Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือศัตรูพริก

คู่มือศัตรูพริก

Description: คู่มือศัตรูพริก.

Search

Read the Text Version

คู่มือ ศัตรพู ริก ส�ำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

คู่มือศัตรูพริก กลมุ่ วจิ ยั โรคพชื สำ� นกั วจิ ยั พฒั นำกำรอำรกั ขำพชื กรมวชิ ำกำรเกษตร คมู่ ือ ศตั รพู รกิ กลุ่มวิจัยโรคพืช ส�ำนักวิจัยพัฒนำกำรอำรักขำพืช กรมวิชำกำรเกษตร หนังสอื เร่ือง “ศตั รูพรกิ ” คณะผู้จัดทำ� ศรุต สทุ ธอิ ารมณ์ พรพิมล อธิปัญญาคม พเิ ชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ ณฏั ฐมิ า โฆษติ เจริญกุล สมศักด์ิ ศริ พิ ลต้ังมั่น อภิรัชต์ สมฤทธ์ิ วภิ าดา ปลอดครบุรี เยาวภา ตนั ตวิ านิช สิรชิ ัย สาธุวจิ ารณ์ กลุ่มบรหิ ารศตั รูพชื กลุม่ กีฏและสตั ววิทยา กลมุ่ วจิ ยั โรคพืช สำ�นกั วิจยั พัฒนาการอารักขาพชื กรมวชิ าการเกษตร พ.ศ. 2557 พมิ พ์ท่ี ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด สาขา 4 44/16-17 ถ.เลีย่ งเมอื งนนทบุรี ต.ตลาดขวัญ อ.เมอื ง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 0 2525 4807-9, 0 2525 4853-4 โทรสาร 0 2525 4855 E-mail : [email protected] www.co-opthai.com

บทนำ พริกเป็นพืชผักเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยใช้เป็นวัตถุดิบท่ีสำคัญที่ใช้ในการ ประกอบอาหารโดยเฉพาะอาหารไทยและเป็นพืชส่งออกที่สำคัญทำรายได้เข้าสู่ประเทศอย่าง มาก อย่างไรก็ตาม การผลิตพริกให้มีคุณภาพ เกษตรกรจำเป็นต้องให้ความดูแลอย่างดี เน่ืองจากมีปัญหาศัตรูพืชมากมายหลายชนิด ท้ัง แมลง ไร โรคพืช และวัชพืช บางชนิดมีการ ระบาดที่รุนแรง และบางชนิดเป็นศัตรูชนิดใหม ่ หนังสือ “ศัตรูพริก” เล่มนี้ ได้รวบรวมชนิดของศัตรูพริกประเภทต่างๆ ทั้งแมลง ไร โรคพืช และวัชพืช ท่ีพบจากการสำรวจศัตรูพริกในแหล่งปลูกพริกท่ีสำคัญของ ประเทศไทยโดยนักวิชาการกลุ่มบริหารศัตรูพืช กลุ่มกีฏและสัตววิทยา และกลุ่มวิจัยโรคพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธาน ี และจังหวดั ศรีสะเกษ และภาคตะวนั ตก ไดแ้ ก่ จังหวดั กาญจนบรุ ี ข้อมลู เนื้อหาของคูม่ อื เล่มนี้ ประกอบด้วย ข้อมูลของศัตรูพืช รวมทั้งวิธีการป้องกันกำจัดท่ีเหมาะสม และภาพประกอบ ซง่ึ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ เอกสารวชิ าการเลม่ นจ้ี ะมปี ระโยชนต์ อ่ ผเู้ กย่ี วขอ้ งในการผลติ พรกิ ใหม้ คี วาม ปลอดภัย ปลอดศตั รูพืช และมคี ณุ ภาพได้มาตรฐานตรงตามต้องการของผ้บู รโิ ภค ศรตุ สทุ ธิอารมณ ์ ผูอ้ ำนวยการกล่มุ บริหารศตั รพู ชื

สารบัญ หนา้ แมลงศัตรพู ืช เพล้ียไฟ 2-3 หนอนกระทู้ผกั 4-5 หนอนกระทู้หอม 6-7 หนอนเจาะสมอฝา้ ย 8-9 แมลงวนั ผลไม้ 10-11 แมลงหวข่ี าวยาสูบ 12-13 แมลงหวขี่ าวใยเกลยี ว 14-15 เพล้ยี ออ่ น โรคกุ้งแห้ง 16-17 ไรขาวพริก 18-19 20-25 ศัตรูธรรมชาติ 28-29 โรคพืช 30-31 32-33 โรคแอนแทรคโนส หรือ โรคเนา่ เปยี ก โรครากเนา่ และโคนเนา่ โรคเหย่ี วฟิวซาเรยี ม 34-35 โรคโคนเนา่ ระดับคอดนิ ของตน้ กลา้ 36-37 โรคราแปง้ 38-39 โรคใบจดุ ตากบ 40-41 โรคใบหงิกเหลืองพรกิ 42-43

สารบญั หน้า โโรรคคใใบบดดา่า่ งงแปตระงพ รกิ 44-45 46-47 ทอสโพไวรสั ของพรกิ 48-49 โรคใบจดุ ทเ่ี กดิ จากแบคทเี รียของพรกิ 50-51 52-53 ว ชั พืช หโโหหรรญญญคคเราา้า้้ หาขปตี่ยกนีนาวปกนเเลมคขก็ก วีย าวยข องพริก 54-55 58-59 หญา้ ตนี กา 60-61 ผักปลาบนา 62-63 หญ้ายาง 64-65 สาบมว่ ง 66-67 ผักเบ้ียหิน 68-69 ผกั เบ้ยี ใหญ่ 70-71 ผักเสยี้ นขน 72-73 นำ้ นมราชสหี ์ 74-75 ผักโขม 76-77 78-79 80-81

