Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเห็ดหอมจากขี้เลื่อย

การเพาะเห็ดหอมจากขี้เลื่อย

Description: การเพาะเห็ดหอมจากขี้เลื่อย.

Search

Read the Text Version

ทม่ี า : แผน ปลวิ เผยแพร ท่ี 151 กองเกษตรสมั พนั ธ กรมสงเสริมการเกษตร ก า ร เ พ า ะ เ ห็ ด ห อ ม จ า ก ข้ี เ ล่ื อ ย เรยี บเรยี ง : พมิ พก านต อรามพงษพันธุ กองโรคพืชและจุลชีววทิ ยา กรมวิชาการเกษตร จดั ทาํ เอกสารเผยแพรอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร • วัสดอุ ปุ กรณ ความนาํ • วิธีการเพาะ การเพาะเห็ดหอมในถุงพลาสติก ใน • การบมเสนใย • ปจจัยที่สาํ คญั และการดูแลรักษา สภาพธรรมชาตไิ ดป ระสบความสําเรจ็ มา ตง้ั • การเก็บผลผลติ และการทําแหง ทถ่ี กู วธิ ี แต พ.ศ. 2521 ปจจุบนั ในการเพาะเห็ดหอม ดวยวิธีเพาะเลียนแบบธรรมชาติโดยไมตองใช ไมกอ (ไมที่ควรสงวนและรักษา) โดยใชหลัก การที่วา เหด็ หอมสามารถยอ ยเซลลโู ลส และ ลิกนนิ ได ขเ้ี ลอ่ื ยจงึ เปน วสั ดเุ พาะทใ่ี กลเ คยี ง ที่สุด และชวยแกไขปญหาการนาํ ไมก อ มาใช เพาะเหด็ หอมไดอ กี ทางหนง่ึ วสั ดอุ ปุ กรณ ขเ้ี ลื่อยเพาะเห็ดหอม ไมกอเพาะเห็ดหอม 1. วัสดุเพาะทไ่ี ดผ ลดี คอื ขเ้ี ลอ่ื ยไมม ะขาม รองมาคอื ขเ้ี ลอ่ื ย ไมยางพารา ขเ้ี ลอ่ื ยไมก ระถนิ ณรงค หรือขเี้ ล่ือยไมเ บญจพรรณหมกั และวสั ดเุ สรมิ ซง่ึ มสี ว นผสมดงั น้ี ขเ้ี ลอ่ื ย 100 กก. ราํ ขา ว 5 กก. นา้ํ ตาลทราย 2 กก. ดเี กลอื 0.2 กก. ยิบซมั่ 0.5 กก. ผสมน้ําใหม ี ความชน้ื 55-65% 2. ถุงพลาสตกิ ทนรอ น และอปุ กรณก ารเพาะเหด็ ในถงุ พลาสตกิ 3. หมอน่ึงความดนั หรอื ถงั นง่ึ ไมอ ดั ความดนั พรอ มอปุ กรณ การใหความรอ นในการนง่ึ ฆา เชอ้ื 4. โรงเรอื น หรอื สถานทบ่ี ม เสน ใยและใหผ ลผลติ

