวา นไ้ี ปแลว จึงคอยใสใจนอยลง นอกจากเร่ืองของอาหาร เพราะในวยั ขนาดนล้ี กู ไกข องเราแขง็ แรงพอแลว การทเ่ี ราไม ประคบประหงมลูกไกในชว งทกี่ าํ ลงั เตบิ โต เชน น้ี จะยง่ิ เปน ผลดตี อ ลกู ไกด ว ยซา้ํ เพราะ จะทําใหลูกไกมีชีวิตชีวา กระโดดโลดเตน ไปตามธรรมชาตขิ องมนั ลกู ไกจ ะแขง็ แรงและ อดทนทรหด ในลานปลอยควรมีท่ีทางกวางขวางเพียงพอท่ีลูกไกจะว่ิงเลนซุกซนไดเพียงพอ ถาเปนลานหญา ก็จะดมี ากๆ เพราะลกู ไกจ ะไดม โี อกาสวง่ิ ไลจ บั แมลงในทแ่ี จง ไดน านๆ และควรเปนลานที่มีแสงสวางสองทั่วถึง ในเวลากลางคนื ควรใหล กู ไกไ ดห ลบั นอกตาม ความสมัครใจ แตต อ งใหล กู ไกน อนบนคอนเตย้ี ๆ หางๆ อยา ใหน อนบนลานเดด็ ขาด เพราะจะทาํ ใหม นั เสยี สขุ ภาพ กระดกู แขง ขาจะไมแ ขง็ แรง ไมม น่ั คง การใหอาหารลูกไก การใหอาหารลูกไกน ้ัน มคี วามสาํ คญั ไมน อ ย เพราะลกู ไกต า งอายกุ นั ยอ ม ตองการอาหารไมเ หมอื นกนั วธิ ใี หอ าหารขอแนะนํา ดงั น้ี ลูกไกอ ายุ 1 วนั เม่ือแรกเอาลงจากรงั ยงั ไมส มควรจะใหก นิ อาหารกอ น เพราะ ลูกไกม อี าหารสํารองหรอื ไขแ ดงอยใู นกระเพาะแลว จงึ ควรใหก นิ เฉพาะนา้ํ สะอาดและ กรวดทรายเมด็ เลก็ ลูกไกอ ายุ 2-7 วนั ควรใหกนิ ปลายขา วผสมกบั อาหารไกท ข่ี ายเปน ถงุ ตาม รานขายอาหารสัตวทั่วไป จะสะดวกตอการเลี้ยงและทาํ ใหลูกไกโตเร็ว ให 2 เวลา เชา และเย็น และใหกนิ ครง้ั ละนอ ยๆ เทาที่ลูกไกจะกินหมดภายใน 3 ถงึ 5 นาที และมนี า้ํ สะอาดกับกรวดทรายเล็กๆ ตกั ทง้ิ ไวใ หก นิ ตลอดวนั ลูกไก 8-30 วนั เปนระยะที่ลูกไกหาอาหารอื่นๆ กนิ ไดบ า งแลว แตเ ราตอ งมี อาหารใหลูกไกวัยนี้กินดวยเชนกัน อาหารลกู ไกอ ายปุ ระมาณ 2 สปั ดาหข น้ึ ไป มปี ลาย

เลี้ยงไกพื้นเมือง # 8 ขา วอยา งดี 2 สวน หรือจะเปนจาํ พวกรําขา วหยาบจากโรงสใี นทอ งถน่ิ กไ็ ด เพราะคงจะ สะดวกในการจัดหา รวมกบั อาหารไกร นุ ใชเ ลย้ี งลกู ไกพ น้ื เมอื งไดจ นอายุ 30 วัน เมอ่ื พนระยะดังกลาวไปแลว ไกพ น้ื เมอื งกโ็ ตพอทจ่ี ะหาอาหารจากธรรมชาตไิ ดเ อง การใหอ าหารไกร นุ อายุ 30 ถงึ 70 วนั อายุไกรุนขนาดนี้ การใหอ าหารงา ยมาก ผเู ลย้ี