สารบญั แหว้ หมู หนา้ กกทราย 82-83 วัชพชื และการจดั การในพรกิ 84-85 86-87



P e s t s แ ม ล ง ัศ ต ูร ืพ ช Pes ts แมลงและไรศัตรูพรกิ 1

เ พ ลี้ ย ไ ฟ เพล้ียไฟ (thrips) ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ 1. Scirtothrips dorsalis Hood (เพลย้ี ไฟพรกิ , chilli thrips) 2. Thrips palmi Karny (เพลีย้ ไฟฝา้ ย, cotton thrips) วงศ์: Thripidae อันดับ: Thysanoptera ช่ือสามญั อน่ื : - ความสำคัญและลักษณะการทำลาย เพลี้ยไฟท้ังสองชนิดน้ีเป็นแมลงศัตรูที่สำคัญ ของผักและไม้ผลหลายชนิด ตัวอ่อน และตวั เตม็ วยั ดดู กนิ นำ้ เลยี้ งจากยอด ใบออ่ น ตาดอก และดอก ทำใหใ้ บหรอื ยอดออ่ นหงกิ ขอบใบหงิกหรือม้วนงอข้ึนด้านบน ถ้าเข้าทำลายระยะพริกออกดอกจะทำให้ดอกพริก ร่วงไม่ติดผล การทำลายในระยะผลจะทำให้รูปทรงของผลบิดงอ ถ้าการระบาดรุนแรง พชื จะชะงกั การเจรญิ เตบิ โต หรอื แหง้ ตายในทส่ี ดุ มกั พบระบาดมากในชว่ งอากาศแหง้ แลง้ ฝนทงิ้ ชว่ งเปน็ เวลานาน แนวทางการปอ้ งกนั กำจัด ◆ ควรเพม่ิ ความชืน้ โดยการให้น้ำ อยา่ ให้พืชขาดน้ำเพราะจะทำใหพ้ ชื ออ่ นแอ และ เพล้ยี ไฟพรกิ จะระบาดอย่างรวดเร็ว ◆ การใช้สารฆ่าแมลง - แหล่งปลูกใหม ่ พ่นด้วยคาร์บาริล 85% WP อัตรา 20-30 กรัม หรือ โพรไทโอฟอส 50% EC อัตรา 20-30 มิลลิลิตร หรือคาร์โบซัลแฟน 20% EC อตั รา 20-30 มิลลิลติ ร ต่อนำ้ 20 ลติ ร อยา่ งใดอย่างหน่งึ พน่ ซ้ำตามการระบาด - แหล่งปลูกเดิม พ่นด้วยฟิโปรนิล 5% SC อัตรา 20-30 มิลลิลิตร หรืออิมาเม็กตินเบนโซเอต 1.92% EC อัตรา 20 มิลลิลิตร หรืออิมิดาโคลพริด 10% SL อัตรา 20-40 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร อย่างใดอย่างหน่ึง พ่นซ้ำ ตามการระบาด ขณะพ่นสารควรปรับหัวฉีดใหเ้ ปน็ ฝอยทส่ี ุด และพน่ ให้ทั่วตามส่วนตา่ งๆ ของ พืชท่ีเพลี้ยไฟพริกอาศัยอยู่ กรณีเพลี้ยไฟพริกระบาดรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสภาพอากาศแห้งแล้ง ควรใช้ปุ๋ยทางใบ เพ่ือช่วยให้ต้นพริกฟื้นตัวจากอาการ ใบหงกิ ได้ดีและเร็วย่ิงข้นึ ศัตรธู รรมชาติ ตัวอ่อนแมลงชา้ งปกี ใส และดว้ งคล้ายมด 2

ตวั เตม็ วัยของ เพลี้ยไฟพรกิ ลกั ษณะการทำลายของเพลีย้ ไฟ อาการใบพริกหงิกมว้ นงอข้นึ อาการผลพรกิ บดิ งอ T h r i p s แมลงศตั รธู รรมชาติของเพลี้ยไฟ ตวั อ่อนแมลงชา้ งปกี ใส ดว้ งคล้ายมด 3

ห น อ น ก ร ะ ทู้ ผั ก หนอนกระทผู้ กั (common cutworm) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์: Spodoptera litura (Fabricius) วงศ์: Noctuidae อันดบั : Lepidoptera ชื่อสามญั อ่ืน : หนอนกระทยู้ าสบู หนอนกระทูฝ้ า้ ย หนอนเผอื ก ความสำคัญและลักษณะการทำลาย หนอนกระทู้ผักเป็นแมลงศัตรูท่ีสำคัญ ของพืชผักเศรษฐกิจหลายชนิด หนอนวัยแรก เขา้ ทำลายเป็นกลุม่ ต่อมาการทำลายรุนแรงขึ้น เนือ่ งจากเปน็ หนอนท่มี ีขนาดใหญ่ และ กดั กนิ ใบพืชอย่างรวดเร็ว กดั กนิ ทงั้ ใบ กา้ น ดอก และผล การเขา้ ทำลายมกั เกดิ เปน็ หยอ่ มๆ ตามจดุ ทต่ี วั เตม็ วยั เพศเมยี วางไข่ และพบการระบาดตลอดทง้ั ปี แนวทางการปอ้ งกันกำจดั ◆ ใชว้ ธิ ีเขตกรรม เช่น การไถตากดนิ และการเกบ็ เศษซากพืชอาหาร เพอ่ื ฆา่ ดกั แด ้ เปน็ การลดแหล่งสะสมและขยายพันธ ์ุ ◆ ใชว้ ิธีกล เช่น เก็บกลุ่มไขแ่ ละหนอนไปทำลาย จะช่วยลดการระบาดลงได้ ◆ ใช้สารจุลินทรีย์ เช่น เช้ือไวรัส (นิวเคลียร์โพลีฮีโดรซิสไวรัส) หนอนกระทู้หอม เช่น DOA BIO V1 (กรมวิชาการเกษตร) หรือใช้เช้ือแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis subsp. aizawai หรือ Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki ควรพ่นในระยะที่มีการระบาดน้อย หนอนมีขนาดเล็ก และพ่นในช่วง เวลาเย็น หากระบาดมากใหใ้ ช้สารฆ่าแมลง ◆ ใชส้ ารฆา่ แมลงทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการปอ้ งกนั กำจดั เชน่ คลอรฟ์ นี าเพอร์ 10% SC อัตรา 30-40 มิลลิลิตร หรืออิมาเม็กตินเบนโซเอต 1.92% EC อัตรา 15-20 มิลลิลิตร หรืออินด๊อกซาคาร์บ 15% SC อัตรา 15-30 มิลลิลิตร หรือสปินโน แซด 12% SC อัตรา 20-30 มิลลิลิตร หรือลูเฟนนูรอน 5% EC อัตรา 20-30 มลิ ลลิ ติ ร ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ พน่ ซำ้ ตามการระบาด ควรพน่ เมื่อหนอนมีขนาดเล็ก หากมีการระบาดมากให้ใช้ในอัตราสูงและเพ่ิมช่วงการ พ่นให้ถีข่ น้ึ ควรพน่ สลบั กลมุ่ สารและใช้ไมเ่ กนิ 2-3 ครัง้ ต่อฤดปู ลูก เพือ่ หลกี เลยี่ ง แมลงสร้างความต้านทาน ศตั รธู รรมชาติ แตนเบียนหนอน Microplitis manilae Ashmead แมลงวัน Peribaea 4 orbata (Wiedemann) และมวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff)

ไข่ หนอน ดกั แด้ ตวั เตม็ วัย c o m m o n c u t w o r m ระยะการเจริญเตบิ โตของหนอนกระทผู้ ัก ลกั ษณะการทำลายของหนอนกระทผู้ กั มวนพิฆาต แมลงศตั รูธรรมชาติ ของหนอนกระทผู้ กั 5