วิธีการเพาะ 1. ผสมวสั ดุเพาะและวัสดเุ สริมท้ังหมดใหเ ขากันอยาใหแ หงหรอื แฉะ ใหวัสดุพอจับตัวกันได เมอ่ื บีบดูตองไมมหี ยดนาํ้ เมอ่ื คลายมอื ออกสว นผสมตอ งไมแ ตกรอ นออกอยา งรวดเรว็ 2. บรรจุสวนผสมลงในถงุ พลาสตกิ ทนรอ น อดั แนน พอประมาณ ถงุ ละ 1/2 กก.- 1 กก. ใสค อ ขวดปดจุกสาํ ลี และปด ทบั ดว ยกระดาษหรอื ฝาครอบกนั ไอนา้ํ 3. แลว นาํ ไปนง่ึ ฆา เชอ้ื ดว ยหมอ นง่ึ ความดนั เปน เวลา 40 นาที ถงึ 1 ชั่วโมง ดว ยความดนั 15- 20 ปอนดตอตารางนว้ิ (หรอื ใชถ งั นง่ึ ไมอ ดั ความดนั กไ็ ดผ ลดพี อควร โดยเรม่ิ จบั เวลาตง้ั แตไ อน้าํ เดอื ด พุงตรงสม่ําเสมอเปน เวลา2-4 ชั่วโมง ตอ งรกั ษาระดบั ไอนา้ํ ไวต ลอดเวลาดว ยการปรบั ความรอ นใหม ี อุณหภูมิภายในถงั นง่ึ 85-100 องศาเซลเซยี สตลอดเวลา) แลวทิ้งใหเย็น 4. แกะกระดาษหรอื ฝาครอบออก เปดจุกสาํ ลแี ลว ใสเ ชอ้ื เหด็ (นยิ มใชห วั เชอ้ื เหด็ จากเมลด็ ขา ว ฟาง) ควรทาํ ในบรเิ วณทส่ี ะอาด ปอ งกนั การปนเปอ นของเชอ้ื โรค แลวนาํ ไปบม เสน ใย การบม เสน ใย ระยะเวลาทบ่ี ม เสน ใย 3-4 เดอื น ขน้ึ กบั นา้ํ หนักอาหารที่ใช หรอื มกี ารสรา งตมุ ดอกประมาณ 2/3 ของกอ นเชอ้ื ปจ จยั ทส่ี ําคญั และการดแู ลรกั ษา 1. อุณหภูมิ การบมเสนใยเห็ดหอมที่ดีที่สุดคือที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส การทําหอ งหรอื โรงเรอื นทต่ี ง้ั อยใู ตร ม เงาไมส าํ หรบั บม เสน ใยอยา งงา ย เชน ทําจากหญาคา, จากฟาง, ไมไผ ฯลฯ ก็ได และมีการให น้ําภายนอกโรงเรือน หรอื บรเิ วณพน้ื โรงเรอื นเปน ครง้ั คราวเมอ่ื อณุ หภมู สิ งู กวา 25 องศาเซลเซยี ส 2. ความชน้ื ระยะบมเสน ใย ตอ งการความชน้ื ในบรรยากาศในระดบั ปกติ คอื ประมาณ 50% ไมต อ งใหน า้ํ ที่ถุงเห็ด ถา มคี วามจาํ เปน ตอ งใหน า้ํ โรงเรอื นตอ งระวงั มใิ หน า้ํ ถูกสาํ ลีที่จุกปากถุง เพราะจะ เปนทางทาํ ใหเกิดเชื้อโรคไปทาํ ลายเชอ้ื เหด็ ได ความชื้นสัมพัทธท่ีเหมาะสมตอการสรางดอกเห็ดและการ เจริญของดอกเห็ด อยูระหวาง 80-90% และ 60-70% ตาม ลําดบั การผา นลมเย็นในขณะดอกเห็ดเจรญิ จะทาํ ใหหมวกเห็ดแตก คลา ยกบั ดอกเหด็ หอมทน่ี ําเขา จาก ตางประเทศ 3. อากาศ การถายเทอากาศที่ดีจาํ เปน ตอ การเจรญิ ของดอกเหด็ และทาํ ใหม กี ารสะสมเชอ้ื โรคนอ ยลงถา มี การสะสมกา ซคารบ อนไดออกไซดม ากจะทาํ ใหเ หด็ มกี า นยาว บางครง้ั หมวดเหด็ อาจจะไมเ จรญิ หรอื มี ลักษณะผดิ ปกตอิ น่ื ๆ

