Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธงไตรรงค์ ธำรงค์ไทย

ธงไตรรงค์ ธำรงค์ไทย

Description: หนังสือคู่มือ "ธงไตรรงค์ ธำรงไทย" นี้จัดทำและจัดพิมพ์โดยสำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี

Search

Read the Text Version

ธงไตรรงค์ ธำ� รงไทย...สญั ลกั ษณ์แหง่ การรวมใจ แคลวะาคมวราักมสามัคคี ธงชาตไิ ทย...สญั ลกั ษณส์ งู สุดของชาติ ส่งิ เตือนใจใหอ้ นชุ นได้รำ� ลึกถึงการเสยี สละเลือดเนื้อของบรรพบุรุษ เพ่ือรักษาไว้ซงึ่ แผน่ ดนิ และร้อยดวงใจคนทง้ั ชาตใิ หเ้ ปน็ หน่งึ หลอ่ หลอมความรกั ความสามคั คี สร้างเสริมความภมู ิใจในความเป็นชาติ กอ่ เกิดเปน็ พลงั ยิ่งใหญ่ในการพัฒนาชาตไิ ทยใหว้ ัฒนาสถาพร

สารบญั หน้า เรอ่ื ง ๓ ๔ เครือ่ งหมายแห่งไตรรงค ์ ๕ ธงไทยในเวลาโลก ๖ ธงแดงแหง่ กรุงศรีอยธุ ยา ๗ ธงไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ๘ รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ๙ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อย่หู วั พระมหาเจษฎาราชเจา้ ๑๐ ๑๑ รชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฎวิทยมหาราช ๑๓ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ๑๔ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยูห่ ัว ๑๕ ฉลองพระองค์ “พระมหาพิชัยยุทธ” ๑๘ ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เร่ือง รูปธงชาติตามพระราชบัญญัติธง พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑๙ พระราชบัญญัติและกฎหมายที่เก่ียวข้องกับพัฒนาการธงชาติไทย ๒๐ การใช้ธงชาติ ๒๑ การใช้ธงชาติกับผู้เสียชีวิต ๒๓ การชักธงชาติ ๒๔ การชกั ธงชาตใิ นวันพระราชทานธงชาตไิ ทย ๒๕ การประดบั ธงชาต ิ ๒๖ การประดบั ธงชาตริ ่วมกบั พระพุทธรปู ๒๗ การประดับธงชาติคู่หรือร่วมกับธงของต่างประเทศ ๒๘ วันพิธีส�ำคัญที่ต้องชักธงและประดับธงชาติ ๓๐ การท�ำความเคารพธงชาติ การดูแลรักษาธงชาติ ๓๑ การพับธงชาติ ๓๒ การท�ำลายธงชาตเิ ก่าทช่ี �ำรดุ เสอื่ มสภาพ การแสดงธงชาตทิ ส่ี นิ คา้ การกระท�ำอันเป็นการเหยียดหยามหรือไม่สมควรต่อธงชาติ

เครื่องหมายแห่งไตรรงค์ ๏ ขอร�่ำร�ำพรรณบรรยาย ความคิดเคร่ืองหมาย แห่งสีท้ังสามงามถนัด. ๏ ขาว คือบริสุทธ์ิศรีสวัสด์ิ หมายพระไตรรัตน ์ เเละธรรมะคุ้มจิตไทย. ๏ แดง คือโลหิตเราไซร้ ซึ่งยอมสละได้ เพ่ือรักษะชาติศาสนา. ๏ น้�ำเงิน คือสีโสภา อันจอมประชา ธโปรดเปนของส่วนองค์. ๏ จัดร้ิวเข้าเปนไตรรงค์ จ่ึงเปนสีธง ที่รักแห่งเราเชาไทย. ๏ ทหารอวตารน�ำไป ยงยุทธ์วิชัย วิชิตก็ชูเกียรติสยามฯ วรรณะสมิต พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (จากหนังสือดุสิตสมิตฉบับพิเศษ พ.ศ. ๒๔๖๑ สะกดตามต้นฉบับ) 5

