Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลพบุรี

Description: ลพบุรี เมืองสำคัญเก่าแก่เมืองหนึ่งตั้งแต่สมัยทวารวดี เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน ผ่านความรุ่งเรืองมาแล้วหลายครั้ง เคยเป็นราชธานีแห่งที่ 2 ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พรั่งพร้อมด้วยวิทยาการทันสมัย ถ้าจะบอกว่าลพบุรีรุ่งเรืองที่สุดในยุคนั้นก็ไม่ผิดนัก.

Search

Read the Text Version

ลพบรุ ี

ลลพพบบรุ ีุรี



เข่อื นปา่ สักชลสทิ ธ์ิ

การเดนิ ทาง สารบญั สถานทีท่ ่องเท่ยี ว ๘ อ�ำเภอเมืองลพบรุ ี ๙ อ�ำเภอท่าวุง้ อำ� เภอบ้านหม ่ี ๙ อ�ำเภอโคกส�ำโรง ๒๖ อ�ำเภอพัฒนานคิ ม ๒๗ อ�ำเภอชยั บาดาล ๒๙ อำ� เภอล�ำสนธิ ๒๙ ๓๒ แหลง่ หัตถกรรมและสนิ คา้ พ้ืนเมือง ๓๔ เทศกาลงานประเพณ ี ตัวอย่างโปรแกรมนำ�เทย่ี ว ๓๖ สง่ิ อำ�นวยความสะดวกในจังหวัดลพบรุ ี ๓๘ ๔๐ สถานทพี่ กั ๔๒ รา้ นอาหาร ๔๒ หมายเลขโทรศัพท์สำ�คญั ๔๔ ๔๖

วดั กวศิ รารามราชวรวหิ าร ลพบุรี วงั นารายณค์ บู่ ้าน ศาลพระกาฬคู่เมอื ง ปรางคส์ ามยอดลอื เลื่อง เมอื งแหง่ ดนิ สอพอง เขื่อนปา่ สักชลสทิ ธ์เิ กริกกอ้ ง แผ่นดนิ ทองสมเดจ็ พระนารายณ์

ลพบุรีเป็นเมืองแห่งความหลากหลายและต่อเนื่อง ลพบุรีเป็นส่วนใหญ่ และโปรดให้ทูตและชาวต่าง ทางวัฒนธรรมยาวนานกว่า ๓,๐๐๐ ปี ต้ังแต่สมัย ประเทศเข้าเฝ้าพระองคท์ ่เี มืองนหี้ ลายครัง้ กอ่ นประวตั ศิ าสตรจ์ นถงึ ปจั จบุ นั คน้ พบหลกั ฐานทาง สน้ิ รัชกาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชแลว้ ลพบรุ กี ็ ประวัติศาสตร์มากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ ตั้งแต่ หมดความสำ� คญั ลง สมเดจ็ พระเพทราชาได้ทรงยา้ ย สมัยทวารวดี (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖) ลพบุรอี ยู่ใต้ หน่วยราชการทั้งหมดกลับกรุงศรีอยุธยา พระมหา อำ� นาจมอญและขอม จนกระทั่งในตอนต้นของพทุ ธ กษตั รยิ ร์ ชั กาลตอ่ ๆ มากไ็ มไ่ ดเ้ สดจ็ มาประทบั ทเี่ มอื ง ศตวรรษที่ ๑๙ คนไทยจงึ เรมิ่ มอี ำ� นาจขึน้ ในดินแดน นีอ้ กี จนกระทง่ั ถงึ รชั กาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แถบนี้ ในรัชสมัยของพระเจา้ อทู่ อง ปฐมกษัตริยแ์ ห่ง ใน พ.ศ. ๒๔๐๖ โปรดฯ ใหบ้ รู ณะเมอื งลพบรุ ี ซ่อม กรุงศรอี ยุธยา ลพบุรมี ฐี านะเป็นเมอื งลูกหลวง กลา่ ว ก�ำแพง ปอ้ ม และประตพู ระราชวงั ทชี่ ำ� รุดทรุดโทรม คอื พระเจา้ อทู่ องไดโ้ ปรดใหพ้ ระราเมศวร พระราชโอรส และสร้างพระที่น่ังพิมานมงกุฎข้ึนในพระราชวังเป็น องคใ์ หญ่เสด็จมาครองเมืองลพบุรเี มือ่ พ.ศ. ๑๘๙๓ ท่ีประทับ และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ พระราเมศวรโปรดให้สร้างป้อม ขุดคู และสร้าง ราชนิเวศน์” ลพบุรีจึงแปรสภาพเป็นเมืองส�ำคัญอีก กำ� แพงเมอื งอยา่ งมน่ั คง เมอ่ื พระเจา้ อทู่ องสวรรคตใน วาระหน่งึ พ.ศ. ๑๙๑๒ พระราเมศวรตอ้ งถวายราชบลั ลงั กใ์ หแ้ ก่ ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ลพบุรีได้รับ พระปติ ลุ าของพระองค์ ซงึ่ ไดข้ นึ้ ครองราชย์ พระนาม การท�ำนุบ�ำรุงอีกคร้ังหน่ึงในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. ว่าพระบรมราชาธิราชท่ี ๑ ส่วนพระราเมศวร พิบูลสงคราม ซ่ึงได้สร้างเมืองลพบุรีใหม่ อันเป็น ครองเมอื งลพบรุ สี บื ตอ่ ไป จนถงึ พ.ศ. ๑๙๓๑ สมเดจ็ เมอื งทหาร อยทู่ างดา้ นทศิ ตะวนั ออกของทางรถไฟ มี พระบรมราชาธิราชที่ ๑ สวรรคต พระราเมศวรจึง อาณาเขตกวา้ งขวาง สว่ นเมอื งเกา่ นน้ั อยทู่ างดา้ นทศิ เสด็จขึ้นครองราชย์ ณ กรุงศรีอยุธยาเป็นครั้งท่ี ๒ ตะวนั ตกของทางรถไฟ เมืองลพบรุ ีจึงเปน็ ศูนย์กลาง หลงั จากนนั้ มา เมอื งลพบรุ ไี ดล้ ดความสำ� คญั ลงไป จน ส�ำคัญทางยุทธศาสตร์เมืองหนึ่ง ลพบุรีอยู่ห่างจาก กระทัง่ มาถึงสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. กรงุ เทพฯ ๑๕๓ กโิ ลเมตร มเี นอื้ ทท่ี ง้ั หมด ๖,๕๘๖.๖๗ ๒๑๙๙-๒๒๓๑) ลพบุรีได้รับการท�ำนุบ�ำรุงครั้งใหญ่ ตารางกิโลเมตร สืบเนื่องมาจากการคุกคามของชนชาติฮอลันดาที่ ติดต่อค้าขายกับไทย ท�ำให้สมเด็จพระนารายณ์ทรง อาณาเขต เห็นว่ากรุงศรีอยุธยาน้ันไม่สู้ปลอดภัยจากการปิด ทิศเหนอื ติดต่อกับจังหวดั เพชรบูรณ์ ล้อมระดมยิงของข้าศึกหากเกิดสงคราม จึงได้สร้าง และนครสวรรค์ เมืองลพบุรีเป็นราชธานีท่ีสองขึ้น เพราะลพบุรีมี ทิศใต ้ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ลกั ษณะทางยทุ ธศาสตรเ์ หมาะสม ในการสรา้ งลพบรุ ี และสระบุรี ขน้ึ ใหม่ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชทรงไดร้ บั ความ ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กบั จังหวดั นครราชสมี า ชว่ ยเหลอื จากชา่ งชาวฝรง่ั เศสและอติ าเลยี น ไดส้ รา้ ง และชยั ภมู ิ พระราชวังและป้อมปราการเป็นแนวป้องกันอย่าง ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั จังหวดั สิงห์บุรี อา่ งทอง แข็งแรง สมเด็จพระนารายณ์มหาราชประทับอยู่ท่ี และนครสวรรค์ ลพบุรี 7

การเดนิ ทาง - รถตู้ วัชรินทร์ทัวร์ กรุ๊ป จอดในบริเวณวิคตอร่ี รถยนต์ คอร์เนอร์ ปากทางพงหลี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ๑. จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑ (ถนน ค่าโดยสาร ๑๑๐ บาท โทร. ๐๘ ๙๘๐๐ ๐๗๒๑ พหลโยธนิ ) ผ่านจังหวดั สระบรุ ี อำ� เภอพระพทุ ธบาท สำ� นกั งานลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๔๗๓ เขา้ ส่จู งั หวดั ลพบุรี ระยะทาง ๑๕๓ กโิ ลเมตร รถไฟ การเดนิ ทางโดยรถไฟ สามารถเดินทางโดยรถ ๒. จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๒ สายเหนอื ออกจากสถานรี ถไฟหวั ลำ� โพงทกุ วนั วนั ละ ซ่ึงแยกจากทางหลวงหมายเลข ๑ ผ่านจังหวัด หลายเท่ยี ว ติดต่อสอบถามรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ไดท้ ่ี พระนครศรีอยธุ ยา จะมที างแยกเข้าได้ ๓ ทาง คือ หนว่ ยบรกิ ารเดนิ ทางการรถไฟแหง่ ประเทศไทย โทร. - เขา้ ทางอำ� เภอบางปะหนั ผา่ นอำ� เภอนครหลวง เขา้ ๑๖๙๐, ๐ ๒๒๒๐ ๔๓๓๔, ๐ ๒๒๒๐ ๔๔๔๔ (สำ� รอง สูท่ างหลวงหมายเลข ๓๑๙๖ ผา่ นอำ� เภอบา้ นแพรก ตัว๋ ทางโทรศพั ท์ ๓ วันขึ้นไป แตไ่ มเ่ กิน ๖๐ วัน) หรอื เขา้ สจู่ ังหวัดลพบุรี www.railway.co.th - เข้าตรงทางแยกต่างระดับจังหวัดอ่างทอง ไปยัง อำ� เภอท่าเรอื แลว้ เลีย้ วซา้ ยเข้าส่ทู างหลวงหมายเลข ระยะทางจากอำ� เภอเมืองลพบุรไี ปยังอำ� เภอต่าง ๆ ๓๑๙๖ ผา่ นอำ� เภอบา้ นแพรก เข้าสจู่ ังหวดั ลพบุรี อ�ำเภอทา่ วุ้ง ๑๐ กโิ ลเมตร - ผ่านจังหวัดอ่างทอง สิงห์บุรี แล้วใช้ทางหลวง อำ� เภอบ้านหม่ ี ๓๒ กโิ ลเมตร หมายเลข ๓๑๑ (สิงห์บุรี-ลพบุรี) ผ่านอ�ำเภอท่าวุ้ง อำ� เภอโคกส�ำโรง ๓๕ กโิ ลเมตร อ�ำเภอพัฒนานิคม ๕๑ กโิ ลเมตร เขา้ สูจ่ ังหวัดลพบรุ ี ๕๔ กโิ ลเมตร รถโดยสาร มีรถโดยสารประจ�ำทางปรับอากาศออก อ�ำเภอหนองม่วง ๖๕ กโิ ลเมตร จากสถานีขนส่งหมอชิต ๒ ทุกวัน เวลา ๐๕.๐๐- อ�ำเภอสระโบสถ์ ๗๗ กโิ ลเมตร ๒๐.๐๐ น. (ทกุ ครง่ึ ชว่ั โมง) คา่ โดยสาร รถปรบั อากาศ อ�ำเภอโคกเจรญิ ช้ันหน่ึง คนละ ๑๒๖ บาท รถบัสปรับอากาศชั้น อ�ำเภอท่าหลวง ๘๓ กโิ ลเมตร สอง คนละ ๙๘ บาท รายละเอียดสอบถามเพม่ิ เติม อำ� เภอชยั บาดาล ๙๗ กโิ ลเมตร ไดท้ ่ี โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๕๒-๖๖ ตอ่ ๖๑๔, ๓๒๕ อ�ำเภอล�ำสนธ ิ ๑๒๐ กโิ ลเมตร คอลเซน็ เตอร์ ๑๔๙๐ www.transport.co.th รถตู้ มีรถตู้โดยสารออกจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ระยะทางจากจงั หวดั ลพบุรีไปจงั หวัดใกล้เคียง ทุกวัน เวลา ๐๕.๐๐ น.-๒๐.๐๐ น. รถออกทุก ๆ สิงหบ์ รุ ี ๓๓ กโิ ลเมตร ๒๐ นาที สามารถขึ้นรถตู้โดยสารได้ 3 จดุ ด้วยกัน สระบรุ ี ๔๖ กโิ ลเมตร รถตู้ เคโอ จอดในบริเวณหน้าโรงพยาบาลราชวิถี อ่างทอง ๖๗ กโิ ลเมตร คา่ โดยสาร ๑๑๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๓๘๑ ๒๐๓๑, ๐๘ พระนครศรีอยธุ ยา ๙๘ กโิ ลเมตร ๑๗๔๕ ๘๑๘๒ รถตู้ ดี ทัวร์ จอดในบรเิ วณอนสุ าวรยี ์ชยั สมรภูมิ ใต้ ทางด่วน ถนนพหลโยธิน ฝั่งขาออกไปสนามเป้า คา่ โดยสาร ๑๑๐ บาท โทร. ๐๘ ๙๘๘๐ ๖๐๐๙ 8 ลพบุรี

วดั พระศรรี ัตนมหาธาตุ สถานท่ีท่องเท่ียว เปน็ แบบฝรง่ั เศสทงั้ หมด หา่ งไปทางทศิ ตะวนั ตกของ อ�ำเภอเมืองลพบรุ ี วหิ ารหลวงเปน็ พระปรางคอ์ งคใ์ หญท่ ส่ี งู ทส่ี ดุ ในลพบรุ ี วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตั้งอยู่ตรงข้ามกับสถานี สร้างเป็นพุทธเจดีย์ องค์ปรางค์ก่อด้วยศิลาแลง รถไฟลพบรุ ี สรา้ งในสมยั ใดไมป่ รากฏหลกั ฐานแนช่ ดั โบกปนู มเี ครอื่ งประดบั ลวดลายเปน็ พระพทุ ธรปู และ เมื่อเข้าไปในบริเวณวัดจะพบศาลาเปลื้องเคร่ือง พุทธประวัติ ที่ลายปูนปั้นหน้าบันพระปรางค์แสดง เป็นอันดับแรก ศาลาเปล้ืองเคร่ืองนี้ใช้เป็นท่ีส�ำหรับ ถึงอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายาน และซุ้ม พระเจา้ แผน่ ดนิ เปลอื้ งเครอื่ งทรงกอ่ นทจี่ ะเขา้ พธิ ที าง โคปุระของปรางค์องค์ใหญ่เป็นศิลปะละโว้ มีลาย ศาสนาในพระวิหารหรือพระอุโบสถ ปัจจุบันศาลา ปูนปั้นท่ีถือว่างามมาก เดิมคงจะสร้างในสมัยขอม เปลื้องเคร่ืองคงเหลือเพียงเสาเอนอยู่เท่าน้ัน ส่วน เรืองอ�ำนาจ แต่ได้รับการซ่อมแซมในสมัยสมเด็จ อ่ืนปรักหกั พงั ไปหมดแล้ว ถัดจากศาลาเปลื้องเครื่อง พระราเมศวร สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ และสมเดจ็ เปน็ วหิ ารหลวง ซงึ่ สรา้ งในสมยั สมเดจ็ พระนารายณฯ์ พระนารายณ์ฯ ลวดลายจึงปะปนกันหลายสมัย เป็นวิหารขนาดใหญ่มาก ประตูท�ำเป็นเหล่ียมแบบ ปรางค์องค์น้ีเดิมบรรจุพระพุทธรูปไว้เป็นจ�ำนวน ไทย หนา้ ตา่ งเจาะชอ่ งแบบกอทกิ ของฝรง่ั เศส ภายใน มาก ทข่ี นึ้ ชอื่ คอื พระเครอื่ งสมยั ลพบรุ ี เชน่ พระหยู าน สรา้ งฐานชกุ ชปี ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ทางทศิ ใตข้ อง พระร่วง ซ่ึงมีการขดุ พบเป็นจำ� นวนมาก วหิ ารหลวงเปน็ พระอโุ บสถขนาดยอ่ ม ประตหู นา้ ตา่ ง อกี สงิ่ หนง่ึ ทสี่ มควรจะกลา่ วถงึ คอื ปรางคร์ ายทางทศิ ลพบรุ ี 9

พระนารายณร์ าชนิเวศน์ ตะวันตกเฉยี งเหนอื ทม่ี ุมกลีบมะเฟอื งทุกมมุ ป้ันเป็น สร้างข้ึนเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๓ โดยท่านพระครูลพบุรี รูปเทพนมหันออกรอบทิศ พระพักตร์เป็นส่ีเหลี่ยม คณาจารย์ เจ้าอาวาสวัดเสาธงทอง เพื่อใช้เป็น พระขนงต่อกัน ลักษณะเป็นศิลปะแบบอู่ทอง ชฎา สถานที่เรียนแทนตึกโคโรซาน ซึ่งตั้งอยู่ภายในวัด เปน็ ทรงสามเหลยี่ มมรี ศั มอี อกไปโดยรอบ เปน็ ศลิ ปะ เสาธงทอง โรงเรียนแห่งใหม่น้ีมีช่ือว่าโรงเรียนพระ ที่มีความงามแปลกตา หาดไู ดย้ ากในเมืองไทย นารายณ์ เป็นโรงเรียนชายประจ�ำจังหวัด ต่อมาใน ท่ีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุน้ีเปิดให้เข้าชมในเวลา ปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ได้ย้ายโรงเรียนไปอยู่ทีโ่ รงเรยี นพบิ ลู ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น. เว้นวันจันทร์-อังคาร อัตราเข้า วิทยาลยั จนถึงปัจจุบนั อาคารไม้ ๒ ช้นั หลังน้จี งึ อยู่ ชม คนไทย ๑๐ บาท ต่างประเทศ ๕๐ บาท เด็กไม่ ในความดแู ลของกรมศลิ ปากร ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี น เสียค่าใช้จ่าย หรือสามารถซ้ือบัตรรวมชาวไทย ๓๐ เปน็ โบราณสถานเมอื่ วันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ บาท ชาวต่างประเทศ ๑๕๐ บาท โดยบตั รนีส้ ามารถ ซง่ึ ททท.ไดข้ ออนญุ าตกรมศลิ ปากรเพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาคาร เขา้ ชมวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุ พระทนี่ งั่ ไกรสรสหี ราช ส�ำนักงาน เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ปัจจุบนั การท่องเทีย่ ว พระปรางค์สามยอด และบ้านหลวงวิชาเยนทร์ แห่งประเทศไทย (ททท.) ส�ำนักงานลพบุรี ได้ย้าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ส�ำนักงานศิลปากรที่ ๔ ทีท่ ำ� การส�ำนักงานใหม่เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มาอยใู่ น ลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐, ๐ ๓๖๔๑ ๓๗๗๙ บริเวณข้างศาลากลางจังหวัดลพบุรี ถนนนารายณ์ มหาราช ตำ� บลทะเลชุบศร อำ� เภอเมืองลพบุรี เป็น ส�ำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) อาคารคอนกรีต ๒ ชั้น เปิดบริการข้อมูลข่าวสาร ส�ำนักงานลพบุรี เดิมต้ังอยู่ด้านข้างวัดพระศรีรัตน- ทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. โทร. ๐ ๓๖๗๗ ๐๐๙๖ มหาธาตุ เป็นอาคารไม้ ๒ ช้ัน หลังคาทรงปั้นหยา 10 ลพบรุ ี

พระนารายณ์ราชนิเวศน์ สมเด็จพระนารายณ์ พระราชวงั สมเด็จพระนารายณฯ์ เคยเสด็จออกรับ มหาราชโปรดใหส้ รา้ งขนึ้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๐๙ เพอื่ ใชเ้ ปน็ คณะราชทูตฝรั่งเศส เชอวาลิเยร์ เดอ โชมองต์ ที่ ทป่ี ระทบั ณ เมอื งลพบรุ ี แบง่ เปน็ เขตพระราชฐานชน้ั พระทีน่ ั่งองค์นี้ในปี พ.ศ. ๒๒๒๘ ดว้ ย นอก เขตพระราชฐานชั้นกลาง และเขตพระราชฐาน พระทีน่ งั่ จนั ทรพศิ าล สรา้ งขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๒๐๘ เป็น ชั้นใน ก�ำแพงพระราชวงั ก่ออิฐถือปูน มีใบเสมาเรยี ง ท่ปี ระทับของสมเดจ็ พระนารายณ์ฯ ทสี่ ร้างทบั ลงไป รายบนสันก�ำแพง มีซุ้มประตูท้ังหมด ๑๑ ประตู บนรากฐานเดมิ ของพระที่นง่ั ซ่งึ พระราเมศวร โอรส ประตทู างเขา้ เปน็ ทรงจตั รุ มขุ มชี อ่ งทางโคง้ แหลม ตรง องค์ใหญ่ของพระเจา้ อู่ทองได้ทรงสรา้ งเมอื่ ครง้ั ครอง จวั่ ซมุ้ ประตตู กแตง่ ลายกระจงั ปนู ปน้ั ทว่ี วิ ฒั นาการมา เมืองลพบุรี พระที่นั่งองค์น้ีเป็นสถาปัตยกรรมแบบ จากดอกบัว ท่ีซุ้มประตูและก�ำแพงพระราชฐานชั้น ไทยแท้ ด้านหนา้ มมี ุขเดจ็ ภายหลังเม่อื ไดส้ ร้างพระ กลางและช้ันในมีช่องเล็ก ๆ เจาะเป็นรูปโค้งแหลม ที่น่ังสุทธาสวรรค์ข้ึน สมเด็จพระนารายณ์ฯ ทรง คล้ายบัวเรียงเป็นแถวส�ำหรับวางตะเกียง ประมาณ ย้ายไปประทับที่พระท่ีนั่งองค์ใหม่ และโปรดให้ใช้ ๒,๐๐๐ ช่อง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า พระที่น่ังจันทรพิศาลเป็นท่ีออกขุนนาง ซึ่งตรงกับ เจา้ อยู่หวั (รชั กาลที่ ๔) โปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมแซมขนึ้ บนั ทกึ ของชาวฝรง่ั เศสวา่ เปน็ หอประชมุ องคมนตรี ใน ใหม่เมือ่ พ.ศ. ๒๓๙๙ เพือ่ ให้เป็นราชธานชี ัน้ ใน และ สมัยรชั กาลที่ ๔ ทรงบูรณะพระทนี่ ง่ั องค์นีต้ ามแบบ พระราชทานชอื่ วา่ “พระนารายณร์ าชนเิ วศน์” ของเดิม ปัจจุบันใชจ้ ดั แสดงเร่อื งราวพระราชประวตั ิ สิ่งก่อสร้างภายในพระราชวังแบ่งตามยุคสมัยเป็น ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและงานประณีต ๒ กลุ่ม คือ ศลิ ปส์ มัยอยุธยาและรตั นโกสินทร์ ส่ิงก่อสร้างในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ พระทน่ี งั่ ดสุ ติ สวรรคธ์ ญั ญมหาปราสาท เปน็ พระทนี่ ง่ั ของสมเด็จพระนารายณ์ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐาน ศิลปกรรมแบบไทยและฝรั่งเศสผสมกัน เดิมเป็น ชน้ั ใน บนั ทกึ ของชาวฝรง่ั เศสกลา่ ววา่ “พระทน่ี ง่ั องค์ ท้องพระโรงมียอดแหลมทรงมณฑป ตรงกลาง นตี้ ง้ั อยใู่ นพระราชอุทยานทีร่ ม่ ร่นื ทรงปลูกพรรณไม้ ท้องพระโรงมีสีหบัญชร ซึ่งเป็นที่เสด็จออกเพื่อมี ต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง หลังคาพระท่ีน่ังมุงด้วย พระราชปฏิสันถารกับผู้เข้าเฝ้า ประตูและหน้าต่าง กระเบ้ืองเคลือบสีเหลือง ที่มุมท้ังส่ีมีสระน�้ำใหญ่สี่ ท้องพระโรงซงึ่ อยู่ดา้ นหน้าทำ� เปน็ โค้งแหลม ส่วนตัว สระ เป็นท่ีสรงสนามของพระเจ้าแผ่นดิน” สมเด็จ มณฑปซึ่งอยู่ด้านหลังท�ำประตูหน้าต่างเป็นซุ้มแบบ พระนารายณฯ์ สวรรคต ณ พระทนี่ ั่งองค์น้เี มื่อวนั ที่ ไทย คือ ซุ้มเรือนแก้วฐานสิงห์ ในจดหมายเหตุทูต ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๒๓๑ ฝรง่ั เศสกลา่ วพรรณนาพระทน่ี งั่ วา่ “ตามผนงั ประดบั ตึกพระเจ้าเหา ต้ังอยู่ทางด้านใต้ของเขตพระ ด้วยกระจกเงา ซง่ึ น�ำมาจากฝร่ังเศส เพดานแบง่ เปน็ ราชฐานช้ันนอก ตึกหลังน้ีแสดงให้เห็นถึงลักษณะ ช่องสี่เหล่ียมจัตุรัสส่ีช่อง ประดับด้วยลายดอกไม้ สถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้อย่าง ทองคำ� และแกว้ ผลกึ ทไ่ี ดม้ าจากเมอื งจนี งดงามมาก” ชดั เจนมาก เปน็ ตกึ ทสี่ รา้ งเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ กวา้ ง ผนังด้านนอกพระที่น่ังตรงมณฑปชั้นล่างเจาะเป็น ๑๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ยกพ้ืนสูงขึ้นไปประมาณ ๑ ช่องโค้งแหลมไว้ส�ำหรับวางตะเกียง ซ่ึงจะเห็นได้ เมตร ตวั ตกึ เป็นรปู ทรงไทย ฐานก่อด้วยอฐิ ศลิ าแลง อีกเป็นจ�ำนวนมากตามซุ้มประตูและก�ำแพงของ แล้วก่ออิฐขึ้นมาอีกช้ันหน่ึง ปัจจุบันเหลือแต่ประตู ลพบุรี 11