4. แสง ชวยกระตนุ ใหเ สน ใยเกดิ ตมุ เหด็ สรา งแผน สนี า้ํ ตาล และเจรญิ เปน ดอกเหด็ ไดเ รว็ กวา ทม่ี อื และ ยังชวยใหหมวดเห็ดมีสีเขมไมจางซีด 5. การแชนํา้ เยน็ หลังจากบม เสน ใยสมบรู ณแ ลว ใหแ ชก อ นเชอ้ื ในนา้ํ เย็น 2 ชั่วโมง หรอื คา งคนื กไ็ ด เพอื่ กระตนุ ใหเ กดิ ดอก การใหผ ลผลติ โดยเปดปากถงุ ใหอ อกดอกทางดา นบนหรอื เปลอื ยกอ นเชอ้ื โดยแกะถงุ พลาสตกิ ออกทง้ั หมดให กอนเช้ือสัมผสั อากาศเปน การกระตนุ ใหเ กดิ ดอกเหด็ ถา ตอ งการเหด็ ดอกใหญกเ็ ปด ใหม กี ารเกดิ ดอกเปน บางสว น การเปลอื ยกอ นเชอ้ื จะ ไดดอกเห็ดจาํ นวนมากแตด อกจะเลก็ และอาจจะมกี ารปนเปอ นจาก เชื้อโรคหรือถูกกระทบจากสภาพแวดลอมไดงาย ผลผลติ ดอกเหด็ สดจะได 50-400 กรมั ตอ กอ นเชอ้ื 1/2 - 1 กก. ขน้ึ กบั ความใสใ จ และเทคนคิ วธิ ีการของผูเ พาะเหด็ การเกบ็ ผลผลติ และการทําแหงที่ถูกวิธี ในการเก็บผลผลติ นน้ั ควรเกบ็ ดอกเหด็ ขณะท่ีหมวกเหด็ ยงั ไมบานเต็มที่ หรอื ขอบหมวกยงั งมุ อยู ซ่ึงเปน ลกั ษณะทต่ี ลาดตอ งการ และอยา ไดส ว นของดอกเหด็ เหลอื ติดอยทู ี่กอนเชอื้ จะทาํ ใหเ นา เสยี และเกดิ โรค ในขณะทเ่ี กบ็ ผลผลติ ถา มีการใหน ้ําที่ดอกเห็ดมากเกินไปจะทําใหด อกเหด็ เนา เสยี งา ย ถา ไมม ี การใหน า้ํ ดอกเหด็ เมอ่ื เกบ็ ดอกเหด็ แลว ใสถ งุ พลาสตกิ ไวจ ะสามารถ เก็บไวใ นตเู ย็นไดน าน 3-4 สัปดาห การทําแหง เหด็ หอม ทําได 2 วิธี 1. การตากแหง โดยตากแดด จนกวาดอกเห็ดจะแหงสนิท ควรหลกี เลย่ี งตากแดดจดั มากเกนิ ไป เพราะจะทาํ ให ดอกเห็ดไหมเกรียมและควรควาํ่ ดอกเหด็ ใหค รบี อยดู า นใตเ พอ่ื ปอ งกนั ครบี สคี ลา้ํ การตากแดดเปน วธิ ลี ด ความช้ืนในดอกเหด็ ในเวลาอนั รวดเรว็ ทําใหด อกเหด็ ยบุ ตวั มากเมอ่ื ดอกเหด็ แหง สนทิ ดแี ลว เกบ็ ใน ภาชนะท่ีกันความชน้ื มฉิ ะนน้ั อาจจะมเี ชอ้ื ราเกดิ ขน้ึ ได 2. การอบแหง ใชลมรอ นคอ ยๆ ลดความชน้ื ภายในดอกเหด็ ซึ่งจะไดเห็ดที่มีคุณภาพที่ดีกวาเห็ดที่ตากแดด การอบใชอ ณุ หภูมิ เรม่ิ แรกประมาณ 30 องศาเซลเซยี ส จากนน้ั เพม่ิ อณุ หภมู ขิ น้ึ ทลี ะ 1-2 องศา ทุก 1 ชั่วโมง จนถงึ 50 องศาแลว เพม่ิ ใหเ ปน 60 องศาและรกั ษาอณุ หภมู ริ ะดบั นไ้ี วป ระมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อ เพ่ิมรสชาติ กลน่ิ และทาํ ใหด อกเหด็ หอมมลี กั ษณะเปน เงาสวยงาม จดั ทําเอกสารอิเลก็ ทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร