Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รู้เขา รู้ระวัง รู้เท่าทัน สินทรัพย์ดิจิทัล

รู้เขา รู้ระวัง รู้เท่าทัน สินทรัพย์ดิจิทัล

Description: รู้เขา รู้ระวัง รู้เท่าทัน สินทรัพย์ดิจิทัล.

Search

Read the Text Version

1

2 คำนำ ในยุคทีเ่ ทคโนโลยีมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ววิ ฒั นาการของโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน มผี ลกระทบ ตอ่ ผู้คนอยา่ งมาก ไม่วา่ จะเป็นด้านการสือ่ สาร การคมนาคม ตลอดจนด้านการเงนิ การลงทุน ในช่วงไม่ก่ีปีท่ีผ่านมา คาวา่ “บทิ คอยน์” “คริปโทเคอรเ์ รนซี” “โทเคน/เหรยี ญดิจิทัล” เป็นศพั ท์ท่ีไดย้ ิน หนาหู บางครงั้ ก็มคี นมาชวนลงทนุ บอกวา่ ผลตอบแทนงาม กาไรเร็ว บางครัง้ กม็ ีคนบอกให้ระวังเพราะราคาผนั ผวน ขาดทนุ หรือหมดตวั ได้งา่ ย ๆ แลว้ ความจรงิ คอื อะไร คาขา้ งต้นอยู่ภายใต้นิยามของคาว่า “สินทรพั ยด์ ิจิทัล” ซึ่งเปน็ เรอ่ื งท่ีอย่ใู กลต้ ัวผบู้ รโิ ภค และผลู้ งทุน มากกว่าที่คดิ จาเป็นต้องร้จู กั และรูเ้ ท่าทัน โดยเฉพาะในช่วงทดี่ อกเบย้ี เงินฝากลดต่าลงมาก มักมีการแอบอ้าง สินทรัพย์ดิจิทลั หวังหลอกลวงใหล้ งทุน อ้างว่าลงทุนในเทคโนโลยีบ้าง ลงทุนในโทเคนบา้ ง ลงทุนส่ิงท่ีเป็นอนาคต บ้าง แล้วใช้ผลตอบแทนทีส่ ูงเกินจริงเปน็ สง่ิ ลอ่ ใจ หวงั ใหผ้ ไู้ มร่ ู้หลงกลนาเงนิ ไปลงทนุ เข้าหว่ งโซ่ของมจิ ฉาชีพ เหรยี ญมีสองด้านเสมอ สินทรัพย์ดิจิทัลมปี ระโยชน์ในภาคของการระดมทนุ เพื่อให้บรษิ ัทหรือองคก์ รที่มี แนวคิดหรอื โครงการใหม่ ๆ มีโอกาสระดมทนุ จากคนทว่ั ไปโดยการออกโทเคน/เหรยี ญดจิ ิทลั ทเี่ รยี กกันวา่ ไอซโี อ (Initial Coin Offering : ICO) จากพัฒนาการของการเติบโตของสนิ ทรัพยด์ ิจทิ ลั อย่างรวดเรว็ น่เี อง หากประชาชนจะไปลงทุนทั้งท่ีไม่ร้จู กั สินทรัพยด์ จิ ิทลั ประเภทตา่ ง ๆ อยา่ งถ่องแท้ เปน็ ความเสยี่ งท่ไี ม่มีใครดูแล จงึ เป็นทีม่ าของการตรา พระราชกาหนด การประกอบธุรกจิ สินทรัพยด์ ิจิทลั พ.ศ. 2561 ขนึ้ เพือ่ เป็นเครือ่ งมือให้หน่วยงานกากบั ดูแลมีบทบาทและอานาจ หนา้ ทสี่ ร้างมาตรฐานในสว่ นที่เกยี่ วข้องกบั การระดมทุนด้วยการออกโทเคนดิจทิ ัล และการกากับผู้ให้บริการซือ้ ขาย แลกเปลยี่ นสินทรัพยด์ จิ ิทลั สนิ ทรัพยด์ ิจทิ ัล นบั เปน็ เรื่องใหม่ ทสี่ านกั งานคณะกรรมการกากับหลกั ทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์ (สานกั งาน ก.ล.ต.) ตอ้ งการติดอาวุธความรใู้ ห้แก่ประชาชนและผลู้ งทุนใหร้ จู้ ักและเข้าใจเก่ียวกับสินทรัพยป์ ระเภท ใหม่ของโลก คมู่ ือฉบับน้จี ะมาชว่ ยคลายความสงสัยวา่ สนิ ทรัพยด์ ิจิทลั คืออะไร การลงทนุ ในสินทรพั ยด์ จิ ทิ ลั เหมาะ กับเราหรือไม่ สินทรัพยด์ ิจทิ ัลมคี วามเส่ยี งอย่างไร และผ้ลู งทนุ จะไดร้ ับความคุ้มครองภายใตก้ ฎหมายท่ีกากบั ดูแล โดย ก.ล.ต. อยา่ งไร เพือ่ ให้ รเู้ ขา...รูร้ ะวัง..และรเู้ ทา่ ทันสนิ ทรัพยด์ จิ ิทลั

3 สำรบัญ หนำ้ 2 คานา 3 สารบัญ 4 5 เรื่องนา่ รู้ก่อนลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทลั 5 ❖ ร้จู ักสินคา้ – Bitcoin vs. ICO vs. Blockchain เกีย่ วขอ้ งกันแตไ่ ม่ใชส่ ่งิ เดยี วกนั 6 • ครปิ โทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) • โทเคนดิจทิ ลั (Digital Token) 8 • บล็อกเชน (Blockchain) 12 ❖ ร้จู กั คนขาย • ผูร้ ะดมทนุ : ICO Issuer 16 • ผู้กลั่นกรอง : ICO Portal • ตัวกลางในการแลกเปลี่ยน 19 o ศูนยซ์ อ้ื ขายสินทรัพย์ดจิ ิทลั (Exchange) 20 o นายหนา้ ซือ้ ขายสนิ ทรพั ย์ดจิ ิทลั (Broker) o ผ้คู า้ สนิ ทรัพย์ดิจทิ ลั (Dealer) ❖ รจู้ ักกลไกตลาด • ข้ันตอนการเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ICO) • การซ้ือขายเปล่ียนมือ • เปรยี บเทียบ ICO กับ IPO • ใครลงทุน ICO ไดบ้ า้ ง ❖ รู้ระวงั ความเสย่ี ง • คาเตือนในการลงทุน • 5 คาถามก่อนลงทนุ • เชค็ ให้ชัวร์ว่าคุณพร้อมลงทนุ ใน “ICO” หรือไม่ ก.ล.ต. กับการกากบั ดูแลสินทรัพย์ดิจิทลั ❖ สรปุ สาระสาคญั ของพระราชกาหนดการประกอบธรุ กิจสินทรัพย์ดจิ ทิ ัล พ.ศ. 2561 • เหตุผลและความจาเป็นในการตราพระราชกาหนด • วนั ใช้บังคบั • การปอ้ งกนั การนาสนิ ทรพั ยด์ ิจทิ ลั ไปสนบั สนนุ ธุรกรรมท่ผี ิดกฎหมาย • การป้องกนั การกระทาอันไม่เป็นธรรมเกยี่ วกับการซื้อขายสินทรพั ย์ดิจทิ ัล • อานาจของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี • บทกาหนดโทษ ถาม – ตอบ ชอ่ งทางการติดต่อ