หน้าต่าง ทำ� เปน็ ซุม้ เรอื นแก้วฐานสงิ ห์ ยงั คงปรากฏ ว่าระบบการจ่ายทดน้�ำเป็นผลงานของชาวฝรั่งเศส ลายให้เห็นอยู่ ด้วยเหตุว่าภายในตึกมีฐานชุกชี และอติ าเลียน ปรากฏให้เหน็ และชาวฝร่งั เศสไดร้ ะบุว่าเป็นวัด จงึ โรงช้างหลวง ตั้งเรียงรายเป็นแถวชิดริมก�ำแพงเขต สันนิษฐานว่าเป็นหอพระประจ�ำราชวัง ตึกพระเจ้า พระราชฐานชนั้ นอกด้านในสดุ โรงช้างส่วนใหญป่ รัก เหา หรือ “พระเจ้าหาว” (“หาว” เป็นภาษาไทย หักพัง เหลือแต่ฐานปรากฏให้เหน็ ประมาณ ๑๐ โรง โบราณ หมายถงึ ทอ้ งฟา้ ) ในตอนปลายรชั สมยั สมเดจ็ ชา้ ง ซงึ่ ยนื โรงในพระราชวงั คงเปน็ ชา้ งหลวงหรอื ชา้ ง พระนารายณฯ์ พระเพทราชาและขนุ หลวงสรศกั ดใ์ิ ช้ สำ� คญั สำ� หรบั ใชเ้ ปน็ พาหนะของสมเดจ็ พระนารายณฯ์ ตกึ พระเจา้ เหาเปน็ ทนี่ ดั แนะประชมุ ขนุ นางและทหาร เจา้ นาย หรอื ขนุ นางชั้นผู้ใหญ่ เพ่ือแย่งชิงราชสมบัติ ขณะที่สมเด็จพระนารายณ์ฯ สิ่งก่อสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ทรงพระประชวรหนกั เจ้าอยู่หวั ตกึ รบั รองแขกเมอื ง ตงั้ อยใู่ นเขตพระราชฐานชนั้ นอก ประกอบด้วยหมู่พระที่น่ังพิมานมงกุฎและอาคาร ใกลก้ บั ตกึ หมสู่ บิ สองทอ้ งพระคลงั เปน็ สถาปตั ยกรรม ต่าง ๆ ซ่ึงปัจจุบันใช้เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ แบบฝร่ังเศส บันทกึ ของชาวฝรัง่ เศสกล่าวว่า ตกึ หลงั สมเด็จพระนารายณ์ นี้อยู่กลางอุทยานซึ่งแบ่งเป็นช่องส่ีเหล่ียมจัตุรัสรอบ หมูพ่ ระท่ี น่ั ง พิ ม า น ม ง กุ ฎ พ ร ะบา ท ส ม เ ด็ จ ตึก มีคูน้�ำล้อมรอบ ภายในคูน้�ำมีน�้ำพุเรียงรายเป็น พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ ระยะอยู่ ๒๐ แหง่ จากเค้าโครงแสดงว่าในสมัยก่อน ปี พ.ศ. ๒๔๐๕ เพื่อเป็นท่ีประทับของพระองค์เม่ือ คงจะสวยงามมาก ทางด้านหน้าตึกเล้ียงรับรองมี คร้ังเสด็จบูรณะเมืองลพบุรี ประกอบด้วยพระที่นั่ง รากฐานเป็นอฐิ แสดงให้เหน็ ว่าตกึ หลังเลก็ ๆ ๔ องค์ คือ พระที่นั่งพิมานมงกุฎ เป็นที่ประทับ คงจะเป็นโรงมหรสพ ซ่ึงมีการแสดงให้แขกเมืองชม พระทนี่ งั่ วสิ ทุ ธวิ นิ ิจฉยั เปน็ ทอ้ งพระโรงเสดจ็ ออกวา่ ภายหลังการเล้ียงอาหาร สมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้ ราชการแผน่ ดนิ พระทนี่ ั่งไชยศาสตรากร เปน็ ที่เก็บ พระราชทานเลยี้ งแกค่ ณะทตู จากประเทศฝรงั่ เศส ณ อาวธุ และพระทีน่ ั่งอักษรศาสตราคม ในสมยั รัชกาล สถานท่นี ้ใี น พ.ศ. ๒๒๒๘ และ พ.ศ. ๒๒๓๐ ท่ี ๕ ไดพ้ ระราชทานใหเ้ ป็นศาลากลางจังหวดั ตอ่ มา พระคลงั ศภุ รัตน์ (หมูต่ กึ สิบสองท้องพระคลงั ) เป็น เมอื่ ศาลากลางจงั หวดั ยา้ ยไปอยทู่ ใี่ หม่ พระทน่ี งั่ หมนู่ ี้ หมู่ตึกต้ังอยู่ระหว่างอ่างเก็บน้�ำประปาและตึกซึ่งใช้ จงึ รวมกบั พระทนี่ งั่ จนั ทรพศิ าล เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑสถาน เป็นสถานทพ่ี ระราชทานเล้ียงชาวต่างประเทศ สรา้ ง แหง่ ชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ขึ้นอย่างมีระเบียบด้วยอิฐสองแถวเรียงชิดติดกัน หมู่ตึกพระประเทียบ ตั้งอยู่ในบริเวณหลังพระท่ีนั่ง อาคารมีลกั ษณะค่อนขา้ งทบึ มถี นนผ่ากลาง จ�ำนวน พมิ านมงกุฎ ซ่ึงเป็นเขตพระราชฐานฝ่ายใน เปน็ ตึก รวม ๑๒ หลงั เขา้ ใจวา่ เปน็ คลงั เพอ่ื เกบ็ สนิ คา้ หรอื เกบ็ ช้นั เดียว ๒ หลัง กอ่ ด้วยอิฐถือปูนสูง ๒ ช้นั เรียงราย สิง่ ของเพ่อื ใช้ในราชการ อยู่ ๘ หลัง สรา้ งข้นึ เปน็ ทีพ่ ักของขา้ ราชการฝ่ายใน อ่างเก็บน�้ำ หรือถงั เก็บนำ�้ ประปา กอ่ ดว้ ยอิฐยกขอบ ท่ีตามเสด็จรัชกาลท่ี ๔ เมื่อคร้ังเสด็จประพาสเมือง เปน็ กำ� แพงสงู หนาเปน็ พเิ ศษตรงพนื้ ทมี่ ที อ่ ดนิ เผาฝงั ลพบรุ ี อยเู่ พอื่ จา่ ยนำ�้ ไปใชต้ ามตกึ พระทนี่ ง่ั ตา่ ง ๆ โดยทอ่ ดนิ ทมิ ดาบ หรอื ทพ่ี กั ของทหารรกั ษาการณ์ เมอ่ื เดนิ ผา่ น เผาจากทะเลชบุ ศรและอา่ งซบั เหลก็ ตามบนั ทกึ กลา่ ว ประตูทางเข้าเขตพระราชฐานชน้ั กลาง ขา้ งประตูท้งั 12 ลพบุรี

๒ ดา้ นตรงบรเิ วณสนามหญา้ จะแลเหน็ ศาลาโถงขา้ ง - ห้องประวัติศาสตร์ศิลปกรรมสมัยอยุธยา- ละหลงั น่นั คอื ตกึ ซึง่ สรา้ งข้นึ เพอื่ เป็นท่พี ักของทหาร รัตนโกสินทร์ ตั้งแต่พุทธสตวรรษท่ี ๑๘-๒๔ ได้แก่ รักษาการณ์ในเขตพระราชวงั พระพุทธรูป เครื่องถ้วย เงินตรา อาวุธ เครื่องเงิน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ต้ัง เคร่ืองทอง และชน้ิ สว่ นสถาปตั ยกรรมปูนป้นั และไม้ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๖๖ แบง่ อาคารจดั แสดงศลิ ปะโบราณ แกะสลักต่าง ๆ วัตถเุ ป็น ๔ อาคาร - ห้องศิลปะร่วมสมัย จัดแสดงภาพเขียนและภาพ ๑. พระท่ีนั่งพิมานมงกุฎ จัดแสดงหลักฐานโบราณ พิมพ์ศิลปะรว่ มสมัยของศลิ ปนิ ไทย วัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่พบจากแหล่ง - ห้องประวัติศาสตร์ การเมือง สังคม วัฒนธรรม โบราณคดีลุ่มแมน่ ำ�้ เจา้ พระยา บรเิ วณภาคกลางของ และพระราชประวัติของสมัยพระบาทสมเด็จ ประเทศไทย และแหลง่ โบราณคดี จงั หวดั ลพบรุ ี โครง พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว (รัชกาลที่ ๔) ซึง่ โปรดฯ ให้ กระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เตาดินเผา เคร่ืองมือ สร้างพระราชวัง ณ เมืองลพบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๙ เคร่ืองใช้ท�ำจากโลหะ ภาชนะส�ำริด เคร่ืองประดับ ได้แก่ ภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ ฉลองพระองค์ ท�ำจากหนิ และเปลอื กหอย เปน็ ต้น ภายในพระทนี่ ั่ง เคร่อื งใช้ แทน่ พระบรรทม เหรยี ญทอง และจานชาม แบ่งเปน็ หอ้ งตา่ ง ๆ ได้แก่ มีรูปมงกุฎ ซ่ึงเป็นพระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์ - ห้องภาคกลางประเทศไทย พ.ศ. ๘๐๐-๑๕๐๐ รับ เปน็ ตน้ อิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียที่เรียกว่าสมัยทวารวดี ๒. พระที่น่งั จนั ทรพิศาล เป็นลกั ษณะสถาปตั ยกรรม จดั แสดงเรอื่ งการเมอื ง การตงั้ ถนิ่ ฐาน เทคโนโลยแี ละ แบบทรงไทย จัดแสดงเรอ่ื งประวัติศาสตร์ การเมอื ง การดำ� เนนิ ชวี ติ อกั ษร ภาษา ศาสนสถาน ศาสนาและ สังคม วัฒนธรรม และพระราชประวัติของสมเด็จ ความเชือ่ ถือ หลกั ฐานทีจ่ ัดแสดง ไดแ้ ก่ พระพทุ ธรปู พระนารายณม์ หาราช และหอ้ งดา้ นหลงั จดั แสดงงาน พระพิมพ์ดินเผา เหรียญตราประทับดินเผา จารึก ประณตี ศลิ ปส์ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาและกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล-ี สันสกฤต และรปู เคารพต่าง ๆ ๓. หมู่ตกึ พระประเทียบ (อาคารชวี ิตไทยภาคกลาง) - ห้องอิทธิพลศิลปะเขมร-ลพบุรี จัดแสดงหลักฐาน เป็นอาคารลักษณะสถาปัตยกรรมผสมแบบตะวัน ทางประวตั ิศาสตร์ อายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕-๑๘ ตก จัดแสดงเร่ืองชีวิตไทยภาคกลาง การด�ำรงชีวิต โบราณคดีสมัยชนชาติขอมแผ่อิทธิพลเข้าปกครอง ทีอ่ ยอู่ าศยั เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชป้ ระกอบอาชพี ประมง เมืองลพบุรีและบริเวณภาคกลางของประเทศไทย การเกษตร และศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านของคนไทย ไดแ้ ก่ ทบั หลงั พระพทุ ธรปู ปางนาคปรก พระพทุ ธรปู ภาคกลาง โดยเฉพาะจังหวดั ลพบรุ ีทใี่ ช้ในอดตี จนถงึ ปางประทานอภัย เป็นต้น ปัจจุบนั - ห้องประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะในประเทศไทย จดั แสดง ๔. พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่ จัดแสดงหนังใหญ่ เร่ือง ศิลปกรรมท่ีพบตามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย รามเกียรติ์ซ่ึงมาจากวัดตะเคียน ต�ำบลท้ายตลาด ตั้งแต่พุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๘ ได้แก่ ศิลปะแบบ อ�ำเภอเมืองลพบุรี หริภุญไชย ศิลปะลา้ นนา ศิลปะสมัยลพบรุ ี เช่น พระ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระพิมพ์ และพระพุทธรูป ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวประจ�ำปี สำ� ริดสมยั ต่าง ๆ ๒๕๔๕ รางวลั ดเี ดน่ ประเภทแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางศลิ ป ลพบรุ ี 13

วัดเสาธงทอง วฒั นธรรม เปดิ ใหเ้ ขา้ ชมทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ วัดนี้มโี บราณสถานทคี่ วรชมคอื พระวิหาร ซึง่ แตเ่ ดิม น. เวน้ วนั จนั ทร์ องั คาร และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ อตั รา คงสรา้ งขนึ้ เพอื่ เปน็ ศาสนสถานของศาสนาอน่ื เพราะ คา่ เขา้ ชม ชาวไทย ๓๐ บาท ชาวต่างประเทศ ๑๕๐ จากแผนทข่ี องช่างชาวฝร่งั ท�ำไว้ ระบุวา่ พน้ื ทีบ่ รเิ วณ บาท สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๔๕๘ นี้เป็นที่พ�ำนักของชาวเปอร์เซีย พระวิหารหลังน้ี วัดเสาธงทอง ตั้งอยู่บนถนนฝรั่งเศส ซ่ึงตัดเชื่อม อาจเป็นท่ีประกอบพิธีทางศาสนาอิสลามของชาว ระหว่างพระนารายณ์ราชนิเวศน์กับบ้านหลวงรับ เปอร์เซียก็เป็นได้ นอกจากนั้นก็มีตึกปิจู ตึกคชสาร ราชทตู เป็นวัดเกา่ แก่ เดมิ แยกเป็น ๒ วัด คอื วดั รวก หรือตึกโคระส่าน เปน็ ตึกเก่า สนั นษิ ฐานวา่ ใช้เปน็ ที่ และวัดเสาธงทอง พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร พำ� นกั ของแขกเมืองและราชทูตชาวเปอรเ์ ซยี เตชะคปุ ต)์ สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลอยธุ ยา ไดร้ ายงาน บา้ นหลวงรบั ราชทตู หรอื บา้ นหลวงวชิ าเยนทร์ ตงั้ กราบทูลเสนอความคิดต่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า อยู่บนถนนวชิ าเยนทร์ ห่างจากปรางค์แขกประมาณ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เมื่อคราวเสดจ็ ตรวจการ ๓๐๐ เมตร ทางทิศเหนือของพระนารายณ์ราช คณะสงฆใ์ นมณฑลอยธุ ยาวา่ วดั รวกมโี บสถ์ วดั เสาธง นเิ วศน์ ส�ำหรบั เป็นท่รี องรบั ราชทตู ท่มี าเฝ้าฯ สมเดจ็ ทองมีวิหาร สมควรจะรวมเป็นวัดเดียวกัน ทรงด�ำริ พระนารายณม์ หาราชทเ่ี มอื งลพบรุ ี คณะราชทตู จาก เหน็ ชอบให้รวมกันและให้เรยี กชอ่ื วา่ วัดเสาธงทอง ประเทศฝรง่ั เศสชดุ แรกทเ่ี ขา้ มาเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๒๒๘ ได้ 14 ลพบรุ ี

บา้ นหลวงวชิ าเยนทร์ พ�ำนัก ณ ที่แห่งน้ี ต่อมา คอนสแตนติน ฟอลคอน ลักษณะของสถาปัตยกรรมในบ้านหลวงรับราชทูต (Constantine Phaulkon) ซึ่งเป็นชาวกรีกได้เข้า บางหลงั เปน็ แบบยโุ รปอยา่ งแทจ้ รงิ โดยเฉพาะอาคาร มารับราชการ ได้รับความดีความชอบ และได้รับ ใหญท่ างทิศตะวนั ออกกอ่ อฐิ ถือปูนสองชน้ั หนา้ ตา่ ง การแต่งตั้งให้เป็น “เจ้าพระยาวิชาเยนทร์” และ และซุ้มประตูแสดงให้เห็นถึงศิลปะตะวันตกแบบ ได้รับพระราชทานที่พักอาศัยทางทิศตะวันตกของ เรอเนสซองส์ ซึ่งเจริญแพร่หลายในสมัยน้ัน และ บ้านหลวงรับราชทูต พื้นที่ในบริเวณบ้านหลวงรับ ที่ส�ำคัญ อาคารที่เป็นโบสถ์คริสต์ศาสนา ผังและ ราชทตู แบ่งออกเป็น ๓ สว่ น คือ แบบของโบสถ์เป็นแบบยุโรป มีซุ้มหน้าต่างเป็น สว่ นทศิ ตะวนั ตก เป็นอาคารท่พี ักอาศัยของคณะทูต ซุ้มเรือนแก้ว มีเสาปลายเป็นรูปกลีบบัวยาวซึ่งเป็น ได้แก่ ตึกสองช้ันหลังใหญ่ก่อด้วยอิฐและอาคารช้ัน ศิลปะไทย โบสถ์เหล่าน้ีถือกันว่าเป็นโบสถ์คริสต์ เดยี วแคบยาว ซมุ้ ประตทู างเขา้ เปน็ รปู โคง้ ครงึ่ วงกลม หลังแรกในโลกที่ตกแต่งด้วยลักษณะของโบสถ์ทาง สว่ นกลางมอี าคารทส่ี ำ� คญั คอื ฐานของสง่ิ กอ่ สรา้ ง ซงึ่ พระพทุ ธศาสนา เขา้ ใจวา่ เปน็ หอระฆงั และโบสถใ์ นครสิ ตศ์ าสนา ซงึ่ อยู่ สามารถเข้าชมไดใ้ นเวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น. ยกเวน้ ทางด้านหลัง ซุ้มประตูทางเข้าเปน็ รูปจ่ัว วันจันทร์-องั คาร อตั ราค่าเขา้ ชม ชาวไทย ๑๐ บาท ส่วนทศิ ตะวันออก ไดแ้ ก่ กลุ่มอาคารใหญ่ ๒ ชั้น มี ชาวต่างประเทศ ๕๐ บาท สอบถามข้อมลู เพ่มิ เติมที่ บันไดขึ้น ทางด้านหน้าเป็นรูปโค้งคร่ึงวงกลม ซุ้ม สำ� นกั งานศลิ ปากรที่ ๔ ลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐, ประตูทางเข้ามีลักษณะเช่นเดยี วกับทางทศิ ตะวันตก ๐ ๓๖๔๑ ๓๗๗๙ ลพบรุ ี 15

ศาลหลกั เมือง ศาลหลกั เมอื ง หรอื ศาลลกู ศร ตง้ั อยรู่ มิ ถนนสายรมิ นำ�้ พระราชทานนามว่า “เมืองลพบรุ ี” ด้วยเหตนุ ี้จึงอา้ ง หลงั วัดปนื ใหญ่ ใกล้กบั บ้านวิชาเยนทร์ ตวั ศาลาเป็น กันมากอ่ นวา่ หลักเมอื งน้นั คอื ลกู ศรพระรามทีก่ ลาย ตึกเล็ก ๆ มเี นอ้ื ท่ปี ระมาณ ๑๒ ตารางเมตร มีแท่ง เป็นหิน และเนินดินตามก�ำแพงเมืองท่ียังปรากฏอยู่ หนิ แทง่ หนงึ่ โผลเ่ หนอื ระดบั พน้ื ดนิ ขนึ้ มา สงู ประมาณ เป็นของหนุมานทเี่ อาหางกวาดท�ำไว้” ๑ เมตร เป็นศาลเจา้ หลกั เมอื งโบราณทเ่ี รียกวา่ ศาล ลูกศร สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรง เทวสถานปรางคแ์ ขก อยใู่ กลก้ บั นารายณร์ าชนเิ วศน์ ราชานภุ าพ ทรงนพิ นธเ์ กย่ี วกบั ศาลลกู ศรไวใ้ นตำ� นาน เปน็ โบราณสถานท่ีมอี ายุเก่าแก่ท่ีสดุ ของลพบุรี เปน็ เมืองลพบุรีว่า หลักเมืองลพบุรี อยู่ทางตลาดข้าง ปรางค์กอ่ ด้วยอิฐ มี ๓ องค์ แตไ่ มม่ ีฉนวนต่อเชอ่ื มกนั เหนอื วงั เรยี กกนั วา่ ศรพระรามจะมมี าแตก่ อ่ นสมยั ขอม เหมอื นปรางคส์ ามยอด นกั โบราณคดกี ำ� หนดวา่ มอี ายุ ฤๅเมอ่ื ครงั้ ขอมทราบไมไ่ ดแ้ น่ ทเี่ รยี กกนั วา่ ศรพระราม ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ เพราะมีลักษณะคล้ายกับ นั้นเกิดแต่เอาเร่ืองรามเกียรติ์สมมติฐานเป็นต�ำนาน ปรางค์ศิลปะเขมรแบบพะโค (พ.ศ. ๑๔๒๕-๑๕๓๖) ของเมืองน้ี คือ เม่ือเสร็จศึกทศกัณฐ์ พระรามกลับ เป็นปรางค์แบบเก่าซึ่งมีประตูทางเข้าแบบโค้งแหลม ไปครองเมอื งอโยธยาแลว้ จะสรา้ งเมอื งประทานตรง ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ โปรดให้สร้างวิหาร นน้ั ลูกศรพระรามไปตกบนภูเขา บนั ดาลใหย้ อดเขา ข้ึนด้านหลัง และถังเก็บน้�ำซ่ึงอยู่ทางด้านทิศใต้ของ น้นั ราบลง หนุมานตามไปถงึ จึงเอาหางกวาดดนิ เป็น ปรางค์ ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ทรงพระ ก�ำแพงเมืองหมายไว้เป็นส�ำคัญ แล้วพระวิษณุกรรม กรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งวหิ ารข้ึนดา้ นหน้า และถัง ลงมาสร้างเมือง คร้ันเสด็จแล้วพระรามจึง เก็บนำ�้ ประปาทางดา้ นทศิ ใตข้ องเทวสถาน 16 ลพบุรี