ห น อ น ก ร ะ ทู้ ห อ ม หนอนกระท้หู อม (beet armyworm) ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Spodoptera exigua (Hubner) วงศ:์ Noctuidae อันดบั : Lepidoptera ช่ือสามญั อน่ื : หนอนหลอด หนอนหอม หนอนหนังเหนยี ว ความสำคัญและลักษณะการทำลาย หนอนกระทู้หอมเป็นแมลงศัตรูที่สำคัญ ของพืชผักเศรษฐกิจหลายชนิด หนอนเมื่อฟัก ออกจากไข่จะกดั กนิ ผวิ ใบบริเวณสว่ นตา่ งๆ ของพรกิ เป็นกลมุ่ และความเสียหายรนุ แรง ในระยะหนอนวัย 3 ซ่ึงจะแยกย้ายกัดกินทุกส่วนของพืช เช่น ใบ ดอก และผลพริก หากปรมิ าณหนอนมากความเสียหายจะรุนแรง ผลผลิตจะเสียหายและคณุ ภาพไมเ่ ป็นท่ี ต้องการของตลาด แนวทางการปอ้ งกนั กำจัด ◆ ใชว้ ธิ ีเขตกรรม เช่น การไถตากดิน และการเก็บเศษซากพืชอาหาร เพอื่ ฆา่ ดกั แด้ เป็นการลดแหลง่ สะสมและขยายพนั ธ ุ์ ◆ ใช้วิธีกล เชน่ เกบ็ กลมุ่ ไขแ่ ละหนอนไปทำลาย จะชว่ ยลดการระบาดลงได้ ◆ ใชส้ ารจลุ นิ ทรยี ์ เชน่ เชอ้ื ไวรสั (นวิ เคลยี รโ์ พลฮี โี ดรซสิ ไวรสั ) หนอนกระทหู้ อม เชน่ DOA BIO V1 (กรมวิชาการเกษตร) หรือใช้เชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis subsp. aizawai หรือ Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki ควรใช้ในระยะท่ีมีการระบาดน้อย หนอนมีขนาดเล็ก และพ่นในช่วง เวลาเย็น หากระบาดมากให้ใช้สารฆา่ แมลง ◆ ใช้สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัด เช่น คลอร์ฟีนาเพอร์ 10% SC อัตรา 30-40 มิลลิลิตร หรืออิมาเม็กตินเบนโซเอต 1.92% EC อัตรา 15-20 มิลลลิ ติ ร หรืออนิ ดอ๊ กซาคาร์บ 15% SC อตั รา 15-30 มลิ ลิลิตร หรือ สปินโนแซด 12% SC อัตรา 20-30 มลิ ลิลติ ร หรอื ลเู ฟนนรู อน 5% EC อัตรา 20-30 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร อย่างใดอย่างหนึ่ง พ่นซ้ำตามการระบาด ควรพ่นเมื่อหนอนมีขนาดเล็ก หากมีการระบาดมากให้ใช้ในอัตราสูงและเพิ่มช่วง การพน่ ให้ถีข่ นึ้ ควรพน่ สลับกลุ่มสารและใช้ไม่เกนิ 2-3 คร้ังตอ่ ฤดูปลูก เพื่อหลีก เล่ียงแมลงสรา้ งความตา้ นทาน ศัตรูธรรมชาติ แตนเบียนหนอน Microplitis manilae Ashmead และ Charops sp. แมลงวัน Peribaea orbata (Wiedemann) และแมลงห้ำ เช่น มวนพิฆาต 6 Eocanthecona furcellata (Wolff)

b e e t a r m y w o r m ไข่ หนอน ดักแด้ ตัวเต็มวยั ระยะการเจรญิ เติบโตของหนอนกระทู้หอม ลักษณะการทำลายของหนอนกระทู้หอม มวนพฆิ าต แมลงศัตรธู รรมชาต ิ ของหนอนกระทหู้ อม 7

ห น อ น เ จ า ะ ส ม อ ้ฝ า ย หนอนเจาะสมอฝา้ ย (cotton bollworm) ชื่อวิทยาศาสตร์: Helicoverpa armigera (Hübner) วงศ:์ Noctuidae อนั ดับ: Lepidoptera ชอ่ื สามัญอื่น : หนอนเจาะสมออเมรกิ นั หนอนเจาะฝกั ขา้ วโพด หนอนเจาะผลมะเขอื เทศ ความสำคัญและลกั ษณะการทำลาย หนอนเจาะสมอฝ้ายเป็นแมลงศัตรูที่สำคัญ ของพืชผัก พืชไร่ และไม้ผลหลายชนิด ทำลายพรกิ โดยการกดั กนิ ดอก และผลพรกิ หรอื เจาะฝกั หนอนกดั กนิ ทกุ สว่ นของตน้ พชื ทำใหเ้ กดิ ความเสยี หายมากกวา่ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ หนอนขนาดใหญ่ (วยั 4-5) มคี วามตา้ นทาน ต่อสารฆา่ แมลงสงู แนวทางการป้องกันกำจัด ◆ ใชว้ ธิ ีเขตกรรม เช่น การไถตากดิน และการเก็บเศษซากพชื อาหาร เพอ่ื ฆ่าดกั แด ้ เป็นการลดแหล่งสะสมและขยายพนั ธ์ุ ◆ ใช้วธิ กี ล เชน่ เกบ็ กลมุ่ ไขแ่ ละหนอนไปทำลาย จะชว่ ยลดการระบาดลงได ้ ◆ ใช้เชื้อไวรสั (นวิ เคลยี รโ์ พลีฮีโดรซสิ ไวรัส) หนอนเจาะสมอฝา้ ย เชน่ DOA BIO V2 (กรมวิชาการเกษตร) พ่นอัตรา 30 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร ในช่วงเวลาเย็น โดยผสมกับสารจับใบ ◆ ใช้เชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis subsp. aizawai หรือ Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki อตั รา 60-80 กรัมต่อนำ้ 20 ลิตร พน่ ทกุ 5 วนั ในชว่ งเวลาเยน็ ◆ ใชส้ ารฆา่ แมลงทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการปอ้ งกนั กำจดั เชน่ อนิ ดอ๊ กซาคารบ์ 15% SC หรือสปินโนแซด 12% SC หรืออิมาเม็กตินเบนโซเอต 1.92% EC อัตรา 15, 20 และ 20 มลิ ลลิ ติ ร ตอ่ นำ้ 20 ลิตร ตามลำดบั ศตั รูธรรมชาต ิ แมลงวนั เบยี น Tachina sp. และมวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) 8

ไข่ หนอน c o t t o n b o l l w o r m ตวั เตม็ วยั ระยะการเจริญเตบิ โตของหนอนเจาะสมอฝา้ ย ลักษณะการทำลายของหนอนเจาะสมอฝ้าย มวนพิฆาต แมลงศัตรูธรรมชาติของ หนอนเจาะสมอฝา้ ย 9

แ ม ล ง ัว น ผ ล ไ ้ม แมลงวันผลไม้ (solanum fruit fly) ชอ่ื วิทยาศาสตร์: Bactrocera latifrons (Hendel) วงศ:์ Tephritidae อันดับ: Diptera ช่อื สามัญอ่นื : หนอนดดี หนอนน้ำปลา ความสำคญั และลักษณะการทำลาย แมลงวันผลไม้ชนิดนี้เป็นแมลงศัตรูท่ีสำคัญ ของพริกและพืชตระกูลมะเขือ ตัวเต็มวัย วางไข่ในระยะพริกใกล้เปล่ียนสี ไปจนกระทั่งผลสุก หนอนกัดกินชอนไชอยู่ภายในผล ทำให้ผลพรกิ เนา่ รว่ งหลน่ เม่อื หนอนโตเต็มทีจ่ ะเจาะออกมาเข้าดกั แดใ้ นดนิ แนวทางการป้องกนั กำจัด ◆ วิธีเขตกรรม เช่น ทำความสะอาดแปลงปลูก โดยการเก็บผลพริกที่ร่วงหล่นเผา ทำลาย เพ่ือลดแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวันผลไม้ หรือทำลายพืชอาศัยท่ีอยู่รอบๆ แปลงปลกู ◆ การใชน้ ำ้ มนั ปโิ ตรเลยี ม ไดแ้ ก่ ดซี ี ตรอน พลสั 83.9% EC หรอื เอสเค เอน็ สเปรย์ 99 83.9% EC หรือ ซันสเปรย์ อัลตร้า ฟราย 83.9% EC อัตรา 60 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลติ ร เนน้ พน่ ทผ่ี ลพรกิ ทกุ 5-7 วนั ในกรณพี นื้ ทท่ี พี่ บการระบาดเปน็ ประจำ พน่ ครงั้ แรก เมอ่ื พรกิ เรม่ิ ตดิ ผล หยดุ พน่ กอ่ นเกบ็ เกย่ี วผลผลติ 5-7 วนั ◆ การใช้สารฆ่าแมลงท่ีมีประสิทธิภาพ ได้แก่ มาลาไทออน 57% EC อัตรา 50 มลิ ลลิ ติ ร ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร ศตั รธู รรมชาต ิ แตนเบยี น แตนเบียน แมงมมุ ตาหกเหลยี่ ม Fopius arisanus (Sonan) Diachasmimorpha Oxyopes sp. longicaudata (Ashmead) 10