ธงไทยในเวลาโลก พัฒนาการของธงชาติสยาม/ธงชาติไทย อยู่ควบคู่กับพัฒนาการของชาติอันรวมถึง ปฏสิ มั พนั ธก์ บั นานาประเทศทง้ั ทเ่ี ราเลอื กจะมคี วามสมั พนั ธใ์ นเชงิ การทตู การคา้ จนถงึ ความ สัมพันธท์ ส่ี ยามไม่สามารถจะเลอื กให้เป็นไปตามความปรารถนาได้ อยา่ งไรกต็ าม ดว้ ยพระปรชี าและพระอตุ สาหะของสมเดจ็ พระบรุ พมหากษตั รยิ าธริ าชเจา้ ทำ� ใหป้ ระเทศไทยสามารถประคองรฐั นาวาใหฝ้ า่ คลนื่ ลมอนั เชย่ี วกรากมาไดอ้ ยา่ งสงา่ งามและ กอ่ เกดิ ผลลัพธ์ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ ประเทศมาถงึ ทุกวนั น้ี เรื่องราวในหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะเป็นการให้ความรู้ถึงที่มาของพัฒนาการธงชาติ สยาม/ธงชาติไทยแล้ว ก็ยังมีจุดมุ่งหมายจะชี้ให้เห็นถึงพระวิริยภาพ พระวิสัยทัศน์และ พระสติปัญญาของพระมหากษัตริย์ไทยในพระบรมราชจักรีวงศ์ที่ได้ทรงรักษาชาติบ้านเมือง ไวใ้ ห้กับพวกเราทกุ คน 6

ธงแดงแห่งกรงุ ศรีอยุธยา เดิมน้ันเรายังไม่มีธงประจ�ำชาติหากใช้ธงพื้นสีแดงเป็นธงในเรือสินค้า เรื่องธงแดง ของสยามปรากฏในบันทึกของชาวต่างชาติว่าในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อเรือของฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากน�้ำเจ้าพระยา ต้องการยิงสลุตตามธรรมเนียมของชาติตะวันตก จึงขอให้สยามชักธงชาติข้ึน แต่เน่ืองจากเรา ไม่มีธงชาติเป็นของตนเองจึงหยิบธงชาติฮอลันดามาใช้แทน ฝรั่งเศสแจ้งว่าไม่สามารถยิงสลุต ให้ได้เพราะไม่ใช่ธงชาติสยาม จึงได้ลดธงชาติฮอลันดาลงแล้วใช้ผ้าแดงชักขึ้นเสาแทน ดังน้ันธงพ้ืนแดงจึงปรากฏในหลักฐานตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ในระยะเวลาดังกล่าว กรุงศรีอยุธยาและฝร่ังเศส มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างดียิ่ง โดยทางกรุงศรีอยุธยาได้ส่งคณะทูตไปเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ท่ี ๑๔ ถึงพระราชวังแวร์ซายส ์ หลังจากน้ันพระเจ้าหลุยส์ท่ี ๑๔ ก็แต่งคณะทูตมาเข้าเฝ้าสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แตห่ ลงั จากสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชสวรรคต พระมหากษตั รยิ ์ พระองคต์ อ่ มาคอื พระเพทราชา ได้ด�ำเนินนโยบายปิดประเทศ ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสจึงเหลือเพียงการค้าขายเท่านั้น 7

ธงไทยในสมัยรตั นโกสินทร์ รชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ธงเรือหลวง (รัชกาลที่ ๑) พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ให้ใช้ “รูปจักรสีขาว” อันเป็นเคร่ืองหมายแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ไว้กลางธงผ้าผืนแดง ส�ำหรับชักในเรือก�ำปั่นหลวง ส่วนเรือราษฎรยังคงใช้ธงแดง “…ครนั้ ถงึ ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ทรงพระราชดำ� รวิ า่ เรอื หลวงกบั เรือราษฎร ควรมีเคร่ืองหมายสำ� คัญใหเ้ ห็นตา่ งกัน จึงมพี ระบรมราชโองการด�ำรัส เหนือเกล้าฯ ส่ังให้บรรดาเรือหลวงทั้งปวง ท�ำรูปจักรอันเปนนามสัญญา พระบรมราชวงษ ์ แหง่ พระองคล์ งไวใ้ นกลางธงพน้ื แดงนน้ั เปนเครอ่ื งหมายใชใ้ นเรอื หลวง...” (พระราชบญั ญตั ธิ ง รศ.๑๑๖ และ ๑๑๘) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ข้ึน เม่ือพุทธศักราช ๒๓๒๕ ในช่วงสมัยใกล้เคียงกัน ก็มีประเทศขนาดใหญ่เกิดข้ึนใหม่อีกหน่ึง ประเทศ นน่ั คอื ประเทศสหรฐั อเมรกิ าซง่ึ ประกอบดว้ ยอาณานคิ มของสหราชอาณาจกั ร ๑๓ แหง่ ในทวปี อเมรกิ าเหนอื ไดอ้ อก “คำ� ประกาศเอกราช” (Declaration of Independence) จาก องั กฤษเมอ่ื วนั ท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๓๑๙ แตเ่ กดิ สงครามกลางเมอื งระหวา่ งรฐั ทางเหนอื กบั รฐั ทางใต้ ตลอดมาจนสงบลงในปี ๒๓๒๖ 8

รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั ธงเรอื หลวง (รัชกาลที่ ๒) ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่อมให้ตรารูปช้างเผือกไว้กลางวงจักรสีขาวส�ำหรับใช้ชักในเรือหลวง ด้วยในรัชสมัยนี้ ปรากฏมีช้างเผือกมาสู่บุญญาบารมีถึง ๓ ช้าง คือ พระยาเศวตกุญชร พระยาเศวตไอยราและ พระยาเศวตคชลักษณ์ “…ต่อมาถึงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ครั้งนั้นมีสารเสวตร อันอุดมด้วยลักษณมาสู่พระราชสมภารถึงสามช้างเปนการพิเศษไม่มีได้ในประเทศอื่นเสมอ เหมอื น ควรจะอศั จรรย์ อาไศรยคณุ พเิ ศษอนั นนั้ จงึ มพี ระบรมราชโองการดำ� รสั เหนอื เกลา้ ฯ ใหท้ ำ� รปู ชา้ งเผอื กลงไว้กลางวงจกั รในธงเรือหลวงน้นั ด้วย...” พุทธศกั ราช ๒๓๖๔ ลอร์ดเเอสติง้ ส์ อุปราชประจ�ำอนิ เดยี สง่ จอห์น ครอว์เฟิรด์ เดินทาง มายังสยามเพือ่ เจรจาการคา้ แตไ่ ม่ประสบความส�ำเร็จตอ้ งเดินทางกลับไป

รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจา้ แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า ยังคงใช้ธงแบบ เดียวกับในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ปรากฏว่ามีความเจริญรุ่งเรืองในทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก รวมท้ังชาติ ตะวันตกต่างก็ติดต่อเข้ามา อาทิ ชาวโปรตุเกสเข้ามาต้ังสถานกงสุลในกรุงรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสถานกงสุลของชาติตะวันตกแห่งแรก เฮนรี เบอร์นี พ่อค้าและทูตชาวอังกฤษ สังกัดบริษัทอินเดียตะวันออก เดินทางมาสยามเพ่ือเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อพุทธศักราช ๒๓๖๘ และท�ำสนธิสัญญาทางการ พาณิชย์ เรียกสนธิสัญญาฉบับนั้นว่า “สนธิสัญญาเบอร์นี” จากเหตุการณ์บ้านเมืองของสยามที่มีชาวต่างชาติเข้ามา กอปรกับเพื่อนบ้าน ท่ีตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษและฝร่ังเศส ท�ำให้พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชกระแสรับส่ังฝากบ้านฝากเมืองไว้กับเจ้านายและขุนนางเม่ือใกล้จะเสด็จ สวรรคตว่า “...การศึกสงครามข้างญวณข้างพม่าก็เห็นจะไม่มีแล้ว จะมีอยู่ก็แต่ข้างพวกฝร่ัง ให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียท่าแก่เขาได้ การงานสิ่งใดของเขาที่คิดควรจะเรียนเอาไว้ก็ให้เอาอย่าง เขาแตอ่ ยา่ ใหน้ บั ถอื เลอ่ื มใสไปทเี ดยี ว....” รวมทง้ั ยงั พระราชทานเงนิ ถงุ แดง ทท่ี รงเกบ็ สะสมไว้ ใหเ้ ป็นเงินสำ� หรบั “ไถ่บา้ นไถเ่ มือง” อกี ด้วย

รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระสยามเทวมหามกฎุ วทิ ยมหาราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฎวิทยมหาราช ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าโปรดกระหม่อมให้เรือของราษฎรสยามใช้ธงเหมือนอย่างเรือหลวงแต่ให้เอารูปจักรออกเหลือเพียงแต่ ช้างเผอื กบนพืน้ แดง “...ให้ใชท้ ่ัวไปทง้ั เรือหลวงแลเรือราษฎร บรรดาทเี่ จา้ ของเรือ เปนข้าขอบขัณฑสมี า มิให้เปนการสับสนกับเรือของชาวตา่ งประเทศ...” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฎวิทยมหาราช สมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถวกิ ตอเรยี ทรงสง่ เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ งิ เปน็ ราชทตู ตา่ งพระองคเ์ ขา้ มายงั สยามเพอ่ื เจรจาทำ� สนธสิ ญั ญาจนทส่ี ดุ แลว้ เสรจ็ เปน็ “หนงั สอื สญั ญาทางพระราชไมตรปี ระเทศองั กฤษแลประเทศสยาม” (Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam) หรือที่รู้จักกันดีในนาม “สนธิสัญญาเบาว์ริง” ซ่ึงมีผลต่อการปรับเปล่ียนสภาพเศรษฐกิจของสยามไป เปน็ อนั มาก อาทิ การเปดิ คา้ ขายขา้ วอยา่ งเสรี สง่ ผลใหม้ กี ารทำ� นาเพมิ่ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ ชาวตา่ งชาตเิ ขา้ มา ท�ำการค้าได้อย่างเสรีไม่ต้องค้าขายเฉพาะกับราชส�ำนัก รวมท้ังยังได้สิทธิสภาพนอกอาณาเขต (Extraterritorial Rights) คือสิทธิพิเศษทางกฎหมายที่ประเทศหนึ่งสามารถบังคับใช้กฎหมายของ ประเทศตนต่อบุคคลในดินแดนของประเทศอ่ืนได้ ท�ำให้คนในบังคับของอังกฤษที่มีคดีในสยามสามารถ ข้ึนศาลของอังกฤษได้

รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๓๔ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยแบบอย่างธงสยามรัตนโกสินทรศก ๑๑๐ (พ.ศ. ๒๔๓๔) ขึ้นเป็นพระราชบัญญัติธงฉบับแรกของประเทศไทย ขอ้ ท่ี ๑๓ ธงชาติสยาม เปนรปู ชา้ งเผอื กเปลา่ พน้ื แดง ใชใ้ นเรอื กำ� ปน่ั และเรอื ทงั้ หลายของพอ่ คา้ เรอื กำ� ปน่ั และเรอื ตา่ งๆ ของ ไปรเวตทั่วไปในชาวสยาม ในชว่ งเวลาน้ี การแผ่ขยายตวั ของลทั ธจิ กั รวรรดินยิ มจากชาติตะวันตกเร่มิ เขม้ ขน้ มากข้นึ ประเทศ เพื่อนบ้านต่างสูญเสียเอกราชตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษและฝรั่งเศส ราชวงศ์ท่ีเคยย่ิงใหญ่อย่างราชวงศ์ คองบองหรือราชวงศ์อลองพญาของพมา่ กถ็ ึงกับปลาสนาการไปจากแผน่ ดนิ ฝรัง่ เศสเองมคี วามมุ่งหมาย ตอ่ ผลประโยชนข์ องสยามจนท่สี ดุ น�ำมาสู่ “วกิ ฤติ ร.ศ. ๑๑๒” ฝร่งั เศสส่งเรอื รบเข้ามาในแมน่ �้ำเจ้าพระยา และเรียกร้องให้สยามต้องปฏิบัติตามความต้องการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงคือการยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้�ำโขง ใหฝ้ รงั่ เศสและจา่ ยเงนิ ชดเชยใหฝ้ รง่ั เศสจากการสรู้ บระหวา่ งฝรงั่ เศสกบั สยามทป่ี ากแมน่ ำ้� เจา้ พระยาจ�ำนวน ถึง ๓ ล้านฟรังก์ ซ่ึงรัฐบาลไทยต้องยอม “เสียส่วนน้อยเพื่อรักษาส่วนใหญ่” ปกป้องเอกราชของประเทศ โดยยอมสละสิทธ์ิเหนือดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้�ำโขงและน�ำเงิน “ถุงแดง” ท่ีพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า เจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า ทรงเก็บสะสมไว้และมีพระราชกระแสรับส่ังว่า “เก็บไว้ไถ่บ้านไถ่เมือง” รว่ มกับการเสยี สละเงนิ ทองของเจ้านายและขุนนาง มอบใหก้ บั ฝรัง่ เศสจงึ เป็นอันผ่านวิกฤติการณด์ ังกลา่ วไปได้ 12

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดมหาสงครามโลกคร้ังที่หนึ่ง ในช่วงต้น สยามยงั วางตวั เปน็ กลางแตต่ อ่ มาเมอื่ วนั ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๖๐ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั ท ร ง ตั ด สิ น พ ร ะ ทั ย น� ำ ช า ติ เ ข ้ า ร ่ ว ม กั บ ฝ ่ า ย สั ม พั น ธ มิ ต ร แ ล ะ ท ร ง ป ร ะ ก า ศ ส ง ค ร า ม กั บ เ ย อ ร มั น แ ล ะ ออสเตรีย-ฮังการี ด้วยทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยว่าการเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นส่ิงท่ีถูกต้อง รวมท้ังยังจะเป็นประโยชน์กับประเทศมากกว่าการวางตัวเป็นกลาง ธงรว้ิ แดง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ใช้เป็นธงของชาติก่อนเปล่ียนมาเป็นธงไตรรงค์ ในครง้ั นนั้ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหแ้ กไ้ ขพระราชบญั ญตั ธิ ง พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๖๐ อันเปน็ จุดก�ำเนดิ ของ “ธงไตรรงค”์ “ธงสำ� หรบั ชาตสิ ยามซง่ึ ไดป้ ระดิษฐานข้ึนตามพระราชบัญญตั ิธงพระพทุ ธศักราช ๒๔๕๙ น้ัน ยังไม่ เปนสง่าพอส�ำหรับประเทศ สมควรจะเพิ่มสีน�้ำเงินแก่เข้าอีกสีหน่ึง ให้เปนสามสีตามลักษณธงชาติของ ประเทศทเ่ี ปนสมั พนั ธมติ รกบั กรงุ สยามไดใ้ ชอ้ ยโู่ ดยมากนน้ั เพอื่ ใหเ้ ปนเครอ่ื งหมายใหป้ รากฏวา่ ประเทศสยาม ได้เข้าร่วมสุขทุกข์ แลเปนน�้ำหนึ่งใจเดียวกันกับสัมพันธมิตรหมู่ใหญ่ ช่วยกันกระท�ำการปราบปรามความ อาสัตย์อาธรรมในโลกย์ให้พินาศประลัยไป อีกประการหนึ่งสีน�้ำเงินนี้เปนสีอันเปนศิริแก่พระชนมวาร นบั วา่ เปนสเี ครอ่ื งหมายฉเภาะพระองคด์ ว้ ย จงึ เปนสที สี่ มควรจะประกอบไวใ้ นธงสำ� หรบั ชาตดิ ว้ ยประการทง้ั ปวง” ธงไตรรงค์ หลงั จบสงครามโลกครงั้ ทหี่ นง่ึ ดว้ ยชยั ชนะของฝา่ ยสมั พนั ธมติ ร เหตกุ เ็ ปน็ ไปดงั พระบรมราชวสิ ยั ทศั น์ กล่าวคือสยามในฐานะประเทศผู้ชนะสงคราม ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสันนิบาตชาติ (League of Nation) ทัดเทียมกับประเทศต่างๆ และได้แก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมอันนับเป็นคุณูปการส�ำหรับชาติไทยตราบ ทุกวันนี้ 13

14 ท่ีมา : พิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย

ฉลองพระองค์ “พระมหาพิชัยยทุ ธ” ในวนั ประกาศสงครามกบั เยอรมนั และออสเตรยี -ฮงั การี พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงฉลองพระองค์ตามราชประเพณีเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จในการพระราชสงครามเรียกว่าฉลอง พระองค์พระมหาพิชัยยุทธ ซึ่งวันท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๖๐ ตรงกับวันอาทิตย์ ฉลองพระองค์จึงเป็น สีแดงประกอบด้วยพระภูษาไหม โจงกระเบนสีแดงเลือดนก ฉลองพระองค์ชั้นนอกเป็นแพรสีแดง ถงุ พระบาทและฉลองพระบาทลว้ นเปน็ สแี ดง ทรงพระสงั วาลยน์ พรตั นราชวราภรณ์ พระหตั ถซ์ า้ ยทรงถอื พระแสงดาบคาบค่าย 15