พระปรางคส์ ามยอด ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษ ท่ี ๑๘ สร้างด้วยศิลาแลง และตกแต่งลวดลายปูนปั้น ท่สี วยงาม เสาประดบั กรอบ ประตูแกะสลักเป็นรูปฤๅษี นั่งชันเข่าในซุ้มเรือนแก้ว ซ่ึงเป็นแบบเฉพาะของเสา ประดับกรอบประตูศิลปะ เขมรแบบบายน ปรางค์องค์ กลางมีฐาน แต่เดิมเป็นที่ เทวสถานปรางค์แขก ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู และ พระปรางคส์ ามยอด ตงั้ อยบู่ นเนนิ ดนิ ทางดา้ นตะวนั มเี พดานไมเ้ ขียนลวดลายเป็นดอกจันสแี ดง ตกของทางรถไฟ ใกลก้ บั ศาลพระกาฬ มลี กั ษณะเปน็ ด้านหน้าทางทิศตะวันออกมีวิหารที่สร้างขึ้นใน ปรางคเ์ รยี งตอ่ กนั ๓ องค์ มฉี นวนทางเดนิ เชอื่ มตดิ ตอ่ รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประดิษฐาน กัน พระปรางค์สามยอดเป็นศิลปะเขมรแบบบายน พระพุทธรูปศิลาขนาดใหญ่ ปางสมาธิ ที่สมบูรณ์ดี ลพบุรี 17

ศาลพระกาฬ เป็นศิลปะแบบสมัยอยุธยาตอนต้น อายุราวพุทธ- “ศาลสงู ” ท่ที บั หลงั ซึง่ ท�ำดว้ ยศลิ าทรายสลักเปน็ รูป ศตวรรษที่ ๒๐ พระนารายณบ์ รรทมสนิ ธ์ุ อายรุ าวศตวรรษท่ี ๑๖ วาง ปรางค์สามยอดน้ีแต่เดิมคงเป็นเทวสถานของขอม อยูต่ ดิ ฝาผนงั วิหารหลังเลก็ ชน้ั บน ณ ทน่ี ้ไี ด้พบหลกั ในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ต่อมาได้ดัดแปลงเป็น ศิลาจารึกแปดเหล่ียมจารกึ อักษรมอญโบราณด้วย เทวสถาน โดยมีฐานศิวลึงค์ปรากฏอยู่ในองคป์ รางค์ สว่ นดา้ นหนา้ เปน็ ศาลทส่ี รา้ งขนึ้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๔ โดย ทง้ั สามปรางค์ จนกระทง่ั ถงึ รชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณฯ์ สร้างทับบนรากฐานเดิมท่ีสร้างไว้ในรัชสมัยสมเด็จ จึงได้บูรณปฏิสังขรณ์พระปรางค์สามยอดเป็นวัด พระนารายณม์ หาราช ภายในวหิ ารประดษิ ฐานพระ- ในพระพุทธศาสนา แล้วสร้างพระวิหารก่อด้วยอิฐ นารายณ์ยืน ท�ำด้วยศิลา ๒ องค์ องค์เล็กเป็นแบบ ลกั ษณะสถาปตั ยกรรมแบบอยธุ ยาผสมแบบยโุ รปใน เทวรปู เกา่ ในประเทศไทย องคใ์ หญเ่ ปน็ ประตมิ ากรรม สว่ นของประตแู ละหนา้ ตา่ ง ภายในวหิ ารประดษิ ฐาน แบบลพบุรี แต่พระเศียรเดิมหายไป ภายหลังมีผู้น�ำ พุทธรูปหนิ ทราย ปางมารวิชยั ศิลปะอยธุ ยาตอนต้น เศยี รพระพทุ ธรปู ศลิ าทรายสมยั อยธุ ยามาสวมไว้ เปน็ ปจั จบุ ันยงั คงประดิษฐานอยกู่ ลางแจ้ง ท่ีเคารพสกั การะของประชาชนท่ัวไป เปิดให้เข้าชมในเวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐น. เว้นวัน ในบรเิ วณรอบศาลพระกาฬร่มรน่ื ด้วยต้นไม้ใหญ่ จงึ จนั ทร-์ องั คาร อตั ราคา่ เข้าชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาว เป็นท่ีอยู่อาศยั ของฝูงลงิ กว่า ๓๐๐ ตัว ซึ่งกลายเป็น ต่างประเทศ ๕๐ บาท สัญลักษณ์อีกอย่างหนึ่งของจังหวัดลพบุรี กล่าวกัน ว่าเดิมบริเวณนี้เต็มไปด้วยต้นกร่างขนาดใหญ่ มีลิง ศาลพระกาฬ ต้ังอยู่ริมทางรถไฟด้านทิศตะวันออก อาศัยอยู่ เมื่อมีคนน�ำอาหารและผลไม้มาแก้บนท่ี ของพระปรางคส์ ามยอด ตำ� บลทา่ หิน เปน็ เทวสถาน ศาลพระกาฬ ลิงป่าเหล่านั้นได้เข้ามากินอาหาร จึง เก่าของขอม จึงเรียกกันมาแต่ก่อนอีกชื่อหน่ึงว่า เชือ่ งและคุ้นเคยกบั คนมาก 18 ลพบรุ ี

วดั นครโกษา อยทู่ างตอนเหนอื ของสถานรี ถไฟลพบรุ ี วดั สนั เปาโล ตงั้ อยบู่ นถนนรว่ มมติ ร ทางเขา้ วทิ ยาลยั ใกล้กับศาลพระกาฬ มีซากโบราณสถาน คือ เจดีย์ นาฏศิลปลพบุรี เป็นวัดของเหล่าบาทหลวงเยซูอิต องค์ใหญ่สมัยทวารวดี พระปรางค์สมัยลพบุรีในราว สร้างขึ้นในรัชสมยั สมเดจ็ พระนารายณฯ์ ปจั จบุ นั คง พุทธศตวรรษท่ี ๑๗ อยู่ด้านหน้า แต่พระพุทธรูป เหลือแต่เพียงผนังดา้ นหนง่ึ และหอดดู าว บรเิ วณโดย ปูนปั้นแบบอู่ทองบนปรางค์น้ันสร้างข้ึนภายหลัง รอบมตี น้ ไมใ้ หญร่ ม่ รนื่ คำ� วา่ “สนั เปาโล” คงเพยี้ นมา และยังพบเทวรูปขนาดใหญ่ มีร่องรอยการดัดแปลง จากคำ� วา่ เซนตป์ อลหรอื เซนตเ์ ปาโล ชาวบา้ นมกั เรยี ก เป็นพระพุทธรูป ๒ องค์ ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ใน วา่ “ตกึ สนั เปาหลอ่ ” พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ เทวสถานแห่งน้ีภายหลังสร้างเป็นวัดขึ้นในสมัย วัดมณีชลขัณฑ์ สร้างข้ึนในสมัยรัชกาลที่ ๔ แห่ง อยุธยา ดังจะเห็นได้จากซากวิหารซ่ึงเหลือแต่ผนัง กรุงรัตนโกสินทร์ ต้ังอยู่ทางทิศตะวันตกของตลาด และเสาอยู่ทางด้านหน้า มีเจดีย์สูงก่อด้วยอิฐอยู่ ทา่ โพธ์ิ วดั นถี้ กู แบง่ เปน็ สองสว่ น เพราะมถี นนตดั ตรง เบ้ืองหลัง ค�ำว่า “วัดนครโกษา” มีผู้สันนิษฐานว่า กลางพอดี มีโบราณสถานท่ีน่าสนใจ คือ พระเจดีย์ เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) ในสมัยสมเด็จพระ- รปู ทรงแปลก คอื ก่อเปน็ เหล่ียมสงู ชะลดู ขึ้นไป คล้าย นารายณฯ์ เปน็ ผู้บรู ณะ จึงเรยี กว่า “วัดนครโกษา” กับเจดียเ์ หลี่ยมสมยั เชียงแสน (ล้านนา) แต่ตรงมมุ มี ตามราชทนิ นามนน่ั เอง สอบถามรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ การยอ่ มุมไม้สบิ สอง ท�ำเปน็ สามชนั้ มีซุ้มประตูยอด โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐, ๐ ๓๖๔๑ ๓๗๗๙ วดั นครโกษา วดั สันเปาโล ลพบุรี 19

วัดตองปุ แหลมอยู่ดา้ นข้างทง้ั สี่ด้านทกุ ชัน้ นอกจากนี้ ภายใน 20 ลพบุรี วัดยังมีต้นโพธ์ิ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยู่หวั ทรงเพาะเมลด็ นำ� มาปลกู ไว้ วัดตองปุ อยู่หลงั โรงเรียนพบิ ลู วิทยาลยั ต�ำบลทะเล ชุบศร เป็นวัดเก่าแก่ท่ีมีความส�ำคัญวัดหนึ่ง ในอดีต เคยเปน็ ทช่ี มุ นมุ กองทพั ไทยในวดั ตองปนุ มี้ โี บราณสถาน และโบราณวตั ถทุ น่ี า่ สนใจหลายอยา่ ง เชน่ พระอโุ บสถ ทรงไทยทมี่ ฐี านออ่ นโคง้ วหิ ารมลี กั ษณะเปน็ สถาปตั ยกรรม แบบสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คือ หนา้ ตา่ ง และประตเู ป็นช่องโค้งแหลม นอกจากนย้ี ังมเี จดียซ์ ึ่ง มลี กั ษณะคลา้ ยกบั เจดยี ห์ ลวงพอ่ แสง วดั มณชี ลขณั ฑ์ แตม่ ขี นาดเลก็ กวา่ และยงั มโี บราณวตั ถทุ ส่ี ำ� คญั เหลอื อยู่ เพียงชิ้นเดียวในเมืองไทย คือ ท่ีสรงน้�ำพระโบราณ หรอื ทเ่ี รยี กกนั วา่ นำ�้ พสุ รงนำ้� พระ เกบ็ รกั ษาไวท้ ว่ี ดั แหง่ นี้ นอกจากน้ียังมีหอไตร คลัง และหอระฆังที่ควรชม สอบถามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๑๙๘ วัดมณชี ลขัณฑ์

พพิ ธิ ภณั ฑห์ อโสภณศิลป์ วดั กวศิ รารามราชวรวหิ าร เปน็ พระอารามหลวงชน้ั ตรี หลงั พระอุโบสถและหม่กู ุฏซิ ึ่งเปน็ ฐานในรชั กาลที่ ๔ ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ถนนเพทราชา ต�ำบลท่าหิน ตลอดจนหอพระไตรปิฎกท่ีสวยงามอยู่ภายในวัด ติดกับพระนารายณ์ราชนิเวศน์ทางด้านทิศใต้ จาก สอบรายละเอียด โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๕๙๓ ต�ำนานกล่าวกันว่า เดิมช่ือวัดขวิด และในประกาศ เรอ่ื งพระนารายณร์ าชนเิ วศน์ กลา่ ววา่ สมยั รชั กาลท่ี ๔ วัดเชิงทา่ ต้ังอยู่ริมฝ่งั แม่น้�ำลพบรุ ที างทิศตะวนั ออก ไดพ้ ระราชทานนามใหเ้ รยี กวา่ วดั กระวศิ ราราม ตอ่ มา พนื้ ทดี่ า้ นหนา้ ตดิ พระราชวงั พระนารายณร์ าชนเิ วศน์ ได้รับปฏิสังขรณ์เพ่ิมเติมในสมัยรัชกาลที่ ๕ และใน ด้านทิศตะวนั ตกหันหน้าสู่แมน่ ้�ำลพบุรี เดมิ ช่ือวดั ทา่ พ.ศ. ๒๔๘๑ พระกติ ตญิ าณมนุ ี เจา้ อาวาสในขณะนนั้ เกวียน ด้วยเป็นท่าของเกวียนล�ำเลียงสินค้าขนส่ง ได้ขอเปลี่ยนช่ือเป็นวัดกวิศราราม อันมีความหมาย มาลงทที่ า่ น�้ำหน้าวัดแหง่ นี้ ภายในวัดเชงิ ทา่ มอี าคาร วา่ วดั ของพระเจา้ แผน่ ดนิ กลา่ วกนั วา่ เปน็ ทท่ี ำ� พธิ ถี อื ส�ำคัญที่สร้างต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลายจนกระทั่ง น�้ำพพิ ฒั น์สตั ยาในสมัยนน้ั ภายในวดั มพี ระอโุ บสถท่ี ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ และได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณ มีประตูทางเข้าออกทางเดียวกัน หน้าต่างเจาะช่อง สถานที่ส�ำคญั ของชาติ ได้แก่ พระอโุ บสถ พระเจดีย์ ศลิ ปะแบบอยธุ ยา มมี ขุ เดจ็ อยดู่ า้ นหนา้ ซง่ึ รชั กาลที่ ๔ ประธานของวัด กุฏิสงฆ์แบบตึกสองช้ันทรงเก๋งจีน ทรงโปรดใหต้ อ่ ออกมาและขยายพทั ธสมี าใหใ้ หญก่ วา่ ศาลาตรีมุข อาคารโวทานธรรมสภา หอระฆัง และ เดมิ พระประธานเปน็ พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั ศลิ ปะ ศาลาการเปรยี ญ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ ศลิ ปกรรมทท่ี รงคณุ คา่ อู่ทอง จิตรกรรมฝาผนังเป็นลายรปู ดอกไม้ นอกจาก และสวยงามแหง่ หนง่ึ ของจังหวดั ลพบรุ ี นี้ยังมีเจดีย์ทรงกลมบนฐานเหลี่ยมองค์ใหญ่อยู่ด้าน ลพบุรี 21

ภายในวัดเชิงท่ามีสถานท่ีน่าสนใจ คือพิพิธภัณฑ์หอ ๑๐ บาท จักรยานยนต์ ฟรี สอบถามรายละเอียด โสภณศิลป์ เป็นพพิ ิธภณั ฑท์ ี่จัดแสดงเรื่องประวัติวดั โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๕๕๑ เชงิ ทา่ พระสงฆ์ พระธรรม และพระพทุ ธ สาระสำ� คญั สระแกว้ ตงั้ อยกู่ ลางวงเวยี นศรสี รุ โิ ยทยั หรอื วงเวยี น ของการจดั แสดงเกย่ี วขอ้ งกบั ความรทู้ างพทุ ธศาสนา สระแก้ว ถนนนารายณ์มหาราช อ�ำเภอเมืองลพบุรี อันเป็นเร่ืองเกี่ยวกับพระรัตนตรัย อันเป็นแก้วสาม กลางสระมีสิ่งก่อสร้างรูปร่างคล้ายเทียนขนาดยักษ์ ประการทหี่ มายถงึ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ ตั้งอยู่บนพานขนาดใหญ่ รอบขอบพานประดับ นอกจากนี้ยังแสดงอัฐบริขารและเครื่องใช้ในพุทธ เครอ่ื งหมายกระทรวงตา่ ง ๆ มสี ะพานเชอื่ มโยงถงึ กนั ศาสนาที่ส�ำคัญ แสดงให้เห็นถึงความศรัทธาของ โดยรอบทงั้ ๔ ทศิ ทเี่ ชงิ สะพานมคี ชสหี ใ์ นทา่ นง่ั หมอบ พุทธศาสนิกชนที่มีต่อพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา อยสู่ ะพานละ ๒ ตัว ได้แก่ ไตร จีวร บาตร ตาลปัตร เคร่ืองเคลือบ วัดชีป่าสิตาราม ต้ังอยู่ริมถนนนารายณ์มหาราช ธรรมาสน์ ต้พู ระไตรปฎิ ก ต้เู กบ็ คัมภีร์ ภาพพระบฏ ตำ� บลทะเลชบุ ศร ไมป่ รากฏวา่ สรา้ งในสมยั ใด ภายใน มหาเวสสนั ดรชาดกและพระพทุ ธเจา้ ในอนาคต ไดแ้ ก่ วดั มเี จดยี ท์ รงระฆงั ศลิ ปะอยธุ ยา และมกี ารรกั ษาโรค พระศรอี ารยิ เมตไตรย สอบถามรายละเอยี ด โทร. ๐๘ ด้วยการอบสมุนไพร และนวดแผนโบราณโดยชมรม ๙๘๐๒ ๔๒๑๑ สมนุ ไพร เปดิ บริการทกุ วัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. สวนสัตว์ลพบุรี ตั้งอยู่หลังโรงภาพยนตร์ทหารบก สอบถามรายละเอยี ด โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๗๖๓ ห่างจากวงเวียนสระแก้วไปทางทิศตะวันออก พระทีน่ ง่ั ไกรสรสหี ราช (พระท่ีนั่งเยน็ หรือตำ� หนัก ประมาณ ๑ กิโลเมตร สวนสัตว์แห่งน้ีสร้างขึ้นเมื่อ ทะเลชุบศร) ต้ังอยู่ท่ีต�ำบลทะเลชุบศร ห่างจากตัว ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ สมัยทจ่ี อมพล ป. พบิ ูลสงคราม เป็น เมอื งไปประมาณ ๔ กิโลเมตร พระท่นี งั่ แห่งนีเ้ ปน็ ท่ี นายกรัฐมนตรีนั้น ได้มุ่งพัฒนาเมืองลพบุรีให้เป็น ประทบั อกี แหง่ หนง่ึ ของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช เมืองส�ำคัญโดยไดก้ ่อสรา้ งสง่ิ ตา่ ง ๆ มากมาย รวมทง้ั องค์พระที่นั่งต้ังอยู่บนเกาะกลางทะเลชุบศร ซ่ึงใน สวนสตั วแ์ หง่ นด้ี ว้ ย ตอ่ มาเมอ่ื สนิ้ ยคุ สมยั ของจอมพล สมัยโบราณเป็นอ่างเก็บน้�ำขนาดใหญ่ท่ีมีเข่ือนหิน ป. พบิ ลู สงคราม สวนสตั วก์ พ็ ลอยถกู ทอดทงิ้ และรา้ ง ถือปูนล้อมรอบ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรด ไปในที่สุด ให้สร้างขึ้นเพื่อทรงส�ำราญพระราชอิริยาบถ บันทึก ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ศูนย์สงครามพิเศษ ซึ่งเป็น ของชาวฝรั่งเศสกล่าวว่า เมื่อสมเด็จพระนารายณ์ เจ้าของสถานที่ได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ท้ัง มหาราชประพาสปา่ ในบรเิ วณภเู ขาทางทศิ ตะวนั ออก ชมรม สโมสร พอ่ คา้ ประชาชน ด�ำเนินการปรับปรงุ แล้วจะกลับเข้าเสด็จประทับ ณ พระท่ีนั่งองค์น้ี บรู ณะสวนสตั วข์ น้ึ ใหม่ ใหเ้ ปน็ ทส่ี ำ� หรบั พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ พระทน่ี ง่ั เยน็ สรา้ งขน้ึ ในปใี ดไมท่ ราบแนช่ ดั แตจ่ ากการท่ี และเป็นแหล่งส�ำหรับศึกษาหาความรู้ในเร่ืองสัตว์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ทรงต้อนรับพระราช และพืช นับเป็นสวนสัตว์ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ อาคนั ตกุ ะจากประเทศฝรงั่ เศส ณ พระทนี่ ง่ั นี้ จงึ เปน็ พอควรแกก่ ารบรกิ ารประชาชนในทอ้ งถิ่น สวนสตั ว์ หลกั ฐานทแ่ี นช่ ดั วา่ พระทน่ี งั่ เยน็ ไดส้ รา้ งกอ่ นพ.ศ.๒๒๒๘ แห่งน้ีเปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. ค่าผา่ นประตู ผ้ใู หญ่ ๒๐ บาท เดก็ ๑๐ บาท รถยนต์ 22 ลพบรุ ี

พระทีน่ ่ังไกรสรสหี ราช ลักษณะทางสถาปัตยกรรม เป็นพระท่ีน่ังชั้นเดียว ส่องยาววางบนขาตั้งทอดพระเนตรดวงจันทร์จาก ก่ออิฐถือปนู มผี นังเปน็ ทรงจตั รุ มุข ตรงมขุ หน้าเป็น สีหบัญชรของพระที่นั่งเย็น และตรงเฉลียงสอง มุขเด็จย่ืนออกมา และมีสีหบัญชรกลางมุขส�ำหรับ ข้างสีหบัญชร ด้านหนึ่งมีขุนนางหมอบกราบ อีก สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จออก ซุ้มหน้าต่าง ด้านหน่ึงมีนักดาราศาสตร์ก�ำลังสังเกตการณ์โดยใช้ และซุ้มประตูท�ำเป็นซุ้มเรือนแก้ว เป็นแบบแผนที่ กล้องส่อง จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาวิชาดาราศาสตร์ นิยมท�ำกันมากในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมัยใหมเ่ กิดขนึ้ ครั้งแรกในประเทศไทย ณ พระที่นง่ั สภาพปจั จบุ นั เหลอื แตผ่ นงั เครอื่ งบนหกั พงั หมดแลว้ เยน็ เมืองลพบรุ นี เี้ อง ในบริเวณพระท่ีนั่งเย็นมีอาคารเล็ก ๆ ก่อด้วยอิฐ ส่วนทะเลชุบศรในสมัยโบราณนั้นเป็นท่ีลุ่มน�้ำขังอยู่ ซึ่งท�ำประตูหน้าต่างเป็นแบบโค้งแหลม เข้าใจว่าคง ตลอด สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงพระกรุณา เปน็ ทพี่ กั ทหาร ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั พระทน่ี ง่ั มเี กย โปรดเกล้าฯ ให้สร้างท�ำนบใหญ่ก้ันน้�ำไว้ เพื่อชักน้�ำ ทรงม้าหรือช้างด้านละแห่ง จากทะเลชุบศรผ่านท่อน�้ำดินเผาไปยังเมืองลพบุรี พระที่นั่งเย็นมีความส�ำคัญทางดาราศาสตร์ในฐานะ ปัจจุบันยังเห็นเป็นสันดินปรากฏอยู่ อัตราค่าเข้าชม ท่ีสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงใช้เป็นสถานท่ี ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตา่ งประเทศ ๕๐ บาท สอบถาม ส�ำรวจจันทรุปราคา เมื่อวันท่ี ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. รายละเอยี ดทสี่ ำ� นักงานศลิ ปากรท่ี ๔ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๒๒๘ และทอดพระเนตรสุรยิ ปุ ราคา เมือ่ วนั ที่ ๓๐ ๓๗๗๙, ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๒๓๑ รว่ มกับบาทหลวงเยซอู ิตและ บคุ คลในคณะทูตชุดแรกท่พี ระเจา้ หลยุ สท์ ่ี ๑๔ แหง่ พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนารายณ์ ประเทศฝร่ังเศสส่งมาเจริญสัมพันธไมตรี เหตุที่ใช้ มหาราช ตงั้ อยกู่ ลางวงเวยี นเทพสตรี ใกลศ้ าลากลาง พระท่ีนั่งเย็นเปน็ ท่สี �ำรวจจันทรปุ ราคา มบี ันทกึ ของ จังหวัดลพบุรี ตรงบริเวณหัวถนนนารายณ์มหาราช ชาวฝรั่งเศสกล่าวว่าเป็นท่ีที่เหมาะสม สามารถมอง กอ่ นเขา้ สยู่ า่ นตวั เมอื ง อนสุ าวรยี ส์ มเดจ็ พระนารายณ์ ท้องฟ้าได้ทุกด้าน และมีพ้ืนที่กว้างมากพอส�ำหรับ มหาราชเป็นรูปปั้นในท่าประทับยืน ผินพระพักตร์ ติดตั้งเครื่องมือ ยังมีภาพการส�ำรวจจันทรุปราคา ไปทางทศิ ตะวันออก พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงดาบ ท่ีพระท่ีนั่งเย็นซ่ึงชาวฝร่ังเศสวาดไว้ เป็นรูปสมเด็จ กา้ วพระบาทซ้ายออกมาขา้ งหน้าเลก็ นอ้ ย พระบาท พระนารายณ์มหาราชทรงสวมลอมพอก ทรงกล้อง สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ได้ทรงประกอบพธิ ีเปดิ เมอื่ วันที่ ลพบรุ ี 23