ไข่ หนอน ดกั แด้ ตัวเตม็ วัย s o l a n u m f r u i t f l y ระยะการเจริญเติบโตของแมลงวันผลไม้ในพริก ลักษณะการทำลายของแมลงวนั ผลไมใ้ นพริก 11

แ ม ล ง ห ่วี ข า ว ย า สู บ แมลงหวี่ขาวยาสบู (tobacco whitefly) ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Bemisia tabaci (Gennadius) วงศ์ : Aleyrodidae อันดบั : Homoptera ชือ่ สามญั อน่ื : - ความสำคญั และลกั ษณะการทำลาย แมลงชนดิ นเี้ ปน็ ศตั รพู ชื ทสี่ ำคญั ของพชื ผกั และพชื เสน้ ใย ระบาดมากในฤดแู ลง้ ตวั ออ่ น และตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเล้ียงบริเวณใบ และเป็นพาหะนำโรคที่เกิดจากไวรัส ทำให้ ใบพรกิ หงกิ ซีดด่าง หรือใบหงิกเหลอื ง ยอดไม่เจรญิ และตน้ พรกิ แคระแกร็นไมส่ มบูรณ์ ผลพรกิ ทไ่ี ดไ้ ม่มีคุณภาพ แนวทางการป้องกนั กำจัด ◆ คลุกเมล็ดก่อนเพาะกล้าด้วยสารคาร์โบซัลแฟน 25% ST อัตรา 40-50 กรัม/ เมล็ดพันธ์ุ 1 กโิ ลกรมั ◆ ใชค้ ารโ์ บซลั แฟน 20% EC อตั รา 50-75 มลิ ลลิ ติ ร หรอื อมิ ดิ าโคลพรดิ 10% SL อตั รา 40 มลิ ลลิ ติ ร หรอื ฟโิ ปรนลิ 5% SC อตั รา 40 มลิ ลลิ ติ ร ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร อยา่ งใด อย่างหนง่ึ พ่นซำ้ ตามการระบาด ศตั รธู รรมชาต ิ แมลงเบียน เช่น แตนเบียน Encrasia sp. และแมลงห้ำ เช่น แมลงช้างปีกใส Chrysopa basalis Walker และ Chrysopa sp. และแมงมมุ สนุ ขั ปา่ Lycosa sp. และ แมงมมุ ตาหกเหลยี่ ม Oxyopes sp. 12

ตวั ออ่ น t o b a c c o w h i t e f l y ไข่ ดักแด้ ตัวเตม็ วัย ระยะการเจรญิ เติบโตของแมลงหวี่ขาวยาสูบ 13

แ ม ล ง ห ่วี ข า ว ใ ย เ ก ลี ย ว แมลงหวขี่ าวใยเกลียว (spiraling whitefly) ช่ือวทิ ยาศาสตร:์ Aleurodicus dispersus (Russell) วงศ์ : Aleyrodidae อันดบั : Homoptera ช่อื สามัญอื่น : - ความสำคญั และลกั ษณะการทำลาย เปน็ ศตั รพู ชื ทสี่ ำคญั ของพชื ผกั และพชื เสน้ ใย ระบาดมากในฤดแู ลง้ ตวั ออ่ นและตวั เตม็ วยั จะดูดกินน้ำเล้ียงบริเวณใบ และเป็นพาหะนำโรคท่ีเกิดจากไวรัส ทำให้ใบพริกหงิก ซดี ด่าง หรือใบหงกิ เหลือง ยอดไมเ่ จรญิ และต้นพริกแคระแกรน็ ไม่สมบูรณ์ ผลพรกิ ที่ได้ ไม่มีคณุ ภาพ แนวทางการป้องกันกำจดั ◆ คลุกเมล็ดก่อนเพาะกล้าด้วยสารคาร์โบซัลแฟน 25% ST อัตรา 40-50 กรัม/ เมลด็ พนั ธุ์ 1 กโิ ลกรมั ◆ ใชค้ ารโ์ บซลั แฟน 20% EC อตั รา 50-75 มลิ ลลิ ติ ร หรอื อมิ ดิ าโคลพรดิ 10% SL อตั รา 40 มลิ ลลิ ติ ร หรอื ฟโิ ปรนลิ 5% SC อตั รา 40 มลิ ลลิ ติ ร ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร อย่างใด อยา่ งหนงึ่ พน่ ซ้ำตามการระบาด ศตั รธู รรมชาต ิ แมลงเบียน เช่น แตนเบียน Encrasia sp. และแมลงห้ำ เช่น แมลงช้างปีกใส Chrysopa basalis Walker และ Chrysopa sp. และแมงมมุ สนุ ขั ปา่ Lycosa sp. และ แมงมมุ ตาหกเหลยี่ ม Oxyopes sp. 14

ตวั ออ่ น ไข่ ตัวเต็มวัย ตัวเตม็ วยั s p i r a l i n g w h i t e f l y ระยะการเจริญเตบิ โตของแมลงหว่ีขาวใยเกลียว ลกั ษณะการทำลายของแมลงหวขี่ าวใยเกลยี วบนใบพริก 15

เ พ ้ลี ย ่อ อ นเพลี้ยอ่อน (aphids) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์: 1. Myzus persicae Sulzer (เพลยี้ ออ่ นลกู ทอ้ , peach aphid) 2. Aphis gossypii Glover (เพล้ียออ่ นฝา้ ย, cotton aphid) วงศ์: Aphididae อนั ดบั : Homoptera ชอ่ื สามัญอื่น: - ความสำคัญและลกั ษณะการทำลาย เพลย้ี ออ่ นสองชนดิ นเ้ี ปน็ แมลงศตั รทู สี่ ำคญั ของพชื ผกั พชื ไร่ และไมผ้ ลหลายชนดิ ทง้ั ตวั ออ่ น และตวั เตม็ วยั ดดู กนิ นำ้ เลย้ี งจากใบและยอด การทำลายของเพลย้ี ออ่ นในพรกิ จะทำใหเ้ กดิ ใบบดิ เปน็ คลนื่ ทำใหต้ น้ พชื ชะงกั การเจรญิ เตบิ โต และยงั เปน็ พาหะนำเชอ้ื ไวรสั ทำใหเ้ กดิ โรค ใบดา่ งในพรกิ มกั ระบาดในชว่ งอากาศแหง้ แลง้ แนวทางการป้องกนั กำจัด ◆ การใชว้ ธิ เี ขตกรรม เชน่ กำจดั วชั พชื ในบรเิ วณแปลงปลกู ◆ ถ้าพบเพล้ียอ่อนมีความหนาแน่น 10-20% ของพ้ืนท่ีใบทั้งต้นจากจำนวน 10% ของตน้ ทงั้ หมด ใหพ้ ่นอิมิดาโคลพริด 10% SL อัตรา 10 มิลลิลิตร หรือไดโนทีฟู แรน 10% WP อัตรา 10 กรัม หรือฟิโปรนิล 5% SC อัตรา 20 มิลลิลิตร หรือ อีโทเฟนพรอกซ์ 20% EC อัตรา 30 มิลลิลิตร หรือคาร์โบซัลแฟน 20% EC อตั รา 40 มลิ ลลิ ติ ร ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ จนกวา่ การระบาดจะลดลง ศัตรูธรรมชาต ิ ด้วงเต่าลายหยัก Menochilus sexmaculatus (Fabricius) ด้วงเต่าสีส้ม Micraspis discolor (Fabricius) ดว้ งเตา่ ลายขวาง Coccinella transversalis Fabricius หรอื แมลงวนั เซอรพ์ ดิ Syrphus balteatus (De Geer) 16

a p h i d s ลกั ษณะตวั อ่อนเพลยี้ ออ่ นลูกท้อ ลกั ษณะตวั อ่อนเพล้ียอ่อนฝ้าย ลกั ษณะการทำลายของเพล้ียออ่ น 17

ไ ร ข า ว พ ิร ก ไรขาวพรกิ (broad mite) ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Polyphagotarsonemus latus Banks วงศ์: Tarsonemidae อนั ดับย่อย: Actinedida อันดับ: Acariformes ช่อื สามัญอนื่ : - ความสำคัญและลักษณะการทำลาย ไรขาวพรกิ เปน็ ศตั รทู สี่ ำคญั ของพรกิ ตวั ออ่ นและตวั เตม็ วยั ของไรขาวพรกิ ดดู กนิ นำ้ เลยี้ ง จากใบอ่อน ยอด และดอก ทำให้ใบและยอดหงิกงอ ขอบใบมว้ นงอลงดา้ นลา่ ง ทำใหใ้ บ มีลักษณะเรียวแหลม ก้านใบยาว เปราะหักง่าย อาการขั้นรุนแรงส่วนยอดจะแตก เปน็ ฝอย ถา้ ทำลายดอก กลบี ดอกจะบดิ แคระแกรน็ ชะงกั การเกดิ ดอก หากระบาดรนุ แรง ต้นพริกจะแคระแกร็น ไมเ่ จรญิ เติบโต มกั ระบาดในช่วงทม่ี อี ากาศชื้น โดยเฉพาะในชว่ ง ฤดฝู น แนวทางการป้องกนั กำจัด ◆ ถ้าพบการระบาดใหใ้ ชส้ ารฆา่ แมลง-ไร ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เชน่ อามที ราซ 20% EC อัตรา 40 มลิ ลลิ ติ ร หรอื ไพรดิ าเบน 20% WP อตั รา 10 กรมั หรอื ฟโิ ปรนลิ 5% SC อัตรา 10-20 มิลลิลิตร หรืออิมาเม็กตินเบนโซเอต 1.92% EC อัตรา 10 มิลลิลิตร หรือสไปโรมีซิเฟน 24% SC อัตรา 8 มิลลิลิตร หรือกำมะถัน 80% WP อัตรา 60-80 กรมั ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ พน่ ซำ้ ตามการระบาด ศตั รธู รรมชาติ ไรตวั หำ้ Amblyseius cinctus Corpus and Rimando 18

ไข่ ตวั อ่อน ดกั แด้ ตัวเต็มวัย ระยะการเจรญิ เตบิ โตของไรขาวพรกิ b r o a d m i t e อาการใบหงกิ ขอบใบมว้ นงอลงดา้ นลา่ ง จากการทำลายของไรขาวพรกิ อาการยอดออ่ นแตกฝอย จากการทำลายของไรขาวพรกิ 19

ัศ ต ูร ธ ร ร ม ช า ิต ENศ ตัnaรeธู tmรuรriมaeชslาติ 20

แมงมมุ แมงมุม Oxyopes sp. แมงมมุ สนุ ขั ป่า Lycosa sp. N a t u r a l E n e m i e s กำลังกนิ แมลงวันผลไม้ กำลังกินแมลงวันผลไม้ แมงมุมกระโดด แมงมุม Oxyopes sp. Evarcha flavocincta (C. L. Koch) แมงมุม Oxyopes sp. 21

มวนตัวห้ำ ไข่ ตัวอ่อน ัศ ต ูร ธ ร ร ม ช า ิต ตัวอ่อน ตัวเตม็ วัย มวนเพชฌฆาต Sycanus croceovittatus Dohrm ตวั เตม็ วัย ไข่ 22 ตวั ออ่ น มวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff)

ด้วงตวั หำ้ ด้วงเต่าลายขวาง ด้วงเตา่ Cryptolaemus sp. N a t u r a l E n e m i e s Coccinella transversalis (F.) ตัวออ่ น ตัวเตม็ วยั ดว้ งเตา่ ลายหยกั Menochilus sexmanculatus (F.) ด้วงเตา่ สสี ม้ ดว้ งเต่าใหญจ่ ดุ ดำ Micraspis discolor (F.) Synonycha grandis (Thunberg) 23

ัศ ต ูร ธ ร ร ม ช า ิต ไรตัวหำ้ ไรตวั หำ้ Amblyseius cinctus Corpuz & Rimando กินไรขาวพรกิ แมลงหางหนีบ 24

ตัวอ่อนแมลงชา้ งปีกใส (Plesiochrysa sp.) ตวั ออ่ นแมลงช้างปกี ใสกินเพลีย้ ออ่ น ตัวออ่ น N a t u r a l E n e m i e s ตัวเตม็ วยั 25



โ ร ค ืพ ช P l a n t D i s e a s e s DisePโaรlคasพenชื st 27

โ ร ค แ อ น แ ท ร ค โ น ส ห รื อ โ ร ค กุ้ ง แ ้ห ง โ(รAคnแtอhนraแcทnรoคsโeนสDiหseรaือsโรeค) กงุ้ แห้ง เชอ้ื สาเหต ุ Colletotrichum gloeosporioides (Penz. & Sacc.) Colletotrichum capsici (Syd.&P.Syd) Butler & Bisley ลักษณะอาการ เกิดโรคได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช โดยเฉพาะผลพริกใกล้ สุก อาการเร่ิมแรกเป็นแผลวงกลมช้ำสีน้ำตาล แผลลึกลงไปในเนื้อเยื่อพืช ต่อมาจุดช้ำ สีน้ำตาลนี้จะลุกลามกว้างออกไป แผลวงกลมหรือแผลรูปไข่ ขนาดของแผลไม่แน่นอน ถา้ อากาศมคี วามชน้ื สงู จะเหน็ เปน็ เมอื กเยม้ิ สสี ม้ ออ่ น หรอื สดี ำ ซอ้ นกนั เปน็ วง ผลพรกิ เนา่ และร่วงก่อนการเกบ็ เกยี่ ว ถา้ เกดิ โรคทกี่ ้านใบและกา้ นผลจะทำให้ใบและผลรว่ ง การแพร่ระบาด สปอร์ของราแพร่กระจายไปกับลม น้ำฝน หรือไปกับน้ำท่ีใช้ในการ เพาะปลูก อยู่ข้ามฤดูได้โดยติดอยู่กับเศษซากพืชหรือพืชอาศัยอ่ืนๆ โรคระบาดรุนแรง ในสภาพท่ีมคี วามชื้นสูง หรอื ฝนตก การป้องกนั กำจดั 1. คดั เลอื กเมลด็ พนั ธท์ุ สี่ มบรู ณ์จากผลพริกท่ีไม่เปน็ โรคมาปลูก 2. ก่อนปลูก คลุกเมล็ดพันธ์ุพริกด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซบ ไดเทนเอม็ 45 ชนดิ สแี ดง เพอ่ื ทำลายเชอื้ ทตี่ ดิ มากบั เมลด็ พนั ธ ์ุ หรือแช่เมล็ดพันธ์ุในน้ำอุ่นท่ี อุณหภูมิ 50-52 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที เพือ่ กำจดั เชอ้ื รา ทอ่ี าจตดิ มากบั เมล็ดพันธุ์ 3. ไม่ปลูกต้นพริกแน่นเกินไป ทำให้มีความชื้นในแปลงสูง และโรคจะระบาด ได้ง่ายและรวดเรว็ 4. หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายต้นพืชที่เป็นโรค โดย การถอนไปเผาทิง้ แล้ว เพื่อลดปรมิ าณของเชื้อสาเหตใุ นฤดปู ลกู ต่อไป 5. พ่นสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา พ่นทุกๆ 7-10 วัน ต่อครั้งในระยะดอก ออกจนถึงระยะตัดผล เช่น แมนโคเซบ โพรคลอราช ไดฟีโนโคนาโซล อะซอ็ กซส่ี โตรฟิน คลอโรไทโรนลิ คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ 28

