Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเปลี่ยนแปลงทางภูมิทัศน์และลักษณะอาคารสถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกิส ในเมืองภูเก็ต. ระหว่าง พ.ศ. 2545-2559

การเปลี่ยนแปลงทางภูมิทัศน์และลักษณะอาคารสถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกิส ในเมืองภูเก็ต. ระหว่าง พ.ศ. 2545-2559

Description: การเปลี่ยนแปลงทางภูมิทัศน์และลักษณะอาคารสถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกิส ในเมืองภูเก็ต. ระหว่าง พ.ศ. 2545-2559.

Search

Read the Text Version

พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัวเพ่ือให้เป็นแหล่งข้อมูลทั้งประวัติความเป็นมาของเมืองภูเก็ต เน้นความสำคัญในฐานะเมืองท่าค้าขายกับชาวต่างชาติในอดีตจนกลายเป็นเมืองท่ี เศรษฐกจิ เติบโตในปัจจุบัน รวมถึงทำให้เกดิ ความเขา้ ใจวฒั นธรรมท่ีเกดิ จากการเป็น สังคมนานาชาติ โดยเฉพาะวัฒนธรรมจีนฮกเก้ียนจากการที่มีบรรพบุรุษมาต้ัง ถ่นิ ฐาน บริเวณดา้ นหน้าทางเขา้ ของพพิ ิธภณั ฑภ์ ูเก็ตไทยหัว ตัง้ อยู่บนถนนกระบ่ี อำเภอเมอื ง จังหวัดภูเก็ต นอกจากการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมให้เป็นแหล่งท่องเท่ียว ใหม่ ยงั มเี หตกุ ารณท์ ส่ี ง่ ผลตอ่ การปรบั เปลย่ี นอาคารสถาปตั ยกรรมแบบชโิ น-โปรตกุ สี ที่สำคัญของเมืองภูเก็ต คือบ้านพระพิทักษ์ชินประชาและบ้านชินประชาซึ่งเป็น คฤหาสน์หรืออ่ังหม่อหลาวท่ีสร้างตามแบบสถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตุกีสหลัง แรกในเมอื งภเู ก็ต มอี ายุ 100 กวา่ ปี เปน็ สถานที่ท่ีเปน็ สัญลกั ษณข์ องคหบดีที่ ประสบความสำเรจ็ จากการทำเหมอื งแรด่ บี กุ ในพ.ศ.2553 บา้ นพระพทิ กั ษช์ นิ ประชา 39

ไดถ้ กู ขอเช่าทำภตั ตาคาร ชือ่ วา่ Blue Elephant และบา้ นชินประชา ทีเ่ ป็นบริเวณ ตดิ กัน ได้มกี ารซอื้ ขายทด่ี นิ บรเิ วณส่วนหน้าของบา้ นทีเ่ ดิมอยรู่ มิ ถนนกระบ่ี หลงั การ ถึงแก่กรรมของคุณประชา ตณั ฑวณชิ ซ่ึงเปน็ ทายาทรุน่ ท่ี 4 ของบ้านชนิ ประชา มีผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางภูมิทัศน์ของบ้านชินประชา ซึ่งบ้านท้ังสองหลังน้ี เป็นบ้านโบราณหรือคฤหาสน์ที่บรรพบุรุษได้สร้างตามแบบสถาปัตยกรรมแบบชิโน- โปรตุกีสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 5 บ้านท้ังสองหลังนี้เป็นสถาปัตยกรรมแบบชิโน- โปรตุกีสที่เปรียบเหมือนการแสดงอัตลักษณ์ของคนไทยเช้ือสายจีนฮกเก้ียนและ เป็นการบอกเล่าความเป็นมาของการทำกิจการเหมืองแร่ท่ีประสบความสำเร็จของ ชาวจนี ฮกเก้ียนเพราะเน่ืองจากการสบื ทอดมาจากบรรพบรุ ษุ รนุ่ ที่ 1 หลวงบำรงุ จีน ประเทศที่เข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และตั้งอยู่คู่กัน ติดริมถนนกระบี่ ประกอบกับคุณประชา ตัณฑวณิช เป็นผู้มีใจรักและทุ่มเทใน การอนุรักษ์บ้านชินประชาให้อยู่ในสภาพเดิมให้มากท่ีสุด คุณประชา ตัณฑวณิช มีความยินดเี ปิดบา้ นชินประชาให้แก่บุคคลท่วั ไปเขา้ ชมเสมอ จงึ ไม่แปลกที่บ้านหลัง น้ีมักจะมนี กั ท่องเทีย่ วท้ังชาวไทย ชาวต่างประเทศ บคุ คลทมี่ ีชื่อเสยี งเข้ามาเย่ียม ชมและเป็นท่รี ู้จกั สำหรับผคู้ นในจงั หวัดภูเก็ต บา้ นทง้ั สองหลังนจ้ี งึ เปรียบเสมอื น ภาพจำของการสร้างสถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตุกีสในช่วงสมัยที่กิจการเหมืองแร่ ดีบุกเฟื่องฟูในเมืองภูเก็ต การเปล่ียนแปลงภูมิทัศน์ส่วนหน้าของบ้านชินประชา ทำให้บทบาทคฤหาสน์เศรษฐีเหมืองแร่ดีบุกที่เป็นสัญลักษณ์ของความเจริญทาง เศรษฐกิจเมืองภูเก็ตที่เป็นมาในอดีตถูกลดบทบาทต่อความทรงจำท่ีมีประวัติมา ยาวนาน ในปจั จุบันนักทอ่ งเท่ยี วยงั คงสามารถเขา้ ชมบ้านชนิ ประชาได้ แต่ภมู ิทศั น์ ทางเข้าบ้านที่เปล่ียนแปลงไปส่งผลให้ความโดดเด่นและความน่าดึงดูดใจที่เคยเป็น มาลดน้อยลง นักท่องเที่ยวท่เี ดนิ ทางมาเขา้ ชมจะเปน็ กลุ่มนักทอ่ งเที่ยวทส่ี นใจแหล่ง ทอ่ งเทีย่ วทางวฒั นธรรมหรอื มกี ารศึกษาหาข้อมูลมาก่อน 40

ลำดับการสบื ทอดบรรพชนของตระกลู ตณั ฑวณชิ ในบา้ นขนุ ชนิ ประชา คุณประชา ตณั ฑวณชิ หรือ ตันอนุ้ เต่ียน เป็นทายาทรุ่นท่ี 4 บา้ นชินประชา ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู ก็ต การเปลี่ยนแปลงทางภูมิทัศน์และลักษณะอาคารของสถาปัตยกรรมแบบชิโน- โปรตุกสี 1. กลุ่มอาคารย่านถนนถลาง อาคารในยา่ นถนนถลางส่วนใหญ่ยังคงเป็นอาคารสองชน้ั ไมต่ อ่ เตมิ มี ลักษณะอาคารต่อเน่ืองยาวตลอดท้ังสองฟากฝั่งตลอดแนวของถนนถลาง จากการ ลงพ้ืนท่ีสำรวจข้อมูลพบว่าในปัจจุบันมีเจ้าของธุรกิจรายใหม่มากกว่าเจ้าของอาคาร เดิม เจ้าของธุรกิจรายใหม่อาจเข้ามาเช่าหรือซ้ือบริเวณอาคารเดิมในย่านอนุรักษ์ เมอื งเกา่ เพอ่ื ทำธุรกิจตามตลาดการท่องเทย่ี ว ท้งั รา้ นอาหาร รา้ นขายของทรี่ ะลึก ธุรกิจทพ่ี กั แบบโฮสเทล รวมถึงมีอาคารที่เปน็ ศูนย์บริการข้อมูลท่องเทย่ี ว เทศบาล เมืองภูเกต็ ได้ทำการปรบั ปรุงภูมทิ ศั นด์ ว้ ยโครงการนำสายไฟฟ้าลงดิน จัดทำปา้ ยช่ือ ร้านในรูปแบบเดียวกัน ปรับปรุงบริเวณทางเท้าตลอดสองฝ่ังของถนนถลางให้ลาด เรยี บ สามารถเดนิ ไดส้ ะดวก และมคี วามสวยงาม จดั ระบบจราจรเป็นทางเดยี ว (one way) เพอื่ แกไ้ ขปัญหาจราจรติดขดั อาคารสว่ นใหญไ่ ดร้ ับการทาสีใหมเ่ ห็น เด่นชัด 41

ภาพตวั อย่างอาคารกจิ การโรงแรม ไชนา่ อนิ น์ บรเิ วณถนนถลาง อำเภอ เมือง จงั หวัดภูเก็ต ภาพบริเวณดา้ นหน้าของอาคารริม ถนนถลาง อำเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ เทศบาลเมอื งภูเกต็ ไดจ้ ดั ทำปา้ ยชอ่ื รา้ นในรูปแบบเดยี วกันเพื่อให้เกดิ ภูมทิ ัศนท์ ี่สวยงาม 42