๑๖ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๙ ทฐี่ านอนสุ าวรยี ์มจี ารึก วัดยาง ณ รงั สี และพิพิธภัณฑเ์ รอื พื้นบ้าน ตง้ั อยู่ ข้อความว่า “สมเด็จพระนารายณม์ หาราช พระมหา ที่หมู่ ๒ บนตำ� บลตะลุง ริมฝงั่ แม่น้�ำลพบรุ ี ด้านทศิ กษตั รยิ ไ์ ทยผยู้ ง่ิ ใหญพ่ ระองคห์ นงึ่ ทรงพระราชสมภพ ตะวันตก เดิมเรียกว่าวัดพญายาง เนื่องจากภายใน ณ กรงุ ศรอี ยธุ ยา พ.ศ. ๒๑๗๕ สวรรคต ณ เมอื งลพบรุ ี บรเิ วณวดั มตี น้ ยางยกั ษใ์ หญต่ ระหงา่ นเปน็ สญั ลกั ษณ์ เมอื่ พ.ศ. ๒๒๓๑ พระองคท์ รงมพี ระบรมราชกฤษดา ท่ามกลางดงต้นยาง เดิมช่ือวัดยางศรีสุธรรมาราม ภินหิ ารเป็นอย่างยิ่ง” แล้วเปลี่ยนเปน็ วดั ยาง ณ รังสี จนถงึ ปจั จบุ ัน สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเป็นกษัตริย์ใน สว่ นพิพธิ ภณั ฑ์เรอื พน้ื บา้ น ต้งั อยู่ที่ศาลาการเปรยี ญ ราชวงศ์ปราสาททององค์สุดท้าย ในรัชสมัยของ ไม้ สรา้ งขนึ้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ตง้ั อย่รู มิ แมน่ ้�ำลพบุรี พระองค์ วรรณคดีและศิลปะของไทยเจริญถึงขีด ศาลาหลังนี้ได้รับรางวัลอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่น สูงสุด มีสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศอย่างกว้าง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมแบบ ขวาง เกียรติคุณของพระองค์แผ่ไพศาลเป็นอย่างยิ่ง ศาลาวดั ในชนบทของภาคกลางในประเทศไทย ทั้งนี้ ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ประชาชน ผู้สร้างจ�ำลองแบบมาจากภาพศาลาที่อยู่ด้านหลัง ชาวไทยได้ร่วมกันสร้างและประดิษฐานอนุสาวรีย์น้ี ธนบตั รใบละ ๑ บาท ท่ีพมิ พใ์ นสมัยรัชกาลท่ี ๘ ซึง่ ไว้ เมอื่ วันที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๙ นับวันจะหาดูได้ยาก ต่อมาได้มีการบูรณะซ่อมแซม แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ โครงการพิพิธภัณฑ์ เรือพ้ืนบ้านจึงได้เกิดขึ้น และนับเป็นพิพิธภัณฑ์เรือ พ้ืนบ้านแห่งแรกของประเทศไทย การเดินทาง ใชเ้ สน้ ทางสายลพบุร-ี บางปะหัน (ถนน เลียบคลองชลประทาน) จนถึงกิโลเมตรที่ ๙ วัด อยู่ด้านขวามือ มีรถโดยสารประจ�ำทางสายลพบุรี- บ้านแพรก ว่ิงบริการเวลา ๐๕.๓๐-๑๗.๓๐ น. สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ ๓๖๖๕ ๖๓๘๐ พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช วดั สิริจนั ทรนมิ ิตรวรวหิ าร (วัดเขาพระงาม) ตงั้ อยู่ หา่ งจากศาลากลางจงั หวดั ลพบรุ ไี ปทางทศิ เหนอื ตาม ถนนพหลโยธนิ ไปประมาณ ๑๒ กิโลเมตร อยใู่ นเขต ต�ำบลเขาพระงาม วัดเขาพระงามน้ีเดิมเป็นวัดร้าง สรา้ งมาแตเ่ มอ่ื ใดไมม่ ปี รากฏ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ พระอมุ าลคี ุณูปมาจารย์ (จนั ทร์ สิริจนั โท) เจา้ อาวาส วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ กับพระสงฆ์อีกรูปได้ธุดงค์ มาพักท่ีวัดน้ี เห็นว่ามีภูมิประเทศดีจึงได้สร้าง พระพุทธรูปท่ีเขาน้ี เป็นพระพุทธรูปที่มีหน้าตัก กว้าง ๑๑ วา สูงจากหน้าตักถึงยอดพระเศียร ๑๘ 24 ลพบุรี

พิพิธภณั ฑเ์ รือพน้ื บ้าน วา เส้นพระศกท�ำด้วยไหกระเทียม เมื่อสร้างเสร็จ หลังคารูปหอคอยอยู่ก่ึงกลาง เลียนแบบหลังคาทรง ได้ถวายนามว่าพระพุทธนฤมิตมัธยมพุทธกาล คร้ัน ปราสาท เครอ่ื งบนและซมุ้ ระเบยี งตกแตง่ ดว้ ยแผน่ ไม้ ภายหลงั ซอ่ มเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๙ จึงเปลย่ี นนามใหม่ แกะสลักแบบตะวนั ตก ท�ำใหด้ อู ่อนช้อยและโปรง่ ตา เป็นพระพุทธปฏิภาคมัธยมพุทธกาล (หลวงพ่อใหญ่) ส่วนบานเฟี้ยมท่ีใช้ก้ันผนังห้องเป็นลายไม้สลักเป็น จนถึงทกุ วันน้ี สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ ๓๖๔๘ ภาพสญั ลกั ษณม์ งคลของจนี ผนงั บางสว่ นตดิ กระจกสี ๖๒๐๑ เปน็ ชอ่ งใหแ้ สงลอดมาได้ สอบถามรายละเอยี ด โทร. การเดินทาง ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข ๑ (ลพบุรี- ๐ ๓๖๔๒ ๗๐๙๔ โคกส�ำโรง) ระยะทางประมาณ ๑๒ กิโลเมตร จาก การเดินทาง ใช้เส้นทางเลียบคลองชลประทาน ศาลากลางจังหวัดลพบรุ ี เมื่อเดนิ ทางเขา้ ใกล้บริเวณ (สะพาน ๖-อ�ำเภอบ้านหมี่) จนถึงสถานีรถไฟท่า วัดจะแลเห็นพระพุทธรูปสีขาวเด่นตระหง่านอยู่ แค เล้ยี วขวาขา้ มสะพานประมาณ ๑ กิโลเมตร วัด บนเชงิ เขา มรี ถโดยสารประจำ� ทางสายลพบรุ -ี เขาพระ ท่าแคอยู่ทางด้านซ้ายมือ นอกจากน้ียังมีรถโดยสาร งาม-ศูนย์การบิน ผ่านหน้าวัดในช่วงเวลา ๐๖.๐๐- ประจำ� ทางสายลพบรุ -ี วดั ทา่ แค บรกิ ารเวลา ๐๖.๐๐- ๑๗.๐๐ น. ตน้ ทางอยูท่ วี่ ัดพรหมมาสตร์ สามารถขนึ้ ๑๘.๐๐ น. รถจากข้างวงั นารายณ์ อา่ งเกบ็ นำ้� ซบั เหลก็ อยใู่ นเขตตำ� บลนคิ มสรา้ งตนเอง หอไตรวดั ทา่ แค อยภู่ ายในวดั ทา่ แค เปน็ หอไตรทเี่ กบ็ หา่ งจากศาลากลางจงั หวดั ลพบรุ ไี ปทางทศิ ตะวนั ออก พระธรรมของชุมชน “ลาวหล่ม” โดยปกติจะสร้าง ประมาณ ๑๖ กโิ ลเมตร เปน็ อ่างเกบ็ น้ำ� ธรรมชาติที่ บนเสาสูงในสระน�้ำ แต่หอไตรท่ีวัดท่าแคมีลักษณะ มีมาแต่โบราณ ในสมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช แปลกกว่าที่อ่ืน คือ สร้างเป็นเรือนไม้ทรงจัตุรมุข ทรงโปรดให้ช่างชาวฝร่ังเศสและอิตาเลียนเป็นผู้วาง ตั้งอยู่บนเสาสูง หลังคามุงด้วยกระเบ้ืองว่าว และมี ทอ่ สง่ นำ้� จากอา่ งซบั เหลก็ นำ� มาในเขตพระราชฐาน ลพบรุ ี 25

วัดไลย์ อ่างซับเหล็กมีเน้ือท่ีประมาณ ๑,๗๖๐ ไร่ เมื่อปี แล้วคนื กลบั ไปประดษิ ฐานอย่างเดมิ ถงึ ชว่ งเทศกาล พ.ศ. ๒๔๙๗ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น ราษฎรยังเชิญออกแห่เป็นประเพณีเมืองมาทุกปี นายกรัฐมนตรี ได้ให้สร้างเขื่อนดินกั้นน้�ำเพ่ือเก็บน�้ำ มิได้ขาด” ปัจจุบันทางวัดได้ก่อสร้างวิหารส�ำหรับ ไว้ใชเ้ พอื่ การเกษตร ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ จงั หวัด ประดิษฐานพระศรีอาริย์ขึ้นใหม่ ด้านหน้าเป็นรูป ลพบรุ ไี ดป้ รบั ปรงุ อา่ งซบั เหลก็ ใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว มณฑปจตั รุ มุขแลดูสงา่ งามมาก ทางธรรมชาติ โดยทำ� ถนนรอบอา่ งเกบ็ นำ�้ ปลกู ตน้ ไม้ นอกจากน้ีแล้วยังมีส่ิงท่ีน่าสนใจอีกหลายอย่าง เช่น และสร้างศาลาพักร้อน พระวหิ าร ซึ่งเปน็ สถาปตั ยกรรมแบบอยุธยาตอนต้น อ�ำเภอท่าวุ้ง คือ มีลักษณะเจาะช่องผนังแทนหน้าต่าง ภายในมี วดั ไลย์ อยูร่ ิมน้�ำบางขาม ในเขตตำ� บลเขาสมอคอน พระประธานขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ลงรักปิดทอง สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพเคยเสดจ็ ไปทวี่ ดั น้ี มซี มุ้ เรอื นแกว้ แบบพระพทุ ธชนิ ราช จงั หวดั พษิ ณโุ ลก และทรงกลา่ วไวใ้ นพระนพิ นธเ์ รอ่ื งเทย่ี วตามทางรถไฟ ด้านหน้าและด้านหลังของพระวิหารมีภาพปูนปั้น ไว้ว่า “วัดไลย์อยู่ริมน�้ำบางขาม พ้นเขาสมอคอน เรอ่ื งทศชาติ และเร่ืองปฐมสมโพธิ ซ่งึ นบั วา่ เป็นภาพ ไปทางทศิ ตะวนั ตกไมห่ า่ งนกั เปน็ วดั เกา่ ชน้ั แรกตง้ั อยู่ ประติมากรรมฝาผนังขนาดใหญ่ที่มีความส�ำคัญย่ิง กรุงศรีอยุธยา แล้วปฏิสังขรณ์เมื่อรัชกาลสมเด็จ ชนิ้ หน่งึ ของชาติ พระเจา้ บรมโกศ ยงั มลี ายภาพของเกา่ ปน้ั เรอื่ งทศชาติ นอกจากนี้ยังมีพระอุโบสถและวิหารรูปมณฑปยอด และเรอ่ื งปฐมสมโพธงิ ามนา่ ดนู กั ทว่ี ดั ไลยน์ มี้ รี ปู พระ ปรางคอ์ ยใู่ กล้ ๆ กบั พระวหิ าร และพพิ ธิ ภณั ฑป์ ระจำ� ศรอี ารยิ เ์ ปน็ ของสำ� คญั อกี อยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ผคู้ นนบั ถอื กนั วัดซึ่งมีของเก่าแก่มากมายให้ชม เช่น พระพุทธรูป มาแตโ่ บราณ เมอ่ื รชั กาลท่ี ๕ ไฟปา่ ไหมว้ หิ ารรปู พระ เครือ่ งลายคราม เคร่อื งมือเคร่อื งใชส้ มยั โบราณ และ ศรอี ารยิ ช์ ำ� รดุ ไป พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อื่น ๆ อีกมากมาย สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ อยหู่ วั โปรดฯ ใหอ้ ญั เชญิ ลงมาปฏสิ งั ขรณใ์ นกรงุ เทพฯ ๓๖๔๘ ๙๑๐๕ หรือส�ำนักพทุ ธศาสนา จังหวัดลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๑๖๖ 26 ลพบรุ ี

การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๑๑ (ลพบุรี- การเดินทาง ใชเ้ ส้นทางหลวงหมายเลข ๓๑๑ (สาย สิงห์บุรี) แล้วเล้ียวขวาเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข ลพบุรี-สิงห์บุรี) ถึงกิโลเมตรที่ ๑๘ เล้ียวขวาเข้าสู่ ๓๐๒๘ ตรงสแ่ี ยกไฟแดง (กิโลเมตรที่ ๑๘) เขา้ ไปอกี ทางหลวงหมายเลข ๓๐๒๘ ตรงส่แี ยกไฟแดง เข้าไป ระยะทางประมาณ ๖ กิโลเมตร มรี ถโดยสารประจ�ำ อีกประมาณ ๑๒ กิโลเมตร มีรถโดยสารประจ�ำทาง ทางผ่านหลายสาย คือ สายลพบุรี-ท่าโขลง สาย ผ่านทางเข้าเขาสมอคอน ในบริเวณตลาดท่าโขลง โคกสำ� โรง-บา้ นหม่ี และสายสงิ หบ์ รุ -ี บา้ นหมี่ หลายสาย คอื สายลพบรุ -ี ทา่ โขลง โคกสำ� โรง-บา้ นหมี่ และสายสิงห์บุรี-บ้านหมี่ หลังจากนั้นต้องเหมา เขาสมอคอน อยู่ในเขตต�ำบลเขาสมอคอน ไปตาม รถสองแถว หรือรถมอเตอร์ไซค์รับจ้างเข้าไปจาก เสน้ ทางสายลพบรุ ี-สิงหบ์ รุ ี ถึงกิโลเมตรที่ ๑๘ เล้ียว ปากทาง ขวาเขา้ ไปอกี ๑๒ กโิ ลเมตร เปน็ ทวิ เขาทมี่ คี วามสำ� คญั ด้านประวัติศาสตร์ มีต�ำนานเก่าแก่เกี่ยวกับเขาสมอ อ�ำเภอบ้านหม่ี คอนอยู่หลายเร่ือง หนังสืออักขรานุกรมภูมิศาสตร์ อ�ำเภอบ้านหม่ีเป็นอ�ำเภอท่ีมีชื่อเสียงในการทอผ้า ฉบับราชบัณฑิตยสถาน กล่าวไว้ว่า “เขาสมอคอน มัดหมี่ ราษฎรส่วนใหญ่ของอ�ำเภอบ้านหม่ีเป็นไทย นี้เป็นท่ีอยู่ของสุกกทันตฤๅษี อาจารย์ของพระเจ้า พวนท่ีอพยพมาจากประเทศลาวเมอ่ื ประมาณ ๑๓๐ รามคำ� แหงมหาราช และพระยางำ� เมอื ง กษตั รยิ เ์ มอื ง ปีมาแล้ว และได้น�ำเอาชื่อบ้านเดิม คือ “บ้านหมี่” พะเยา ซงึ่ นา่ จะเปน็ ราชวงศห์ นองแสโยนก เชยี งแสน มาใชเ้ ปน็ ช่อื บา้ นท่ีอพยพมาตั้งหลักแหล่งใหม่นีด้ ว้ ย ทั้งสองพระองค์ เพราะเมื่อทรงพระเยาว์ ได้เสด็จ มาศึกษาศิลปวิทยาท่ีเขาสมอคอนน้ี ซ่ึงสมัยน้ันเป็น วดั ธรรมกิ าราม หรอื วดั คา้ งคาว ตง้ั อยรู่ มิ นำ้� บางขาม กษตั ริยเ์ มืองลพบรุ กี เ็ ป็นราชวงศเ์ ดยี วกัน” ฝง่ั ตะวนั ตก ตำ� บลบางขาม เหตทุ ช่ี อื่ วดั คา้ งคาวเพราะ มีวัดทสี่ ำ� คัญบนทิวเขาน้ี ๔ วดั ด้วยกนั คือ วดั บนั ได วา่ เดมิ มีค้างคาวอาศัยอยมู่ าก ปัจจุบนั ไมม่ ีแล้ว และ สามแสน มีโบราณสถานคือวิหารอยู่หน้าถ�้ำ และ ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื ใหมว่ า่ “วดั ธรรมกิ าราม” เปน็ วดั เกา่ แก่ พระอุโบสถเก่า สถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา วัดถ้�ำ อยรู่ มิ ฝง่ั คลองในหมไู่ มร้ ม่ รนื่ สง่ิ ทนี่ า่ ชมคอื มภี าพเขยี น ตะโกพทุ ธโสภา มพี ระอโุ บสถสรา้ งเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ทผ่ี นังโบสถ์ ซ่ึงเปน็ ภาพเขียนเรอ่ื งพุทธประวัตทิ ั้ง ๔ ภายในมีจิตรกรรมฝาผนังศิลปะแบบพมา่ และเจดีย์ ด้าน ลักษณะของภาพเขียนมีลักษณะแบบตะวันตก ทรงเรอื สำ� เภา วดั ถำ้� ชา้ งเผอื ก บรเิ วณเชงิ เขามที ำ� นบดนิ เข้ามาปนบ้างแล้ว เช่น การแรเงาต้นไม้ และอื่น ๆ และอา่ งเกบ็ นำ�้ โบราณ ประมาณวา่ สรา้ งในพทุ ธศตวรรษ เป็นภาพเขียนในสมัยรัชกาลที่ ๔ ฝีมือช่างพื้นบ้าน ที่๑๘รว่ มสมยั กบั อา่ งเกบ็ นำ�้ และทำ� นบดนิ ทต่ี ำ� บลทะเล ทงี่ ดงามมาก สอบถามรายละเอยี ด โทร. ๐ ๓๖๔๘ ชบุ ศร วดั เขาสมอคอน มเี จดยี ย์ อ่ มมุ ไมส้ บิ สองทท่ี ำ� บวั ๙๕๙๓ หรือส�ำนักพุทธศาสนา จังหวัดลพบุรี โทร. กลุ่มรองรับองค์ระฆังเป็นเจดีย์มีถ้�ำเล็ก ๆ เรียกว่า ๐ ๓๖๔๒ ๒๑๖๖ ถ�้ำพระนอน ภายในมีพระพุทธไสยาสน์ประดิษฐาน การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๑๑ (ลพบุรี- อยู่ รชั กาลที่ ๕ เคยเสดจ็ ประพาสเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๘ สิงห์บุรี) แล้วเลี้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข สอบถามรายละเอยี ด โทร. ๐ ๓๖๕๒ ๑๑๕๙ หรอื สำ� นกั ๓๐๒๘ ตรงกโิ ลเมตรที่ ๑๘ (เส้นทางเดยี วกับวดั ไลย์) พทุ ธศาสนา จงั หวดั ลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๑๖๖ ลพบรุ ี 27

เป็นความคิดริเริ่มของเจ้าอาวาสท่ีน�ำต�ำนานเมือง ลพบุรีท่ีเก่ียวกับเรื่องรามเกียรต์ิมาประยุกต์ในการ สร้าง สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ ๓๖๖๔ ๔๒๗๐ หรอื สำ� นกั พุทธศาสนา จงั หวัดลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๑๖๖ วดั หนองเตา่ (วดั พาณชิ ธรรมมกิ าราม) อยทู่ ต่ี ำ� บล หนองเตา่ สง่ิ ทนี่ า่ สนใจคอื อโุ บสถบนหลงั เตา่ ซงึ่ เปน็ สัญลักษณ์ของต�ำบลหนองเต่า พระบาทสมเด็จพระ ปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงยกชอ่ ฟา้ อโุ บสถ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๗ การเดนิ ทาง ตงั้ อยรู่ มิ ถนนสายเลยี บคลองชลประทาน ห่างจากตัวเมืองบ้านหม่ี ๑๑ กิโลเมตร วัดธรรมิการาม วดั เขาวงกต เปน็ วดั ทอ่ี ยใู่ นวงลอ้ มของภเู ขาสามดา้ น บรเิ วณกวา้ งขวางถงึ ๓๐ ไร่ บนไหลเ่ ขาดา้ นทศิ ตะวนั วัดท้องคุ้ง ต้ังอยู่ในเขตต�ำบลบ้านพึ่ง สิ่งท่ีน่าสนใจ ตก มพี ระพทุ ธไสยาสนอ์ งคใ์ หญป่ ระดษิ ฐานอยู่ ถดั ลง คือ อุโบสถบนเรือส�ำเภากลางน้�ำ ลักษณะอุโบสถ มามีศาลาเก็บศพหลวงพ่อเจริญ ติสวัณโณ อดีตเจ้า สร้างบนเรือส�ำเภาลอยน�้ำอยู่ในแม่น้�ำบางขาม อาวาส ซ่ึงมรณภาพไปแล้วต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๐๖ แต่ นอกจากนี้ยังมีศาลาธรรมสังเวช สร้างประยุกต์เป็น ศพไม่เนา่ เปือ่ ย หน้าวัดมีเจดียส์ รา้ งอย่บู นเรอื สำ� เภา รปู รถโดยสารประจำ� ทาง อนุสรณข์ องหลวงพอ่ เภาผสู้ รา้ งวัดนี้ การเดนิ ทาง ใชเ้ สน้ ทางเดยี วกบั ทางไปวดั ธรรมกิ าราม สิ่งที่น่าสนใจมากคือถ�้ำค้างคาว ซึ่งอยู่บนไหล่เขา วัดท้องคุ้งอยู่ห่างมาอีกประมาณ ๒ กิโลเมตร มี เหนือพระอุโบสถ นับว่าเป็นถ�้ำค้างคาวที่ใหญ่ที่สุด บริการรถโดยสารประจ�ำทาง สายลพบุรี-บ้านหม่ี ในจังหวัดลพบุรี ภายในถ�้ำมีค้างคาวนับล้าน ๆ ตัว ผา่ นหน้าวดั รายได้จากค่ามูลค้างคาวที่เข้าวัดแต่ละปีเป็นเงิน วัดท้องคุ้งท่าเลา อยู่ริมถนนสายบางงา-บ้านหมี่ หลายหมื่นบาท ทุกวันต้ังแต่เวลาประมาณ ๑๘.๓๐ ต�ำบลบา้ นพึง่ สงิ่ ที่น่าสนใจ คอื ประตูทางเขา้ วดั เปน็ น. คา้ งคาวจะพากนั บนิ ออกจากปากถำ�้ ไปหากนิ ยาว รปู หนมุ านกำ� ลงั อา้ ปาก ประดบั กระจกสสี วยสะดดุ ตา เป็นสายคล้ายควันไฟ การบินออกหากินนี้จะติดต่อ กันไปไมห่ ยุดจนกระทั่งถึงเวลาประมาณ ๒๒.๐๐ น. และจะเรม่ิ กลบั เขา้ ถำ้� ตงั้ แตเ่ วลาประมาณ ๐๖.๐๐ น. จงึ จะหมด การเดินทาง ใช้เส้นทางหมายเลข ๓๑๑ (ลพบุรี- สิงห์บรุ ี) เชน่ เดยี วกับวดั ทอ้ งคงุ้ จะถึงก่อนเขา้ อ�ำเภอ 28 ลพบุรี