งควรตง้ั ตน ใหก นิ ขา วกลอ งและ ขาวเปลือกไดแ ลว ในวนั ตอ ๆ ไปใหก นิ ขา วเปลอื กอยา งเดยี ว วนั ละครง้ั ตอนบา ย แตถา หากในลานที่ผเู ล้ียงปลอ ยใหไกอาหารไดเองจากธรรมชาติ เชน ไสเ ดอื น ปลวก แมลง แกลบ และหญา ออนๆ ไมค อ ยได กใ็ หผ เู ลย้ี งเพม่ิ อาหารมอ้ื เชา และมอ้ื กลางวนั ใหไ กร นุ ดวย สาํ หรับมื้อเชาควรใหจาํ พวกผัก ตอนกลางวนั ควรเปน ขา วสารหรอื ขา วหงุ สกุ มอ้ื เย็นใหขาวเปลือก ในฤดรู อ นและฤดฝู นไกม กั จะขาดสารอาหาร ควรใหอ าหารเสรมิ จาํ พวกใบกระถิน โดยการนาํ ไปตากแหง แลวแชนํ้าสะอาด 1 วัน เพอ่ื ลดสารพษิ จะชวย เพ่ิมธาตอุ าหารใหแ กไ กพ น้ื เมอื งเปน อยา งดี การใหอาหารไกใ หญ (อายุ 70 วนั ขึ้นไป) ในชวงอายุขนาดนี้ ไกจะอยูในระยะที่จะเริ่มใหผลผลิต เชน ไขไก เมอ่ื เตบิ โตถงึ ข้ันนี้แลว ไกจ ะมคี วามสามารถในการหาอาหารตามธรรมชาตไิ ดด ี แตเ นอ่ื งจากระยะน้ี ไกเร่ิมใหผลผลติ เพอ่ื การสบื พนั ธุ ไกจ งึ มคี วามตอ งการอาหารเพม่ิ มากขน้ึ กวา ปกตจิ าก ท่ีเคยตองการอาหารเพอ่ื ดํารงชพี และความเตบิ โต การเสรมิ อาหารในระยะนจ้ี งึ มคี วาม จําเปน นอกจากรําขา ว ปลายขา ว ขา วเปลอื ก ถา เปนไปไดค วรจะมกี ารเสรมิ วตั ถดุ บิ ทีใ่ ห สารอาหารที่เปนแรธาตุจาํ พวกแคลเซียมและฟอสฟอรัส ซง่ึ มอี ยใู นเปลอื กหอย และ กระดองปู ซง่ึ เปน สง่ิ จาํ เปน สาํ หรบั ไกน ําไปใชส รา งเปลอื กไข เปลอื กหอย และกระดองปู จะมอี ยมู ากในฤดฝู น การจุดไฟใหแ สงสวา งภายในบา นจะเปน ประโยชนใ นการรวบรวมแมลง ซง่ึ เปน อาหารอยางหนง่ึ ของไกพ น้ื เมอื งไดเ ปน อยา งดี โดยวิธีจัดใหมีภาชนะใสนาํ้ รองรบั ไวใ ต หลอดไฟ หรือตะเกยี งเมอ่ื ถงึ เวลาเชา คอ ยชอ นแมลง รวบรวมเอาไปใหเ ปน อาหารไก ตอไป ปริมาณสารอาหารทไ่ี ดจ ากแมลงจะชว ยลดปญ หาการขาดแคลนโปรตนี ในไกไ ด ระดับหน่ึง ในระยะที่ไกมีอายุเกิน 70 วนั ขน้ึ ไป ควรตดั ปากไกเ พอ่ื ปอ งกนั การจกิ กนั และจะชวยใหไกเจริญเติบโตไดดี ชวยปองกันมิใหไกเกิดบาดแผลโดยไมจําเปน # ทม่ี า : วารสารเกษตรกาวหนา ปที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม – กมุ ภาพนั ธ 2535