4 5 เรอื่ งนำ่ รกู้ ่อนลงทุนในสินทรัพย์ดจิ ิทัล แท้จรงิ แลว้ การลงทุนก็ไมไ่ ด้ต่างไปจากการซื้อส่ิงของในชวี ิตประจาวนั เลย เพราะก่อนทเ่ี ราจะตัดสนิ ใจซ้ือ สง่ิ ของ เรากต็ อ้ งทราบกอ่ นว่าส่ิงที่จะซื้อคืออะไร คนขายนา่ เชือ่ ถือหรือไม่ ไดร้ บั ใบอนุญาต ถูกต้องตามกฎหมาย หรอื ไม่ มีกลไกการผลติ อยา่ งไร มขี ้อดี ข้อเสีย ทีต่ ้องระวงั ไหม หรอื มีข้อจากัดอะไรหรือเปล่า การลงทุนในสินทรัพยด์ จิ ิทลั ก็เช่นกัน อนั ดับแรกเราต้องทาความรู้จกั สินค้ำใหด้ ีเสยี กอ่ น ตอ้ งศึกษาให้ เขา้ ใจถึงรายละเอียด วา่ สินทรัพยด์ จิ ทิ ลั นัน้ มีกป่ี ระเภทและสิทธิประโยชน์ทจี่ ะได้รับน้นั มีอะไรบา้ ง อีกท้งั ตอ้ ง ร้จู ักคนขำยหรือบริษัทผู้ออกสินทรพั ย์ดิจิทัลว่าเข้าขา่ ยที่กฎหมายกาหนดใหต้ ้องขอใบอนญุ าตจาก ก.ล.ต. หรือไม่ หากเขา้ ข่ายจริง แลว้ บรษิ ทั เหลา่ นั้นไดร้ บั ใบอนญุ าตจาก ก.ล.ต. แล้วหรือยงั รวมถึงตอ้ รู้จักกลไกตลำดของ สินทรพั ย์ดจิ ิทลั ดว้ ยว่ามีกระบวนการออกและเสนอขายอย่างไร มีช่องทางในการซ้ือขาย เปลี่ยนมืออย่างไรบา้ ง และทีส่ าคัญ ผ้ลู งทุนจะต้องรู้ระวังควำมเสยี่ งที่อาจจะมีโอกาสได้รับอกี ด้วย สุดท้ายเม่ือผ้ลู งทุนตัดสินใจลงทุนใน สินทรัพยด์ จิ ิทัลแล้ว ผ้ลู งทนุ จะตอ้ งรู้ขอ้ จากดั รจู้ ักขอบเขตในการลงทุนของตนเอง ว่าสามารถลงทนุ ไดจ้ านวน เท่าไร พร้อมทง้ั หมัน่ ติดตามข่าวสารทีเ่ กี่ยวข้องกบั สินทรัพย์ดิจทิ ัลวา่ มีความเคล่ือนไหวอย่างไร หนว่ ยงานท่กี ากบั ดแู ลมกี ารประกาศเตือนหรือออกกฎหมายท่ีเก่ียวข้องอย่างไรและประเมินความสามารถในการรบั ความเส่ียงจาก การลงทนุ เสมอ

5 รจู้ กั สนิ ค้ำ • ครปิ โทเคอรเ์ รนซี (Cryptocurrency) คอื หน่วยข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์ทีส่ ร้างข้ึนเพ่ือใชเ้ ป็นสื่อกลางในการแลกเปลย่ี นสนิ ค้า บริการ สินทรัพย์ ดจิ ิทลั อืน่ หรือสิทธิอืน่ ใด โดยสามารถใช้เปน็ สอ่ื กลางในการแลกเปล่ยี นสินคา้ และบรกิ ารไดห้ ากผู้ใช้ยอมรบั ปจั จุบันคริปโทเคอรเ์ รนซียงั ไมใ่ ชเ่ งนิ ทธ่ี นาคารกลางใดในโลกรับรองวา่ สามารถใช้ชาระหนีไ้ ดต้ ามกฎหมาย (legal tender) ครปิ โทเคอร์เรนซีท่รี ู้จักกันแพรห่ ลาย เชน่ Bitcoin Ethereum • โทเคนดิจทิ ัล (Digital Token) คือ หน่วยขอ้ มลู อิเล็กทรอนิกส์ที่สรา้ งขึ้นเพ่ือกาหนดสิทธขิ องบคุ คลในสว่ นแบ่งรายได้หรือสทิ ธิในการไดม้ า ซึง่ สินคา้ และบริการ หรอื สิทธิอืน่ ๆ (utility token) ตามท่ีไดต้ กลงกบั ผู้ออกโทเคน ซงึ่ อาจเสนอขายโทเคนผา่ น กระบวนการ Initial Coin Offering (ICO) การระดมทุนแบบ ICO (Initial Coin Offering) คือการระดมทุนรปู แบบหน่ึงท่ใี ช้เทคโนโลยบี ล็อกเชนเข้า มาช่วย โดยบรษิ ัทจะเสนอและ กาหนดขายโทเคนที่กาหนดสทิ ธิหรือผลประโยชนต์ า่ ง ๆ ของผูล้ งทุน เช่น สว่ นแบง่ กาไรจากโครงการ หรือสิทธิในการได้มาซึง่ สนิ ค้าหรือ บรกิ ารท่เี ฉพาะเจาะจงและกาหนดให้ผู้ลงทุนท่ีต้องการจะ ร่วมลงทนุ สามารถเขา้ รว่ มได้โดยการนาครปิ โทฯ หรือเงิน มาแลกโทเคนท่ีบริษัท ออก โดยมกี ารกาหนดและบังคับ สิทธทิ จ่ี ะได้รับด้วย smart contract บนเทคโนโลยบี ล็อกเชน ICO อาจไม่ใช่ห้นุ และไม่ใช่หน้ี แม้ ICO จะมีชอื่ คลา้ ยกับ IPO (Initial Public Offering – การออกและ เสนอขายหุน้ ต่อประชาชน) แต่กอ็ าจมีสาระสาคัญท่ีแตกตา่ งกันมาก ผู้ถอื โทเคนจากการลงทนุ ใน ICO อาจไม่ได้ เปน็ เจา้ ของบรษิ ัทเหมอื นผู้ถือหนุ้ IPO และอาจไมไ่ ด้มฐี านะเป็น เจ้าหนี้ของบริษทั อาจไม่มีสทิ ธใิ นทรพั ยส์ ินของ บริษัทกรณเี ลิกกจิ การหรือลม้ ละลาย แตผ่ ้ถู ือโทเคนจะมีสิทธิตามที่ระบใุ นเอกสารประกอบการเสนอขาย (white paper) • บลอ็ กเชน (Blockchain) คือ ระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจายศนู ย์ มกี ลไกท่ีทาใหเ้ กิดการทาธรุ กรรมได้ โดยไมต่ ้องอาศยั คนกลาง หากเปน็ บลอ็ กเชนแบบสาธารณะ (Public Blockchain) ทุกคนสามารถมสี ว่ นร่วมในการยนื ยนั ธรุ กรรมและเข้าถงึ ข้อมูลบนบล็อกเชนได้ ธรุ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีถูกบนั ทึกบนบล็อกเชนแล้วน้นั ยากที่จะเปลยี่ นแปลงแกไ้ ขหรอื ทาลาย จงึ เป็นระบบท่ีมคี วามโปร่งใสและความปลอดภัยสงู ทงั้ น้ี ระบบบรหิ ารจดั การ (governance) ของบล็อกเชน และ ICO มีความหลากหลาย ผลู้ งทุนจึงต้องศกึ ษาและทาความเขา้ ใจ เพื่อประเมนิ โครงการ สิทธิท่ีตนจะไดร้ ับ และกลไกการจา่ ยผลตอบแทนใหถ้ ่ีถ้วนก่อนตดั สนิ ใจลงทนุ