บ้านหมี่ประมาณ ๔ กิโลเมตร มีบริการรถโดยสาร ประจ�ำทางสายลพบุรี-บ้านหมี่ ลงรถท่ีสถานีขนส่ง บา้ นหม่ี แล้วเหมารถรบั จ้างจากบ้านหมี่เข้าไปยังวัด อกี ครั้ง สอบถามท่ี โทร. ๐ ๓๖๔๗ ๑๓๗๓, ๐ ๓๖๖๒ ๙๓๗๓ หรอื สำ� นกั งานพทุ ธศาสนา จงั หวดั ลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๑๖๖ อ�ำเภอโคกสำ� โรง เขาวงพระจนั ทร์ เขาวงพระจนั ทร์ บรเิ วณเชงิ เขาเปน็ ทต่ี งั้ ของวดั เขาวง พระจนั ทร์ มที างบนั ไดขนึ้ สยู่ อดเขาประมาณ ๓,๗๙๐ อำ� เภอพัฒนานคิ ม ข้ัน ยอดเขานี้สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ ทุ่งทานตะวัน พ้ืนท่ีจังหวัดลพบุรีปลูกทานตะวัน ๖๕๐ เมตร ถา้ วดั จากเชงิ เขาถงึ ยอดเขาโดยแนวบนั ได มากที่สุดในประเทศไทย คือประมาณ ๒๐๐,๐๐๐- จะยาว ๑,๖๘๐ เมตร ใช้เวลาเดนิ ทางจากเชิงเขาถงึ ๓๐๐,๐๐๐ ไร่ ดอกทานตะวนั จะบานสะพรงั่ ในช่วง ยอดเขาประมาณ ๒ ชั่วโมง สองข้างทางเตม็ ไปด้วย เดือนพฤศจิกายน-มกราคม ทานตะวันเป็นพืชทน ปา่ ไมข้ นึ้ สลบั ซบั ซอ้ น บางชว่ งเปน็ ทล่ี าด บางชว่ งเปน็ แลง้ เกษตรกรนยิ มปลกู แทนขา้ วโพด เมลด็ ทานตะวนั ที่ชัน เมื่อข้ึนไปถึงยอดเขาวงพระจันทร์จะมองเห็น มีคุณค่าทางโภชนาการ นิยมใช้สกัดท�ำน�้ำมันปรุง ทิวทัศนเ์ บือ้ งล่างไดไ้ กลสุดสายตา อาหาร หรืออบแห้งเพือ่ รับประทาน หรือใช้เปน็ สว่ น ในหนา้ เทศกาลเดอื น ๓ ประชาชนโดยเฉพาะชาวไทย ผสมของเคร่ืองส�ำอาง และยังสามารถเลี้ยงผึ้งเป็น เชอื้ สายจนี ทงั้ ใกลแ้ ละไกลจะหลง่ั ไหลกนั มานมสั การ อาชีพเสริมได้อีกด้วย จึงท�ำให้ได้ผลิตผล คือน้�ำผึ้ง รอยพระพทุ ธบาทและพระพุทธรปู บนยอดเขาแห่งนี้ จากดอกทานตะวนั อกี ทางหนงึ่ แหลง่ ปลกู ทานตะวนั อย่างเนืองแน่นเป็นประจ�ำทุกปี สิ่งก่อสร้างและรูป กระจายอยู่ท่ัวไปในเขตอ�ำเภอเมืองลพบุรี อ�ำเภอ แบบของการแสดงความเคารพท่ีวัดนี้จึงค่อนข้างจะ พฒั นานคิ ม อำ� เภอชัยบาดาล พืน้ ท่ีปลูกเป็นจ�ำนวน มีอิทธพิ ลจีนหรือฝา่ ยมหายานอย่มู าก มาก ได้แก่ บริเวณเขาจีนแล ใกล้วัดเวฬุวัน ต�ำบล เขาวงพระจนั ทรไ์ ดช้ อ่ื วา่ เปน็ เขาทสี่ งู ทสี่ ดุ ของจงั หวดั โคกตมู อ�ำเภอเมืองลพบุรี ลพบุรี และเปน็ ภูเขาทส่ี ร้างช่ือเสยี งใหผ้ ู้คนรูจ้ กั เมอื ง ลพบรุ มี าช้านานแลว้ นอกจากน้นั ภูเขานย้ี ังเป็นท่ีมา ลพบุรี 29 แห่งต�ำนานเมืองเร่ืองท้าวกกขนากและเร่ืองพระเจ้า กงจีนอกี ดว้ ย สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ ๓๖๖๕ ๐๑๘๘ หรอื สำ� นกั งานพทุ ธศาสนา จงั หวดั ลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๑๖๖ การเดนิ ทาง มรี ถโดยสารประจำ� ทางจากสถานขี นสง่ สายลพบุรี-โคกส�ำโรง ผ่านทางหน้าวัด และเหมา รถรับจ้างจากปากทางเข้าวัดเข้าไปอีกประมาณ ๕ กิโลเมตร

ท่งุ ทานตะวัน สอบถามบรเิ วณพนื้ ทปี่ ลกู ทานตะวนั กอ่ นการเดนิ ทาง การเดนิ ทาง จากจงั หวดั ลพบรุ ี ใชท้ างหลวงหมายเลข ได้ที่ ๓๐๑๗ (พัฒนานิคม-เข่ือนปา่ สักชลสทิ ธ)ิ์ อยู่ก่อนถงึ บรเิ วณพื้นท่ีปลูกทานตะวันอ�ำเภอพฒั นานิคม ส่ีแยก ซอย ๑๒ ประมาณ ๑๐๐ เมตร โทร. ๐ ๓๖๖๓ - ทว่ี า่ การอำ� เภอพัฒนานคิ ม โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๑๔๓๓ ๘๑๐๓, ๐ ๓๖๔๓ ๖๑๑๐ - อบต.ชอนนอ้ ย โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๑๓๔๐ - อบต.ชอ่ งสารกิ า โทร. ๐ ๓๖๗๐ ๕๐๖๑ เข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ ตัง้ อยู่ทบี่ ้านแก่งเสือเต้น ตำ� บล บริเวณพ้ืนท่ีปลูกทานตะวันอ�ำเภอเมืองลพบรุ ี หนองบัว เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิเป็นนามที่พระบาท - ศนู ย์สงครามพเิ ศษ โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๗๗๔ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ สร้างภายใต้ - เทศบาลตำ� บลโคกตมู โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๐๘๔๒ โครงการพัฒนาลุ่มแม่น้�ำป่าสัก อันเน่ืองมาจาก พระราชด�ำริ เป็นเขื่อนดินแกนดินเหนียวที่ยาวท่ีสุด วัดพรหมรังสี ตามประวัติความเป็นมาสืบเน่ืองมา ในประเทศไทย มีความยาว ๔,๘๖๐ เมตร ความสงู ท่ี จากในสมยั หนงึ่ สมเดจ็ พฒุ าจารย์ (โต พรหมรงั ส)ี ได้ จดุ สงู สดุ ๓๖.๕๐ เมตร จดุ เดน่ ทน่ี า่ สนใจภายในเขอ่ื น เดินธดุ งคแ์ ละไดห้ ยดุ พักปกั กลด ณ ทแี่ หง่ น้ี ต่อมาผู้ ไดแ้ ก่ จดุ ชมววิ บรเิ วณสนั เขอื่ น พพิ ธิ ภณั ฑล์ มุ่ นำ้� ปา่ สกั ทม่ี ศี รทั ธาในพทุ ธศาสนาจงึ ไดร้ ว่ มใจกนั สรา้ งวดั และ ซง่ึ แสดงความรดู้ า้ นธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม พธิ เี ปดิ ถวายนามนเี้ ปน็ อนุสรณ์ อยา่ งเปน็ ทางการของเขอื่ นปา่ สกั ชลสทิ ธคิ์ อื วนั ที่ ๒๕ วัดน้ีมีพระอุโบสถทรงจัตุรมุข พระเจดีย์ทรงระฆัง พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๒ คล้ายพระบรมธาตุนครศรธี รรมราช และสง่ิ ก่อสรา้ ง นอกจากนย้ี งั มบี รกิ ารรถราง ผใู้ หญ่ ๒๕ บาท เดก็ ๑๐ อนื่ ท่ีมคี วามสวยงาม รอบ ๆ บรเิ วณร่มร่ืนดว้ ยต้นไม้ บาท ใช้เวลาไป-กลับประมาณ ๕๐ นาที บรกิ ารวัน ใหญน่ ้อย มีการดูแลรักษาความสะอาดเปน็ อย่างดี ผู้ จนั ทร-์ ศกุ ร์ เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. วนั เสาร-์ อาทติ ย์ ทผี่ ่านไปมามักแวะชมวดั นเ้ี สมอ และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ เวลา ๐๗.๓๐-๑๘.๐๐ น. ทาง 30 ลพบรุ ี

เขื่อนยังมีบริการบ้านพักสวัสดิการชลประทานเขอ่ื น - ในพื้นท่ีชั้นบน (ช้ันที่เจ็ด) สามารถชมทิวทัศน์ ปา่ สกั สอบถามรายละเอยี ดทศี่ นู ยบ์ รกิ ารนกั ทอ่ งเทยี่ ว ภูมิประเทศและทัศนียภาพรอบเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๔๒๔๓, ๐ ๓๖๔๙ ๔๒๙๑-๒ ไดร้ อบ ๓๖๐ องศา ค่าโดยสารลิฟต์ ผู้ใหญ่ ๒๐ บาท เดก็ ๑๐ บาท นกั เรยี นในเครอื่ งแบบและเปน็ หมคู่ ณะ หอคอยเฉลิมพระเกียรติ เข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ จัด ราคาพิเศษ สอบถามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ที่ โทร. ๐๘ สร้างข้ึนโดยด�ำริของนายจารุพงศ์ พลเดช อดีตผู้ว่า ๑๘๐๔ ๐๕๕๙ ราชการจังหวัดลพบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเทิด การเดนิ ทาง จากตวั เมอื งลพบรุ ี ใชท้ างหลวงหมายเลข พระเกยี รตบิ รู พมหากษตั รยิ าธริ าชเจา้ ทที่ รงพระคณุ ๓๐๑๗ (ลพบรุ -ี โคกตมู -พัฒนานิคม) ระยะทาง ๔๘ อันประเสริฐแก่จังหวัดลพบุรีมาต้ังแต่โบราณกาล กิโลเมตร มีรถสองแถวสายลพบุรี-วังม่วง ผ่านหน้า เช่น สมยั พระนางจามเทวี สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์ เขอื่ นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ รถออกจากสถานขี นสง่ ลพบรุ ี ให้ มหาราช และสมยั จกั รวี งศ์ รวมทง้ั สรา้ งเพอ่ื เปน็ แหลง่ บรกิ ารเวลา ๐๖.๐๐-๑๗.๓๐ น. ท่องเท่ียวแห่งใหม่ของจังหวัดลพบุรี โดยได้จัดพ้ืนท่ี นอกจากนี้ ในช่วงปลายปียังมีบริการท่องเที่ยวทาง ภายในหอคอยเพ่ือเขา้ ชมไดด้ งั น้ี รถไฟขบวนพิเศษ ไป-กลับ กรุงเทพฯ-เขื่อนป่าสัก - ในพ้ืนท่ีช้ันล่าง (ชั้นท่ีหน่ึง) มีพ้ืนที่ ๒๒๐ ตาราง ชลสิทธิ์ ในวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดราชการ เมตร ถกู กำ� หนดเปน็ หอ้ งนำ�้ ๔๐ ตารางเมตร คงเหลอื สอบถามรายละเอียดที่การรถไฟแห่งประเทศไทย ๑๒๐ ตารางเมตร โดยด้านซา้ ยมอื จากประตูทางเข้า โทร. ๐ ๒๒๒๐ ๔๓๓๔, ๑๖๙๐ จัดท�ำเป็นนิทรรศการเก่ียวกับการเฉลิมพระเกียรติ การเดนิ ทาง จากตวั เมอื งลพบรุ ี ใชท้ างหลวงหมายเลข บูรพมหากษตั รยิ าธิราชเจ้า จ�ำนวน ๖๐ ตารางเมตร ๓๐๑๗ (ลพบุรี-โคกตูม-พัฒนานิคม) ประมาณ ๒๕ ประกอบด้วยพระบรมรูปของพระนางจามเทวี กิโลเมตร ถึงส่ีแยกไฟแดงปั๊มน้�ำมันคาลเท็กซ์ เลี้ยว สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระบาทสมเด็จ ขวาประมาณ ๒ กโิ ลเมตร หอคอยอยทู่ างดา้ นขวามอื พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ และพระบรม ฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี ท้ัง ศูนย์อนุรักษ์ผง้ึ ตัง้ อย่เู ลขท่ี ๒๘๐ ซอย ๒๔ สายตรี ๙ พระองค์ หมู่ ๙ ตำ� บลพัฒนานคิ ม เป็นศูนย์อบรมและเรยี นรู้ นอกจากนยี้ งั มกี ารจดั แสดงสนิ คา้ ทผี่ ลติ ขนึ้ ในจงั หวดั เรื่องการเลี้ยงผ้ึงพันธุ์ในประเทศไทย เป็นแหล่ง ลพบุรี เพื่อการประชาสัมพันธ์และการจ�ำหน่ายอีก จ�ำหน่ายอุปกรณ์เล้ียงผ้ึง ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้ึง ด้วย โดยจะน�ำสินค้าชนิดเด่นจากทุกอ�ำเภอภายใน มากกว่า ๔๐ ชนิด เชน่ น�ำ้ ผึ้งแท้จากดอกทานตะวัน จังหวัดลพบุรีมาแสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการผลิต นมผง้ึ เกสร เทยี นไข ฯลฯ ของจังหวัดลพบุรี และความพร้อมในการจ�ำหน่าย การเดนิ ทาง จากตวั เมอื งลพบรุ ี ใชท้ างหลวงหมายเลข ดว้ ย ๓๐๑๗ (ลพบรุ -ี โคกตมู -พฒั นานิคม) อย่กู อ่ นถึงเข่อื น สว่ นทางดา้ นขวามอื มพี น้ื ทป่ี ระมาณ ๖๐ ตารางเมตร ป่าสักชลสิทธ์ิประมาณ ๓ กิโลเมตร มีรถสองแถว จดั เปน็ สว่ นการประกอบการคา้ ขาย ชน้ั ๒-๗ ตดิ ภาพ ลพบุร-ี วังมว่ ง ผา่ นทางเข้าสวนเหรยี ญทอง และจาก เกยี รติประวตั บิ รู พมหากษตั รยิ าธิราชเจ้าท้ัง ๔ ชุด นั้นต้องเดินเข้าไปอีกประมาณ ๕๐๐ เมตร โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๙๒๙๒ ลพบุรี 31

พพิ ธิ ภัณฑ์เปิดบา้ นโป่งมะนาว พพิ ธิ ภณั ฑเ์ ปดิ บา้ นโปง่ มะนาว อยทู่ ห่ี มู่ ๗ ตำ� บลหว้ ย การเดนิ ทาง จากตวั เมอื งลพบรุ ไี ปนำ้� ตกวงั กา้ นเหลอื ง ขุนราม ห่างจากเขื่อนป่าสักชลสทิ ธ์ิ ๒๖.๕ กโิ ลเมตร ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑ (ลพบรุ ี-โคกส�ำโรง) แล้วต่อ เป็นแหล่งโบราณคดีมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดว้ ยทางหลวงหมายเลข ๒๐๕ ถงึ บรเิ วณทบี่ รรจบกบั อายปุ ระมาณ ๒,๕๐๐-๓,๐๐๐ ปี ประมาณยคุ บา้ นเชยี ง ทางหลวงหมายเลข ๒๑ แล้วเขา้ ทางหลวงหมายเลข ตอนปลาย มกี ารขดุ พบโครงกระดูกมนุษยโ์ บราณถึง ๒๐๘๙ ไปอำ� เภอท่าหลวง ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร ๑๓ โครงกระดกู ภายในหลมุ เดยี วกนั เปดิ ใหเ้ ขา้ ชมทกุ จากนนั้ เลย้ี วซา้ ยเขา้ ตวั นำ้� ตกอกี ประมาณ ๗ กโิ ลเมตร วัน เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. สอบถามรายละเอียด สอบถามรายละเอยี ด โทร. ๐ ๓๖๓๔ ๗๑๐๕-๖ ได้ท่ีองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยขุนราม โทร. ๐ ๓๖๗๐ ๔๐๒๔-๕, ๐๘ ๑๒๙๔ ๗๗๙๐ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาสมโภชน์ ตั้งอยู่ในท้องที่บาง การเดนิ ทาง จากตวั เมอื งลพบรุ ี ใชเ้ สน้ ทางสายลพบรุ -ี สว่ นของตำ� บลซบั ตะเคยี น ตำ� บลหนองยายโตะ๊ ตำ� บล โคกตมู -พฒั นานคิ ม-วงั มว่ ง (สระบรุ )ี เขา้ ทางเดยี วกบั บวั ชมุ และตำ� บลนาโสม มเี นอื้ ทปี่ ระมาณ ๘,๔๔๐ ไร่ นำ้� ตกสวนมะเดอื่ ไมม่ ีรถประจ�ำทางผา่ น ได้รับการประกาศเป็นเขตห้ามล่าพันธุ์สัตว์ป่าเขา สมโภชน์ เม่อื วันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ อ�ำเภอชยั บาดาล เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาสมโภชน์เป็นทิวเขาหินปูน มี สวนรุกขชาติน�้ำตกวังก้านเหลือง ต้ังอยู่ที่หมู่ ๔ ลักษณะสูงชัน ยาวทอดตัวไปตามแนวทิศตะวัน ตำ� บลทา่ ดนิ ดำ� นำ�้ ตกวงั กา้ นเหลอื งมนี ำ้� ไหลตลอดทงั้ ตกเฉียงใต้ มีถ้�ำและหน้าผาจ�ำนวนมาก มีท่ีราบใน ปี เนอ่ื งจากมตี น้ นำ�้ เกดิ จากตานำ้� ใตด้ นิ ขนาดใหญ่ ซงึ่ หบุ เขา ๒ แหง่ และทร่ี าบบนเขา ๑ แหง่ มแี หลง่ นำ้� ซบั อยทู่ างทศิ ตะวนั ออก หา่ งจากบรเิ วณนำ้� ตกประมาณ กระจายอยู่ท่ัวไป จึงเป็นป่าต้นน้�ำท่ีมีความส�ำคัญ ๑.๕ กโิ ลเมตร มาก นอกจากน้ี ภายในบริเวณเขตห้ามล่าพันธุ์สัตว์ 32 ลพบุรี

การเดินทาง จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๑ ถึงทางแยกขวาเข้าอ�ำเภอชัยบาดาล จากนั้นใช้ ทางหลวงหมายเลข ๒๐๕ ไปอำ� เภอลำ� สนธิ ประมาณ ๒๐ กโิ ลเมตร ถงึ วดั เขาตำ� บล ซง่ึ ตง้ั อยทู่ างดา้ นซา้ ยมอื แล้วเลี้ยวขวาไปตามเส้นทางเข้าสู่วัดถ้�ำพรหมโลก ระยะทาง ๗ กิโลเมตร ถึงที่ท�ำการเขตห้ามล่าสัตว์ ปา่ เขาสมโภชน์ วัดป่าศรีมหาโพธิ์วิปัสสนา ๒๙/๑ หมู่ ๔ หมู่บ้าน ศรีมหาโพธิ์พัฒนาธานี ต�ำบลบัวชุม เป็นสถานที่ วิปัสสนาของชาวไทยและชาวต่างประเทศ เป็นวัด รักษาโรคของหลวงพ่อคง จตมโล สอบถามข้อมูล เพ่ิมเติมได้ที่คุณกัญญา โทร. ๐๘ ๙๗๔๖ ๑๑๑๗ หรอื คณุ แดง (การบนิ ไทย) โทร. ๐ ๒๕๑๑ ๐๕๕๐, ๐ ๒๕๑๒ ๑๘๕๙ สวนรกุ ขชาตนิ �้ำตกวงั ก้านเหลอื ง ไรช่ ยั นารายณ์ ตงั้ อยทู่ ตี่ ำ� บลชยั นารายณ์ ใชท้ างหลวง หมายเลข ๒๑ (สระบุรี-หล่มสัก) จนถึงกิโลเมตรที่ ป่าเขาสมโภชน์มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดี ๖๔ แล้วเข้าซอยตรงข้ามป้อมต�ำรวจชุมชนต�ำบล กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะที่วัดถ�้ำพรหม หนองเตา่ ผา่ นวดั ธารรฐั การาม เลยี้ วซา้ ย ไปประมาณ โลก ค้นพบขวานหินตัดยุคสมัยหินตอนปลาย อายุ ๓ กิโลเมตร จะถึงไร่ชัยนารายณ์ เป็นสถานท่ีท่อง ราว ๓,๐๐๐ ปี ใบหอกส�ำริด ภาชนะดินเผาในยุค เท่ียวเชิงอนุรักษ์ บนเนื้อท่ี ๑,๐๙๖ ไร่ภายในไร่ โลหะ อายปุ ระมาณ ๒,๕๐๐ ปี พระพุทธรปู สลกั ดว้ ย ประกอบด้วยสวนสุขภาพ ฟารม์ เพาะพนั ธุส์ ัตว์ เชน่ ไม้ สมยั อยธุ ยาตอนปลาย หรอื สมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อน มา้ แพะ แกะ กระตา่ ย ฟารม์ เพาะพนั ธป์ุ ลา ฟารม์ พชื ตน้ อายุราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๓-๒๔ เกษตรล้มลุก สวนสมุนไพร สวนพักผ่อนและ ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมที่เขตห้ามล่าพันธุ์สัตว์ป่า สนั ทนาการ ประกอบดว้ ยสนามยงิ ปนื สนามจกั รยาน เขาสมโภชน์ ตู้ ปณ. ๑๙ ปทจ.ล�ำนารายณ์ อำ� เภอ เสือภเู ขา สวนอาหาร แคม้ ปิง้ สอบถามรายละเอียด ชยั บาดาล จังหวัดลพบุรี ๑๕๑๓๐ โทร. ๐๘ ๙๕๘๑ เพม่ิ เตมิ โทร. ๐๘ ๑๗๒๐ ๓๖๐๖, ๐๘ ๑๔๔๗ ๐๕๒๐ ๑๑๒๘ หรือส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง วัดเขาสมโภชน์ เป็นหนึ่งสถานท่ีที่พุทธศาสนิกชน แวดล้อมจังหวัดลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๗๗๗ จ�ำนวนมากมักเดินทางมาเพ่ือปฏิบัติธรรมและท�ำ วิปัสสนากรรมฐาน วัดมีพื้นท่ีติดกับภูเขาร่มร่ืนด้วย แมกไม้ สงบ เหมาะกับการปฏิบัติธรรม ลพบุรี 33

การเดินทาง รถยนต์ส่วนตัว จากกรุงเทพฯ ใช้ เข้าภายในปรางค์ได้ ภายในปรางค์เป็นห้องโถง ทางหลวงหมายเลข ๑ (พหลโยธนิ ) ผา่ นอำ� เภอวงั นอ้ ย กรอบประตสู ร้างด้วยแทง่ หิน รอบ ๆ ปรางคย์ งั มหี นิ อ�ำเภอหนองแค ไปทางจังหวัดสระบุรี ก่อนถึงตัว ก้อนใหญอ่ ยเู่ กล่อื นกลาด เมอื งสระบุรี เลย้ี วซ้ายใช้ถนนสายเล่ียงเมอื งสระบรุ ี- ทตี่ งั้ ของปรางคน์ างผมหอมมแี มน่ ำ�้ มาบรรจบกนั สอง ลพบรุ -ี เพชรบรู ณ์ ถงึ แยกพแุ คชดิ ขวา เปลยี่ นเสน้ ทาง สาย คือ ล�ำสนธิกับล�ำพระยากลาง สันนิษฐานว่า จากทางหลวงหมายเลข ๑ เขา้ สทู่ างหลวงหมายเลข สถานที่แห่งน้ีแต่เดิมเป็นเมืองโบราณ และจากการ ๒๑ ไปทางเพชรบูรณ์ ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร ถึง ขุดแตง่ โบราณสถานเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ พบหลักฐาน แยกม่วงค่อม เลี้ยวขวาไปทางอ�ำเภอท่าหลวง ใช้ เพิ่มเติมคือช้ินส่วนของเครื่องประดับตกแต่งองค์ ทางหลวงหมายเลข ๒๐๕ ข้ามทางรถไฟ แล้วมุ่งตรง ปรางค์ ทำ� ด้วยหนิ ทรายเป็นรูปสตรีนงุ่ ผ้าตามศลิ ปะ ไปยังอ�ำเภอด่านขุนทด โดยใช้ทางหลวงหมายเลข เขมรแบบบายน สนั นษิ ฐานวา่ ปรางคอ์ งคน์ มี้ อี ายรุ าว ๒๒๕๖ ผ่านตลาดท่าหลวงไปอีกประมาณ ๒๐ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕-๑๗ สมัยพระเจา้ ชัยวรมันท่ี ๗ กิโลเมตร ถึงสามแยก เลย้ี วซ้ายเข้าต�ำบลบวั ชุม โดย หา่ งจากปรางคน์ างผมหอมไมม่ ากนกั คอื ดา่ นกกั สตั ว์ ใชท้ างหลวงหมายเลข ๒๒๕๗ อกี ๕ กิโลเมตร ถงึ วัด บ้านโคกคลี เป็นเนินดินมีซากอิฐ เข้าใจว่าเป็นฐาน เขาสมโภชน์ สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ทปี่ ระชาสมั พนั ธ์ วหิ าร หรือเจดยี ์ ชาวบา้ นเรยี กโคกคลีน้อย ยังมเี นิน วดั เขาสมโภชน์ โทร. ๐๘ ๕๘๐๔ ๕๒๕๙, ๐๘ ๖๐๑๐ กวา้ งอกี แหง่ หน่งึ เรยี กโคกคลใี หญ่ ๕๔๔๓ สอบถามข้อมลู เพมิ่ เตมิ ที่ส�ำนักงานกรมศลิ ปากรที่ ๔ รถประจ�ำทาง มีรถตู้ปรับอากาศออกจากอนุสาวรีย์ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐ ชยั สมรภมู ิ เวลา ๑๑.๐๐ น., ๑๔.๐๐ น. และ ๑๗.๐๐ น. คิวรถหน้าโรงพยาบาลราชวิถี ติดต่อท่ารถปักธงชัย เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา ต้ังอยู่ท่ีบ้านลังกา สำ� รองท่นี ง่ั โทร. ๐๘ ๑๗๘๐ ๔๖๗๑, ๐๘ ๑๙๒๒ เช่อื ม ตำ� บลล�ำสนธิ ตำ� บลกดุ ตาเพชร มีเนื้อทที่ ้งั ส้นิ ๗๒๐๖, ๐ ๓๖๔๙ ๗๐๗๕ ประมาณ ๙๖,๘๗๕ ไร่ เป็นที่ราบอยู่ในหุบเขา ถูก รถประจ�ำทาง บขส. ป.๑ ป.๒ สายกรุงเทพฯ- ก้ันด้วยทิวเขาพังเพย ทิศตะวันตกเป็นเขารวก สูง ลพบุรี ถึง บขส. ลพบุรี แล้วต่อรถสายลพบุรี- จากระดับทะเลปานกลาง ๑๔๐-๘๔๖ เมตร ความ เขานอ้ ย (๒๓๐๐) ลงหนา้ ทางเข้าวัด ต�ำบลบัวชมุ ตอ่ สำ� คัญของพน้ื ทค่ี ือ ป่าซบั ลงั กามสี ภาพสมบูรณ์ เป็น มอเตอร์ไซคร์ ับจ้างเข้าวดั เขาสมโภชน์ ป่าต้นน�้ำของแม่น�้ำล�ำสนธิ และแหล่งอาหารของ สัตว์ป่า ปัจจุบันยังมีเลียงผา ซึ่งเป็นสัตว์ป่าสงวน อ�ำเภอลำ� สนธิ อาศัยอยู่เส้นทางศึกษาธรรมชาติจัดไว้ ๒ เส้นทาง ปรางค์นางผมหอม อยู่ห่างจากตลาดหนองรี เส้นแรกคือห้วยพรกิ -น้�ำตกผาผงึ้ -ถ้�ำผาผง้ึ ระยะทาง ประมาณ ๔ กิโลเมตร ในเขตบ้านโคกคลี ไปตาม ไป-กลบั ประมาณ ๓,๒๐๐ เมตร ใชเ้ วลาเดนิ ประมาณ ทางหลวงหมายเลข ๒๐๕ กิโลเมตรท่ี ๒๖๙ ลกั ษณะ ๒ ชวั่ โมง ๓๐ นาที เปน็ เสน้ ทางทไ่ี มล่ ำ� บากเกนิ ไปนกั ของปรางค์นางผมหอมเป็นปรางค์องค์เดียวโดด ๆ ส�ำหรับนักท่องธรรมชาติหน้าใหม่ ระหว่างเส้นทาง ก่อด้วยอิฐไม่ถือปูน เช่นเดียวกับเทวสถานปรางค์ จะผ่านน�้ำตกผาผ้ึง ซึ่งเป็นน�้ำตกเล็ก ๆ แต่มีความ แขก สภาพปัจจุบันยอดหักลงมาหมดแล้ว มีประตู สวยงาม เพราะบรรยากาศรอบขา้ งรม่ รน่ื ดว้ ยไมใ้ หญ่ 34 ลพบุรี

นานาพรรณ เหมาะส�ำหรับเป็นจุดพักระหว่างทาง สามารถว่าจ้างรถอีแต๋นของชาวบ้าน ซ่ึงเป็นการ และหากช่ืนชมธรรมชาติด้วยความสงบอาจมีโอกาส กระจายรายได้สู่ท้องถิ่นทางอ้อมด้วย โดยติดต่อ ไดเ้ หน็ สัตวเ์ ล็ก ๆ เช่น เต่าและนกต่าง ๆ ออกมาให้ ล่วงหนา้ โทร. ๐ ๓๖๔๕ ๑๙๓๖ ไดย้ ลโฉม จากนนั้ เดนิ ตอ่ ไปยงั ถำ�้ ผาผงึ้ กอ่ นทจี่ ะตอ้ ง อกี เสน้ ทางหนงึ่ คอื หว้ ยประดู่ เรมิ่ ตน้ ดว้ ยการลอ่ งแพ ใชฝ้ มี อื ในการปนี ปา่ ยหนิ แหลมคมเพอ่ื ชมดงจนั ทนผ์ า ซึง่ จุคนไดป้ ระมาณ ๓๕ คน ไปยังจุดเรม่ิ ต้นเสน้ ทาง ซ่ึงเป็นไม้ดึกดำ� บรรพ์ที่มีรูปทรงงดงาม ในช่วงปลาย เดินศึกษาธรรมชาติ ซึ่งมีระยะทาง ๑,๕๐๐ เมตร ฝนต้นหนาว กล้วยไม้รองเท้านารีท่ีซ่อนตัวอยู่ในดง ระหว่างเส้นทางเดินสามารถชมถ้�ำสมุยกุยและถ�้ำ จันทน์ผานีจ้ ะแบ่งบานพร้อมกนั ในฤดนู ี้ พระนอกได้ ใช้เวลาส�ำหรับเส้นทางนี้ประมาณ ๑ สำ� หรบั จดุ เรมิ่ ตน้ เดนิ เทา้ เสน้ ทางนค้ี อื หว้ ยแมพ่ รกิ ซงึ่ ชั่วโมง ๓๐ นาที อยหู่ ่างจากทท่ี ำ� การเขตฯ เปน็ ระยะทาง ๙ กโิ ลเมตร ส่ิงท่ีควรน�ำไปด้วยส�ำหรับการเที่ยวที่ซับลังกา คือ ต้องใช้รถสภาพดี ก�ำลังดี พร้อมที่จะลุยทางลูกรัง รองเท้าที่กระชับรัดกุมเพ่ือความคล่องตัวในการ ท่ีค่อนข้างเละ แต่ผู้ท่ีไม่มีรถและไปกันเป็นคณะ เดินย่�ำน้�ำตกและโขดหินลื่น หรือปีนป่ายหน้าผาหิน แหลมคม ยาทากันยุง และที่ส�ำคัญคือจิตส�ำนึกใน การเปน็ นักทอ่ งธรรมชาติท่ดี ี การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๒๐๕ จากอำ� เภอ ชยั บาดาลไปอำ� เภอลำ� สนธิ ประมาณ ๓๑ กิโลเมตร จะมที างแยกเขา้ ตำ� บลกดุ ตาเพชร ระยะทางประมาณ ๓๗ กโิ ลเมตร ตดิ ตอ่ ขออนญุ าตเขา้ พนื้ ทลี่ ว่ งหนา้ ไดท้ ี่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา ต�ำบลกุดตาเพชร อ�ำเภอล�ำสนธิ จังหวัดลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๕ ๑๙๓๖, ๐๘ ๗๑๑๙ ๑๘๙๓, ๐๘ ๑๘๗๕ ๐๓๙๗ แหลง่ ท่องเทยี่ วในพืน้ ทท่ี หาร ลพบุรีเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญของประเทศมา ตั้งแต่สมัยโบราณ จึงถูกเลือกให้เป็นที่มั่นแห่งที่ ๒ ของประเทศมาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา การพัฒนา ด้านการทหารของจังหวัดลพบุรี ปรากฏว่าเด่นชัด ในสมัยจอมพล ป. พบิ ูลสงคราม เป็นนายกรฐั มนตรี ท�ำให้กิจการด้านการทหารของลพบุรีมีความส�ำคัญ มากเปน็ อนั ดบั ๒ รองจากกรงุ เทพมหานคร กจิ กรรม ด้านการท่องเที่ยวในพ้ืนท่ีทหารหน่วยต่าง ๆ ที่น่า สนใจ ไดแ้ ก่ เขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ ่าซบั ลงั กา ลพบรุ ี 35

กิจกรรมท่องเที่ยวในพ้ืนที่หน่วยบัญชาการสงคราม พิบูลสงคราม (๑๘ หลุม) เปิดบริการส�ำหรับบุคคล พิเศษ (อ�ำเภอเมืองลพบรุ )ี ไดแ้ ก่ การสาธติ การด�ำรง ภายนอก ทกุ วัน เวลา ๐๕.๓๐-๑๗.๓๐ น. ชีพในปา่ การกระโดดหอสูง ๓๔ ฟตุ การฝกึ กระโดด ติดต่อ มทบ. ๑๓ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๑๓๓, ๐ ๓๖๔๒ ร่มจากบอลลูน การยิงปืน ไต่หน้าผา ทัวร์ป่าทาง ๒๗๓๔-๕ ต่อ ๓๗๓๙๓ ทหาร และชมพพิ ธิ ภัณฑท์ หารรบพิเศษ ซ่งึ จัดแสดง แหล่งท่องเที่ยวภายในโรงพยาบาลอานันทมหิดล ภาพและอปุ กรณต์ า่ ง ๆ เกย่ี วกบั ประวตั คิ วามเปน็ มา (อ�ำเภอเมืองลพบรุ ี) ไดแ้ ก่ ห้องแสดงพระราชประวัติ ววิ ฒั นาการ และภาพกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของหนว่ ยรบพเิ ศษ รัชกาลท่ี ๘ อยู่ภายในตึกอ�ำนวยการโรงพยาบาล ตัง้ แตย่ ุคเรม่ิ ตน้ จนถงึ ปจั จุบัน อานนั ทมหดิ ล จดั แสดงพระราชประวตั เิ มอื่ ครงั้ เสดจ็ กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วในพนื้ ทที่ หารคา่ ย A03 (อำ� เภอ มาเปิดโรงพยาบาล วันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ เมอื งลพบรุ )ี ทางเขา้ อา่ งเกบ็ นำ�้ ซบั เหลก็ ตำ� บลโคกตมู สอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ โ่ี รงพยาบาลอานนั ทมหดิ ล เป็นศูนย์รวมกิจกรรมในรูปแบบของการทดสอบ โทร. ๐ ๓๖๗๘ ๕๘๙๑, ๐ ๓๖๔๑ ๑๔๒๓-๖ กำ� ลงั ใจและการดำ� รงชวี ติ แบบทหาร เชน่ การกระโดด หอสงู ๓๔ ฟตุ ไตห่ น้าผาจ�ำลอง ยงิ ปนื สะพานเชอื ก แหลง่ หตั ถกรรมและสนิ คา้ พนื้ เมือง พายเรอื คายัค อ�ำเภอเมอื งลพบุรี ตดิ ตอ่ กองกิจการพลเรือน หนว่ ยบญั ชาการสงคราม หมู่บ้านดินสอพอง ลพบุรีได้ช่ือว่าเป็นแหล่งผลิต พเิ ศษ คา่ ยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช กรณุ าตดิ ตอ่ ดนิ สอพองทมี่ คี ณุ ภาพดที ส่ี ดุ แหง่ เดยี วในประเทศไทย ลว่ งหนา้ อยา่ งนอ้ ย ๑ สปั ดาห์ สำ� หรบั กจิ กรรมคา่ ยพกั แหลง่ ผลติ อยทู่ หี่ มบู่ า้ นหนิ สองกอ้ น ตำ� บลทะเลชบุ ศร แรม ๓๐ คน โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๙๒ (ในเวลาราชการ) (รมิ คลองชลประทาน บรเิ วณสะพาน ๖) เปน็ หมบู่ า้ น หรือ ๐๘ ๑๙๔๗ ๒๘๐๐ (นอกเวลาราชการ) หรือ ที่มีการท�ำดินสอพองกันแทบทุกครัวเรือน บริเวณ www.army.mi.th นั้นมีดินสีขาว เรียกกันว่าดินมาร์ล มีเน้ือเนียนขาว แหล่งท่องเที่ยวในพื้นท่ีศูนย์การทหารปืนใหญ่ ละเอียดแน่น จึงไม่เหมาะแก่การปลูกพืช แต่ด้วย (อำ� เภอเมอื งลพบรุ )ี ไดแ้ ก่ สถาปตั ยกรรมสมยั จอมพล ภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นได้น�ำมาผลิตเป็นดินสอ ป. พบิ ลู สงคราม ไดแ้ ก่ ตกึ ชาโต้ (ตกึ บญั ชาการเขานำ้� พอง ซง่ึ สามารถนำ� ไปเปน็ วตั ถดุ บิ ในการทำ� ผลติ ภณั ฑ์ โจน) ตกึ พบิ ูลสงคราม และยงั มีพพิ ธิ ภัณฑ์จอมพล ป. ต่าง ๆ ไดห้ ลายชนดิ เช่น แปง้ เครอื่ งส�ำอาง ยาสฟี ัน พิบูลสงคราม พิพิธภัณฑ์ทหารปืนใหญ่ พิพิธภัณฑ์ ตกแต่งผิวเคร่ืองเรอื น เปน็ ต้น พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา และอุทยาน สถานทีต่ ดิ ตอ่ พฤกษศาสตร์ เปิดในวันเวลาราชการ หากต้องการ ผู้ใหญ่ใหญ่ โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๖๑๗๘ เขา้ ชมวันเสารอ์ าทติ ย์ กรณุ าตดิ ต่อลว่ งหน้า อบต.ทะเลชุบศร โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๑๔๓๘ ตดิ ตอ่ สำ� นกั งานสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วศนู ยก์ ารทหาร คุณน้อย โทร. ๐๘ ๖๐๑๓ ๖๔๒๘ ปนื ใหญ่ โทร. ๐ ๓๖๔๘ ๖๔๓๓-๔ ตอ่ ๓๙๑๐๔ ศนู ยโ์ อทอ็ ปทะเลชบุ ศร หมู่ ๕ ถนนศรอี ินทราทิตย์ แหล่งท่องเท่ียวในพ้ืนที่มณฑลทหารบกที่ ๑๓ (สะพาน ๖) ต�ำบลทะเลชุบศร โทร. ๐๘ ๗๖๖๖ (อำ� เภอเมอื งลพบรุ ี) ได้แก่ สนามกอลฟ์ จอมพล ป. ๙๕๔๑ (เปิดเวลา ๐๘.๐๐-๑๙.๐๐ น.) 36 ลพบุรี

ไข่เค็มดนิ สอพอง ๑๖๘ หมู่ ๑ ตำ� บลทะเลชุบศร อำ� เภอเมอื งฯ โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๑๔๖๙ หมู่บ้านดินสอพอง อ�ำเภอบา้ นหมี่ หมู่บ้านทอผ้ามัดหมี่ เป็นแหล่งทอผ้าพ้ืนเมืองลาย ไขเ่ คม็ ดนิ สอพอง เปน็ ของฝากทม่ี ชี อ่ื เสยี งของลพบรุ ี เอกลักษณข์ องชาวไทยพวน เรียกวา่ มัดหม่ี ปัจจุบนั โดยนำ� ดนิ สอพองมาผสมกบั เกลอื และนำ�้ ตามสดั สว่ น มีการพัฒนารูปแบบลายผ้าและสีให้ทันสมัยย่ิงขึ้น แล้วพอกไข่ ไข่เค็มดินสอพองลพบุรีไม่เค็มมากนัก นับเป็นแหล่งทอผ้ามัดหมี่ท่ีมีคุณภาพช้ันเยี่ยมของ สามารถน�ำไปท�ำไข่หวาน ไข่ดาว ไข่ต้ม และปรุง ประเทศ มกี ารรวมกลมุ่ กันทอตามหมบู่ ้านตา่ ง ๆ ใน อาหารได้ ทขี่ น้ึ ชอ่ื คือไข่เค็มผดั พริกขงิ แถบตำ� บลบ้านกลว้ ย ตำ� บลบา้ นทราย ต�ำบลหนิ ปัก แหล่งผลิตได้แก่ชมรมแม่บ้านพัน ปจว. กองพัน ศูนย์สาธิตและจ�ำหน่ายคือกลุ่มทอผ้าบ้านหมี่ ๘๐ ปฏบิ ตั กิ ารจติ วทิ ยาศนู ยส์ งครามพเิ ศษ ถนนนารายณ์ หมู่ ๑ ต�ำบลบ้านกล้วย (ไปตามถนนสายบ้านหม่ี- มหาราช โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๑๗๐๐-๙ โคกสำ� โรง ประมาณ ๒ กิโลเมตร) โทร. ๐ ๓๖๔๗ การหลอ่ โลหะ (ทองเหลือง) ชมุ ชนบา้ นทา่ กระยาง ๑๙๐๔, ๐๘ ๗๐๐๖ ๑๘๙๗ เป็นที่รวมของบ้านช่างหล่อทองเหลืองซ่ึงมีความ ส้มฟัก เป็นอาหารท่ีท�ำจากการหมักเนื้อปลาด้วย เช่ียวชาญ ท�ำสืบทอดกันมายาวนาน มีการหล่อ เกลือ ข้าวสุกบด และกระเทียมดอง น�ำมานวด พระพุทธรูปด้วยทองเหลือง หล่อรูปต่าง ๆ และ จนแน่นเป็นเน้ือเดียวกัน แล้วหมักเช่นเดียวกับ หล่อผลิตภัณฑ์เลียนแบบของเก่าด้วย ปัจจุบันมี หมักแหนม เน้ือปลาท่ีใช้เป็นเนื้อปลาท่ีมีสีขาว การรวมตัวกันเป็นชมรมช่างหล่อทองเหลืองบ้าน ละเอยี ด เช่น ปลากราย ปลาสลาด ปลายสี่ ก ใช้เวลา ท่ากระยาง มีศูนย์รวมการผลิตและจ�ำหน่าย อยู่ท่ี หมกั ๓ วนั จงึ จะเปรยี้ วไดท้ ี่ รบั ประทานเปน็ กบั แกลม้ แหล่งผลติ อยทู่ อี่ ำ� เภอบา้ นหมี่ ลพบรุ ี 37

