Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้ยาปฏิชีวนะในโคนมทำอย่างไร

การใช้ยาปฏิชีวนะในโคนมทำอย่างไร

Description: การใช้ยาปฏิชีวนะในโคนมทำอย่างไร.

Search

Read the Text Version

การใชย าปฏชิ วี นะในโคนมทาํ อยางไร เมื่อโคนมเกิดอาการเจ็บปวยข้ึน สิ่งที่เกษตรกรซึ่งเปนเจาของโคนมเหลานั้น ตองการมากท่ีสุดคือ ทําอยางไรที่จะรักษาอาการเจ็บปวยใหหายโดยเร็วท่ีสุด แต เกษตรกรไมไ ดน กึ ถงึ ผลเสยี ทเ่ี กดิ จาก การตกคา งของยาปฏชิ วี นะทใ่ี ชร กั ษา ซง่ึ มผี ลตอ ผบู ริโภคนาํ้ นม, เนื้อ และตอ ตวั แมโ คเอง ดงั นน้ั ขา วโคนมฉบบั พเิ ศษ “ครบรอบ 30 ป อ.ส.ค.” จึงขอเปด ศักราชใหม ดว ยการแนะนําการใชย าปฏชิ วี นะอยา งถกู ตอ งเพอ่ื เปน ประโยชนแกเกษตรกรผูเลี้ยงโคนม และผูบริโภคนํ้านมตอ ไป หลกั การใชย าปฏชิ วี นะ 1. เมอื่ จําเปน จรงิ ๆ เทา นน้ั โปรดจาํ ไววา ยาปฏิชีวนะไมใชยาลดไข 2. มีความรูและความเขา ใจเรอ่ื งการใชย านน้ั ๆ อยา งจรงิ จงั 3. อยา ใชเ พอ่ื การปอ งกนั โรค 4. ใหต ามขนาด และระยะเวลาที่กาํ หนด 5. ควรอยใู นความดูแลของสัตวแพทย 6. ตองงดสวนนมและเนื้อจากแมโคที่ไดรับยา ตามระยะเวลาทก่ี าํ หนด อันตรายจากการใชย าปฏชิ วี นะโดยไมถ กู ตอ ง ตอ ตวั สตั ว - แพยา อาจถงึ ตายได - เชื้อโรคดื้อยา (เหมอื นกบั ทแ่ี มลงดอ้ื ตอ ยาฆา แมลง) - เปน พษิ ตอ ตวั สตั ว ตอ มนุษย - มักมีสาเหตมุ าจากการตกคา งของยาในน้ํานมและเนอ้ื สตั ว - แพยา อาจถงึ ตายได - ด้ือยา เพราะไดร บั ยามากบั อาหารเสมอ จนเชอ้ื โรคมคี วามทนตอ ยา ทาํ ให รักษายาก หรอื ไมไ ดเ ลย - สงผลตอ ทารกในครรภ ทาํ ใหพิการ หรอื รปู รา งผดิ ปกติ - อาจเปน สาเหตขุ องมะเรง็ - เปน พษิ เรอ้ื รงั

2 ตอการเลย้ี งโคนมและอุตสาหกรรม - เปนอุปสรรคในการแปรรปู น้าํ นมเปน ผลติ ภณั ฑอ น่ื เชน นมเปรย้ี ว เนย แข็ง เปน ตน - การจาํ หนา ยนา้ํ นมทําไดย ากขน้ึ เน่ืองจากผบู รโิ ภคไมม น่ั ใจในความปลอด ภัย ตัวอยา งอนั ตรายจากยาตกคา งในเนอ้ื , นมผลิตภัณฑสัตว DDT ทําลายประสาท ตอ มาจะตาย ยาปฏิชีวนะ เชน TETRACYCLIN SULFONAMIDE อน่ื ๆ ทําลายตบั , ไต ทาํ ให อาเจียน ทองรวง ในเด็กทาํ ใหฟก มสี นี า้ํ ตาล เกดิ อาการผน่ื คนั และโลหติ จาง ทําใหเ ดก็ แรกเกดิ มีผวิ หนงั สเี ทา ทําลายไขกระดกู คุณภาพนาํ้ นมดิบ ระเบียบ อ.ส.ค. วา ดว ยการรบั ซอ้ื นา้ํ นมดบิ พ.ศ. 2522 ขอ 8. โคทกุ ตวั ในฝงู ของสมาชกิ ตอ งปราศจากโรคตดิ ตอ ตาม พ.ร.บ. โรคสัตว หรอื โรคอน่ื ตามท่ี อ.ส.ค. กําหนด (คอบวม, กาลี, ปากและเทา เปอ ย, แทง ตดิ ตอ และ วณั โรค) ขอ 12. สมาชกิ ตอ งไมส ง น้าํ นมจากแมโ คตอ ไปน้ี 12.1 น้าํ นมเหลอื งจากแมโ คทค่ี ลอดลกู ใหม 12.2 น้าํ นมจากแมโ คทเ่ี ปน โรคเตา นมอกั เสบ 12.3 น้าํ นมจากแมโคที่ไดรับจากการรักษาดวยยาใดๆ ที่นายสัตวแพทย ส่ังมิใหส ง นมตามกาํ หนดของยาชนดิ นน้ั ๆ ระเบียบ อ.ส.ค. วา ดว ยการใหร าคานา้ํ นมดิบ พ.ศ. 2525 ขอ 10. น้าํ นมดบิ ของสมาชกิ ที่ อ.ส.ค. ตรวจพบวา 10.1 มีจาํ นวนจลุ นิ ทรียทนความรอ นเกนิ กวา 5,000 ตวั ตอ มลิ ลลิ ติ ร จะ ถูกตดั ราคานา้ํ นมดบิ 20 สตางค ตอ กโิ ลกรมั 10.2 มีจาํ นวนเซลลเ กนิ กวา 4,000,000เซลลตอ มลิ ลลิ ติ ร จะถกู ตดั ราคา น้าํ นมดบิ 20 สตางค ตอ กโิ ลกรมั (ทั้ง 2 กรณีน้ี จะพบเมอ่ื มกี ารรดี นมววั ทเ่ี ปน โรคเตา นมอกั เสบ สง ปนมากบั นมปกติ หรือเกดิ จากการรดี นมทไ่ี มส ะอาด, อุปกรณร ดี นมสกปรก) 10.3 มกี ารเตมิ นา้ํ หรอื สารอน่ื ใดเพอ่ื เพม่ิ ปรมิ าณ จะถูกปรับเปนจาํ นวน เทากับ 30 เทา ของจํานวนคา นา้ํ นมดบิ ในวนั ทต่ี รวจพบ

3 10.4 มกี ารเตมิ สารเคมี หรอื ยาปฏชิ วี นะอน่ื ใด จะถูกปรับเปนจาํ นวนเงนิ เทากับ 30 เทา ของจํานวนคา นา้ํ นมดบิ ในวนั ทต่ี รวจพบ ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ท่ี 26 (พ.ศ. 2522) ขอ 7. นมสดตอ งไมม สี ารอน่ื ทอ่ี าจเปน พษิ ในปรมิ าณทอ่ี าจเปน อนั ตรายตอ สขุ ภาพ เชน ยาปฏชิ วี นะ สารตกคา งจากยาฆา แมลง ขอ มลู ทน่ี า สนใจ - PENICILLIN ไมถูกทาํ ลายดว ยขบวนการพาสเจอไรซ - โรคบางชนดิ เชน วณั โรค แทง ตดิ ตอ แอนแทรกซส ามารถตดิ ตอ มายงั คน โดยผา นทางน้ํานม ตัวอยางยาที่ระบุระยะเวลางดจาํ หนา ยนม และการหยดุ ใหย ากอ นสง โรงฆา ชอ่ื ยา ชอ่ื การคา งดสง นม หยุดใหยา ยารกั ษาโรคเตา หลงั หยุดใหยา กอ นสง โรงฆา นมอกั เสบแบบ (วนั ) (วนั ) เขา เตา กานาซลิ นิ KANACILLIN ? 3 กาลมิ ยั ซนิ GALLIMYCIN 36 14 1.5 คลอ็ กซาเจล CLOXAGEL 200 ? 3.5 ลีโยเยลโล LEOYELLOW ? 3.5 อัลบาซิลิน ALBACILLIN 15 3 แอมปค ลอ็ ก AMPICLOXLC ? 2.5 ยาถายพยาธิ โทรเดก็ TRODAX 30 3 นมี าแพก็ NEMAFAX 73 ลีวามีโซล LEVAMISOL 2 ? วลั บาเซน็ VALBAZEN 10 ไมควรใชกับโครีดนม ไวโอเมก็ IVOMEC 21 28 ยาลดไข แกอ กั เสบ เดก็ ชา DEXA 0.2 3? เด็กชาโทมานอล DEXATOMANOL 12 4

4 ✪ ยาถายพยาธิไมควรใหแกโคขณะรีดนม แตค วรใหใ นชว งดราย หรอื ชว งกอ นคลอด เพราะจะไดประโยชนถึง 2 อยา ง คอื 1. ไมตอ งงดสง นม (เพราะดรายอยูแลว ) 2. ลูกโคในทองจะไดรับการปองกันการติดพยาธิจากแม เม่ือ คลอดออกมากจ็ ะสมบรู ณแ ขง็ แรง ยาปฏชิ วี นะ KANAPEN 2.5 7 กานา เพน KANAMYCIN ? 5 กานา มยั ซนี CLAMOXYLLA 3 14 คลามอ็ กซลิ KANGEN ? 10 แคนเยน GENTAJECT 7 35 เจนตาเจ็ค SHORTAPEN 5 10 โซตาเพน SULFATRIM 3 10 ซลั ฟาทริม TERRAMYCIN ? 7 เทอรามัยซิน PENBRITIN 3 14 เพนบริตนิ PENSTREPLA 5 30 เพนสเตรป-แอลเอ PEN & STREP 2 30 เพนแอนสเตรป SPECTAMGA 3 10 สเปคแตม OXYNACIN 6 21 ออกซน่ี าซนิ ERYMYCETIN 3 2 อรี มิ ยั ซดิ นิ AMPIJECT 2 6 แอมพเิ จค AMPILLIN 5 6 แอมพลิ นิ AMPHOPRIM 2 5 แอมโฟพรมิ ยาอน่ื ๆ OXYTOCIN 3 21 ออกซโี ตซนิ ตัวอยา งงดสง นม วนั ท่ี 1 มกราคม พบวาแมโคหมายเลข ML 20001 เปน เตา นม อกั เสบ เตาหนาขวา หมอมาตรวจแลว ใสย ากานาซลิ ินเขา เตา 1 หลอด และใหยาไวใส ตอ อกี 2 หลอด สําหรับวันที่ 2 และ 3 พอใสย าครบ 3 หลอด กพ็ บวา เตา นมหายเปน ปกตดิ ี ในกรณนี ้ี จะตองงดนมทั้ง 4 เตา ตั้งแตวันที่ 1,2,3 มกราคม ซง่ึ เปน ชว งการ รักษาและหยดุ สง ตอ อกี 3 วัน คอื วันที่ 4,5,6 มกราคม (เพราะกานาซิลินมีระยะหยุด สงนม 3 วัน-ดขู อ มลู ขา งบนประกอบ หมายเหตุ ? = ไมระบรุ ะยะเวลาทแ่ี นน อนในการหยดุ ยา ในกรณีที่จําเปน ตอ งใชย า ชนิดน้ันควรงดสง นมอยา งนอ ย 3 วัน หลงั ใหย าครง้ั สดุ ทา ย

5 กรณีท่ีไมทราบระยะเวลางดสง นมของยาทใ่ี ช ควรงดสง นมอยา งนอ ย 3 วัน การใหยาปฏิชีวนะแกสัตว ไมวาจะใหโดยทาง กิน ฉดี ใหเ ขา เตา หรอื แมแ ต การลางมดลูกกต็ าม มผี ลใหย าตกคา งในนา้ํ นมและเนอ้ื ในปรมิ าณและระยะเวลาทเ่ี ทา กัน ดังน้ันจึงตอ งงดสง นมและสง โคเขา โรงฆา ตามระยะเวลาทก่ี าํ หนด เหมอื นกนั ทกุ ประการ ✎ ที่มา : วารสารเกษตรกาวหนา ปที่ 7 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2535