6 รจู้ ักคนขำย • ผูร้ ะดมทนุ : ICO Issuer ผรู้ ะดมทนุ ICO เป็นบรษิ ทั ไทยท่ีต้องการเงินทุนมาพัฒนาในโครงการใหม่ ๆ จงึ ออกโทเคนของตวั เองเพอ่ื แลกกับคริปโทฯ ท่จี ะเอาไปใช้พฒั นาระบบงาน โดยโทเคนเหลา่ นีจ้ ะนามาใชใ้ นโครงการไดต้ ามทผี่ รู้ ะดมทนุ กาหนด ผ้ลู งทนุ จงึ ควรศึกษาสทิ ธทิ จี่ ะได้รับใหด้ ีและถีถ่ ้วนและโครงการทบี่ ริษทั จะทาอาจเป็นเพียงไอเดยี และอาจ ใชเ้ ทคโนโลยที ีไ่ มเ่ คยมมี ากอ่ น จงึ มีความเสย่ี งสูงมากทโ่ี ครงการจะไมส่ าเร็จการออกโทเคนควรจะมีประโยชน์กับ การสร้าง ecosystem ของโครงการ และไม่ใช่ทุกธรุ กิจทจี่ ะเหมาะกับการระดมทุนในรปู แบบ ICO • ผกู้ ลน่ั กรอง : ICO Portal ICO Portal หรอื ผู้ใหบ้ รกิ ารระบบเสนอขายโทเคนดจิ ิทลั จะทาหน้าที่หลัก 2 ดา้ น คือ (1) กลัน่ กรอง ICO ท่ีจะเสนอขายตอ่ ผูล้ งทุน เพ่ือลดโอกาสการเกิด scam โดยทาหน้าที่คล้ายท่ปี รึกษา ทางการเงนิ ในการศึกษาข้อมูลของบรษิ ัทและข้อมลู การเสนอขายโทเคน (due diligence) คัดกรองโครงการ สอบ ทานแผนธรุ กจิ กลน่ั กรองความถูกต้องชดั เจน และความครบถว้ นของขอ้ มูลในเอกสารประกอบการเสนอขาย ตรวจสอบวา่ สญั ญาอัจฉริยะ (smart contract)* ทเ่ี ปดิ เผยบนเว็บไซต์ สอดคล้องกับ white paper หรอื ไม่ และมี หนา้ ทช่ี แ้ี จงตอ่ ก.ล.ต. และผู้ลงทนุ เม่อื ผู้ออกโทเคนไม่ดาเนนิ การตามข้อมลู ทแี่ สดงไว้ ใช้เงนิ ไมต่ รงกับ วตั ถุประสงคใ์ นการระดมทนุ หรือไม่ปฏบิ ัติตามเง่ือนไขในการอนญุ าต หากเหตุการณด์ ังกล่าวเกิดขึน้ ในชว่ ง 1 ปี หลังแบบแสดงรายการข้อมูลมีผลบงั คับใช้ (2) เป็นชอ่ งทางการเสนอขาย ICO โดยตอ้ งทาความรจู้ ักตัวตนของผลู้ งทุน (Know Your Customer – KYC) และพจิ ารณาความเหมาะสมในการลงทนุ (suitability) ของผ้ลู งทนุ รายย่อย ดูแลไมใ่ ห้ผลู้ งทนุ รายย่อยลงทุน เกินกวา่ เกณฑ์ทีก่ าหนด** และเก็บรักษาทรัพย์สนิ ของผู้ลงทุน ICO Portal ตอ้ งมีคณุ สมบัติตามเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต.