ภาพบรเิ วณทางเดินเท้าด้านหน้าของอาคารรมิ ถนนถลาง อำเภอเมอื ง จังหวดั ภเู ก็ต ภาพการซ่อมแซมอาคารโดยเลียนแบบโครงสร้างเดมิ มซี มุ้ หน้าต่างเป็นโค้งคร่ึงวงกลม แตไ่ มม่ ลี วดลายปูนปน้ั และหนา้ ตา่ งไมท้ ี่ทำใหม่ ถนนถลาง อำเภอเมอื ง จังหวัดภูเกต็ 43

ภาพอาคารศนู ย์บริการขอ้ มลู ทอ่ งเทีย่ ว ถนนถลาง อำเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ภาพการทาสขี องอาคารตา่ งๆ และมกี ารดดั แปลงโครงสร้าง ถนนถลาง อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู กต็ 44

ภาพการอนุรกั ษ์ลวดลายปนู ปั้นซ่ึงได้รบั อทิ ธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบยโุ รป ซ้มุ หน้าต่างแบบเสย้ี ววงกลม บานเกลด็ ไมป้ รับได้ ถนนถลาง อำเภอเมือง จังหวัดภูเกต็ ภาพอาคารต่อเตมิ 3 ชั้น ดดั แปลงใหม่ แตกต่างจาก อาคารอนรุ กั ษอ์ าคารอ่นื ถนนถลาง อำเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 45

ภาพบรเิ วณทางเขา้ ถนนถลางที่ตดั กบั ถนนภูเก็ต มกี ารจดั ระบบการจราจรเป็นทางเดยี ว (one way) ภาพป้ายช่ือกิจการ ทางเดนิ เทา้ เปน็ ระเบยี บ ถนนถลาง อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเกต็ 46

2. กลมุ่ อาคารและบา้ นเรอื นยา่ นถนนกระบ่ี   พิพิธภณั ฑ์ภเู กต็ ไทยหัว ในการเปล่ียนโรงเรียนภูเก็ตไทยหัวเพ่อื จัดต้งั เป็น พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัวมีการปรับภูมิทัศน์พ้ืนท่ีส่วนหน้าให้โล่งเพ่ือให้อาคาร พิพิธภัณฑ์มีความโดดเด่น การจัดแสดงนิทรรศการภายในพิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัว บอกเล่าประวตั ิความสำคญั ของภูเกต็ ในอดีต ประวตั กิ ารทำเหมืองแรด่ บี ุก การเขา้ มาตั้งถ่ินฐานของชาวจีนฮกเก้ียน และอธิบายถึงวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน ฮกเกี้ยน พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัวจึงเป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมและแหล่งท่องเท่ียว สำคัญแห่งหน่ึงของภูเก็ต ทำให้มีเจ้าของธุรกิจร้านอาหารมาเปิดอยู่ในบริเวณใกล้ เคียง นอกจากนีย้ ังมกี ารทำภาพแนวเดยี วกบั street art เพิ่มเตมิ เข้ามาในยา่ น อนุรักษเ์ มืองเกา่ (Old Town) เพอ่ื ให้สวยงามและมีความกลมกลนื อาคารสถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตุกีสของพิพิธภัณฑภ์ เู ก็ตไทยหวั ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จงั หวัดภูเก็ต 47

ลกั ษณะซ้มุ หนา้ ตา่ งแบบจ่วั ของพิพธิ ภัณฑภ์ เู ก็ตไทยหวั ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จังหวัดภเู ก็ต ภาพ street art โอ๊ะเอ๋ว ของหวานแบบจีนฮกเก้ยี น ร้านอาหารทเ่ี ปิดอยู่ตดิ กับรั้วของพิพธิ ภัณฑภ์ เู ก็ตไทยหัว 48

บ้านชินประชา บรเิ วณถนนกระบ่ี มีคฤหาสนเ์ ก่าแกข่ องตระกลู ตณั ฑวณชิ ซ่ึงเป็นท่ีรู้จักกันดีในเมืองภูเก็ตตั้งอยู่ติดกันสองหลัง คือบ้านพระพิทักษ์ชินประชา และบ้านชินประชา จนี เนยี่ วย่ี หรือหลวงบำรงุ จนี ประเทศ บรรพบุรษุ ร่นุ ท่ี 1 ไดเ้ ดิน ทางเขา้ มาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เป็นชว่ งทีเ่ กิดกบฏองั้ ยี่ ในภูเก็ตและกรรมกรเหมืองแร่ประท้วงไม่ทำงาน จีนเน่ียวย่ีพาคนมาทำเหมืองแร่ แทนคนงานกลุม่ เดมิ จงึ ไดร้ ับพระราชทานยศเป็น หลวงบำรงุ จีนประเทศ ตอ่ มา บุตรชายท้ังสองคนของหลวงบำรุงจีนประเทศได้รับพระราชทานบรรดาศักด์ิ คือ ตนั มาไส เป็น พระพไิ สยสรรพกิจ และ ตนั มาเสยี ง เป็น พระพิทกั ษช์ นิ ประชา29 ไดม้ ีการสรา้ งบา้ นท้ังสองหลงั เปน็ มรดกตกทอดมาถึงทายาทรุ่นปัจจุบนั สำหรับบ้าน ชินประชามีชือ่ เสยี งอย่างมากในสมยั ทายาทรุ่นที่ 4 คุณประชา ตณั ฑวณิช ซ่งึ มี ความรักและผูกพันในสถาปัตยกรรมเดิม ท่านจึงอนุรักษ์ท้ังข้าวของเคร่ืองใช้ตาม วฒั นธรรมของชาวจนี ฮกเกี้ยน เชน่ เตยี ง ตู้ โตะ๊ เกา้ อปี้ ระดับมุก เครอ่ื งแต่งกาย เป็นต้น ที่สำคัญคือบ้านหลังนี้เคยเป็นที่รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า- เจ้าอยู่หัวเม่ือครั้งทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชระหว่างเสด็จ ประพาสมณฑลภเู กต็ ภมู ทิ ศั นเ์ ดมิ ของบา้ นชนิ ประชาอยตู่ ดิ รมิ ถนนกระบเ่ี หมอื นกบั บา้ นพระพทิ กั ษ์ ชินประชาซ่ึงอยู่หัวมุมถนนกระบี่ บ้านชินประชาด้านหน้าซึ่งเป็นร้ัวเดิมมีเหล็กดัด ลวดลายดอกไม้ที่พระพิทักษ์ชินประชานำเข้าจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ภายหลัง การถงึ แก่กรรมของคณุ ประชา ตณั ฑวณิช พ่นี ้องท่ีเปน็ เจา้ ของท่ีดนิ บริเวณส่วนหนา้ ไดข้ ายทด่ี ินไป เจา้ ของรายใหมไ่ ด้รอ้ื ถอนกำแพงที่มีร้วั โบราณน้ี จากนั้นก็มกี ารสร้าง อาคารขน้ึ ใหมท่ ำใหบ้ ดบังบริเวณบ้านชนิ ประชา คุณจรูญรัตน์ ตณั ฑวณชิ ภรรยา ของคุณประชา ตัณฑวณิช และบุตร จึงได้จัดทำป้ายไว้หน้าทางเข้าบ้านซง่ึ เปน็ ซอย ท่ีแคบลง สงิ่ ของซึ่งคณุ ประชา ตัณฑวณชิ ไดเ้ กบ็ สะสมดแู ลไว้ ยงั คงมกี ารจัด แสดงเปน็ พพิ ิธภณั ฑ์ ส่วนรวั้ โบราณทถ่ี ูกร้ือถอนคณุ จรญู รตั น์ ตณั ฑวณิช ไดน้ ำมา เกบ็ ไว้ภายในบา้ นชินประชา 29ปยิ ะนาถ ลิ่มสกลุ . (2542). เลม่ เดมิ . หนา้ 20. 49

ภาพภมู ทิ ัศนท์ างเข้าบา้ นชินประชาทถ่ี ูกบดบังดว้ ยอาคารสร้างใหม่ ทำให้มองไมเ่ ห็นบ้านตามเดิม ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จงั หวัดภูเกต็ ภาพผลกระทบดา้ นหน้าเดมิ ของบ้านชินประชา ท่ถี กู บดบงั และตดิ กับผนังของเจ้าของพ้ืนที่สว่ นหน้า ถนนกระบ่ี อำเภอเมือง จังหวัดภเู ก็ต 50