ปลาสม้ เปน็ อาหารทน่ี ยิ มกนั มากอกี ชนดิ หนง่ึ ใชป้ ลา อำ� เภอพฒั นานิคม ตะเพยี นขอดเกลด็ ผา่ ทอ้ งควกั ไสอ้ อก คลกุ เกลอื ใหท้ วั่ ผลิตภัณฑ์จากเปลือกข้าวโพด ในพื้นที่ของอ�ำเภอ ตัวปลา แล้วน�ำข้าวสุกผสมกระเทียมใส่เข้าไปในทอ้ ง พัฒนานิคมมีการปลูกข้าวโพดกันมาก เมื่อมีการ ปลา หมกั จนไดท้ ่ี เวลารบั ประทานนำ� มาทอดใหส้ กุ จะ เก็บผลิตผลแล้ว จะน�ำเปลือกข้าวโพดมาตากแห้ง มีกล่ินหอม เนอื้ ปลามีรสเปรีย้ วเล็กนอ้ ย จากนั้นน�ำมาย้อมสีและประดิษฐ์เป็นงานหัตถกรรม ตดิ ตอ่ ไดท้ ปี่ ระกอบจติ ร์ โทร. ๐๘ ๑๙๐๓ ๙๘๕๕ หรอื หลากหลายรปู แบบ เชน่ ดอกไม้ ตุ๊กตา พวงกุญแจ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ท่ีส�ำนักงานพัฒนาชุมชน เปน็ ตน้ มกี ารรวมกลมุ่ กนั ผลติ และจำ� หนา่ ยทห่ี มบู่ า้ น จงั หวัดลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๖๕ ๑๐๘๕ คำ�้ คนู (ซอย ๒๑) เลขท่ี ๓๓ หมู่ ๗ ต�ำบลพฒั นานคิ ม อ�ำเภอทา่ วุง้ นอกจากนยี้ งั มผี ลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ และผลไมต้ ามฤดกู าล วุ้นน้�ำมะพร้าว ของฝากข้ึนชื่อของลพบุรี ได้รับ ทีน่ ่าสนใจ เชน่ เสือ่ ทอ ทตี่ �ำบลบา้ นทา่ ดนิ ด�ำ อ�ำเภอ ความนยิ มอย่างแพร่หลาย โดยผลติ ในรูปของอาหาร ชัยบาดาล จักสานผักตบชวา ท่ตี ำ� บลบา้ นเบกิ ตำ� บล (ของหวาน) ใช้รับประทานกับน�ำ้ แข็ง ตัววุ้นเกิดจาก บางล่ี อ�ำเภอท่าวุ้ง กระทอ้ น ท่ีตำ� บลตะลุง อ�ำเภอ กระบวนการหมักน้�ำส้มสายชูด้วยน�้ำมะพร้าวกับ เมืองลพบุรี น้อยหน่า (พันธุ์ปุยฝ้าย) ท่ีบ้านน้�ำจ้ัน จุลินทรีย์ท่ีผลิตกรดน้�ำส้ม จะเกิดแผ่นวุ้นลอยบนผิว อำ� เภอเมืองลพบุรี เป็นต้น โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๙๑๐๕ หน้าของน�ำ้ สม้ สายชหู มัก มีสขี าวคลา้ ยดอกเห็ด จะ หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ท่ีส�ำนักงานพัฒนา ขยายตัวมากขน้ึ เรอื่ ย ๆ ตามระยะเวลาของการหมกั ชมุ ชน จังหวดั ลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๖๕ ๑๐๘๕ เรยี กกนั ว่าเหด็ วนุ้ น้�ำมะพร้าว หรือวุ้นมะพรา้ ว หลัง จากน้ันก็จะน�ำแผ่นวุ้นมาผสมกับน้�ำเชื่อมรสต่าง ๆ เทศกาลงานประเพณี บรรจขุ วด แหล่งผลิต ได้แก ่ งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดใน -โรงงานน้ำ� ทิพย์วุ้นมะพร้าว ๑๑๐ หมู่ ๙ ต�ำบลบาง เดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เพื่อเป็นการร�ำลึกถึงพระ ขนั หมาก โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๐๕๙๐ มหากรณุ าธคิ ณุ ของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชทม่ี ี -ณฐั ธิดาฟารม์ ๘๒ หมู่ ๖ ต�ำบลโพตลาดแก้ว อ�ำเภอ ตอ่ เมอื งลพบรุ แี ละประเทศชาติ เนอ่ื งจากเมอื งลพบรุ ี ทา่ ว้งุ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๕๒๒, ๐๘ ๑๘๖๘ ๔๙๘๗ เป็นราชธานีแห่งท่ีสอง ท่ีพระองค์ทรงโปรดปราน อ�ำเภอโคกส�ำโรง ประทับอยู่ท่ีนี่นานเกือบตลอดปี เฉพาะช่วงฤดูฝน หมบู่ า้ นแกะสลกั หนิ ทราย ผลติ กนั แทบทกุ ครวั เรอื น เท่าน้ัน จงึ จะเสด็จไปประทบั ณ กรุงศรอี ยุธยา ทบ่ี ้านหนองแล้ง ตำ� บลเพนยี ด โดยน�ำหินทรายจาก ในงานมีกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย เชน่ การแสดงแสง บริเวณเชิงเขามาแกะสลักในรูปแบบต่าง ๆ เช่น และเสยี ง การสาธติ วถิ ชี วี ติ ไทย งานราตรวี งั นารายณ์ ท�ำเป็นผลิตภัณฑ์เลียนแบบของเก่า วัสดุแต่งสวน การละเล่นของเด็กไทย (จุก แกละ โก๊ะ เปีย) การ พระพทุ ธรปู ใบเสมา และลกู นมิ ิต เป็นตน้ โทร. ๐๘ ละเล่นพื้นเมือง มหรสพ และการออกร้านจ�ำหน่าย ๖๑๓๒ ๙๘๒๙, ๐๘ ๑๙๘๔ ๖๓๙๓ สนิ ค้าพื้นเมือง ประเพณีก�ำฟ้า เป็นงานบุญพื้นบ้านอย่างหน่ึงของ ชาวไทยพวน ซึ่งมีอยู่หลายหมู่บ้านในเขตอ�ำเภอ 38 ลพบรุ ี

งานแผ่นดนิ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมอื งลพบุรีและอำ� เภอบ้านหมี่ จัดข้ึนเพือ่ ขอพรจาก โรงทานส�ำหรับเล้ียงอาหารฟรีแก่ผู้เข้าร่วมขบวนแห่ เทพยดาผรู้ กั ษาฟากฟา้ และบนั ดาลใหฝ้ นตกตอ้ งตาม นับสบิ แห่ง ฤดกู าล มักจะถอื เอาวันข้ึน ๒ ค�่ำ เดือน ๓ เป็นวนั ประเพณใี สก่ ระจาด หรอื ประเพณเี สอ่ื กระจาด ตาม สกุ ดบิ และวนั ขนึ้ ๓ คำ่� เดือน ๓ เปน็ วนั กำ� ฟ้า โดย ภาษาพวนเรยี กวา่ “เสอ่ กระจาด” เปน็ ประเพณขี อง ชาวบา้ นจะรว่ มกนั ทำ� บญุ ใสบ่ าตรดว้ ยขา้ วหลามและ ชาวไทยพวนซง่ึ ถอื ปฏบิ ตั กิ นั ในเขตอำ� เภอบา้ นหมี่ มกั ข้าวจี่ ตกบ่ายมีการละเลน่ พ้ืนบ้าน เช่น มอญซ่อนผา้ จดั ใหม้ ขี น้ึ ในงานเทศกาลเทศนม์ หาชาติ สว่ นมากจะ ชว่ งชยั หมา่ เบ้ยี และหมากนั หา่ น ก�ำหนดในช่วงเทศกาลออกพรรษา (เดอื น ๑๑) ขา้ ง ประเพณีชักพระศรีอาริย์ วัดไลย์ หรือประเพณี แรม ก่อนถึงวันใส่กระจาด ๑ วัน ชาวบ้านจะช่วย แห่พระศรีอาริย์ ถือปฏิบัติกันมาช้านาน จัดในวัน กันทำ� ขนมห่อข้าวต้ม ตำ� ข้าวป้นุ รุ่งขน้ึ จะเปน็ วันใส่ ข้นึ ๑๔ คำ�่ เดือน ๖ ของทุกปี ทางวดั จะจดั ให้มกี าร กระจาด ชาวบา้ นจะน�ำของ เช่น กล้วย อ้อย ส้ม ธปู อัญเชิญพระศรีอาริย์มาประดิษฐานบนแท่นตะเฆ่ เทยี น หรืออ่นื ๆ มาใส่กระจาดตามบา้ นของคนรจู้ กั แล้วให้ประชาชนร่วมกันชักพระไปทางทิศเหนอื เร่ิม เจ้าของบ้านจะน�ำอาหารที่เตรียมไว้มาเล้ียงรับรอง จากวัดไลย์ไปสุดทางที่วัดท้องคุ้ง แล้วชักกลับมายัง แขก เม่ือแขกกลับ เจ้าของบ้านจะนำ� ข้าวตม้ มัดฝาก วัดไลย์ ระหว่างทางจะมีผู้เข้าร่วมขบวนเป็นจ�ำนวน ไปให้ เรยี กวา่ “คนื กระจาด” ในวนั รงุ่ ขน้ึ เปน็ วนั เทศน์ มาก มีการหยุดขบวนในแต่ละจุด เพื่อให้ผู้ศรัทธา มหาชาติ เปน็ การท�ำบญุ ครง้ั ยิ่งใหญ่ประจำ� ปี ได้สรงน้�ำและนมัสการ ตลอดระยะทางจะมีผู้ตั้ง ลพบุรี 39

งานประเพณตี กั บาตรขา้ วตม้ ลกู โยน (เทโวโรหณะ) กิจกรรมต่าง ๆ ที่น่าสนใจ เช่น การเลี้ยงอาหารลิง จัดข้ึนในวันออกพรรษาของทุกปี ประเพณีตักบาตร ซึ่งตกแต่งอาหารอย่างสวยงามเป็นพิเศษ การแสดง ขา้ วตม้ ลกู โยนวดั เขาพระงาม (วดั จนั ทรนมิ ติ วรวหิ าร) พน้ื บา้ น เป็นตน้ เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ีเคยมีมาในอดีตของวัดเขาพระ งาม แตไ่ มม่ กี ารบนั ทกึ ไวอ้ ยา่ งเปน็ ทางการถงึ เรอ่ื งราว งานทุ่งทานตะวันบานท่ีลพบุรี จัดข้ึนประมาณ ประเพณีดังกล่าว อีกทั้งเป็นการนมัสการพระพุทธ- เดอื นพฤศจิกายนของทกุ ปี เน่อื งจากเปน็ ช่วงทีด่ อก ปฏิภาคมัธยมพทุ ธกาล (หลวงพ่อใหญ)่ พระพุทธรปู ทานตะวันบาน ปัจจุบันจังหวัดลพบุรีมีพ้ืนที่ปลูก เก่าแก่องค์ใหญ่ที่ประดิษฐานบนทิวเขาพระงาม ที่ ทานตะวันนับแสนไร่ ก่อนท่ีจะเก็บเกี่ยวผลิตผล ประชาชนให้ความเคารพบูชา ปัจจุบันทางจังหวัด ดอกทานตะวนั จะบานเหลอื งอรา่ มเตม็ ทอ้ งทงุ่ กลาย ลพบุรีเห็นความส�ำคัญของประเพณีตักบาตรข้าวต้ม เปน็ แหลง่ ท่องเท่ียวที่สวยงาม กิจกรรมทน่ี า่ สนใจใน ลูกโยน จึงจัดงานสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีน้ี งาน เช่น การเก็บภาพบรรยากาศทานตะวันบาน ไว้ให้คงอยสู่ ืบไป สะพร่ังเต็มทอ้ งทุ่ง น่งั รถ ขีช่ า้ ง ขีม่ ้าชมทงุ่ ทานตะวัน เลือกซ้ือผลิตภัณฑ์จากทานตะวันและสินค้าโอท็อป ประเพณีลอยกระทงย้อนยุค จอมพล ป. พิบูล คุณภาพมากมาย สงคราม จดั ขน้ึ ในวนั ลอยกระทง ณ บรเิ วณวงเวยี นศรี สุริโยทยั (วงเวียนสระแก้ว) งานประเพณีลอยกระทง ตวั อยา่ งโปรแกรมนำ� เทยี่ ว “ย้อนยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม” จัดขึ้นเพ่ือ รายการท่ี ๑ ทัวร์เมืองลพบุรี เป็นการสืบสานประเพณีให้คงไว้ด้วยเอกลักษณ์ของ เชา้ แวะสักการะพระบรมราชานสุ าวรยี ์ กิจกรรมการลอยกระทง โดยภายในงานลอยกระทง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช / นมสั การ ย้อนยุค จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีกิจกรรมที่น่า เจ้าพ่อพระกาฬ พร้อมกบั ชมชีวติ สนใจมากมาย เชน่ การแตง่ การย้อนยุค สมัยจอมพล ความเปน็ อยขู่ องลงิ ในบรเิ วณศาลพระกาฬ / ป. พิบูลสงคราม การประกวดกระทง การประกวด พระปรางค์สามยอด / ชมพระนารายณ์ นางนพมาศ การแสดงแสง สี เสียง ชมขบวนแห่ ราชนิเวศน์ ราชธานีแห่งทสี่ อง ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของการจัดงานประเพณี ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ลอยกระทง การจุดพลุประดับไฟที่สวยงามตระการ (อาหารกลางวัน) ตา และกจิ กรรมอน่ื ๆ อีกมากมาย บา่ ย ชมการท�ำดินสอพองท่ีหมู่บ้าน หนิ สองกอ้ น /พระที่นงั่ เยน็ สถานที่ที่ งานเลี้ยงโต๊ะจีนลิง จัดขึ้นในวันอาทิตย์ สัปดาห์ สมเด็จพระนารายณม์ หาราชทรงส�ำรวจ สดุ ทา้ ยของเดอื นพฤศจกิ ายน ณ พระปรางคส์ ามยอด จนั ทรุปราคาและสุรยิ ุปราคาร่วมกบั ใกล้กับศาลพระกาฬ บริเวณนี้มีฝูงลิงอาศัยอยู่เป็น คณะทูตและบาทหลวงจากประเทศ จ�ำนวนมาก บรรดานกั ทอ่ งเทีย่ วทมี่ านมัสการเจา้ พอ่ ฝรง่ั เศส / นมสั การพระพทุ ธนฤมติ มธั ยม พระกาฬมักจะน�ำอาหารและผลไม้มาเล้ียงลิง ท�ำให้ พทุ ธกาล (หลวงพอ่ ใหญ่) วัดเขาพระงาม ลิงเช่ืองและคุ้นเคยกับนักท่องเที่ยวมากข้ึน ในงานมี พระพทุ ธรปู เก่าแกซ่ งึ่ ตงั้ อยูบ่ นเชิงเขา 40 ลพบุรี

เสน้ พระศกท�ำจากไหกระเทียม / เขาสมโภชน์ /รับประทานอาหาร เลอื กซือ้ ของฝาก / เดนิ ทางกลับลพบุรี กลางวัน เมนปู ลาแม่น้�ำและอาหาร รายการท่ี ๒ ทัวรเ์ มอื งลพบุรี-อ�ำเภอท่าวุ้ง-อ�ำเภอ พนื้ บา้ นรสเดด็ ณ หนา้ เขอ่ื นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ บา้ นหมี่ / พักผอ่ นตามอธั ยาศัย เช้า นมัสการพระศรีอารีย์ และชมลวดลาย บา่ ย นง่ั รถไฟเลก็ รอบสนั เขอ่ื น และขนึ้ หอคอย ปนู ป้นั ท่ีวหิ ารวดั ไลย์ ประติมากรรม เฉลมิ พระเกยี รติ ชมทศั นยี ภาพในบรเิ วณ ฝาผนังขนาดใหญ่ ซง่ึ มีความสำ� คัญ เขื่อนปา่ สักชลสิทธิ์ / ชมพระอาทิตย์ตก ชนิ้ หนึ่งของประเทศ / ชมวดั ตา่ ง ๆ และรับประทานอาหาร ณ อา่ งเกบ็ นำ้� บนเขาสมอคอน ทวิ เขาแหง่ ประวตั ศิ าสตร์ ซบั เหลก็ / เดนิ ทางกลบั ลพบรุ ี ของลพบุรี / ชมอโุ บสถรปู เรือสำ� เภา รายการที่ ๕ ทัวรล์ พบุรี-ปา่ ซบั ลงั กา (๒ วัน ๑ คืน) ลอยน�้ำและศาลาธรรมสงั เวช วันแรก เดนิ ทางไปเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ซบั ลงั กา / รูปรถโดยสารประจำ� ทางทีว่ ัดท้องค้งุ ฟงั บรรยายสรุป / เลือกเสน้ ทางเดินปา่ (อาหารกลางวนั ) พักค้างคนื บา่ ย ชมการทอผา้ บ้านหมแ่ี ละผา้ ขาวมา้ ลาย วนั ที่สอง สัมผัสบรรยากาศยามเชา้ ท่ามกลาง ไสป้ ลาไหลของชาวไทยพวนทบ่ี า้ นกลว้ ย ความบรสิ ทุ ธข์ิ องธรรมชาตใิ นปา่ ซบั ลงั กา บา้ นหนิ ปกั / เลือกซอื้ ของฝาก / วดั เขา เร่มิ การเดนิ ทางสัมผัสธรรมชาติอีก วงกต รอชมค้างคาวนับล้านตวั ออกหา เส้นทาง / เดนิ ทางกลบั ลพบุรี อาหารยามเยน็ เปน็ บรรยากาศที่ รายการที่ ๖ ทวั รก์ จิ กรรมทอ่ งเทย่ี วในพนื้ ทีท่ หาร นา่ ประทับใจมาก / เดนิ ทางกลบั เช้า ออกเดนิ ทางไปโรงเรียนศูนย์สงคราม รายการที่ ๓ ทวั ร์ลพบุรี-อ�ำเภอโคกส�ำโรง พิเศษ ชมการสาธิตการด�ำรงชีพในป่า / เชา้ ออกเดนิ ทางไปเขาวงพระจนั ทร์ ทดสอบ ทดสอบก�ำลงั ใจดว้ ยการกระโดดหอสูง ความแขง็ แกรง่ ของร่างกาย โดยการเดิน ๓๔ ฟตุ / อาหารกลางวนั ขนึ้ บนั ไดเพอื่ ไปนมสั การรอยพระพทุ ธบาท บา่ ย ทดสอบความแมน่ ยำ� ดว้ ยการยงิ ปนื ระยะ บนยอดเขาวงพระจันทร์ ตา่ ง ๆ / ไต่หนา้ ผา / ชมววิ ฒั นาการ (อาหารเทยี่ ง-อาหารกลอ่ ง) ของหนว่ ย ณ บัญชาการสงครามพิเศษ บา่ ย แวะนมัสการพระพทุ ธนฤมิตมธั ยม ณ พิพธิ ภณั ฑ์ทหารรบพเิ ศษ พทุ ธกาล (หลวงพอ่ ใหญ)่ วดั เขาพระงาม / (คา่ ยปา่ หวาย) เลอื กซอ้ื ของฝาก ณ ศูนยโ์ อทอ็ ปลพบรุ ี / เดินทางกลบั ลพบรุ ี รายการท่ี ๔ ทัวร์ลพบรุ ี-อำ� เภอชัยบาดาล-อำ� เภอ พฒั นานคิ ม เชา้ เดนิ ป่าศกึ ษาธรรมชาติ ชมนกและ พรรณไมน้ านาชนดิ ณ เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ ลพบุรี 41

ส่ิงอำ� นวยความสะดวกในจงั หวัดลพบรุ ี lopburiinnhotel.com จ�ำนวน ๑๒๖ ห้อง ราคา ๖๐๐-๑,๒๐๐ บาท สถานท่พี ัก ลพบรุ ี เรสซเิ ด้นซ์ ๑ ๑๘๐ ถนนคลองชลประทาน (ราคาห้องพักในเอกสารนี้เปลี่ยนแปลงได้ โปรด ๓๓ ต�ำบลทะเลชุบศร โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๑๐-๒ สอบถามจากโรงแรมก่อนเขา้ พัก) โทรสาร ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๐๔ www.lopburiresidence. อ�ำเภอเมืองลพบุรี com จ�ำนวน ๑๒๒ หอ้ ง ราคา ๖๐๐-๑,๒๐๐ บาท โตเกียว แมนช่ัน ๑๒/๑-๗ หมู่ ๓ ต�ำบลป่าตาล (รวมอาหารเช้า) โทร. ๐ ๓๖๗๘ ๖๖๒๗-๘ จ�ำนวน ๔๐ ห้อง ราคา ลพบุรี เรสซเิ ดน้ ซ์ ๒ ๒๑๗ ถนนพหลโยธิน ตำ� บล ๔๐๐-๕๐๐ บาท นคิ มสรา้ งตนเอง โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๕๕๒๒-๔ โทรสาร เทพธานี ภายในมหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี ถนน ๐ ๓๖๖๑ ๕๑๑๑ www.lopburiresidence.com นารายณ์มหาราช ตำ� บลทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ จ�ำนวน ๘๘ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) ๑๙๘๒, ๐ ๓๖๔๑ ๑๐๒๙, ๐ ๓๖๔๑ ๓๔๕๕, ลพบรุ ี อนิ น์ รีสอร์ท ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลทา่ ศาลา ๐ ๓๖๔๑ ๒๓๐๖ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๓๔๕๕ จ�ำนวน โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๑๔๕๓, ๐ ๓๖๔๒ ๐๗๗๗, ๐ ๓๖๖๑ ๔๐ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท ๔๗๙๐-๒ โทรสาร ๐ ๓๖๖๑ ๔๗๙๕ www.lopburi เนตต์ิ (ใกล้สวนราชานุสรณ์) ๑๗/๑-๒ ถนน innresort.com จ�ำนวน ๙๐ ห้อง ราคา ๙๕๐- ราชด�ำเนิน ต�ำบลท่าหิน โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๗๓๘, ๑,๓๕๐ บาท ๐ ๓๖๔๒ ๑๔๖๐ โทรสาร ๐ ๓๖๔๒ ๑๔๖๐ จ�ำนวน ลพบุรี ซิตี้ ๑/๑-๕ ถนนหน้าพระกาฬ ต�ำบล ๒๙ ห้อง ราคา ๒๕๐-๔๐๐ บาท ทา่ หนิ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๒๔๕ จ�ำนวน ๒๗ ห้อง ราคา พมิ าน ๗๘ ถนนพระโหราธบิ ดี ตำ� บลทะเลชบุ ศร โทร. ๓๐๐ บาท ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๓๓ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๐๗ จำ� นวน ศรีอินทรา ๓-๕ ถนนหน้าพระกาฬ ต�ำบลท่าหิน ๒๐ ห้อง ราคา ๓๐๐-๕๐๐ บาท โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๒๖๑ จ�ำนวน ๒๑ ห้อง ราคา รามา พลาซ่า (ใกล้ตลาดท่าโพธิ์) ๔ ถนนบ้านปอ้ ม ๒๐๐-๓๐๐ บาท ตำ� บลทา่ หนิ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๖๖๓, ๐ ๓๖๔๒ ๑๕๘๐ หนุ่มเกสเฮาส์ ๑๕-๑๗ ถนนพระยาก�ำจัด ต�ำบล โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๓๙๖๘ จำ� นวน ๓๖ ห้อง ราคา ท่าหิน โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๗๖๙๓, ๐๘ ๙๑๐๔ ๑๘๑๑ ๒๔๐-๓๔๐ บาท www.noomguesthouse.com ราวนั ดา้ รสี อรท์ (หา่ งจากตวั เมอื ง ๓ กโิ ลเมตร) ๒๐๐ e-mail: [email protected] จ�ำนวน หมู่ ๙ ถนนลพบรุ -ี สิงหบ์ ุรี ต�ำบลบางขันหมาก โทร. ๑๘ ห้อง ราคา ๑๕๐-๔๕๐ บาท ๐ ๓๖๖๑ ๘๗๘๓, ๐ ๓๖๔๒ ๖๘๒๐ จ�ำนวน ๑๓๔ อา่ งซับเหล็ก สปดี เวยค์ ลบั แอนด์ รสี อร์ท ๓๐๕/๒ ห้อง ราคา ๒๐๐-๗๐๐ บาท หมู่ ๗ ต�ำบลนิคมสร้างตนเอง โทร. ๐๘ ๑๙๙๑ ลพบุรี อินน์ ๒๘/๙ ถนนนารายณ์มหาราช ต�ำบล ๘๙๔๒, ๐๘ ๖๑๒๑ ๗๗๗๘, ๐๘ ๐๒๙๓ ๙๑๗๔ ทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๓๐๐, ๐ ๓๖๔๑ ๒๘๐๒, โทรสาร ๐ ๓๖๔๒ ๒๗๐๔ www.speedway3club. ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๐๕ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๒๔๕๗ www. com จำ� นวน ๑๕ หลัง ราคา ๗๐๐-๑,๔๐๐ บาท (มี กิจกรรมรถเอทวี ี เรอื ถบี หว่ งยาง) 42 ลพบรุ ี