7 ดูรำยช่อื ICO Portal ที่ไดร้ ับควำมเห็นชอบได้ที่ www.sec.or.th/digitalasset * สญั ญาอจั ฉริยะ (smart contract) คือ เง่อื นไขหรือข้อตกลงของสญั ญา ที่ถูกเขยี นและจดั เก็บไวใ้ นรปู แบบของ รหัสคอมพวิ เตอร์ บนบล็อกเชน การบังคับตามสัญญาเปน็ ไป โดยอตั โนมัติ หากเปน็ ไปตามเงื่อนไขท่ีไดต้ กลงกันไว้ ** ผู้ลงทนุ รายย่อยแต่ละรายสามารถลงทนุ ได้สงู สุด 300,000 บาท ตอ่ โครงการ และวงเงนิ ที่ผ้อู อก ICO สามารถ เสนอขายต่อผ้ลู งทนุ รายย่อยตอ้ งไมเ่ กนิ 4 เท่า ของส่วนของผู้ถอื หุ้น หรือต้องไมเ่ กิน 70% ของมลู คา่ ทเ่ี สนอขาย ทงั้ หมด แล้วแตม่ ูลค่าใดสูงกว่า • ตัวกลำงในกำรแลกเปล่ยี น ศนู ยซ์ ้อื ขำยสนิ ทรัพยด์ ิจทิ ัล (Exchange) เป็นศนู ยก์ ลางหรือเครือขา่ ยในการซ้ือขายหรือแลกเปล่ยี นสินทรพั ยด์ จิ ิทลั (ครปิ โทฯ/โทเคน) โดยการจบั คู่ หรือหาคู่สญั ญาให้ หรือการจัดระบบหรอื อานวยความสะดวกให้ผ้ทู ่ีตอ้ งการจะซอ้ื ขายหรือแลกเปลยี่ นคริปโทฯ/โท เคน สามารถทาความตกลงหรอื จบั คู่กนั ไดโ้ ดยทาเป็นทางค้าปกติ นำยหนำ้ ซ้ือขำยสินทรัพยด์ จิ ิทัล (Broker) เป็นผู้ใหบ้ รกิ ารเป็นนายหน้าหรือตัวแทน เพื่อซ้ือขายหรือแลกเปล่ยี นสินทรพั ย์ดิจิทลั (คริปโทฯ/โทเคน) ให้แกค่ นอื่น เปน็ ทางคา้ ปกติ โดยอาจจะสง่ คาสงั่ ไปที่ศูนยซ์ ้ือขายสินทรัพย์ดจิ ทิ ัลหรือผู้คา้ สินทรพั ยด์ จิ ิทัลก็ได้ ผคู้ ้ำสนิ ทรพั ย์ดิจิทัล (Dealer) เปน็ ผ้ใู ห้บริการหรอื แสดงความพร้อมในการใหบ้ รกิ ารซอื้ ขายหรอื แลกเปล่ยี นสนิ ทรัพย์ดจิ ิทัล (ครปิ โทฯ/โท เคน) ในนามของตนเอง เป็นทางคา้ ปกติ โดยกระทานอกศนู ยซ์ อื้ ขายสินทรัพยด์ ิจทิ ลั โดยตัวกลางทไี่ ดร้ บั ใบอนุญาตจาก ก.ล.ต. มีหนา้ ท่ี เชน่ ทาความรูจ้ กั ตัวตนของลูกค้า (Know Your Customer – KYC) ประเมนิ ความเหมาะสมในการลงทนุ ของลกู ค้า (suitability test) รวมทงั้ ต้องแจง้ เง่ือนไขการ ใหบ้ ริการ ช่องทางการติดต่อ สิทธแิ ละหน้าท่ีของลกู ค้าใหล้ ูกคา้ ทราบ นอกจากนี้ ยงั ต้องปฏบิ ตั ิตามเกณฑท์ ี่ กฎหมายกาหนด เช่น มีการจัดการความเส่ยี งทรี่ ัดกุม คานึงถงึ ความปลอดภัยทางไซเบอร์ เป็นต้น กอ่ นใชบ้ ริการ ผลู้ งทุนสามารถเช็ครายช่อื ผู้ประกอบการท่ีได้รบั อนญุ าตเปน็ Exchange/Broker/Dealer ไดท้ ี่ www.sec.or.th/digitalasset

8 รู้จักกลไกตลำด

9 ข้นั ตอนกำรเสนอขำยโทเคนดจิ ทิ ัลตอ่ ประชำชน (ICO) ICO หรือช่อื เตม็ คือ Initial Coin Offering คือการระดมทุนแบบดิจิทลั ด้วยการเสนอขายโทเคนดิจิทลั ผา่ นระบบบลอ็ กเชนต่อสาธารณชน โดยผรู้ ะดมทุนจะเป็นผ้อู อกโทเคนดิจิทัล มาแลกกับเงนิ ดิจิทัล (cryptocurrency) การระดมทนุ ด้วย ICO สรปุ สาระสาคญั ไดด้ งั นี้ กำรซ้อื ขำยเปลีย่ นมือ ผทู้ ส่ี นใจลงทนุ ในคริปโทฯ หรือผ้ลู งทุนท่ตี ้องการซอื้ โทเคนในตลาดรอง หรือผลู้ งทนุ ทีถ่ ือโทเคน แล้ว ต้องการขายต่อ สามารถซอ้ื ขายแลกเปล่ยี นไดผ้ า่ นตวั กลาง (Exchange/Broker/Dealer) ทไี่ ด้รับอนญุ าตจาก ก.ล.ต. ราคาของสนิ ทรัพย์ดิจิทัลอาจผนั ผวนมาก และมีความเสี่ยงดา้ นสภาพคล่อง บางตัวอาจจะไมส่ ามารถซอื้ ขายแลกเปลี่ยนในตลาดรองได้ หรอื หากโครงการนน้ั ๆ หมดความนยิ ม ก็อาจซ้ือขายเปล่ียนมือไดย้ าก

10 เปรยี บเทยี บ ICO กบั กำรออกและเสนอขำยหลักทรพั ย์แก่ประชำชนครงั้ แรก (initial Public Offering:IPO)