ภาพการจดั ทำป้ายประชาสมั พันธ์ ให้ทราบว่าจดั แสดงพพิ ธิ ภณั ฑท์ าง วฒั นธรรมของบ้านชนิ ประชา ถนนกระบ่ี อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู กต็ ภาพรว้ั ที่พระพทิ ักษช์ นิ ประชานำเข้า จากเนเธอร์แลนด์ มองทะลุผ่านร้ัวไป จะเหน็ ว่าเดมิ บา้ นชนิ ประชามบี รเิ วณ หนา้ บ้านโลง่ ก่อนเขา้ ไปถึงตวั บา้ น ทำใหเ้ ม่อื มองจากริมถนนกระบจี่ ะเห็น บา้ นตงั้ โดดเดน่ อยู่ ทม่ี าภาพ : อ้างจาก ปยิ ะนาถ ล่มิ สกลุ . (2542). การศกึ ษาอิทธพิ ลของตา่ งประ เทศจากสถาปตั ยกรรมในเมอื งภเู ก็ต พ.ศ.2411–2468. หน้า 61. 51

รวั้ เกา่ แก่ท่สี งั่ นำเข้ามาจากประเทศเนเธอร์แลนดใ์ นสมัยรชั กาลท่ี 5 ของบ้านชนิ ประชาไดถ้ กู รอ้ื ถอน ภายหลงั เมอื่ เรมิ่ มกี ารทำ street art ในบรเิ วณย่านอนรุ กั ษ์เมืองเกา่ (Old Town) ในเขตเทศบาลเมืองภูเก็ต มีอาจารย์พานักเรยี นมาวาดภาพบาบา๋ คือ ชาย และหญิงท่แี ตง่ กายตามแบบวัฒนธรรมจีนฮกเก้ียน ไว้ทกี่ ำแพงทางเขา้ ซงึ่ เพม่ิ ความ โดดเดน่ ให้แก่ทางเข้าบ้านชินประชา30 อนงึ่ ความหมายของคำว่า บาบา๋ (Baba) และหยอนยา่ (Nyonya) ในกล่มุ เพอรานากัน (Peranakan) ประเทศสงิ คโปร์ ประเทศมาเลเซยี เป็นคำเรยี กเลอื ดผสมระหวา่ งเช้อื สายจนี ฮกเก้ยี นกบั ชนพื้นเมือง (ส่วนใหญ่ชนพ้นื เมอื งมีเช้อื สายแขกมลาย)ู มีการแยกคำและความหมาย บาบ๋า หมายถงึ ผู้ชายที่มีสายเลอื ดผสมระหวา่ งเชือ้ สายจนี ฮกเก้ยี นกับชนพื้นเมอื ง และ หยอนย่า หมายถึง ผู้หญิงที่มีสายเลือดผสมผสานระหว่างเช้ือสายจีนฮกเกี้ยนกับ ชนพน้ื เมือง แตส่ ำหรับชาวภูเกต็ ทม่ี เี ลือดผสมระหวา่ งเชอื้ สายจีนฮกเก้ยี นกับชนพน้ื เมือง ใชค้ ำวา่ บาบ๋า หมายถึง ทั้งผู้ชายและผหู้ ญิงทม่ี สี ายเลอื ดผสมระหวา่ งเชือ้ สาย 30จรญู รตั น์ ตณั ฑวณิช. (2562, 19 มนี าคม). สัมภาษณ์โดย ปิยะนาถ องั ควาณิชกลุ ทบ่ี ้าน ชินประชา เลขท่ี 98 ถนนกระบ่ี อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต.  52

จีนฮกเก้ียนกับชนพ้ืนเมือง มีความหมายที่แตกต่างจากกลุ่มเพอรานากันในคาบ สมุทรมลายู (สันนิษฐานว่าอาจเป็นเพราะชนพ้ืนเมืองภูเก็ตท่ีสมรสกับชาวจีน ฮกเกี้ยน ส่วนใหญเ่ ปน็ เช้ือสายไทย ไมใ่ ชเ่ ชือ้ สายแขกมลายเู หมอื นกลุม่ เพอรานากนั ในประเทศสงิ คโปรแ์ ละประเทศมาเลเซีย: ผเู้ ขียน) ส่วนคำว่า หยอนยา่ ชาวภเู ก็ต ใชเ้ ปน็ คำเรยี กเคร่ืองแตง่ กายของผูห้ ญิงทีม่ เี ช้อื สายจีนฮกเกย้ี นในภเู กต็ ว่า ชุดยา่ หยา อันเน่ืองจากเป็นเครอ่ื งแตง่ กายของผู้หญิง ในสมยั แรกผู้หญงิ บาบา๋ ท่ีภูเกต็ นยิ ม แตง่ กายด้วยชดุ ครยุ เป็นเสอื้ ครุยท่ีคลุมยาวจนถงึ ครง่ึ นอ่ ง ตอ่ มาเริ่มนิยมสวมเสอื้ ลกู ไมค้ อแหลมหรอื คอวมี ีชายยาว แต่ตัวเสอื้ ส้นั ลง มกี ารเปลย่ี นจากเส้อื ลกู ไมม้ าเป็น เสอื้ ลายฉลทุ ชี่ ายเสอื้ และปลายแขนแทนผา้ ลกู ไมท้ เี่ รยี กวา่ “Kabaya Buki” สวมกบั ผ้านุ่งปาเต๊ะ ในปจั จุบันชุดเสอ้ื ครยุ ยาวจะใชใ้ นพิธกี ารซ่งึ สว่ นใหญ่เปน็ งานพิธมี งคล สมรส ผู้หญิงจะสวมเสือ้ ยาวคลา้ ยเสือ้ ครยุ ทำจากลูกไม้ ทรงผมเกลา้ มวยสงู สวม เครอ่ื งประดับรดั ผมบนศรี ษะ ถ้าเป็นเจา้ สาวจะสวมมงกฎุ มลี ักษณะพเิ ศษ เรียกวา่ มงกุฎดอกไมไ้ หว ภาพการแตง่ กายในชดุ ยา่ หยา แบบดงั้ เดมิ ซึ่งไดร้ ับอทิ ธิพล มาจากเมืองปีนงั ทม่ี าภาพ : คณุ ย่า (คนนง่ั ) และ ไทม้ ่า (ท้ังสองทา่ นทย่ี ืน) ของ ผู้เขยี น ถา่ ยท่ีจงั หวัดภูเก็ต 53

ภาพวาดตลอดแนวกำแพงทางเข้าบา้ นชนิ ประชา ถนนกระบี่ อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเก็ต ภาพวาดสตรีเชอ้ื สายจีนฮกเกี้ยนแตง่ กายด้วยชดุ ยา่ หยา สวมมงกฎุ ดอกไม้ไหว ตามแบบเอกลักษณว์ ัฒนธรรมจนี ฮกเก้ยี น บา้ นชนิ ประชา ถนนกระบี่ อำเภอเมือง จังหวัดภเู กต็ 54

ภาพทางเขา้ ตัวบ้านชนิ ประชาในปัจจุบนั ที่จัดแสดงเปน็ พพิ ิธภัณฑ์ ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จังหวดั ภเู ก็ต ภาพปา้ ยประชาสัมพันธใ์ หค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั สถาปัตยกรรมชโิ น-โปรตกุ ีสทกี่ ารท่องเท่ียวแห่ง ประเทศไทย เคยทำไวอ้ ยู่ในบริเวณบ้านชนิ ประชา ถนนกระบี่ อำเภอเมือง จังหวดั ภูเกต็ 55

ภาพป้ายการไดร้ บั พระราชทาน รางวัลอนรุ ักษ์ศลิ ปสถาปัตยกรรม ดี เดน่ จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จงั หวัดภูเก็ต หน้าประตูทางเข้ามีการจัดแสดงพาหนะทีช่ าวจนี ใชใ้ นสมยั กอ่ น ถนนกระบี่ อำเภอเมือง จังหวดั ภูเกต็ 56

ภาพโตะ๊ รบั ประทานอาหารท่รี ัชกาลที่ 6 เคยเสด็จประทับจดั แสดงอยูภ่ ายในบา้ นชนิ ประชา ถนนกระบ่ี อำเภอเมอื ง จังหวดั ภเู กต็ ภาพพืน้ กระเบอ้ื งเดิมนำเข้าจากประเทศอิตาลี ยังคงมีความแขง็ แรงทนทานมาก ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จังหวัดภูเก็ต 57

ภาพบรเิ วณบนั ไดท่ีใชม้ าต้ังแต่เมอ่ื แรกสร้างบา้ นหลังน้ี ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จงั หวัดภเู ก็ต ภาพลวดลายตามแบบท่นี ิยม ในการสร้างบา้ นของเศรษฐชี าวจีน ซึ่งเจา้ ของบ้านอนุรกั ษ์ไวใ้ หค้ งเดิม ถนนกระบ่ี อำเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ 58

บ้านพระพิทักษ์ชินประชา บริเวณหัวมุมถนนกระบี่ซ่ึงเป็นที่ตั้งของบ้าน พระพทิ กั ษช์ นิ ประชา ซงึ่ ทงั้ สองหลงั เปน็ เครอื ญาตลิ กู หลานของพระพทิ กั ษช์ นิ ประชา มคี ุณสิทธิ ตณั ฑวณิช ทายาทท่เี ปน็ เจ้าของ บา้ นพระพทิ กั ษ์ชินประชาหลงั น้ีมขี นาด ใหญร่ ะดบั คฤหาสน์ มรี วั้ ล้อมรอบเปน็ สัดสว่ นและมีพื้นท่สี นามหญา้ โลง่ จากริมถนน เข้ามาก่อนจะถึงตัวอาคารของบา้ น ในพ.ศ.2553 บา้ นพระพทิ กั ษ์ชนิ ประชาได้ถกู ขอเชา่ ทำภัตตาคาร Blue Elephant ซงึ่ เปน็ กิจการทม่ี ีช่อื เสียงในประเทศเบลเยยี่ ม และมหี ลายสาขาในกลมุ่ ประเทศยุโรป เจา้ ของกจิ การเป็นคนไทยท่ไี ปทำธรุ กิจ ภตั ตาคารในต่างประเทศ ลกั ษณะเดน่ ของภตั ตาคาร Blue Elephant ทุกสาขา จะมีอาคารท่ีมสี ถาปตั ยกรรมสวยงามแบบเกา่ เช่น สาขากรุงเทพฯ บรเิ วณถนน สาธร เป็นสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลสีเหลืองสด ทุกแห่งจะเน้นการตกแต่ง ภตั ตาคารตามแบบประเพณไี ทย ดังนน้ั เมอื่ ภตั ตาคาร Blue Elephant เปิดสาขาท่ี จังหวัดภูเก็ต สถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกีสของบ้านพระพิทักษ์ชินประชา จึงเป็น สถานทที่ ลี่ งตวั ตามคอนเซปตข์ องภตั ตาคาร เจา้ ของกจิ การภตั ตาคาร Blue Elephant ได้ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายนอกด้วยการซ่อมแซมและทาสีใหม่ แต่ยังคงรักษารูปแบบ โครงสร้างของบ้านพระพิทักษ์ชินประชาตามเดมิ ซึ่งสามารถรักษาลกั ษณะอาคาร ภายนอกตามลักษณะสถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตุกีสเดิมได้ดีและสวยงาม การปรบั ปรงุ ใหม่ (Renovated) คฤหาสน์หลังใหญ่น้ี โดยรกั ษาสภาพโครงสร้างเดมิ จะต้องมกี ารศกึ ษาลักษณะของสถาปตั ยกรรมแบบเดิม การหาชา่ งแขนงต่างๆ ใน กลุ่มผูอ้ นรุ ักษ์อาคารบา้ นเรือนสถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตุกสี ได้แก่ ช่างไม้ในการ ดูแลโครงสร้างไม้ทั้งหมด ประตูหน้าต่าง ช่างทำกระเบ้ืองหลังคาซึ่งเป็นรูปแบบ หลงั คาโบราณ ช่างทาสีทจ่ี ะตอ้ งคมุ โทนสีของบา้ นให้ใกลเ้ คยี งกบั แบบเดิม ได้มกี าร สั่งทำกระเบื้องกาบกล้วยตามแบบของเดิมท้ังหมด31 นอกจากน้ันมีการปลูกและ ดูแลรักษาต้นไม้บริเวณโดยรอบของบ้านพระพิทักษ์ชินประชาให้มีความร่มร่ืน จนตอ้ ง กล่าวชืน่ ชมว่าเจ้าของภัตตาคาร Blue Elephant ทำให้ภูมทิ ัศน์ภายนอก ของบ้านพระพิทักษ์ชินประชามีความสวยและสง่างามต่อสายตาของผู้ที่ผ่านมายัง 31จรญู รตั น์ ตัณฑวณชิ . (2562, 19 มนี าคม). สัมภาษณโ์ ดย ปยิ ะนาถ อังควาณิชกุล ทีบ่ ้าน ชนิ ประชา เลขท่ี 98 ถนนกระบ่ี อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภูเกต็ . 59

รมิ ถนนกระบี่ และทำใหบ้ ้านพระพิทักษช์ ินประชาเหมอื นกลับมามชี ีวิตชวี าอกี ครง้ั ความสวยงามโดยรวมตามที่กลา่ วมาท้งั หมด ทำให้สถานที่แห่งนี้เปน็ สถานทีจ่ ดั งาน สมรสและงานกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับวัฒนธรรมเช้ือสายจีนฮกเก้ียนของชาว ภูเกต็ ด้วย สำหรับมุมมองด้านการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรม และในฐานะทีผ่ เู้ ขียนกเ็ ป็นเชื้อ สายจีนฮกเก้ียนภูเก็ต ทำให้รู้สึกเสียดายท่ีคฤหาสน์หลังน้ีได้ใช้เป็นความสวยงาม เพียงธุรกิจร้านอาหาร ซ่ึงคุณค่าของอาคารและประวัติความเป็นมามีคุณค่ามาก กวา่ นนั้ หากเทศบาลเมอื งภเู กต็ หรอื หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งสามารถเปลยี่ นบา้ นพระพทิ กั ษ์ ชินประชามาสร้างเป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมจีนฮกเก้ียนเมืองภูเก็ตในลักษณะเดียว กับพิพิธภัณฑ์เพอรานากัน (Peranakan Museum) ในประเทศสิงคโปร์และ ประเทศมาเลเซยี ประเทศไทยจะมีพิพธิ ภัณฑ์เพอรานากนั ทม่ี อี าคารของพพิ ิธภัณฑ์ สวยงามและเป็นตัวแทนบอกเล่าความเป็นมาถึงการเป็นเมืองท่ีเติบโตจากการทำ เหมอื งแร่ดบี ุกและการเปน็ เมืองท่าค้าขาย ในลักษณะเดียวกับคฤหาสน์เปอรานากนั (Penang Peranakan Mansion) ตง้ั อยทู่ ่ีเมอื งปนี ัง ประเทศมาเลเซยี ในพ.ศ. 2546 ผเู้ ขยี นไดเ้ คยมโี อกาสไปศกึ ษาดงู าน ณ ประเทศมาเลเซยี คฤหาสน์แห่งนีเ้ ปน็ เพยี งคฤหาสน์รา้ งทถี่ ูกปล่อยทิ้งไว้ ในช่วงระยะเวลา 10 กวา่ ปีที่ผา่ นมา รฐั บาล มาเลเซียได้พัฒนาและให้ความสำคัญกับแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอย่างยิ่งโดย พัฒนาจากสถานที่ที่เป็นทุนวัฒนธรรมเดิม ทำให้ในปัจจุบันคฤหาสน์เปอรานากัน แห่งน้ีกลายเป็นท่ีรู้จักและเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมแหล่งสำคัญที่ถูก แนะนำใหไ้ ปเยือนทางการทอ่ งเทย่ี วของประเทศมาเลเซีย 60

ภาพบรเิ วณทางเข้าบ้านพระพทิ กั ษช์ ินประชาเดมิ ในปจั จุบนั เปน็ ภัตตาคาร Blue Elephant หวั มมุ ถนนกระบ่ี อำเภอเมอื ง จงั หวัดภเู กต็ ภาพการเป็นภัตตาคาร Blue Elephant ในปัจจุบัน ภายใต้โครงสรา้ งเดิมของบ้านพระพทิ กั ษช์ นิ ประชา หัวมมุ ถนนกระบี่ อำเภอเมอื ง จังหวดั ภูเกต็ 61

บริเวณด้านหนา้ ทางเขา้ ของภัตตาคาร Blue Elephant บริเวณด้านในของภตั ตาคาร Blue Elephant ที่มาภาพ : ภายในภตั ตาคาร Blue Elephant สืบค้นเมอ่ื 14 มิถุนายน 2563 จาก, https:// th.tripadvisor.com/LocationPhotoDirectLink-g1215781-d1759741-i110979406- Blue_Elephant_Phuket-Phuket_Town_Phuket.html 62

ภาพ Chung Keng Kwee Mansion ทีถ่ กู ปลอ่ ยทิ้งรา้ งในอดตี ทมี่ าภาพ : Khoo Su Nin. (2001). Streets of George Town Penang. p.77. คฤหาสน์เปอรานากนั (Penang Peranakan Mansion) แห่งน้ีในอดตี เป็นบา้ นพักและสำนักงานของกปั ตนั ชุงเค็งกวี่ (Chung Keng Kwee) ซ่ึงเป็นผนู้ ำ องค์กรลับไหซ่ าน (The Hai San Secret Society) องค์กรลบั นีจ้ ดั ต้ังข้นึ มาโดย สมาชกิ สมาคมฮากกา (Hakka) ชงุ เค็งกวถ่ี งึ แก่กรรมใน ค.ศ.1901 ธุรกจิ ของครอบ ครวั ไดร้ ับการสานต่อโดยชงุ ไทพนิ (Chung Thye Pin) บุตรชายของชุงเค็งกว่เี ป็นผู้ ทำการขยายธุรกิจของครอบครัว32 คฤหาสน์เปอรานากันแห่งน้ีสันนิษฐานว่าสร้าง ข้ึนในราวทศวรรษท่ี 1890 สรา้ งอยา่ งโออ่ ่าแสดงใหเ้ ห็นถงึ ฐานะของเจา้ ของ บาน ประตูและหน้าต่างทำจากไม้แกะสลักแบบจีน ปูพ้ืนด้วยกระเบ้ืองแบบอังกฤษ นอกจากนยี้ งั มีงานหลอ่ เหล็กแบบสก็อตอกี ด้วย ภายในคฤหาสนเ์ ปอรานากนั ในปีนัง เตม็ ไปดว้ ยโบราณวตั ถแุ ละของสะสมกว่า 1,000 ชิ้น อาคารมีเอกลกั ษณ์ หลายส่วน ของอาคารมลี ักษณะสถาปตั ยกรรมแบบจนี และสถาปัตยกรรมจีนผสมตะวนั ตก33 32 Khoo Su Nin. (2001). Streets of George Town Penang. P.76 – 79. 33 คฤหาสน์เปอรานากนั (Pinang Peranakan Mansion). สบื ค้นเมอื่ 14 มถิ ุนายน 2563, จาก http://www.tourism.gov.my/th-th/places/states-of-malaysia/penang/pinang- peranakan-mansion 63

ทมี่ าภาพ : คฤหาสนเ์ ปอรานากัน (Pinang Peranakan Mansion). สืบคน้ เมอื่ 14 มถิ นุ ายน 2563, จาก http://penang.attractionsinmalaysia.com/img/photoState/penang/ PeranakanMansion/2.jpg ทีม่ าภาพ : การจดั แสดงภายในคฤหาสน์เปอรานากนั (Pinang Peranakan Mansion). สบื คน้ เมื่อ 14 มถิ ุนายน 2563, จาก http://penang.attractionsinmalaysia.com/img/ photoState/penang/PeranakanMansion/1.jpg 64

จากกรณศี ึกษาคฤหาสนเ์ ปอรานากัน เมอื งปีนัง ประเทศมาเลเซยี หากมี การปรบั เปลยี่ นบา้ นพทิ กั ษช์ นิ ประชามาเปน็ Peranakan Museum จะเปน็ พพิ ธิ ภณั ฑ์ วฒั นธรรมจีนฮกเกี้ยนท่ีสามารถชมความงามและเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ตั้งแต่ตัว อาคารท่แี สดงถึงสถาปตั ยกรรมชิโน–โปรตุกีส และภายในมพี ื้นที่กวา้ งขวางท่ีจะทำ การจดั แบง่ เป็นโซนการจัดแสดงทางวฒั นธรรมจีนฮกเกี้ยนตามหวั ขอ้ ต่างๆ ไดอ้ ยา่ ง ครอบคลมุ เหมอื นการจดั Peranakan Museum ของประเทศสงิ คโปร์ บรเิ วณรอบ นอกของบ้านพระพิทักษ์ชินประชาก็มีพื้นท่ีกว้าง จากริมถนนเข้าไปถึงตัวคฤหาสน์ มีระยะห่างจากตัวอาคารพอสมควร ทำให้ทัศนียภาพเมื่อแรกเห็นท่ีมองเข้าไป ภายในบริเวณร้ัวมีความสวยสง่างาม อีกท้ังภายในร้ัวก็มีพ้ืนที่กว้างพอสำหรับเป็น พนื้ ทจี่ อดรถสำหรบั ผมู้ าเยยี่ มชม ในความคดิ เหน็ ของผเู้ ขยี น บา้ นพระพทิ กั ษช์ นิ ประชา แห่งนี้เป็นสถานที่ที่เหมาะสมในฐานะทุนวัฒนธรรมเดิม และควรได้รับการผลักดัน ในเชงิ อนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมจีนฮกเกี้ยนในภเู กต็ เป็นอย่างยง่ิ 3. กลุม่ อาคารและบา้ นเรือนยา่ นถนนดีบกุ  สำหรับกลุ่มอาคารบ้านเรือนย่านถนนดีบุกภาพรวมของโครงสร้างค่อนข้าง คงเดิม เจา้ ของเดมิ และเจ้าของรายใหม่เน้นเรื่องการทาสใี หส้ วยงามและตกแต่งดว้ ย ลวดลายตามบริเวณต่างๆ ในปัจจุบันพบว่ามีการเปล่ียนจากเป็นที่พักอาศัยมาเป็น ทตี่ ั้งกจิ การรา้ นคา้ บา้ ง การเปลี่ยนแปลงทางภูมทิ ศั น์ที่โดดเด่นอีกประการหนง่ึ ของ ถนนดีบกุ คอื การทำภาพ Street Art ในหลวงรชั กาลที่ ๙ เปน็ ทรี่ ะลึกถงึ พระองค์ ท่านภายหลังเหตุการณ์สวรรคต อยู่บริเวณกำแพงถนนดีบุกตัดกับถนนเยาวราช ภาพดังกลา่ วกลายเป็นสถานทท่ี ี่เป็นสญั ลักษณ์ (Landmark) ของผู้มาเยอื นบริเวณ ถนนดบี ุก 65

ภาพอาคารบา้ นเรอื นทมี่ ีการดูแลทาสีใหส้ วยงามบรเิ วณถนนดีบกุ อำเภอเมอื ง จังหวัดภเู กต็ ภาพชดุ Street Art เล่าเรอื่ งในหลวงรัชกาลที่ ๙ บนผนังอาคารรมิ ถนนดีบกุ ตัดกับถนนเยาวราช 66

เปน็ มมุ ไฮไลทใ์ นการถา่ ยภาพของภาพ Street Art เลา่ เรื่องในหลวงรชั กาลที่ ๙ 67

ภาพอาคารบา้ นเรอื นริมถนนดีบกุ ทีม่ กี ารดแู ลทาสที ง้ั ผนังกำแพงบา้ นและร้วั บ้านอยา่ งสวยงาม ถนนดบี ุก อำเภอเมือง จังหวัดภูเกต็ 68

4. กล่มุ อาคารย่านซอยรมณีย์ อาคารสถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกีสในซอยรมณีย์มีการอนุรักษ์ด้วยการทา สเี ดยี วกันเป็นแนวยาว ทำใหส้ วยงามโดดเดน่ และเป็นทด่ี งึ ดูดใจตอ่ นกั ทอ่ งเท่ียวท้งั ชาวไทยและชาวต่างชาติให้มาถ่ายรูปกับความสวยงามทางสถาปัตยกรรม ใน ปัจจุบันสถานบันเทิงย่านโสเภณีเดิมแห่งน้ี ได้เปลี่ยนไปเป็นท่ีต้ังของที่พักแบบ โฮสเทล รา้ นอาหาร และรา้ นกาแฟเป็นท่ีนิยมอยา่ งยงิ่ รวมถงึ ร้านขายเสื้อผ้าและ ของทร่ี ะลึก มกี ารตกแต่งด้วยการทาสีสนั สวยงาม มกี ารเพนทภ์ าพในแนว Street Art ตามอาคารแตล่ ะหลังบ้าง แตท่ โ่ี ดดเด่นมากทส่ี ุดคอื ภาพขนมผ้อตอ่ รปู เตา่ ซ่ึง เป็นวัฒนธรรมการไหว้เจ้าของชาวไทยเช้ือสายจีนฮกเก้ียนในภูเก็ตบริเวณผนัง อาคารเกา่ อยู่ปากทางเข้าซอยรมณียบ์ รเิ วณฝ่งั ถนนถลาง ภาพอาคารในซอยรมณียท์ าสเี ดียวกนั เป็นแนวทอดยาว 69

ภาพอาคารทด่ี ัดแปลงเป็นที่พักในซอยรมณยี ์ ระหวา่ งถนนถลางและถนนดีบกุ อำเภอเมอื ง จงั หวัดภูเก็ต ภาพรา้ นกาแฟในซอยรมณียท์ ่ีเนน้ การทาสีและตกแต่งใหส้ วยงาม เปน็ อาคารที่ปรบั ปรงุ สรา้ งใหม่ จะเหน็ ไดว้ า่ ไมม่ ลี วดลายปนู ปนั้ แบบเดิม 70

ภาพบรเิ วณดา้ นหน้าของร้านกาแฟท่เี พ่ิมเติมสสี นั ดว้ ยการทำภาพ Street Art ท่บี รเิ วณเสาท้งั สองฝั่ง Street Art ภาพนี้เปน็ ภาพเดก็ เลน่ ซอ่ นหา ภาพ Street Art บนผนงั ด้านริมของอาคารเก่าหลังหนึ่งริมถนนถลาง หน้าทางเข้าซอยรมณีย์ รปู หนูนอ้ ยมาร์ดีเปน็ ขนมผอ้ ต่อและรปู นก 71

ในภาพ Street Art น้ีเป็นการสอ่ื วัฒนธรรมชาวจนี ฮกเก้ียนในพธิ ีกรรมความเชื่อ การไหวเ้ จา้ หนูนอ้ ยมารด์ ีเป็นขนมผอ้ ตอ่ รูปเต่า และสับปะรดซ่งึ เปน็ ผลไม้หลักในการไหว้เจ้า เพราะมหี ลายตา 5. กลมุ่ อาคารและบา้ นเรอื นยา่ นถนนเยาวราช อาคารทอ่ี ยบู่ รเิ วณหวั มมุ ถนนเยาวราชตดั กบั ถนนดบี กุ มี การปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์ ด้วยการทาสีสดและดัดแปลงเลียนแบบโครงสร้างเดิม การสำรวจสภาพอาคารริม ถนนเยาวราชจากถนนดีบกุ ไปถึงถนนถลาง พบว่าส่วนใหญย่ งั เปน็ โครงสร้างอาคาร เดิมมลี ักษณะแบบห้องแถว (shophouse) ยาวตอ่ เนอ่ื งกันตลอดแนว บางอาคารที่ โครงสร้างช้นั บนชำรดุ ทรดุ โทรม ได้มกี ารซอ่ มแซมใหมเ่ ปน็ ผนังแบบเรียบ เจาะชอ่ ง หนา้ ต่างธรรมดา ไมม่ ลี วดลายปูนปั้นสวยงามตามแบบอทิ ธิพลสถาปตั ยกรรมยโุ รป ในยุครัชกาลท่ี 5 ตามแบบเดิม ท้ังนี้เน่ืองจากไม่สามารถหาช่างท่ีมีความรู้และ ชำนาญการตามแบบสถาปตั ยกรรมเดมิ การดูแลอนรุ ักษต์ ้องเสียภาระคา่ ใชจ้ ่ายที่สูง ทั้งค่าจ้างแรงงานช่างและค่าวัสดุ เจ้าของอาคารบางแห่งได้ปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์ บริเวณสว่ นหนา้ ใหม้ คี วามโดดเดน่ เช่น ร้านกาแฟมีการนำจักรยานมาประดบั บน ผนังอาคาร ร้านขายและซ่อมจักรยานยนตท์ ำภาพ Street Art รูปมอเตอร์ไซคท์ ี่ ผนงั หน้าร้าน เปน็ ตน้ 72

ภาพอาคารทาสเี พิ่มความโดดเดน่ บรเิ วณสี่แยกถนนดบี กุ ตัดกบั ถนนเยาวราช อำเภอเมือง จังหวัดภเู ก็ต ภาพการอนุรกั ษ์ซ้มุ โคง้ หน้าต่างแบบเสีย้ ววงกลมและบานเกลด็ ไม้ มีการเปล่ียนแปลงเป็นธุรกิจที่พักแบบโฮสเทล และร้านกาแฟ (Café) บรเิ วณริมถนนเยาวราช 73

ภาพร้านกาแฟทป่ี รบั ภูมทิ ศั น์ของร้านใหโ้ ดดเดน่ ด้วยการนำจกั รยานมาประดับบนผนังอาคาร บริเวณมุมถนนเยาวราชตดั กบั ถนนถลาง อำเภอเมอื ง จังหวัดภเู ก็ต ภาพรา้ นธวชั ยนตร์ มกี ารทำภาพ Street Art มอเตอร์ไซค์ใหเ้ ขา้ กบั กิจการขายและซอ่ มมอเตอร์ไซค์ บริเวณหวั มมุ ถนนเยาวราชตัดกบั ถนนถลาง 74

ภาพ Street Art มอเตอรไ์ ซคข์ องรา้ นธวัชยนตร์ บรเิ วณหัวมมุ ถนนเยาวราชตัดกบั ถนนถลาง อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเก็ต บา้ นต่อเจริญ ตัง้ อย่รู ิมถนนเยาวราช บริเวณใกล้ถงึ สแ่ี ยกถนนเยาวราชตดั กบั ถนนดบี กุ เป็นบ้านพกั อาศยั ของตระกูลนายเหมอื งเดมิ คอื ตระกูลตอ่ เจรญิ บ้าน หลังนี้สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวตามวันที่ที่ได้ระบุไว้ ในโฉนดทด่ี นิ วนั ที่ 15 พฤษภาคม 2458 ปจั จบุ นั เจา้ ของบา้ น คอื คณุ ปญั ญา ตอ่ เจรญิ บ้านต่อเจริญเปน็ ทรัพย์สมบัติตกทอดจากบรรพบรุ ุษถึงลูกหลานสายตรง โดยไมไ่ ด้ มีการแบง่ กันตามแบบระบบกงสี ดงั นนั้ คุณปัญญา ต่อเจริญ จึงมีสทิ ธิ์ในการครอบ ครองและดูแลโดยตรงเพียงลำพงั สามารถตดั สนิ ใจในการซอ่ มแซมบรู ณะบา้ นหลังน้ี ได้สะดวก จากการสัมภาษณ์คณุ ปญั ญา ตอ่ เจริญ และอาจารย์ชตุ มิ า ต่อเจรญิ ผู้เปน็ ภรรยา เจ้าของบ้านได้ดูแลซ่อมแซมภูมิทัศน์และสภาพของบ้านทั้งภายนอกและ ภายในอยู่ตลอดเวลา บ้านยังคงรักษาโครงสร้างเดิมเกือบทั้งหมดรวมทั้งบันไดวน ภายในบ้านอนั เป็นทีน่ ิยมตามสถาปตั ยกรรมของบา้ นเศรษฐที ส่ี รา้ งในสมยั รชั กาลที่ 6 กย็ ังคงสภาพท่ดี ี โดยมกี ารสรา้ งบันไดแบบปจั จบุ ันเพมิ่ เติมเขา้ มาเพ่อื สะดวกในการ ใชช้ ีวิตประจำวนั การดูแลอนุรักษท์ ้ังภายนอกและภายในอาคารใหค้ งอย่ใู นสภาพท่ี ดนี ้ี ตอ้ งใช้เงินจำนวนเป็นหลักลา้ นบาท ซง่ึ เจ้าของบ้านมีทุนทรพั ยแ์ ละมใี จอนรุ กั ษ์ สถาปัตยกรรมเดิมของบ้านเป็นอย่างยิ่ง อีกท้ังบุตรของท่านเรียนจบทางด้าน สถาปัตยกรรม จึงมีความเข้าใจในโครงสร้างสถาปัตยกรรมและรู้หลักการในการ 75

ซ่อมแซมในแต่ละส่วนของบ้าน เป็นปัจจัยสนับสนุนที่ทำให้บ้านต่อเจริญสามารถ อนุรักษล์ กั ษณะอาคารตามแบบเดมิ ไดเ้ ปน็ อย่างดี34 ภาพรปู ถ่ายติดผนังของบา้ นตอ่ เจรญิ เปน็ ทายาทรุ่นก่อนหนา้ นีน้ งั่ ถ่ายรปู กันท่ีบรเิ วณหนา้ บา้ น ภาพบา้ นต่อเจริญในปจั จบุ ันทย่ี ังคงโครงสร้างเหมือนเดิม ถนนเยาวราช อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู ก็ต 34ปัญญา ตอ่ เจรญิ . (2562, 21 มีนาคม). สัมภาษณ์โดย ปิยะนาถ อังควาณชิ กุล, ท่บี ้านเลข ที่ 112 ถนนเยาวราช อำเภอเมอื ง จังหวดั ภูเกต็ . 76

ภาพบา้ นต่อเจริญใหเ้ ห็นด้านข้างของบา้ น ถนนเยาวราช อำเภอเมอื ง จงั หวัดภเู กต็ ภาพบา้ นต่อเจรญิ ในมุมมองอีกดา้ นหนึ่งของบา้ น จะเห็นลวดลายปนู ปัน้ ตามหัวเสา ถนนเยาวราช อำเภอเมอื ง จงั หวัดภเู กต็ 77

ภาพซุม้ ยอดแหลมของบ้านต่อเจริญ แปลกตาไม่เหมือนบ้านหลังอื่น ถนนเยาวราช อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเกต็ ภาพหน้าบนั ใต้จ่วั ของหลังคาบ้าน มีลายปนู ป้นั ดงั้ เดมิ เป็นรูปธงช้างเผือกและธงไตรรงค์ เป็นการยนื ยนั ว่าบา้ นหลงั นสี้ รา้ งโดยฝมี อื ชา่ งสมัยรัชกาลท่ี 6 บ้านตอ่ เจริญ ถนนเยาวราช อำเภอเมอื ง จังหวัดภูเก็ต 78

ภาพหน้าตา่ งบานเกลด็ ไมป้ รับได้ จะ เหน็ ได้วา่ สภาพบานเกลด็ ไมข้ องบ้าน ตอ่ เจริญยังอยใู่ นสภาพทด่ี ีมาก บ้านตอ่ เจริญ ถนนเยาวราช อำเภอ เมอื ง จังหวัดภเู ก็ต ภาพการตกแต่งประตแู ละหนา้ ตา่ ง แบบจนี มีการเขียนอกั ษรจีนถึงแหล่ง ท่อี ยู่ของบรรพบุรษุ วา่ อพยพมาจาก บริเวณเมืองใดของประเทศจีน บ้านตอ่ เจริญ ถนนเยาวราช อำเภอเมอื ง จังหวัดภูเก็ต 79

6. กลมุ่ อาคารยา่ นถนนพงั งาและถนนภูเก็ต บรเิ วณหวั มมุ ถนนพงั งา เปน็ สถานทต่ี งั้ อาคารอนรุ กั ษส์ ำคญั ทเี่ ปน็ สญั ลกั ษณ์ ของย่านอนุรักษ์เมืองเก่าของจังหวัดภูเก็ต อาคารสถานีตำรวจเดิมและธนาคาร ชาร์เตอร์ดเดิมได้รับการปรับเปล่ียนภูมิทัศน์ด้วยการทาสีท้ังสองอาคารเป็นสีเหลือง ออ่ นเหมอื นกนั เมอื่ ตงั้ อยคู่ กู่ นั จงึ เปน็ ทโี่ ดดเดน่ ตอ่ สายตาผทู้ ผ่ี า่ นมาหนา้ บรเิ วณอาคาร อย่างยิ่ง เป็นจดุ แลนด์มารค์ ของจังหวดั ภเู ก็ตยอดนิยมอีกแห่งหนง่ึ ทศั นยี ภาพของ อาคารสองหลังน้ีทำให้เห็นภาพย้อนเวลาไปในช่วงเวลาเศรษฐกิจที่ขยายตัวและ เจริญอย่างย่ิงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาคารสถานี ตำรวจเดิมและอาคารธนาคารชาร์เตอร์ดเดิมได้ปรับเปลี่ยนมาเป็น พิพิธภัณฑ์ เพอรานากนั นทิ ศั น์ (Peranakannitat Museum) มีการเข้าไปปรับปรุงดูแลโดย มวิ เซยี มสยาม ภายใต้ช่ือ Museum Phuket และเทศบาลเมืองภเู กต็ การกอ่ ตง้ั พิพธิ ภัณฑเ์ พอรานากันนิทัศน์เกดิ ขน้ึ ในสมยั ท่นี ายแพทย์โกศล แตงอทุ ัย อดตี รอง นายกเทศมนตรีนครภูเก็ต เป็นนายกสมาคมเพอรานากันแห่งประเทศไทย35 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นผู้ทรงพระราชทานนาม พิพิธภัณฑว์ า่ “พพิ ิธภัณฑ์เพอรานากนั นทิ ัศน์” และเสด็จพระราชดำเนนิ ทรงเปิด พพิ ิธภัณฑ์อยา่ งเป็นทางการในวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.256036 การจัดแสดง อาคารพิพิธภัณฑ์เพอรานากันนิทัศน์ที่เป็นอาคารธนาคาร ชารเ์ ตอร์ดเดิม เป็นอาคาร 2 ชัน้ จัดแสดงทง้ั หมด 6 หอ้ ง ห้องท่ี 1 ห้องพลัดพราก เร่ืองราวการอพยพเข้ามาของชาวจนี ฮกเก้ียน หอ้ งท่ี 2 ห้องรากใหม่ การต้งั รกราก ของชาวจีนฮกเกยี้ น การทำเหมืองแร่ ห้องที่ 3 หอ้ งฉิมแจ้ บอกเล่าเรื่องราวการ ผสมผสานระหวา่ งสถาปตั ยกรรมตะวนั ตกและตะวนั ออก หอ้ งท่ี 4 หอ้ งผา้ การแตง่ กาย แบบบาบ๋า-ยา่ หยา ห้องที่ 5 ห้องอาหาร อาหารหลากหลายตามสังคมพหุวัฒนธรรม ในภูเก็ต อาหารของชาวจนี ฮกเกยี้ น ชาวมลายู และอาหารทอ้ งถิ่นภาคใต้ ทัง้ 5 35สมหมาย ปนิ่ พทุ ธศิลป์. (2562, 20 มีนาคม). สัมภาษณ์โดย ปยิ ะนาถ อังควาณชิ กลุ , ที่วดั มงคลนมิ ิต (วดั กลาง) อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเกต็ . 36การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย. (2560). พพิ ธิ ภณั ฑเ์ พอรานากันนทิ ัศน์. สืบค้นเมื่อ 18 มนี าคม 2562, จาก https://www.phuketemagazine.com/พพิ ิธภัณฑ์เพอรานากันนิทศั น/์ 80

ห้องนี้จดั แสดงบนช้นั 2 ส่วนห้องท่ี 6 ห้องมั่นคง จัดแสดงเครอื่ งประดับของชาว เพอรานากนั จดั แสดงบรเิ วณช้นั ลา่ ง อาคารสถานตี ำรวจเดิมฝงั่ ตรงกนั ข้าม ตง้ั ชอื่ ว่า “ภเู ก็ตนครา” (ขณะทผี่ ูเ้ ขยี นลงพื้นท่เี ก็บข้อมลู มเี พียงป้ายพิพิธภัณฑ์เพอรานากัน นทิ ัศนต์ ิดอยู่บนอาคาร) เปน็ อาคาร 2 ชัน้ จดั นิทรรศการหมนุ เวียน ชั้นล่างจัด แสดงนทิ รรศการเร่อื งราวในเขตเทศบาลนครภเู กต็ ชนั้ 2 แบ่งเปน็ 8 โซน ไดแ้ ก่ ภเู กต็ นครา สถาปนานคร ตำนานนคร ย้ายนคร นครบนเหมือง นครร่งุ เรือง อวสานดบี ุก มิวเซียมรวี วิ เรอื่ งลบั ๆ37 เมื่อเข้ามาในบรเิ วณถนนพงั งา ถัดจากอาคารธนาคารชาร์เตอร์ดเดมิ เปน็ ท่ี ตงั้ ของโรงแรมเกา่ แก่ ชอ่ื วา่ โรงแรมออนออน ทางเจา้ ของโรงแรมไดป้ รบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์ ด้วยการทาสีภายนอก และตกแต่งบริเวณภายในเพิ่มเติมตามแบบวัฒนธรรมจีน ฮกเกี้ยน ส่วนบรเิ วณตรงกนั ข้ามกับโรงแรมออนออน ธนาคารกสกิ รไทย สาขาภูเกต็ ไดส้ ร้างอาคารสูงหลายชน้ั โดยใช้งบประมาณถงึ 56 ล้านบาท เปน็ การสร้างเลยี น แบบสถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตุกีส มีการทำลวดลายช่องแสงไว้บรเิ วณภายนอก อาคารตามแบบบา้ นของชาวจนี การตกแตง่ บรเิ วณภายในของแตล่ ะชนั้ แสดงอตั ลกั ษณ์ วัฒนธรรมจีนฮกเกี้ยนเป็นหลัก นอกจากนี้ในเวลากลางคืนทางธนาคารกสิกรไทย เปิดไฟเพ่ือให้เห็นความสวยงามของอาคาร ธนาคารกสิกรสาขาภูเก็ตแห่งน้ีเป็น ไอคอนนคิ แลนดม์ ารค์ สาขาเอกลกั ษณ์เชิงวฒั นธรรม ลำดับที่ 4 ของสาขาธนาคาร กสกิ รไทยทั่วประเทศไทย 37มิวเซยี มไทยแลนด์. (2563). มิวเซียมภเู กต็ . สืบคน้ เมอ่ื 14 มิถนุ ายน 2563, จาก https://www.museumthailand.com/th/museum/Museum-Phuket  81

ภาพความสวยงามของหอนาฬิกาบรเิ วณ หัวมุมถนนของอาคารสถานตี ำรวจเดมิ ถนนพังงา อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู ก็ต ภาพด้านขา้ งของอาคารธนาคารชาร์เตอรด์ เดิม ฝง่ั รมิ ถนนภเู กต็ อำเภอเมอื ง จงั หวัดภเู กต็ 82

ภาพปา้ ย เพอรานากันนิทศั น์ Museum Phuket ท่ตี ดิ อยูบ่ ริเวณอาคาร ถนนพังงา - ถนนภูเก็ต อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู ก็ต ภาพด้านขา้ งริมถนนภูเกต็ ของอาคารพพิ ิธภัณฑ์เพอรานากันนทิ ศั น์ (อาคารสถานีตำรวจเดิม) ถนนภเู กต็ อำเภอเมือง จงั หวัดภูเก็ต 83

ภาพโปสเตอรป์ ระชาสมั พันธ์การประกวดภาพถ่ายของอาคารพพิ ธิ ภัณฑ์เพอรานากันนิทศั น์ ถนนพงั งา - ถนนภเู ก็ต อำเภอเมอื ง จงั หวัดภูเก็ต ภาพธนาคารกสิกร สาขาภูเกต็ เปน็ ไอคอนนคิ แลนด์มารค์ สาขาเอกลกั ษณเ์ ชงิ วัฒนธรรม ลำดบั ท่ี 4 ของธนาคารกสกิ รไทยทุกสาขาทวั่ ประเทศไทย ถนนพังงา อำเภอเมือง จังหวัดภเู ก็ต 84

ภาพการทำลวดลายช่องแสงไว้บริเวณภายนอกเลียนแบบอาคารตามแบบบ้านของชาวจนี ธนาคารกสิกรไทย สาขาภูเกต็ ถนนพังงา อำเภอเมือง จงั หวัดภูเก็ต ภาพบรเิ วณชั้นลา่ งของอาคาร ธนาคารได้ทำประตู หน้าต่าง และช่องแสง เลยี นแบบบา้ นโบราณ ประดบั ตกแต่งอยา่ งสวยงาม เป็นแลนดม์ ารค์ ถา่ ยภาพเม่ือมาเยอื นย่านอนุรกั ษ์เมอื งเกา่ ธนาคารกสกิ รไทย สาขาภูเกต็ ถนนพงั งา อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเก็ต 85

ภาพภูมิทศั นย์ ามค่ำคืนของธนาคารกสิกรไทย สาขาภูเก็ต ถนนพังงา อำเภอเมอื ง จงั หวัดภูเก็ต ภาพภูมทิ ัศนย์ ามค่ำคืนของธนาคารกสิกรไทย สาขาภูเก็ต ถนนพงั งา อำเภอเมอื ง จงั หวัดภเู กต็ 86

4 บทสรุป ในชว่ งเวลา พ.ศ.2545–2559 นโยบายขยายตัวทางการทอ่ งเท่ียว ทำให้ เกดิ การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในเมอื งภเู ก็ต เกดิ การเคล่อื นย้ายของคนตา่ งถ่ินเขา้ มาทำงานในเมืองภูเก็ตเป็นจำนวนมากทั้งคนต่างจังหวัดและแรงงานต่างด้าว จำนวนประชากรที่เพิ่มมากข้ึนส่งผลกระทบให้วิถีชีวิตของชาวภูเก็ตเริ่มมีการเปลี่ยน แปลงจากวัฒนธรรมดัง้ เดมิ ขอ้ สงั เกตอยา่ งหนึง่ ในการลงพ้นื ทีเ่ กบ็ ขอ้ มลู ประชากร ท่ีเพม่ิ ข้ึน ทัง้ คนต่างเมอื งทเ่ี ข้ามาทำมาหากินในภูเกต็ และแรงงานต่างดา้ วทพี่ บเห็น ได้ท่ัวไป ส่งผลให้ปริมาณรถยนต์และรถมอเตอร์ไซค์เพ่ิมข้ึน ท้ังวิ่งเร็วและไม่เป็น ระเบียบ เปน็ ผลให้การจราจรในหลายบริเวณของจงั หวัดภเู กต็ ติดขัด แออัด และใช้ เวลานานกวา่ ทจี่ ะเคลอื่ นตวั ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั กรงุ เทพมหานคร ซงึ่ ทำใหเ้ สนห่ ข์ องจงั หวดั ภูเกต็ ลดน้อยลง ลกั ษณะการใช้สอยอาคาร อาคารยา่ นอนุรกั ษ์เมืองเก่า (Old Town) ในบรเิ วณเขตเทศบาลเมือง ภเู ก็ต มีอาคารและบ้านหลายหลังท่ีเปล่ยี นการใช้สอยอาคารจากทพ่ี กั อาศัยใหเ้ ปน็ แหลง่ ธรุ กิจหารายได้ โดยมุ่งหวงั สรา้ งกำไรจากนกั ท่องเท่ยี วเปน็ สำคัญ ส่วนใหญ่มี การเปล่ียนเจ้าของจากเจ้าของคนต่างถิ่นที่เข้ามาประกอบธุรกิจจึงขาดความผูกพัน กบั วฒั นธรรมด้งั เดมิ มกี ารดัดแปลงโดยเฉพาะอาคารห้องแถว (shophouse) กลาย เป็นธุรกิจทพ่ี ักทง้ั แบบเกสต์เฮา้ ส์ (Guesthouse) แบบโฮสเทล (Hostel) ธรุ กิจ กลุ่มร้านอาหารและเครื่องด่ืม โดยเฉพาะร้านกาแฟ (Café) ซึ่งทำให้ภาพรวม แตล่ ะย่านมคี วามคลา้ ยคลึงกัน ไม่มีลกั ษณะเด่นเฉพาะตน และมีบรรยากาศไม่ตา่ ง จากกรุงเทพมหานครหรือแหลง่ ท่องเที่ยวใหม่ในหลายๆ จังหวัด ดังนน้ั ความสำคัญ 87

ในประวัติความเป็นมาหรือที่มาของสถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกีสถูกลดบทบาทลง กลายเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วท่ตี อ้ งการเพียงมาเยอื นและถา่ ยรปู ลกั ษณะการเปลยี่ นแปลงทางภมู ทิ ศั น์ ในการปรับเปล่ียนภูมิทัศน์เจ้าของอาคารส่วนใหญ่ เลือกจะปรับปรุงด้วย การทาสเี นน้ สีสดและเขม้ ตามรสนยิ มของเจา้ ของร้าน โดยมีความม่งุ หวงั ทจี่ ะทำให้ อาคารของตนมคี วามโดดเดน่ สะดุดตา ดงึ ดดู ลกู คา้ หรือนกั ทอ่ งเทีย่ ว การคำนงึ ถึง ผลประโยชนท์ างธุรกจิ เปน็ สำคัญเช่นนี้ จึงทำให้ภาพรวมภูมทิ ศั น์ของอาคาร โดย เฉพาะบริเวณริมถนนท่ีเป็นอาคารต่อเน่ืองกันทอดยาวตลอดสองฝ่ังของถนน เช่น ถนนถลาง ถนนเยาวราช เป็นตน้ เกิดลักษณะแปลกแยกออกจากกลมุ่ ไมก่ ลมกลืน หรือให้สวยงามไปในทิศทางเดียวกัน จึงทำให้ขาดเสน่ห์ความเป็นอาคารเก่าที่มี คุณค่าในการอนุรักษ์ไป ประเทศท่ีมีแผนการอนุรักษ์อาคารเก่าท่ีดี จะให้ความ สำคัญกบั การอนรุ ักษอ์ าคารเก่าสองประการเป็นสำคญั คอื ประการแรก การไม่ให้ มีอาคารสูงมาบดบังภูมทิ ศั น์ของอาคารที่ได้รบั การอนุรกั ษ์ และประการที่สอง จะ มกี ารควบคุมการเปล่ียนแปลงลกั ษณะของอาคาร ทง้ั โครงสรา้ ง ลวดลาย และสี ใหม้ คี วามกลมกลนื กนั นอกจากนพ้ี บวา่ มหี ลายอาคารทส่ี รา้ งใหมเ่ ลยี นแบบโครงสรา้ ง เดิมโดยใชว้ ัสดุใหม่ เชน่ บานประตไู ม้แบบจนี แตม่ ีกลไกประตพู ับแบบปจั จุบัน พนื้ กระเบอ้ื งทล่ี อกลายแบบกระเบ้อื งโบราณ เป็นตน้ หรือการตงั้ ใจสร้างของใหม่ท่ี เลียนแบบสถาปัตยกรรมแบบเดิมท้ังหมด นับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางสร้าง สรรค์ คือมคี วามพยายามให้กลมกลนื กบั กลมุ่ อาคารอนุรักษ์ เชน่ การสร้างธนาคาร กสิกรไทย สาขาภูเก็ต หรือบางอาคารก็ทำการตกแต่งอาคารสถานที่ของตนให้ กลมกลนื เขา้ กบั ย่านอนุรักษ์เมืองเกา่ เชน่ การดดั แปลงเส่ียหนาขนาดใหญ่ (ภาชนะ คล้ายป่ินโตของชาวจีนฮกเกี้ยน) เป็นกระปุกออมสิน ตั้งไว้หน้าบริเวณอาคาร ที่ทำการของธนาคารออมสนิ สาขาภูเก็ต ซง่ึ ตั้งอยูใ่ กลส้ แี่ ยกถนนพงั งาตดั กับถนน ภูเก็ต ทม่ี ีอาคารธนาคารชารเ์ ตอร์ดเดมิ ตัง้ อยู่ 88