A n t h r a c n o s e D i s e a s e อาการเรมิ่ แรก อาการบนผลเกิดจากรา C. capsici อาการบนผลเกดิ จากรา C. gloeosporioides 29 อาการรนุ แรงระบาดท้งั แปลง

โ ร ค เ ่น า เ ีป ย ก โรคเนา่ เปียก (Wet Rot Disease) เชอื้ สาเหต ุ Choanephora cucurbitarum (Berk. & Ravenel) Thaxt. ลักษณะอาการ ราเขา้ ทำลายสว่ นทเี่ ป็นยอดอ่อน ใบออ่ น ตาดอกและดอก ลักษณะ ฉำ่ นำ้ ยอดอ่อนแหง้ ดำและลกุ ลามไปตามกิง่ ทำใหก้ ิง่ แหง้ ราเขา้ ทำลายผลทำใหผ้ ลเนา่ พบโรคระบาดรุนแรงในช่วงสภาพอากาศช้ืน หรือหลังฝนตก ในช่วงเช้าตรู่ มักพบรา สร้างสปอร์บริเวณแผลเน่าดำ ลักษณะเป็นขนสีเทา ปลายมีลักษณะเป็นตุ่มสีดำ ลกั ษณะคลา้ ยขนแมว การแพรร่ ะบาด สปอร์ของราแพร่กระจายไปกับลม น้ำฝน หรือไปกับน้ำท่ีใช้ในการ เพาะปลกู อยูข่ ้ามฤดไู ด้โดยติดอยกู่ ับเศษซากพืชหรือพชื อาศยั อืน่ ๆ โรคระบาดไดร้ นุ แรง เมอื่ สภาพแวดลอ้ มเหมาะสม เช่น ฝนตก อากาศเย็น ใบพืชเปยี กเปน็ เวลานานตดิ ต่อกนั หรอื มอี ากาศแห้งในเวลากลางวนั และอากาศเย็นมนี ้ำค้างลงจัดในเวลากลางคนื การปอ้ งกันกำจดั 1. หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายต้นพืชท่ีเป็นโรค โดย การถอนไปเผาทงิ้ แล้ว เพือ่ ลดปริมาณของเชอื้ สาเหต ุ 2. กำจดั วัชพชื ท่ีเป็นพืชอาศัยของโรค ไดแ้ ก่ หญ้ายาง 3. ไมป่ ลูกต้นพริกแนน่ เกินไป ทำใหม้ คี วามช้ืนในแปลงสูง และเกิดโรคระบาด ได้งา่ ยและรวดเร็ว 4. พน่ สารเคมปี ้องกนั กำจดั รา เม่ือพบโรคระบาด เชน่ ไอโพรไดโอน 30

Wet Rot Disease อาการโรคเนา่ เปียก 31

โ ร ค ร า ก เ ่น า แ ล ะ โ ค น เ ่น า โรครากเน่าและโคนเนา่ (Root Rot and Stem Rot Disease) เชอื้ สาเหต ุ Sclerotium rolfsii  Sacc. ลกั ษณะอาการ ต้นพริกท่ีเป็นโรคนี้เริ่มมีอาการใบเหลืองเห่ียวและใบร่วง ยืนต้น ตายในท่ีสุด จะพบโรคน้ีในขณะท่ีต้นพริกกําลังเจริญเติบโตเต็มที่ หรืออยู่ในระหว่าง การออกดอกตดิ ผล โคนตน้ และรากพรกิ เนา่ เนอื้ เยอ่ื เปน็ สนี ำ้ ตาล และทโี่ คนตน้ พบเสน้ ใย สีขาว นอกจากน้ียังพบเม็ดกลมๆ เล็กๆ เกิดจากเส้นใยของเชื้อราท่ีเจริญรวมกันเป็น ก้อนแข็งกลมสีขาว ซ่ึงจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและสีดํา การเกิดของเม็ดเชื้อรามักจะอยู่ ชิดกับราก หรือโคนต้นในช่วงที่มีอากาศร้อนชื้น หรือมีความช้ืนที่โคนต้นสูงมากๆ เชอื้ ราจะเจริญเติบโตเปน็ เส้นใยสขี าวแผ่ข้ึนไปตามลาํ ต้นไดส้ งู ถงึ 3-4 นวิ้ การแพรร่ ะบาด สปอร์ของราแพร่ระบาดไปกับดินและน้ำ อยู่ข้ามฤดูได้โดยติดอยู่ กับเศษซากพืชหรือพืชอาศัยอื่นๆ โรคระบาดได้อย่างรุนแรง ในสภาพความช้ืนสูง โดยเฉพาะในชว่ งฤดฝู น การป้องกันกำจัด 1. ถอนตน้ ทเี่ ป็นโรคและไถพลิกดินและตากไวอ้ ย่างน้อย 7 วนั 2. ใช้สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราในดิน เช่น ควินโทซีน-อีทริไดอะโซล (เทอรอคลอ ซปุ เปอรเ์ อ็กซ)์ อัตรา 30-60 ซซี ี ผสมน้ำ 20 ลิตร พน่ หรอื ราดไปทั่วแปลง 3. ในแปลงที่เป็นโรคมาก่อน ก่อนปลูกพืชใหม่ให้ใส่ปูนขาวเพ่ือปรับปรุง สภาพดิน 4. ใช้สารเคมีป้องกันกําจัดเช้ือรา รากต้นท่ีเป็นโรค โดยใช้ เทอราคลอ เทอราคลอซุปเปอร์เอ็กซ์ หรอื ใชบ้ าซลิ ลสั กบั ทลิ ิส ผสมน้ำ ราดดิน 5. ปลูกพชื หมุนเวียน สลบั อย่างนอ้ ย 5 ปี ในแปลงท่ีมโี รคระบาด 32

R o o t R o t a n d S t e m R o t D i s e a s e 33 โคนตน้ และรากพรกิ เนา่ เนอื้ เยอื่ เปน็ สนี ำ้ ตาลและพบเมด็ กลมๆ เลก็ ๆ เกดิ จากเสน้ ใย ของเชอ้ื ราทเี่ จรญิ รวมกนั เปน็ กอ้ นแขง็ กลมสขี าว