11 ใครลงทนุ ICO ได้บำ้ ง

12 รรู้ ะวงั ควำมเสยี่ ง แม้วา่ การลงทนุ ใน ICO อาจจะมโี อกาสได้รับผลตอบแทนสูงมากหากประสบความสาเรจ็ แต่ก็มคี วามเสีย่ งสูงมาก เชน่ กัน เพราะอาจเสียเงนิ ทั้งจานวนได้ จึงควรศกึ ษาทาความเข้าใจ สิ่งทจี่ ะลงทนุ กอ่ นตัดสนิ ใจลงทุน • ธุรกิจ start up มีโอกำสล้มเหลวสูง -- บริษัทท่ีออก ICO มกั เปน็ โครงการใหม่ท่มี ีแค่ไอเดียหรือใช้ เทคโนโลยที ีไ่ มเ่ คยมมี ากอ่ น จึงมีความเส่ยี งสงู ที่โครงการจะไม่สาเร็จ แม้จะมโี อกาสไดผ้ ลตอบแทนสงู แต่ กเ็ สี่ยงสงู เงนิ ท่ีลงไปทง้ั หมดอาจกลายเปน็ ศนู ย์ • ไมม่ กี ำรรับประกันควำมสำเร็จหรือผลตอบแทน -- แมว้ ่า ICO Portal จะชว่ ยคดั กรองโครงการ ICO และ ก.ล.ต. จะช่วยดแู ลให้มีการเปดิ เผยขอ้ มูลท่เี พียงพอต่อการตดั สนิ ใจของผู้ลงทุน แต่ไม่ได้เป็นการ รับประกนั ความสาเร็จของโครงการ ผลู้ งทุนควรศึกษาข้อมูลและทาความเข้าใจความเส่ยี งทีเ่ กย่ี วข้อง • ถูกหลอกใหล้ งทนุ โดยอำ้ ง ICO หรือ คริปโทฯ -- มิจฉาชีพมกั นาสนิ คา้ ทอี่ ยู่ในกระแสหรือผลติ ภณั ฑ์การ ลงทนุ ใหม่ๆ เช่น ICO โทเคน ครปิ โทฯ ฯลฯ มาหลอก/ชวนให้ลงทนุ ก่อนจะเช่อื อยา่ ลมื เช็คขอ้ มลู ICO ท่ไี ด้รับอนุญาตที่เวบ็ ไซต์ของ ก.ล.ต. (www.sec.or.th/digitalasset) ก่อนลงทนุ ทุกคร้งั • ลงทุนตำ่ งประเทศไม่ไดร้ ับควำมคุ้มครองตำมกฎหมำยน้ี -- การลงทนุ โทเคน/คริปโทฯ ในตา่ งประเทศ หรือลงทนุ โทเคน/ครปิ โทฯ ผ่านบุคคลท่ีไม่ไดร้ ับอนุญาตจาก ก.ล.ต. ผู้ลงทุนจะไม่ได้รับความคุ้มครองจาก พ.ร.ก. การประกอบธุรกิจสนิ ทรัพยด์ จิ ทิ ลั • อำจไม่มสี ภำพคล่องเปลี่ยนมือยำก -- โทเคน/ครปิ โทฯ ท่ไี มไ่ ด้รับความนยิ มหรือไม่ได้อยู่ในศนู ยซ์ ื้อขาย มกั จะมสี ภาพคล่องน้อย ซอื้ ขายเปลยี่ นมือไดย้ าก

13 • ผ้ปู ระกอบธุรกิจฯ ไม่มีใบอนุญำต -- กอ่ นตัดสินใจลงทุน หรือให้เงนิ ลงทุนกบั ใครไป อย่าลมื เช็คก่อนวา่ เป็นผ้ไู ด้รบั อนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจทิ ลั ผ้ใู ห้บรกิ ารระบบเสนอขายโทเคนดจิ ิทัล หรือผ้ปู ระกอบธรุ กิจ สนิ ทรพั ยด์ ิจิทัลตามกฎหมายหรอื ไม่ เชค็ ข้อมลู ไดท้ ่ีเว็บไซต์ของ ก.ล.ต. (www.sec.or.th/digitalasset) • เสี่ยงถกู Hack -- แม้ศนู ย์ซ้ือขายท่ไี ด้รับอนญุ าตจะไดเ้ ตรยี มระบบความปลอดภัยไซเบอร์ (cyber security) ไว้อย่างดแี ล้ว แต่ก็ยงั มโี อกาสทจี่ ะถูก hack ได้ ดงั นั้น ศนู ยซ์ ื้อขายมักจะแบง่ โทเคน/คลิปโทฯ ไปเกบ็ ใน private wallet • รำคำผนั ผวน -- ราคาของโทเคน/ครปิ โทฯ มกี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงมคี วามเสีย่ งจากความผัน ผวนมาก “การกากับดูแลจะช่วยลดความเสยี่ งไดเ้ พียงบางส่วนเท่านั้น เช่น ความเสยี่ งการถูกหลอกลวง/การถูกเอาเปรียบ จากดาเนนิ ธรุ กิจท่ีไมเ่ ป็นธรรม อย่างไรก็ตามความเสี่ยงในดา้ นอื่น ๆ ยงั คงมีอยู่ เชน่ ความเสีย่ งทางธรุ กจิ ของ กิจการความเสยี่ งจากราคาสินทรัพย์ดจิ ิทลั ท่ีผันผวน”