ฮอลิเดย์ ๓/๙ ซอยศรีสุริโยทัย ๒ ถนนนารายณ์ อ�ำเภอโคกสำ� โรง มหาราช ตำ� บลทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๓๔๓, สิงห์ชัย ๑๓๑-๑๔๑ ถนนสุระนารายณ์ ต�ำบล ๐ ๓๖๔๑ ๓๖๐๑ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๓๖๐๑ www. โคกสำ� โรง โทร. ๐ ๓๖๔๔ ๑๒๔๖, ๐๘ ๔๗๕๖ ๘๕๘๘ lopburi-holiday.com จ�ำนวน ๘๕ ห้อง ราคา จำ� นวน ๒๕ หอ้ ง ราคา ๒๐๐-๔๐๐ บาท ๔๐๐-๖๐๐ บาท สราญศิริ ๑๐๔/๔ หมู่ ๔ ถนนพหลโยธิน ต�ำบล เลิฟยู รีสอรท์ ๔๕๓ หมู่ ๖ ต�ำบลนคิ มสรา้ งตนเอง โคกสำ� โรง โทร. ๐ ๓๖๔๔ ๑๒๓๖ จำ� นวน ๒๐ หอ้ ง โทร. ๐๘ ๕๔๒๒ ๕๒๔๔, ๐๘ ๓๒๖๗ ๗๗๕๕ จ�ำนวน ราคา ๓๐๐-๔๘๐ บาท ๙ ห้อง ราคา ๓๐๐ บาท นารายณฮ์ ลิ ล์ กอลฟ์ รสี อรท์ แอนด์ คนั ทรี คลบั ๒๓ ไทเป ๒๔/๖-๗ ถนนสุรสงคราม ต�ำบลท่าหิน โทร. ๐ หมู่ ๕ ต�ำบลวังเพลงิ โทร. ๐๘ ๑๘๔๒ ๕๓๑๑, ๐๘ ๓๖๔๑ ๑๕๒๓, ๐ ๓๖๔๑ ๑๖๖๑ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๔๔๒๗ ๔๐๐๓ www.naraihillgolf.com จ�ำนวน ๑๕๒๔ จ�ำนวน ๗๐ หอ้ ง ราคา ๑๔๐–๓๙๐ บาท ๘๐ หอ้ ง ราคา ๒,๕๐๐-๓,๕๐๐ บาท เอเซยี ๑๗๘ ถนนสรุ ศกั ด์ิ ตำ� บลทา่ หนิ โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๘๙๔ โทรสาร ๐ ๓๖๖๑ ๘๘๙๓ จ�ำนวน ๗๐ ห้อง อำ� เภอชยั บาดาล ราคา ๒๕๐-๔๕๐ บาท ช.สีชงั ๙๖ หมู่ ๔ ถนนคชเสนีย์ ตำ� บลชัยนารายณ์ สุพรพงษ์ ๓๐-๓๑ ถนนหน้าพระกาฬ ต�ำบลท่า โทร. ๐ ๓๖๔๖ ๑๔๘๒, ๐ ๓๖๔๖ ๑๔๔๑ โทรสาร หนิ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๗๘ จำ� นวน ๑๓ หอ้ ง ราคา ๐ ๓๖๔๖ ๑๖๒๓ จ�ำนวน ๘๐ ห้อง ราคา ๑๖๐- ๑๔๐-๑๖๐ บาท ๓๐๐ บาท วินเซอร์ ๓๒๑ หมู่ ๘ ตำ� บลปา่ ตาล โทร. ๐ ๓๖๔๒ ชาญเวช เกสต์เฮาส์ (ใกล้สถานีรถไฟล�ำนารายณ์) ๒๕๕๔, ๐ ๓๖๔๑ ๑๖๘๙ จำ� นวน ๘๐ ห้อง ราคา ๑๔ หมู่ ๑ ถนนคชเสนีย์ ต�ำบลชัยนารายณ์ โทร. ๖๐๐-๑,๐๐๐ บาท ๐ ๓๖๔๖ ๑๖๐๘, ๐ ๓๖๔๖ ๑๒๕๑-๓, ๐ ๓๖๖๓ เบญจธารา บูติกเพลสรีสอร์ท ๑๒๓/๓๓ หมู่ ๑ ๒๐๕๙-๖๐ จ�ำนวน ๕๓ หอ้ ง ราคา ๑๘๐-๓๐๐ บาท ต�ำบลเขาสามยอด โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๖๐๘-๙, ๐๘ ต้นปาล์ม อินน์ ๙๙ หมู่ ๑ ถนนสระบุรี-หล่มสัก ๙๐๘๑ ๕๕๓๘ www.benjatara.com จำ� นวน ๑๐๘ ตำ� บลชยั นารายณ์ โทร. ๐ ๓๖๔๖ ๒๔๖๒-๕ โทรสาร ห้อง ราคา ๗๐๐-๑,๒๐๐ บาท (รวมอาหารเช้า) ๐ ๓๖๔๖ ๒๔๖๖ จ�ำนวน ๙๓ ห้อง ราคา ๓๕๐- เดอะแกรนด์เพลส ๑๓๖/๒ หมู่ ๒ ต�ำบลท่าศาลา ๑,๐๐๐ บาท www.tonpalminnhotel.com โทร. ๐ ๓๖๖๘ ๐๕๕๐, ๐๙ ๒๔๙๖ ๔๕๖๖ www. นารายณ์ แกรนด์ ๔๔๖/๑ หมู่ ๘ ซอยทา่ มะนาว ๑๓ Thegrandplacelopburi.com จ�ำนวน ๔๖ ห้อง ต�ำบลล�ำนารายณ์ โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๑๑๓๖-๘ โทรสาร ราคา ๕๕๐-๘๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) ๐ ๓๖๖๓ ๑๑๓๙ www.naraigrandhotel.com โฮมเพลสลพบุรี ๕๕/๕ หมู่ ๓ ตำ� บลทา่ ศาลา โทร. จ�ำนวน ๖๕ หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๑,๑๐๐ บาท ๐ ๓๖๗๗ ๐๕๘๕, ๐๘ ๙๒๔๐ ๕๘๘๕ จำ� นวน ๓๐ ป่าสักฮิลล์ไซด์ รีสอร์ท ๑๑ หมู่ ๑ ถนนสระบุรี- หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๖๕๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) หล่มสัก ต�ำบลนิคมล�ำนารายณ์ โทร. ๐๘ ๑๘๐๖ ๐๓๙๐, ๐๘ ๔๐๙๙ ๖๔๔๘ กรุงเทพฯ โทร. ลพบรุ ี 43

๐ ๒๘๓๓ ๘๒๑๒-๑๔ โทรสาร ๐ ๒๘๓๓ ๘๒๑๑ ๐๐๐๙ จ�ำนวน ๑๘ ห้อง ราคา ๗๐๐-๑,๕๐๐ บาท www.pasakhillside.com บา้ นพกั ๕๐ หลงั ราคา (รวมอาหารเช้า) ๑,๗๐๐-๒,๔๐๐ บาท ร้านอาหาร อ�ำเภอทา่ วงุ้ อ�ำเภอเมอื งลพบุรี เดอะ สบาย ๑๑๖ หมู่ ๖ ถนนลพบุรี-สิงห์บุรี ต�ำบล กินเส้น ๒๐๔ หมู่ ๑ ต�ำบลเขาสามยอด โทร. ๐ โพตลาดแกว้ โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๖๘๐๙-๑๑ www.the ๓๖๖๒ ๑๖๓๔, ๐๘ ๙๑๒๓ ๔๔๖๓ (เปิดเวลา sabai.com จ�ำนวน ๘๐ ห้อง ราคา ๒๒๐-๓๐๐ บาท ๐๙.๐๐-๑๕.๓๐ น. ก๋วยเต๋ียว ข้าวหน้าเป็ด ข้าว สบาย โฮเตล็ ๘๓ หมู่ ๖ ถนนลพบรุ ี-สิงหบ์ ุรี ต�ำบล มนั ไก่) โพตลาดแก้ว โทร. ๐ ๓๖๖๔ ๕๒๐๐-๒ www.thesa แก้วเจ้าจอม ถนนเอราวัณ (ทางไปค่ายเอราวัณ) bai.com จำ� นวน ๙๖ ห้อง ราคา ๓๕๐-๑,๒๕๐ บาท ๒๑๘ หมู่ ๑ ถนนนเรศวร ตำ� บลเขาสามยอด โทร. อ�ำเภอพัฒนานิคม ๐ ๓๖๖๒ ๗๘๙๙, ๐๘ ๑๙๓๐ ๐๖๔๘ (เปิดเวลา ครวั บ้านนอก แอนด์ รีสอร์ท ๒๒๗ ซอย ๒๔ หมู่ ๙ ๐๖.๐๐-๑๖.๐๐ น. อาหารพนื้ เมือง อาหารใต)้ ตำ� บลพฒั นานคิ ม โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๙๐๕๗, ๐๘ ๑๙๐๖ จริ าพร ๒๒๙/๗๘-๗๙ ถนนนารายณม์ หาราช ตำ� บล ๔๐๑๓ จ�ำนวน ๑๔ ห้อง ราคา ๔๐๐-๑,๕๐๐ บาท ทะเลชุบศร (ใกล้วงเวียนสระแก้ว) โทร. ๐ ๓๖๔๑ โสมาภา ปา่ สกั รสี อร์ท ๑๑๐/๔ หมู่ ๑ ถนนสาย ๒๕๔๖ (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๒๑.๐๐ น. อาหารไทย) โคกตมู -แมน่ ำ้� ปา่ สกั (๓๓๓๓) ตำ� บลพฒั นานคิ ม โทร. เจอาร์ เรสเทอรอนท์ ๘๙ หมู่ ๑ ตำ� บลกกโก โทร. ๐๘ ๑๖๑๑ ๐๖๐๘, ๐๘ ๙๗๗๗ ๗๐๖๓, ๐๘ ๙๒๓๘ ๐ ๓๖๔๕ ๑๐๓๘, ๐๘ ๑๔๐๔ ๖๓๗๙ (เปิดเวลา ๘๔๙๔ www.somapasakresort.com www. ๑๐.๐๐-๒๔.๐๐ น. อาหารไทย จนี ยโุ รป) somapa.ac.th/somapapasak จ�ำนวน ๘๐ ห้อง บ่อเงินปลาเผา ๘๔/๔ หมู่ ๑๓ ถนนเล่ียงเมือง ราคา ๕๐๐-๖,๐๐๐ บาท (ลพบุร-ี บ้านเบกิ ) ต�ำบลโพธ์ิเก้าตน้ โทร. ๐๘ ๑๙๔๘ ภัทรประภา รีสอร์ท (ใกล้เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ) ๔๔ ๒๗๐๔, ๐ ๓๖๗๘ ๕๐๕๗ (เปดิ เวลา ๐๘.๐๐-๒๑.๐๐ หมู่ ๖ ซอย ๒๘ สาย ๓ ต�ำบลพัฒนานิคม โทร. น. อาหารไทย เมนูปลาแมน่ ้�ำ) ๐ ๓๖๔๙ ๔๒๔๔, ๐ ๓๖๔๕ ๑๒๗๗ จำ� นวน ๑๒ หลงั บวั หลวง ๔๖/๑ หมู่ ๓ ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลทา่ ศาลา ราคา ๘๐๐-๔,๐๐๐ บาท โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๐๐๙, ๐ ๓๖๖๑ ๔๒๒๗-๓๐ (เปิด ริเวอร์ & ฟาวเวอร์ รสี อรท์ ๙๖/๓ หมู่ ๑๑ ตำ� บล เวลา ๑๐.๐๐-๒๓.๓๐ น. อาหารไทย-จีน) หนองบัว โทร. ๐๖ ๑๖๔๓ ๓๑๒๒, ๐๘ ๑๘๑๐ บิ๊กโบว์ ภายในสวนราชานุสรณ์ ถนนพระยาก�ำจัด ๐๘๘๐, ๐๙ ๘๓๑๕ ๙๕๑๑ จ�ำนวน ๒๗ หอ้ ง ราคา ต�ำบลท่าหิน โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๒๕๘ (เปิดเวลา ๑,๒๐๐ บาท ๐๙.๐๐-๒๑.๐๐ น. อาหารไทย) อ�ำเภอลำ� สนธิ ปาปี ๒๘ หมู่ ๘ ถนนสายเอก ตำ� บลนิคมสรา้ งตนเอง บ้านฝากฝัน ต�ำบลกุดตาเพชร โทร. ๐๘ ๖๑๐๗ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๕๔๙, ๐๘ ๑๘๕๔ ๕๓๕๑ (เปิด เวลา ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น. อาหารพนื้ เมอื ง ไทย-อสี าน) 44 ลพบุรี

ภูเขาทอง (เค.โอ.บี เรสเทอรองท)์ ๑๒๔/๗๕ หมู่ ๑ แสงสว่าง ๑๑/๑๒ ถนนนารายณ์มหาราช (หน้า ถนนพหลโยธิน ต�ำบลเขาสามยอด โทร. ๐๘ ๑๔๔๔ สวนสระแก้ว ข้างโรงภาพยนตร์ทหารบก) โทร. ๐ ๙๙๔๕, ๐๘ ๖๓๗๔ ๓๓๑๑, ๐๘ ๖๓๗๔ ๒๔๔๔ (เปดิ ๓๖๔๑ ๑๖๓๒, ๐ ๓๖๖๑๓ ๓๖๘๕ (อาหารไทย เวลา ๑๗.๐๐-๒๔.๐๐ น. อาหารไทย) เปิดเวลา ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น. อาหารทะเล เปิดเวลา มัดหมี่ ๘/๑๓ ถนนพระศรีมโหสถ (หลังโรงเรียน ๑๖.๐๐-๒๔.๐๐ น.) บรรจงรัตน์) โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๘๘๓, ๐ ๓๖๖๑ แพบ้านริมน้�ำ ๕๗ / ๖๘ ซอยวัดเชิงท่า ต�ำบลท่า ๒๓๘๗, ๐ ๓๖๔๒ ๒๘๙๔ (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ หิน โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๐๐๕, ๐๘ ๙๐๘๔ ๓๑๕๘, น. อาหารพ้นื เมอื ง ไทยพวน) ๐๘ ๖๗๘๗ ๓๖๒๖ (เปดิ เวลา ๐๙.๐๐–๒๐.๐๐ น. ลพบุรีสเต็กเฮ้าส์ (ใกล้โรงเรียนพระนารายณ์) อาหารไทย จีน) ๑๓๐/๑ หมู่ ๓ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ต�ำบลทา่ ศาลา สิบเอ็ดน้ิวบุฟเฟ่ต์ ถนนสระแก้ว-ป่าหวาย ก่อน โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๕๘๘๐ (เปดิ เวลา ๑๐.๓๐-๒๒.๐๐ ถึงสะพาน ๘ โทร. ๐๘ ๑๘๕๒ ๑๑๖๖ (เปิดเวลา น. อาหารไทย-ยุโรป) ๑๐.๓๐-๒๑.๓๐ น. อาหารบฟุ เฟตค์ าว หวาน) ลพบุรีอินน์คาเฟ่ โรงแรมลพบุรีอินน์ ๒๘/๙ ถนน ขา้ วตม้ เจห๊ มวย ๑๐/๓-๔ ซอยศรีสุริโยทยั ๑ (เย้อื ง นารายณม์ หาราช ต�ำบลทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ สวนสตั วส์ ระแกว้ ) ตำ� บลทะเลชบุ ศร โทร. ๐๘ ๙๘๐๐ ๒๓๐๐, ๐ ๓๖๔๑ ๒๘๐๒, ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๐๕ (เปิด ๐๒๘๖ (เปดิ เวลา ๑๖.๐๐-๒๓.๐๐น.) เวลา ๐๖.๐๐-๒๔.๐๐ น. อาหารตามสั่ง อาหาร ไทย-จีน-ยุโรป) อ�ำเภอพัฒนานคิ ม เล็ก เล็ก ชวนชิม ๒๓ ถนนพระยาก�ำจัด ต�ำบล นา่ นน้�ำปา่ สัก ๒๓๔ หมู่ ๑ ซอย ๒๘ ตำ� บลหนองบัว ท่าหนิ โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๗๑๐๗, ๐๘ ๙๘๙๕ ๙๘๙๑ โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๔๑๔๒ (เปดิ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ (เปิดเวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. อาหารพืน้ เมือง ไทย- น. อาหารไทย เมนูปลาแม่น�้ำ ตามส่งั ) อสี าน) ครัวกงุ้ หลวง ๙๕ /๑ หมู่ ๔ ซอย ๒๗ ตำ� บลหนองบัว วาสนา ลพบุรีอินน์รีสอร์ท ๑๑๔ หมู่ ๓ ถนน โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๔๔๐๕, ๐๘ ๖๓๗๕ ๓๖๒๑ (เปดิ เวลา พหลโยธิน ต�ำบลท่าศาลา โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๐๗๗๗ ๐๙.๐๐-๒๐.๐๐น. อาหารไทย) (เปิดเวลา ๐๖.๓๐-๒๔.๐๐ น. อาหารตามสัง่ อาหาร ครัวบ้านนอก (ทางหลวงหมายเลข ๓๐๑๗ มุ่ง ไทย-จีน-ยุโรป) หน้าเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ) ๒๒๗ ซอย ๒๔ (ตรงข้าม สหายพันตา เดอะ รีเจนท์ ๘๘/๘ หมู่ ๗ ต�ำบล ศูนย์อนุรักษ์ผ้ึงพัฒนานิคม) ต�ำบลพัฒนานิคม โทร. ทา่ ศาลา โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๕๘๕๕, ๐๘ ๑๗๖๒ ๔๑๑๙ ๐ ๓๖๖๓ ๙๐๕๗, ๐๘ ๑๙๐๖ ๔๐๑๓ (เปิดเวลา (เปดิ เวลา ๑๑.๐๐-๒๔.๐๐ น. อาหารไทย ) ๑๐.๐๐-๒๓.๐๐ น. อาหารไทย อาหารตามสั่ง) สกุ แี้ หลมทอง ๒๐๓/๑ หมู่ ๑ หมบู่ า้ นลพบรุ วี ลิ ล์ ถนน ครัวบ้านเข่ือน ๒๕๕ หมู่ ๑ (ทางหลวงหมายเลข เอราวัณ ต�ำบลเขาสามยอด โทร. ๐ ๓๖๖๒ ๗๓๓๑, ๓๐๑๗ หน้าเข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ) ต�ำบลหนองบัว ๐ ๓๖๔๒ ๔๒๔๐ (เปิดเวลา ๑๑.๐๐-๒๑.๐๐ น. สุก้ี โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๔๓๖๖, ๐๘ ๑๒๕๕ ๘๘๔๘ (เปดิ อาหารทะเล อาหารเวียดนาม อาหารฝร่งั ) เวลา ๐๗.๐๐-๒๑.๐๐ น. อาหารตามสง่ั ประเภทก้งุ แม่น้ำ� ปลานำ�้ จดื ) ลพบรุ ี 45

ชาวเข่ือน (ทางหลวงหมายเลข ๓๐๑๗ หน้าเขื่อน ๐๘ ๕๙๙๒ ๐๔๔๑ (เปดิ ทกุ วัน ๐๘.๓๐-๒๑.๐๐ น. ป่าสกั ชลสิทธ์)ิ ๑๔๕ ซอย ๒๘ ตำ� บลหนองบัว โทร. อาหารประเภทปลาเผา) ๐ ๓๖๔๙ ๔๐๓๐, ๐๘ ๑๙๔๗ ๒๗๕๖ (เปิดเวลา ๐๗.๓๐-๒๐.๓๐ น. อาหารไทย) อ�ำเภอโคกสำ� โรง ร้านเอป๋ ลาทอด ๑๘๕ หมู่ ๑๑ ตำ� บลหนองบัว โทร. ร้านเล้าโภชนา ๑-๓-๕ ซอยเทศบาล ๒ ต�ำบล ๐๙ ๒๗๖๐ ๐๖๘๘ (เปิดเวลา ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.) โคกส�ำโรง โทร. ๐ ๓๖๔๔ ๑๔๘๗, ๐๘ ๖๑๓๖ ๔๔๕๔, ๐๘ ๑๙๒๑ ๓๑๒๔ อ�ำเภอท่าวุ้ง ก๋วยเต๋ียวเรือกะทิสด ๑๐๕ หมู่ ๖ ถนนลพบุรี- อำ� เภอชยั บาดาล สงิ หบ์ รุ ี ตำ� บลโพตลาดแก้ว โทร. ๐๘ ๗๐๐๔ ๔๔๓๓, เก๋ปลาทอด ๑๔๓/๑ หมู่ ๔ อ่างเกบ็ นำ�้ ซับตะเคียน ๐๘ ๑๙๙๑ ๙๑๘๘ (เปิดเวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๐๐ น. ตำ� บลเขาแหลม โทร. ๐๘ ๑๙๔๗ ๐๙๒๓ (เปดิ เวลา กว๋ ยเตี๋ยวเรอื ) ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. อาหารประเภทปลา) โพธ์เงินปลาเผา ๑๘๐ หมู่ ๑ ถนนลพบุรี-สิงห์บุรี ข้าวแกงฉัตรชัย (๒) ๑/๓๘-๓๙ หมู่ ๕ ต�ำบลล�ำ (ทางแยกบายพาสท่าวุ้ง) ต�ำบลโพตลาดแก้ว โทร. นารายณ์ โทร. ๐ ๓๖๔๖ ๑๐๕๕, ๐๘ ๖๖๗๗ ๗๓๘๐ (เปิดเวลา ๐๖.๓๐-๒๐.๐๐ น.) หมายเลขโทรศพั ทส์ ำ� คัญ โทร. ๐ ๓๖๗๗ ๐๒๒๑ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๒๖๗, ๐ ๓๖๖๒ ๑๕๓๗-๔๖ ประชาสัมพันธจ์ ังหวัดลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๖๐, ๐ ๓๖๔๑ ๓๙๓๓ โรงพยาบาลพระนารายณม์ หาราช โทร. ๑๙๑, ๐ ๓๖๔๑ ๑๐๑๓, ๐ ๓๖๔๒ ๑๑๘๙ โรงพยาบาลเบญจรมย์ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๐๑๑, ๐ ๓๖๔๑ ๑๑๐๖ สถานตี ำ� รวจอ�ำเภอเมืองลพบรุ ี โทร. ๑๑๙๓, ๐ ๓๖๔๑ ๑๖๒๒, ๐ ๓๖๖๓ ๘๒๗๒ ที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลข โทร. ๑๑๕๕ ตำ� รวจทางหลวง โทร. ๑๑๘๒ ต�ำรวจทอ่ งเท่ียว กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา 46 ลพบรุ ี

พระนารายณ์ราชนเิ วศน์ ลพบุรี 47





วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ 50 ลพบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook