Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 1

สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 1

Description: สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 1.

Search

Read the Text Version

สมุนไพรใกลต ัว เลม ท1่ี ! บัว ! ลน่ั ทม ! สุพรรณิการ ! ยี่โถ ! โมกบา น ! คูณ ! แพงพวยฝรั่ง จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

คาํ นาํ \"สมุนไพรใกลตวั เลม ท่ี ๑ \" เปนเอกสารที่จัดทาํ ขึน้ โดยมีจุดมงุ หมายท่ีจะใชประชาชนไดร จู ัก สมุนไพรชนิดตาง ๆ สรรพคุณทางยา ซง่ึ เนน ถงึ เรอ่ื งสมนุ ไพรทเ่ี ปน ไมด อกและหาไดง า ย มปี ระโยชนต อ ประชาชน ในปจจุบัน สมนุ ไพรกําลงั อยใู นความสนใจและไดร บั การสนบั สนนุ จากวงการแพทย เภสัช และนักวิทยาศาสตร เพราะนอกจากจะชว ยประหยดั เงนิ งบประมาณ ในการสง่ั ซอ้ื ยาจากตา งประเทศ ซึ่ง ยาสวนหนึ่งไดจากการสกัดพืชสมุนไพรที่สั่งซื้อจากประเทศไทยเราแลว ยังชว ยใหเ ราตระหนกั ถงึ คุณ ประโยชนของพืชสมนุ ไพรในแงข องการเปน ทรพั ยากรทีม่ ีคุณคา ควรชว ยกันรักษาสงวนพนั ธุใหคงไว และนาํ มาใชใหเ กดิ ประโยชนใ นยามจาํ เปน ฉกุ เฉินไดอ ยา งถกู ตอ ง หวังวา \" สมนุ ไพรใกลต วั เลม ท่ี ๑ \" นค้ี งจะเปน เอกสารทม่ี ปี ระโยชนแ กผ อู า นทกุ ทา นในการท่ี จะใชพ ชื สมนุ ไพรชนดิ ตา ง ๆ ไดอ ยา งถกู ตอ ง ดารณี สุวรรณโพธิ์ศรี มนี าคม ๒๕๓๕

บัว ชอื่ วิทยาศาตร Nelumbo nucifera Gaertn. เปนไมน า้ํ ใบกลมมขี นาดใหญ ดอกที่พบทั่ว ๆ ไป มสี ชี มพอู มมว ง, ชมพ,ู มว ง, ขาว , เหลอื ง ทั้ง ใบและดอกจะมีกา นยาวชขู น้ึ พน ผวิ น้ํา ดอกบวั จะมกี ลบี ดอกซอ นกนั หลายชน้ั เมอ่ื ลอกเอากลบี ดอกตรง แถบกลางของดอกจะมีรูปรางคลายกรวยที่มองเห็นไดชัด ซง่ึ จะมเี มลด็ ฝง อยแู ละเจรญิ เตบิ โตเปน ผลเรยี ก วา \"ฝกบัว\" มรี ากหยง่ั ลงไปในดนิ ลกึ บงั เปน พชื เมอื งรอ นพบขน้ึ ไปตามหนอง บึง และคลอง ประโยชนทางยา ราก : ใชเปนอาหารที่มีคุณคา รสหวานและกลน่ิ หอม เดก็ รบั ประทานเพอ่ื ระงบั อาการ ทองรวง ธาตไุ มป กติ เกสร : ตากแหงแลวใชผสมเปนยาแกหอบ บาํ รงุ กาํ ลงั แกลม วงิ เวยี นศรษี ะ ขบั เสมหะภายใน ลาํ คอ เมลด็ : มีสีเขียว รสขม ใชเ ปน ยาขยายหลอดเลอื ดทไ่ี ปเลย้ี งกลา มเนอ้ื หวั ใจ การขยายพันธุ ใชเหงาหรือไหล

ลน่ั ทม ชื่อวิทยาศาสตร Plumeria acutifoli Poir. เปนไมยืนตนขนาดกลาง ตน เกลย้ี งเกลา แตกกง่ิ กา นสาขามาก กง่ิ อมุ น้าํ เปราะ เปลอื กเรยี บ เกลี้ยง สีเขียวอมเทา มนี า้ํ ยางสขี าว เปน ใบเดย่ี ว เรยี งกนั เปน แบบบนั ไดเวยี น และมกั จะตดิ อยตู าม ปลายก่ิง แผน ใบเปน รปู ปลายหอกหรอื รปู หอกกลบั ปลายใบแหลม โคนใบแคบ ดอกสขี าวนวลตรง กลางสีเหลืองออน ดา นนอกสชี มพเู รอ่ื ๆ กลน่ิ หอม ออกดอกเปน ชอ ขนาดใหญอ ยบู รเิ วณปลายกง่ิ เวลา ออกดอกจะทง้ิ ใบหมดปลายดอกแยกเปน กลบี ใหญ ๆ ๕ กลบี ซอ นกนั เปน วง ผลเปนฝกรูปยาวแคบหรือ รูปรี เมื่อแกจัดแตกเปน ๒ ซีก เมลด็ มปี ก มถี น่ิ กาํ เนดิ เดมิ อยใู นอเมรกิ าเขตรอ น ชอบอากาศชมุ ชน้ื มี แสงมาก ประโยชนทางยา ยางและแกน : เปนยาทาํ ใหระบาย ถายเสมหะและโลหิต ถายพิษทั้งปวง และแกโรคกามโรค การขยายพันธุ ใชเ มลด็ และกง่ิ ชาํ

สุพรรณิการ ชื่อวิทยาศาสตร Cochospermum gossypium De condole. เปนไมยืนตนขนาดเล็ก สงู ๓-๖เมตร กานและใบยาวเรียว ใบเปน แฉก ๓-๕ แฉก ทองใบมขี นอยุ ลําตนมีขน มถี น่ิ กาํ เนดิ ในประเทศแถบอนิ เดยี ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของเทอื กเขาหมิ าลยั และประเทศ พมา ผลัดใบในราวเดอื นกมุ ภาพนั ธถ งึ เดอื นเมษายน ในระยะนใ้ี บจะรว งหมด หลงั จากนจ้ี ะมดี อกออก มาจากปลายก่ิงเต็มตน ดอกมขี นาดใหญ เสน ผา ศนู ยก ลาง ๔-๕ นว้ิ สเี หลอื งทองเหมอื นแพรแลดงู าม มาก ดอกมี ๕ กลบี มเี กสรมากมาย เมอ่ื ดอกโรยหมดแลว ถงึ จะมใี บออ นแตกออกมา ผลจะมลี ักษณะ ปอมยาวประมาณ ๒-๒๓ นว้ิ ผลเมอ่ื แกม สี นี า้ํ ตาลแดง ประโยชนทางยา ดอกแหงและใบแหง : ใชเ ปนยาบาํ รงุ กาํ ลงั ใชเ ปน ยาระบายออ น ๆ ยางจากลาํ ตน : การขยายพันธุ ใชเ มลด็ เพาะขยายพนั ธุ

ยโ่ี ถ ชื่อทางวิทยาศาสตร Nerium indicum Mill. เปนไมพุมขนาดกลาง สูง ๒-๓ เมตร ลาํ ตน แตกเปน กลมุ คลา ยไมก อ ลาํ ตน เกลย้ี ง เปลือกสีเทา มีเน้ือยางสีขาวหรอื ครมี ใบมีลกั ษณะยาวเรียว และออกเปน วงรอบลาํ ตน รอบขอ ๆ ละ ๓-๔ ใบ เนอ้ื ใบ หนาและแข็ง สเี ขยี วเขม ไมม ขี น ดอกออกเปน ชอ ทป่ี ลายกง่ิ มรี ปู เหมอื นกรวย มหี ลายสี เชน ขาว ชมพู แก เหลืองออ น แดง สําหรบั ดอกซอ น ชนดิ ดอกลามสี ขี าว ชมพอู อ น ชมพูแก เหลอื งออ น แดง และแดง แก ดอกมขี นาดใหญ มกี ลน่ิ หอม กลีบดอกแยกเปน ๕ กลบี เวลาดอกยงั ตมู อยเู หลา นจ้ี ะบดิ เปน เกลยี ว ผลเปนฝกรูปเรียวยาว ตรงและแขง เมอ่ื แกจ ะแตกออก ภายในฝก จะเมลด็ ซง่ึ มขี น ทาํ ใหล อยไปตามลม ได ประโยชนทางยา ใบ : ตมกินเพ่ือลดอาการบวม แกไ ขม าลาเรยี เปน ยาไลแ มลง ดอก : มีรสขม ใชแกอักเสบ ปวดศรีษะ ผล : ใชน อ ย ๆ ขบั ปส สาวะ บาํ รงุ หวั ใจ เมลด็ : ใชเ บอ่ื หนู เปลือกและใบ : ตาํ ผสมกบั นา้ํ มนั ใชทาแกแผลพุพอง น้ํามนั จากเปลอื กและราก : ใชทาแกโรคผิวหนัง แกโรคเรื้อน ทาแกกลาก เกลอ้ื น ราก : ใชแกหืด เปน ยาขม ระงบั ปวดในทอ ง และในขอ ตอ ทําใหแทง การขยายพันธุ ใชเ มลด็ และการปกชาํ โดยใชกิ่ง

โมกบาน ชื่อทางวิทยาศาสตร Wrightia religiosa Benth. เปนไมพมุ สูง ๑-๓ เมตร ลาํ ตน เปลอื กเกลย้ี ง มสี นี า้ํ ตาลเกอื บดาํ มจี กุ เลก็ ๆ สีขาวทั่วไป ภาย ในลําตนมนี าํ้ ยางสขี าว มใี บเดย่ี วตดิ เปน คตู รงขา มกนั แผน ใบรปู รี รปู ไข หรือรูปหอก กวาง ๐.๘-๒.๕ ซม. ปลายใบแหลมหรอื มน โคนใบสอบหรอื มน ขอบใบเรยี บ เนอ้ื ใบบาง กา นใบยาว ๑-๒ มม. ดอกสี ขาว มีกล่ินหอม ลักษณะดอกหอยหัวลง ออกเปน ชอ สน้ั ๆ ตามปลายกง่ิ ชอ ละ ๔-๘ ดอก กา นดอกเลก็ ยาวประมาณ ๒.๕ ถึง ๓.๕ ซม. กลบี ดอกสขี าว ปลายแยกเปน ๕ กลบี มรี ปู ไข ชอบขน้ึ ปา ดงดบิ และปา ละเมาะที่ชุมชื้น ประโยชนทางยา ราก : ใชผสมเปนยารักษาโรคผิวหนังจาํ พวกโรคเรื้อน การขยายพันธุ ใชเ มลด็ ขยายพนั ธุ

คณู ชื่อวิทยาศาสตร Cassis fistula Linn. เปนไมพุมพน้ื เมอื งของเอเชยี เขตรอ น มใี บเปน ชอ ซง่ึ ในชอ หนง่ึ ๆ จะมใี บยอ ย ๘-๑๖ ใบดอก เปนพวงสีเหลอื ง ขณะออกดอกจะทิ้งซึ่งทาํ ใหแ ลดสู วยงามมาก จะเหน็ เปน สเี หลอื งทง้ั ตน ผลเปน ฝก เรียบ ไมมีขน มขี นาดยาวประมาณ ๑ ศอก เมอ่ื ยงั ออ นมสี เี ขยี ว เมอ่ื แกเ ตม็ ทจ่ี ะเปลย่ี นเปน สนี ้าํ ตาลเขม ภายในฝกจะแบงเปนชอง ๆ เชน เดยี วกบั มะขาม ในแตล ะชอ งจะมี ๑ เมลด็ เนอ้ื ในฝก มสี นี า้ํ ตาลแกมดาํ เปยก ประโยชนทางยา ฝก : ใชเ ปน ยาระบายสาํ หรับผูที่ทองผูกเปนประจาํ และในหญงิ มคี รรภ ใชฝกคูณเปนยา ระบายไดดี โดยใชเ นอ้ื ฝก ๑ ฝก ตม กบั เกลอื ใสน า้ํ เลก็ นอ ย รบั ประทานกอ นนอนตอนกลางคนื หรอื ตอน เชากอ นรบั ประทานอาหารกไ็ ด การขยายพันธุ ใชเมลด็ ในการเพาะขยายพนั ธุ

แพงพวยฝรง่ั แพงพวยฝรั่ง (แพงพวยบก,ผักปอดบก,นมอนิ ) ชื่อวิทยาศาสตร Catharnthus roseus G. Don เปนไมลมลกุ ลาํ ตน สเี ขยี วออ น ภายในมนี า้ํ ยางใบเดย่ี ว ออกเปน คตู รงกนั ขา ม แผน ใบรปู ไขก ลบั ปลายใบมนหรือเวา เปน แอง ตน้ื ๆ ใบสเี ขยี วเขม เปน มนั ดอกทโ่ี คนกา นใบ กลน่ิ เหมน็ เขยี ว ดอกม๕ี กลีบ มีหลายสี เชน สมี ว ง มว งเขม ขาว มว งสลบั ขาว ผลเปน ฝก คู เมื่อแกจัดแตกเปน ๒ ซีก ภายในมี เมล็ดจํานวนมากเปน พชื ทท่ี นตอ การเปลย่ี นดนิ ฟา อากาศ และความแหงแลง ประโยชนทางยา แกเบาหวาน ลดความดนั ขบั ระดู ทง้ั ตน : แกเบาหวาน บาํ รงุ หัวใจใชเ ปนยาถา ยสาํ หรบั คนทอ งผกู เรอ้ื รงั ชวยยอย แกโรค ใบ : มะเร็งในเมลด็ เลอื ดของเดก็ (ลูคีเมยี ) รกั ษาโรคมะเรง็ แกบ ดิ ขบั ระดู และทาํ ใหแทงได ขบั พยาธิ ใชห า มเลอื ด ราก : ใชพอกผิวหนังที่พุพอง ปวดแสบปวดรอ น เปน ยาถอนพษิ รอ น ดอกและใบ : การขยายพันธุ ใชเ มลด็ เพาะเพอ่ื การขยายพนั ธุ