14 คำเตือนในกำรลงทนุ สินทรัพย์ดิจิทลั • ลงทนุ ICO มกั จะเปน็ การลงทุนในโครงการ ไดส้ ิทธติ ามที่ผูอ้ อก ICO กาหนด เชน่ สทิ ธใิ นการใชร้ ะบบ ซ้ือ ของลดราคา เป็นตน้ และไมใ่ ช่เป็นผูถ้ อื หนุ้ หรือเจ้าหน้ี จงึ ไมไ่ ดส้ ิทธิความเป็นเจ้าของบริษัทหรอื การได้รบั ชาระเงนิ คืน ลงทนุ ICO มีความเส่ยี งสูงมาก แม้จะมีโอกาสได้ผลตอบแทนสงู แต่ก็อาจหมดตัวได้ • ลงทุน ICO มคี วามเสยี่ งสูงมาก ท้งั จากโอกาสความสาเรจ็ ของโครงการ จากการถูกใช้ ICO ในการ หลอกลวงผู้ลงทุน (scam) แม้จะมโี อกาสได้ผลตอบแทนสูง แต่ก็อาจหมดตวั ได้ • เงินลงทนุ ใน ICO ควรเปน็ เงินสัดส่วนที่ท่านยอมรับได้วา่ อาจสญู เงินท้งั หมด และสามารถลงทนุ ทลี ะน้อย ใหเ้ ปน็ สีสนั ของ Port แมจ้ ะลงทนุ ผา่ นตวั กลางท่ีไดร้ บั อนุญาตกย็ งั มีความเสย่ี งทีจ่ ะโดน hack • ICO Portal จะทาความรจู้ กั และคดั กรองโครงการ สว่ น ก.ล.ต. จะดูแลการเปิดเผยข้อมูล สิทธิทีผ่ ลู้ งทนุ จะได้ source code แผนธุรกจิ ทช่ี ัดเจน แต่ไมไ่ ด้การนั ตีความสาเรจ็ ของโครงการ ผลู้ งทุนควรศึกษา คน้ ควา้ ดว้ ยตวั เองและยอมรบั ความเส่ียงของ ICO ได้ • ศูนย์ซือ้ ขายท่ีไดร้ บั อนุญาต แม้จะได้เตรียมระบบความปลอดภัยทางไซเบอร์ (cyber securities) ไว้อยา่ ง ดีแล้ว แต่ก็ยังมีโอกาสท่ีจะถกู hack ได้ ดงั นนั้ ศนู ย์ซ้ือขายก็จะเตรียมมาตรการอื่นเสรมิ เช่น การแบง่ ครปิ โทฯ ไปเกบ็ ในท่ปี ลอดภยั ไมเ่ ชือ่ มต่อ online (cold wallet) • ICO ท่ียังไม่ได้รับความนิยมหรือยงั ไม่ไดเ้ อาไปเข้าซ้ือขายในตลาดรอง มักกจ็ ะมีสภาพคล่องน้อย จงึ ทาให้ ซ้ือขายต่อไดย้ าก • การลงทนุ มีความเสี่ยง (high risk high return) ยง่ิ ใหผ้ ลตอบแทนมาก รบั ประกันผลตอบแทน ย่งิ ตอ้ ง ระวงั ให้มาก เพราะเป็นการให้ขอ้ เสนอทด่ี เี กินจริง อาจเป็นเหยื่อถูกหลอกได้ • กอ่ นจะเช่อื ให้เชค็ ข้อมูล ICO ที่ไดร้ บั อนุญาตที่ website ของ ก.ล.ต. (www.sec.or.th) กอ่ นลงทุนทกุ ครง้ั • กอ่ นตดั สินใจลงทุนหรือใหเ้ งินลงทนุ กบั ใครไป อยา่ ลมื เช็คก่อนวา่ เปน็ ผู้ประกอบการที่ได้รับอนญุ าต ประกอบธุรกจิ สินทรัพย์ดิจทิ ลั จาก ก.ล.ต. หรือไม่ สามารถเช็ครายชื่อผู้ประกอบธรุ กิจสินทรัพยด์ จิ ิทัลที่ ได้รับอนุญาตได้ท่ี website ของ ก.ล.ต. (www.sec.or.th) นอกจากนี้ สามารถเช็ครายช่ือบคุ คลทมี่ ิใช่ผู้ ประกอบธุรกิจภายใต้การกากับดูแลของ ก.ล.ต. (Investor Alert) ไดท้ ี่ website ของ ก.ล.ต. (www.sec.or.th/TH/Pages/Shortcut/DigitalAsset.aspx) • ผูท้ ี่สนใจตดิ ตามบทความ วดิ โี อคลิป ขา่ วสารความร้เู กีย่ วกับสนิ ทรัพย์ดิจทิ ัลและอืน่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับ ตลาดทุน ดว้ ยความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสถานการณ์ สามารถตดิ ตามไดท้ ี่ Facebook Fanpage “สานักงาน กลต.” (www.facebook.com/sec.or.th)

15 5 คำถำมก่อนลงทนุ 1. เขา้ ใจหรอื ไม่วา่ สินทรัพย์ดจิ ิทัลคอื อะไร 2. เข้าใจหรือไม่ว่าสิทธิท่ีจะได้รบั จากการลงทนุ สินทรพั ยด์ ิจิทัลน้ัน ๆ คอื อะไร 3. เขา้ ใจวธิ กี ารทท่ี าใหไ้ ด้มาซ่งึ สินทรัพย์ดจิ ทิ ัล วิธีการจัดเกบ็ ใหม้ คี วามปลอดภยั และการเปล่ียนมอื ในตลาด รองหรอื ไม่ 4. เข้าใจความเสีย่ งจากการลงทุนในสินทรพั ยด์ จิ ทิ ัลและรบั ความเสีย่ งจากการลงทนุ ได้จรงิ ไหม 5. รับความเสียหายจากการลงทุนได้มากนอ้ ยแค่ไหน สามารถรบั ไดห้ รอื ไม่ หากต้องเสียเงินลงทุนท้งั จานวน

16 ก.ล.ต. กบั กำรกำกบั ดแู ลสนิ ทรพั ยด์ จิ ทิ ลั “เหตุผลที่ต้องกำกับสนิ ทรัพย์ดิจทิ ัล ก็เพื่อคุ้มครองผู้ลงทุน ลดควำมเสยี่ ง จำกกำรถูกหลอกหรือถกู เอำเปรยี บ สรำ้ งควำมชดั เจนในกำรกำกับดแู ลใหผ้ ้ทู ต่ี อ้ งกำรใชเ้ ครือ่ งมอื น้โี ดยสจุ ริตสำมำรถทำได้ และป้องกนั กำรฟอกเงิน หรอื ใช้สินทรัพยด์ ิจิทลั ในทำงไม่สจุ รติ ” สรุปสำระสำคญั ของพระรำชกำหนดกำรประกอบธุรกิจสินทรพั ย์ดจิ ิทลั พ.ศ. 2561 1. เหตผุ ลและควำมจำเปน็ ในกำรตรำพระรำชกำหนด โดยทปี่ ัจจบุ ันได้มีการนาสินทรัพย์ดจิ ทิ ัลมาใช้เปน็ เคร่อื งมือ ในการระดมทุนต่อประชาชน เป็นสื่อกลางใน การแลกเปลีย่ น รวมถงึ นามาซื้อขายหรือแลกเปล่ียนในศูนย์ซื้อขายสนิ ทรัพย์ดจิ ทิ ัล แตย่ ังไมม่ ีกฎหมายที่กากบั ดแู ลการดาเนนิ การดงั กล่าวในประเทศไทย ทาให้มีการประกอบธรุ กิจหรือการดาเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทอี่ าจ ส่งผลกระทบต่อเสถยี รภาพทางการเงิน ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ และเกดิ ผลกระทบตอ่ ประชาชนในวงกว้าง จึงมกี ารตราพระราชกาหนดการประกอบธุรกจิ สินทรัพยด์ ิจิทัล พ.ศ. 2561 เพือ่ กากบั ดูแลการระดมทนุ ผา่ น สนิ ทรัพยด์ จิ ทิ ลั รวมทั้งการประกอบธุรกิจและการดาเนนิ กจิ กรรมเกี่ยวกับสนิ ทรัพย์ดิจิทลั ทั้งน้ี เพือ่ ให้สามารถนา เทคโนโลยมี าทาใหเ้ กดิ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอยา่ งยง่ั ยนื อนั จะเป็นการสนับสนุนและอานวยความ สะดวกใหก้ ิจการที่มศี ักยภาพมเี ครือ่ งมอื ในการระดมทุนที่หลากหลาย ผูล้ งทนุ มขี ้อมลู ทชี่ ัดเจนเพยี งพอเพอื่ ประกอบการตัดสินใจลงทนุ คุ้มครองผู้ลงทุนมใิ ห้ถกู ฉ้อฉลหรอื ถูกหลอกลวงจากผู้ท่ีไม่สจุ ริต และปอ้ งกันการนา สนิ ทรัพยด์ ิจทิ ลั ไปใช้สนบั สนนุ ธุรกรรมทีผ่ ดิ กฎหมาย รวมท้งั ดแู ลใหก้ ารซอื้ ขายในศูนย์ซ้ือขายสนิ ทรัพยด์ จิ ทิ ลั มี ความเปน็ ธรรม โปรง่ ใส และตรวจสอบได้ ตลอดจนมีกลไกในการดแู ลรกั ษาเสถียรภาพทางการเงนิ และระบบ เศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ

17 2. วนั ใช้บงั คบั คณะรฐั มนตรมี ีมติอนมุ ัตหิ ลักการของร่างพระราชกาหนดการประกอบธรุ กจิ สนิ ทรพั ยด์ ิจิทัลพร้อมร่างพระ ราชกาหนดแก้ไขเพม่ิ เติมประมวลรษั ฎากรซง่ึ กาหนดประเภทเงนิ ได้จากสนิ ทรพั ยด์ ิจิทัล เมอ่ื วันท่ี 13 มนี าคม 2561 และต่อมาเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2561 ไดม้ มี ติเหน็ ชอบร่างพระราชกาหนดทง้ั สองฉบับดังกลา่ วตามที่ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี าตรวจพิจารณาแลว้ ทงั้ นี้ ร่างพระราชกาหนดทงั้ สองฉบับได้ลงประกาศในราช กจิ จานุเบกษา เมอื่ วนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2561 และมีผลใช้บังคบั ตงั้ แตว่ ันถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เป็นต้นไป 3. กำรป้องกันกำรนำสนิ ทรพั ย์ดจิ ิทลั ไปสนับสนนุ ธรุ กรรมท่ีผิดกฎหมำย พระราชกาหนดนก้ี าหนดใหผ้ เู้ สนอขายโทเคนดจิ ิทัลที่จะรับคริปโทเคอร์เรนซเี ป็นการตอบแทน หรอื ผู้ ประกอบธรุ กิจสินทรพั ย์ดิจทิ ัลท่จี ะรับคริปโทเคอร์เรนจากลูกคา้ ในการทาธุรกรรม ใหร้ บั ได้เฉพาะครปิ โทเคอร์เรนซี ทไี่ ด้จากการซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรอื ฝากไว้กับผปู้ ระกอบธุรกิจสนิ ทรัพย์ดจิ ทิ ลั ตามพระราชกาหนดน้ีเท่านน้ั ทงั้ น้ี เพื่อป้องกันการนาครปิ โทเคอร์เรนซีที่ไม่มีแหลง่ ที่มาทชี่ ดั เจนมาใช้ในการทาธรุ กรรม นอกจากน้ี ยังกาหนดให้ผู้ ประกอบธุรกจิ สนิ ทรัพย์ดิจิทลั และผู้ใหบ้ ริการระบบเสนอขายโทเคนดจิ ทิ ัล เป็นสถาบันการเงนิ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน ท้ังนี้ เพ่ือทาหน้าทตี่ รวจสอบมิใหม้ ีการใช้สินทรพั ยด์ ิจทิ ลั เป็น ช่องทางในการฟอกเงินอกี ดว้ ย 4. กำรปอ้ งกนั กำรกระทำอนั ไม่เป็นธรรมเกย่ี วกับกำรซือ้ ขำยสินทรพั ย์ดิจิทัล พระราชกาหนดน้ีกาหนดความผิดสาหรบั การกระทาอันไม่เป็นธรรมเกยี่ วกับการซื้อขายหรอื แลกเปลี่ยน สินทรพั ยด์ จิ ิทลั ที่มกี ารซื้อขายหรือแลกเปลีย่ นในศูนย์ซื้อขายสินทรพั ย์ดิจทิ ัล ในทานองเดียวกบั บทบญั ญัตวิ ่าด้วย การกระทาอนั ไม่เป็นธรรมเก่ียวกับการซ้ือขายหลักทรัพยต์ ามกฎหมายว่าด้วยหลกั ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เชน่ การบอกกล่าว เผยแพร่ หรือเปิดเผยข้อมลู ทเี่ ป็นเท็จหรือที่ทาใหส้ าคัญผิด (false dissemination) การใช้ข้อมูล ภายใน (insider trading) การซ้อื ขายตัดหนา้ ลูกคา้ (front running) การสรา้ งราคาหลกั ทรัพย์ให้ผดิ ไปจากสภาพ ปกติของตลาด (market manipulation) เป็นต้น เพอ่ื ดแู ลให้การซื้อขายหรอื แลกเปล่ียนสินทรพั ยด์ จิ ทิ ัลในศนู ย์ ซือ้ ขายสนิ ทรัพยด์ ิจิทลั มคี วามเป็นธรรม โปรง่ ใส และมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื สรา้ งความนา่ เชื่อถือและคุ้มครองผูล้ งทุน โดยรวม 5. อำนำจของพนักงำนเจ้ำหน้ำท่ี เพ่มิ เติมอานาจของพนักงานเจา้ หนา้ ท่ีใหส้ ามารถตรวจสอบหรอื เข้าถึงระบบคอมพวิ เตอร์ ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ ขอ้ มูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรืออปุ กรณท์ ่ใี ช้เกบ็ ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ของผู้ประกอบธรุ กิจ สินทรพั ย์ดจิ ิทลั หรอื ผู้เสนอขายโทเคนดิจทิ ัล เพ่ือตรวจสอบหลักฐานหรือข้อมูลอนื่ ใดเกย่ี วกับผูป้ ระกอบธุรกจิ สนิ ทรพั ยด์ ิจิทัลหรอื ผเู้ สนอขายโทเคนดิจทิ ลั หรือกิจการของผูป้ ระกอบธรุ กจิ สินทรพั ยด์ จิ ิทัลหรอื ผเู้ สนอขายโทเคน ดจิ ิทัล เพ่ือให้สอดคล้องกับการประกอบธุรกจิ สินทรัพย์ดิจทิ ัลท่เี ป็นการกระทาผ่านทางระบบคอมพวิ เตอร์