โรคเหีย่ วฟิวซาเรยี ม (Fusarium Wilt) เชือ้ สาเหตุ : Fusarium oxysporum f.sp. capsici ลักษณะอาการ ใบพริกที่อยู่ตอนล่างของต้นเปล่ียนเป็นสีเหลือง ต่อมาใบที่มีอยู่ถัด ข้ึนมาค่อยๆ เหลืองเพ่ิมมากข้ึนตามลำดับ เน่ืองจากเชื้อราเข้าทำลายรากหรือส่วนของ ต้นที่อยู่ระดับหรือใต้พ้ืนดิน ทำให้เนื้อเยื่อรากและโคนต้นถูกทำลายจนเน่าเป็นสีน้ำตาล ทำใหต้ น้ พริกแสดงอาการภายนอกใหเ้ ห็น จากน้นั ยอดพรกิ เริม่ แสดงอาการเห่ยี ว ใบรว่ ง ส่วนใหญ่อาการมักชัดเจนในระยะผลิตดอกและผล ทำให้ดอกและผลอ่อนร่วงหล่นไป พรอ้ มกับใบ และยนื ต้นตายใน 1-2 สัปดาห์ หากเช้อื ราเขา้ ทำลายในระยะทีเ่ ป็นต้นอ่อน โ ร ค เ หี่ ย ว ิฟ ว ซ า เ รี ย ม อย่างรุนแรง จะทำใหต้ น้ พรกิ แคระแกรน็ แล้ว อาจทำใหต้ ้นตายไดใ้ นเวลาไมน่ าน การแพร่ระบาด เชื้อราอาศัยข้ามฤดูอยู่ในดินปลูกได้โดยการอาศัยตามเศษซากพืช และอินทรียวัตถอุ ่นื ๆ ในรปู สปอรผ์ นังหนา (คลามายโดสปอร์, Chlamydospore) เม่ือ ปลกู พรกิ ซำ้ ลงในพืน้ ทเ่ี ดิม และมีสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม สปอรผ์ นังหนากง็ อกเสน้ ใย เจริญเขา้ ไปทำลายตน้ พรกิ ไดอ้ กี การระบาดส่วนใหญ่เชือ้ จะตดิ ไปกับดิน น้ำ จอบ เสียม ไถ คราด ลอ้ รถยนต์ รถไถดนิ หรือติดไปกับช้นิ สว่ นของพชื เชน่ ต้นกลา้ ลักษณะอาการโรคเห่ียวฟิวซาเรียมท่ีแตกต่างจากโรคเห่ียวท่ีเกิดจากเช้ือแบคทีเรีย โรคเห่ียวที่เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียมน้ัน ทำให้ต้นพริกเหี่ยวพร้อมๆ กับเน้ือเย่ือท่อลำ เลียงบริเวณนั้นเกิดรอยแผลเน่าสีน้ำตาล อาการเห่ียวพัฒนาขึ้นไปตามระยะเวลาที่เชื้อ เข้าทำลาย โดยไม่มีการฟ้ืนตัว ซึ่งแตกต่างจากโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ท่ีต้น เหยี่ วมักฟ้นื ตวั จากอาการเหย่ี วในเวลากลางคนื การปอ้ งกนั กำจดั 1. หลีกเลี่ยงการปลูกพริกลงในดินท่ีเคยพบโรคมาก่อน และเพาะกล้าในดิน หรือวัสดปุ ลกู ท่ีสะอาดปราศจากเช้ือรา 2. เลอื กปลูกพรกิ โดยใช้พันธท์ุ ีม่ คี วามตา้ นทานต่อโรค 3. ปลกู พชื หมนุ เวยี น หรอื สลบั กบั พชื ตระกลู อน่ื ๆ ทไี่ มเ่ ปน็ พชื อาศยั ของเชอ้ื รา สาเหตุโรค 4. ใช้ราเขียวไตรโคเดอร์มา โรยแล้วคลุกเคล้าดินก่อนปลูก ช่วยป้องกันและ ยับยั้งการเจริญของเช้ือราสาเหตุเข้าทำลายส่วนรากและโคนต้นของพริก ได ้ 5. เม่ือพบต้นที่เป็นโรคให้รีบถอนนำออกจากพื้นท่ีปลูก นำต้นไปเผาทำลาย แล้วใช้ปนู ขาวโรยกลบดนิ บรเิ วณท่พี บโรคให้ท่วั หรอื ใชส้ ารเคมีป้องกัน กำจดั เชอื้ ราในดนิ เช่น เทอราคลอ เทอราโซล หรือเทอราคลอซปุ เปอร์ 34 เอก็ ซ์ ผสมนำ้ ราดลงไปในดนิ

F u s a r i u m W i l t อาการใบเปล่ียนเป็นสีเหลืองบนใบพริกท่ีอยู่ตอนล่าง และลักษณะอาการโคนต้น 35 ถกู ทำลาย

โ(รSคeโeคdนliเnนgา่ รDะaดmับคpอinดgนิ ขoอffงตD้นisกeลaา้se ) โ ร ค โ ค น เ น่ า ร ะ ัด บ ค อ ิด น ข อ ง ้ต น ก ้ล า เชอ้ื สาเหต ุ Pythium sp. Rhizoctonia solani Kühn ลกั ษณะอาการ เกิดแผลสีน้ำตาลรอบบริเวณโคนต้นกล้าพริก แผลขยายลึกเข้าไป ในลำต้น ทำให้ต้นกล้าพริกเน่าล้มพับลง และลุกลามอย่างรวดเร็ว เกิดโรคได้กับต้ังแต่ ระยะกลา้ จนถงึ ในแปลงปลูก พืชแคระแกร็นและตายได้ หรืออาจทำใหเ้ มลด็ ไมง่ อก การแพรร่ ะบาด ราสามารถอาศัยอยู่ในดิน หรือวัสดุปลูกและอินทรียวัตถุอื่นๆ และ สามารถระบาดไปกบั ระบบนำ้ ในแปลงเพาะ ราสามารถปรบั ตัวให้ทนต่อสภาพแวดลอ้ ม ไดเ้ ปน็ อย่างดี โดยเฉพาะสภาพทีม่ ีความช้ืนในดินสูง การป้องกนั กำจดั 1. ใชเ้ มล็ดพนั ธจ์ุ ากแหล่งทไ่ี ม่มีการระบาดของโรค 2. ก่อนปลูกคลุกเมล็ดด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น แมนโคเซบ โปรปเิ นบ อตั รา 7-10 กรมั ตอ่ เมลด็ 1 กโิ ลกรมั เพือ่ ทำลายโรคท่อี าจติด มากับเมลด็ 3. ปฏิบัติทางการเกษตรให้เหมาะสมเพ่ือลดการระบาดของโรค เช่น ไม่ปลูก ตน้ พรกิ แน่นเกินไปเวน้ ระยะปลูกพชื ใหม้ อี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ดนิ มีการ ระบายนำ้ ดี 4. กำจัดวัชพชื ในแปลงปลูก ไม่ควรปลอ่ ยวัชพืชขนึ้ หนาแน่น 5. หม่ันตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรคให้ทำลายต้นพืชท่ีเป็นโรค เพือ่ ลดปรมิ าณของเชอื้ สาเหต ุ 36

S e e d l i n g D a m p i n g o f f D i s e a s e อาการโรคโคนเนา่ ระดบั ดนิ ของต้นกลา้ 37