18 6. บทกำหนดโทษ การฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏิบัตติ ามบทบญั ญัตใิ นพระราชกาหนดนี้ มบี ทกาหนดโทษทางอาญา โดยฐานความผิด และอัตราโทษเทยี บเคียงไดก้ ับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลกั ทรัพย์ เชน่ การเสนอขายโดยไมไ่ ดร้ ับ อนญุ าต การประกอบธุรกจิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏบิ ตั ิตามหลกั เกณฑ์ท่ีกาหนด ความผดิ เกี่ยวกับ การกระทาอนั ไม่เปน็ ธรรม ความผดิ ตอ่ พนักงานเจ้าหนา้ ท่ี ความรับผดิ ของกรรมการ ผู้จัดการ หรือบคุ คลซ่งึ รบั ผดิ ชอบในการดาเนนิ งานของนิติบุคคล ทั้งน้ี ยงั ได้นาบทบัญญตั ิเกี่ยวกบั มาตรการลงโทษทางแพ่งมาบังคับ เพือ่ ใหก้ ารบังคับใช้กฎหมายมีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้นอีกด้วย

19 ถำม - ตอบ Q : ปัจจุบันมกี ำรชักชวนคนไทยใหล้ งทุนในโทเคนดจิ ิทัลโดยอำ้ งผลตอบแทนท่นี ำ่ สนใจเปน็ อย่ำงมำก และ ตวั แทนอ้ำงวำ่ บรษิ ัทไมเ่ ข้ำข่ำยที่ตอ้ งไดร้ บั อนุญำตจำก ก.ล.ต. เปน็ ไปไดห้ รือไม่ A : การออกและเสนอขายโทเคนดิจิทลั ตอ่ ประชาชน ทม่ี เี จตนาชักชวน (solicit) ผู้ลงทนุ ไทย ตอ้ งได้รับอนุญาต จากคณะกรรมการ ก.ล.ต. ไม่เช่นน้ันจะถอื เป็นการเสนอขายโดยไม่ได้รับอนุญาตมคี วามผิดตามกฎหมาย ท้ังน้ี วงเงินในการระดมทุนจากผู้ลงทุนรายย่อยต้องไมเ่ กิน 4 เท่าของสว่ นของผู้ถือห้นุ หรือต้องไม่เกิน 70% ของมูลคา่ ท่ี เสนอขายท้ังหมด แลว้ แตม่ ูลค่าใดสงู กว่า Q : หำกบรษิ ัทมีกำรวำงแผนโครงกำรระดมทนุ เสนอขำยโทเคนดจิ ทิ ัลเรยี บร้อยแลว้ สำมำรถประกำศขำยผ่ำน Facebook Fanpage และ Line Group ไดห้ รือไม่ A : การเสนอขายโทเคนต้องทาผ่านผู้ให้บรกิ ารระบบเสนอขายโทเคนดจิ ิทัล (ICO Portal) ท่ไี ดร้ บั ความเหน็ ชอบ จากคณะกรรมการ ก.ล.ต. ซ่ึง ICO Portal จะทาหนา้ ทีค่ ดั กรองโครงการ ทาความรจู้ กั ตัวตนและสถานะผู้ลงทนุ และประเมนิ ความสามารถในการรบั ความเสย่ี งของผลู้ งทนุ Q : ในกำรลงทุนของนักลงทุนมีข้อจำกัดอยำ่ งไรบ้ำง A : ผู้ลงทนุ สถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่พเิ ศษสามารถลงทุนใน ICO ไดไ้ ม่จากัด ส่วนผูล้ งทนุ รายยอ่ ยแตล่ ะราย สามารถลงทุนไดส้ งู สุด 300,000 บาทต่อโครงการในตลาดแรก Q : หำกสนใจประกอบธุรกิจเป็นตวั กลำงในกำรแลกเปล่ียน จะต้องทำอยำ่ งไรบ้ำง A : ศนู ยซ์ อ้ื ขาย นายหน้า และผูค้ ้าสนิ ทรัพย์ดจิ ทิ ัล ตอ้ งได้รับอนญุ าตจากรัฐมนตรกี ระทรวงการคลงั ตอ้ งมีทนุ จด ทะเบยี นชาระแล้วไม่ต่ากว่าที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด และต้องมมี าตรฐานตามเกณฑท์ ี่ ก.ล.ต. กาหนด

20 ช่องทำงกำรติดต่อ สทิ ธขิ องผลู้ งทนุ กฎหมายได้กาหนดสทิ ธใิ หแ้ ก่ผลู้ งทนุ เพอื่ ให้ไดร้ ับความเป็นธรรม ไม่ถกู หลอก หรือถูกเอาเปรยี บ ซึง่ จะช่วยลดการ สญู เสยี ป้องปรามการปฏิบตั ิไมถ่ ูกกฎหมายหรอื ขาดจริยธรรมของกิจการ ท่ำนสำมำรถรอ้ งเรยี น / ช้ีเบำะแส และสอบถำมข้อมูลผำ่ นชอ่ งทำงตำ่ ง ๆ ดังนี้ • กรอกแบบฟอรม์ กำรร้องเรียนออนไลน์ : www.sec.or.th/complaint • e-mail : รอ้ งเรยี น-ชเี้ บาะแส [email protected] หรือ e-mail เลขาธกิ าร ก.ล.ต. [email protected] สอบถามข้อมลู [email protected] • โทรศพั ท์ 24 ชั่วโมง 7 วัน : วันและเวลาทาการ (8.30 - 12.00น. และ 13.00 - 16.30น.) โทร. 1207 ตดิ ตอ่ เจ้าหนา้ ที่ Help Center นอกเวลาทาการ โทร. 1207 กด 1 ฝากข้อความและเบอร์โทร เจ้าหน้าท่ีจะตดิ ต่อกลบั • Chat : สง่ ข้อความท่ี Inbox Facebook Fanpage “สานักงาน กลต.” (www.facebook.com/sec.or.th) • ไปรษณีย์ : สานกั งานคณะกรรมการกากบั หลกั ทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) 333/3 ถนนวิภาวดรี ังสิต แขวงจอมพล เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900 (download แบบฟอรม์ การร้องเรียน) • เดินทำงมำพบเจ้ำหน้ำท่ดี ้วยตนเอง : วนั และเวลาทาการ (8.30 - 12.00น. และ 13.00 - 16.30น.) สานักงานคณะกรรมการกากบั หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) 333/3 ถนนวภิ าวดรี ังสติ แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 (แผนที่) • ผูท้ สี่ นใจศึกษำควำมรู้เก่ียวกับสนิ ทรัพยด์ ิจิทัล : สามารถเขา้ ชมแหลง่ รวมความรูเ้ ร่ืองสินทรพั ยด์ จิ ิทลั โดยเฉพาะได้ที่ (https://เสยี่ งสูง.com)