โ ร ค ร า แ ้ป ง โรคราแปง้ (Powdery Mildew Disease) เชอ้ื สาเหต ุ Oidiopsis sp.  ลกั ษณะอาการ ใบมสี เี หลีองไม่สม่ำเสมอกนั เกดิ ทีใ่ บแก่ ทอี่ ยสู่ ว่ นลา่ งๆ ของลำต้น แลว้ ลามไปยงั สว่ นบน อาการรนุ แรงทำใหใ้ บเปลย่ี นสีเหลืองทง้ั ใบ ดา้ นหลงั ใบมองเห็นมี ลักษณะเป็นผงหรือขุยสีขาวถึงสีเทา เจริญเป็นกลุ่มกระจัดกระจายทางด้านหลังใบ ในระยะต่อมาเนื้อเยื่อสีเหลืองนี้อาจมีจุดเล็กๆ สีน้ำตาลเกิดข้ึน ใบพริกท่ีมีเช้ือราเกาะ อยู่มากๆ ใบจะเหลืองและรว่ งหล่นไปในทสี่ ุด การแพรร่ ะบาด สปอร์ของราแพร่กระจายไปกับลม น้ำฝน หรือไปกับน้ำท่ีใช้ในการ เพาะปลูก อยู่ข้ามฤดูได้โดยติดอยู่กับเศษซากพืชหรือพืชอาศัยอ่ืนๆ โรคระบาดได้อย่าง รนุ แรงเม่ือสภาพแวดลอ้ มเหมาะสม เชน่ อากาศเย็น การป้องกันกำจัด 1. หม่ันตรวจแปลงอยา่ งสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายตน้ พชื ทเี่ ปน็ โรค โดย การถอนไปเผาท้ิงแล้ว เพือ่ ลดปรมิ าณของเช้ือสาเหต ุ 2. พน่ สารเคมปี อ้ งกนั กำจดั เชอ้ื รา เชน่ กำมะถันผงละลายน้ำพ่น ควรพ่นใน เวลาเช้ามืดที่อากาศเย็นหรือในตอนเย็นก็ได้ ถ้าหากพ่นในช่วงเวลาอื่นท่ีม ี อากาศร้อนจัดจะทำให้พริกได้รับความเสียหายได้มาก น่ันคือใบพริกจะ เกิดอาการไหมไ้ ด้ หรอื พน่ คาราเทน 38

P o w d e r y M i l d e w D i s e a s e 39 ผงหรอื ขยุ สขี าวคลา้ ยกบั ผงแปง้ เจรญิ เปน็ กลมุ่ กระจดั กระจายทางดา้ นหลงั ใบ ดา้ นหลงั ใบมสี เี หลอื ง

โ ร ค ใ บ จุ ด ต า ก บ โรคใบจดุ ตากบ (Frog-Eye Spot Disease) เชอ้ื สาเหต ุ Cercospora capsici Heald & F.A. Wolf ลักษณะอาการ จุดแผลกลมเลก็ กลางแผลมสี เี ทา ขอบแผลสนี ้ำตาล กระจายทั่วไป ต่อมาจุดที่เกิดข้ึนและขยายวงกว้างจนเป็นแผลขนาดใหญ่ อาจลุกลามมารวมติดกัน กลายเป็นแผลใหญ่ ทำให้แผลมีรูปร่างเปล่ียนไปไม่แน่นอนใบท่ีมีแผลใหญ่หลายแผลจะ หลดุ รว่ งไปกอ่ นกำหนด การแพรร่ ะบาด สปอร์ของราแพร่กระจายไปกับลม น้ำฝน หรือไปกับน้ำท่ีใช้ในการ เพาะปลูก อยู่ข้ามฤดูได้โดยติดอยู่กับเศษซากพืชหรือพืชอาศัยอ่ืนๆ โรคระบาดได้อย่าง รนุ แรงในสภาพท่ีมีอากาศร้อนช้ืน การปอ้ งกันกำจดั 1. หม่นั ตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายตน้ พชื ทเ่ี ปน็ โรค โดยการถอนไปเผาท้ิง เพอ่ื ลดปรมิ าณของเชื้อสาเหต ุ 2. ไม่ปลูกตน้ พริกแนน่ เกนิ ไป เว้นระยะปลูกพืชให้มอี ากาศถ่ายเทได้สะดวก และลดปริมาณความชน้ื ในดนิ 3. พน่ สารเคมปี อ้ งกนั กำจดั เชอื้ รา เชน่ แมนโคเซป ไซเนป มาเนป โดยพน่ เป็นประจำทุก 5-7 วนั ตอ่ ครั้ง 40

F r o g - E y e S p o t D i s e a s e 41 จดุ แผลจะกลม กลางแผลมีสีเทา ขอบแผลสนี ำ้ ตาล แผลจะกระจายทัว่ ไป

โ ร ค ใ บ ห ิง ก เ ห ืล อ ง พ ิร ก โรคใบหงกิ เหลืองพรกิ (Begomovirus) เชอ้ื สาเหต ุ Pepper yellow leaf curl virus (PeYLCV) Tomato yellow leaf curl virus (TYLCV) Genus : Begomovirus ลกั ษณะอาการ อาการของโรคขึ้นกับชนิดหรือพันธุ์พริกและช่วงเวลาที่เกิดโรค อาการจะเกิดเร็วและรุนแรงในต้นพริกที่ยังเล็ก ใบพริกแสดงอาการด่างสีเขียวอ่อนหรือ เหลืองสลับสเี ขยี วเขม้ เนือ้ ใบมสี ีเขยี วซดี และมีจดุ สเี ขยี วบนใบ แต่เนอื้ เยอ่ื รอบๆ เส้นใบ ยังคงเขียวเป็นปกติ ใบอ่อนของต้นพริกที่ถูกไวรัสเข้าทำลายจะมีขนาดเล็กกว่าต้นปกติ และใบแสดงอาการบดิ เบยี้ ว ตน้ พรกิ แคระแกรน็ ถา้ ตดิ ผลจะมขี นาดเลก็ และผลบดิ เบย้ี ว เสียรูปทรง การแพรร่ ะบาด มีแมลงหวี่ขาวยาสูบ (Bemisia tabaci) เป็นแมลงพาหะนําโรค พืชอาศัยท่ีสําคัญ ได้แก่ มะเขือเทศ กระเจี๊ยบเขียว ยาสูบ พืชตระกูลแตงและวัชพืช หลายชนิด โรคน้ไี มส่ ามารถถา่ ยทอดผ่านทางเมลด็ ได ้ การป้องกันกำจัด 1. ใช้พันธพ์ุ รกิ ทตี่ า้ นทานโรค 2. พ่นสารเคมปี ้องกนั กำจัดแมลงพาหะ 3. หมัน่ ตรวจแปลงอยา่ งสมำ่ เสมอ หากพบโรค ทำลายต้นพชื ทีเ่ ปน็ โรค โดย การถอนไปเผาท้ิงแลว้ เพอ่ื ลดปริมาณของเชื้อสาเหตุ 4. ไมป่ ลูกพืชหมุนเวยี นท่ีเป็นพืชอาศัย 42

B e g o m o v i r u s อาการดา่ งสเี ขยี วออ่ นหรอื เหลอื งสลบั สเี ขยี วเขม้ เนอื้ ใบมสี เี ขยี วซดี และมจี ดุ สเี ขยี วบนใบ 43