ประกาศสำ� นกั นายกรัฐมนตรี เรอ่ื ง รปู ธงชาติตามพระราชบัญญัตธิ ง พ.ศ. ๒๕๒๒ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๖๐ ซ่ึงเป็นปีครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการพระราชทานธงชาติไทย หรือ \"ธงไตรรงค์\" จึงมีการประกาศก�ำหนดรูปธงชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า \"ธงไตรรงค์\" ไว้เป็นมาตรฐานดังน้ี รูปธงชาตติ ามพระราชบัญญตั ิธง พทุ ธศักราช ๒๕๒๒ สัดสว่ น : ๖ สว่ น : ๙ ส่วน ในกรณีทธี่ งชาติเปน็ ผืนผ้า หนว่ ยงานของรัฐจะมกี ารใช้ การชัก หรอื การแสดงธงชาติ ในงานต่าง ๆ ของหนว่ ยงานของรัฐให้เป็นทปี่ รากฏสู่สาธารณะ ใหก้ ำ� หนดเป็นดังน ้ี คา่ มาตรฐานการวดั สธี งชาตใิ นลักษณะเปน็ ค่าแนะน�ำ สี ระบบสี CIELAB D๖๕ L* a* b* ∆E* แดง ๓๖.๔ ๕๕.๔๗ ๒๕.๔๒ ไม่เกิน ๑.๕ ขาว ๙๖.๖๑ -๐.๑๕ -๑.๔๘ ไมเ่ กิน ๑.๕ นำ�้ เงนิ ๑๘.๖๓ ๗.๘๙ -๑๙.๔๕ ไม่เกิน ๑.๕ หมายเหตุ - เคร่ืองมอื มาตรฐานทใี่ ช้วัดค่ามาตรฐานการวัดสธี งชาติ ในทนี่ ี้คอื เครื่อง Colorimetric spectrophotometer หลกั การ ๔๕/๐ หรือ หลักการ d/๘ โดยใช้โหมด การวดั แบบ Specular Exclude ; SCE (หลกั การ d/๘ เสน้ ผ่านศูนย์กลาง sphere ต้องไมน่ อ้ ยกว่า ๑๕๒ มม.), แหล่งแสงประดษิ ฐ์ และ มุมมองผู้สังเกตการณ์ใช้ : D๖๕/๑๐ ̊ - ฟงั ก์ชนั่ ยูวี : ตดั แสงยูวี หรือ ควบคมุ ได้ - มาตรฐานที่สอดคลอ้ ง : ASTM E๑๑๖๔ 16

พระราชบัญญตั ิ และกฎหมาย ทีเ่ กย่ี วข้องกับพฒั นาการธงชาติไทย ๑. พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยแบบอยา่ งธงสยาม รตั นโกสนิ ทรศก ๑๑๐ ๒. พระราชบัญญัตธิ ง รัตนโกสนิ ทรศก ๑๑๖ ๓. พระราชบญั ญตั ิธง รัตนโกสนิ ทรศก ๑๑๘ 17

๔. พระราชบัญญัติธง รัตนโกสินทรศก ๑๒๙ ๕. ประกาศเพิ่มเติมแลแก้ไขพระราชบญั ญตั ธิ ง รตั นโกสินทรศก ๑๒๙ ๖. พระราชบัญญัตแิ ก้ไขพระราชบญั ญัตธิ ง พระพทุ ธศักราช ๒๔๖๐ 18

๗. พระราชบญั ญัติธง พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๙ ๘. พระราชบัญญัตธิ ง พทุ ธศักราช ๒๕๒๒ 19

การใช้ธงชาติ การใชธ้ งชาติ หมายความถงึ การน�ำธงที่อยใู่ นสภาพพรอ้ มแล้ว ท�ำให้ปรากฏ หรอื ให้เหน็ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ หรอื ใช้ในโอกาสใดโอกาสหนึ่ง ตามกำ� หนดในระเบยี บ ลกั ษณะธงชาติท่นี �ำมาใช้ ธงชาติท่ีน�ำมาใช้ ชัก หรือแสดง ธงชาตทิ ่มี สี ภาพไมส่ มบรู ณ์ เกา่ ขาด เปน็ รู ต้องมสี ภาพดี เรยี บรอ้ ย สมบรู ณ์ ผิดเพ้ียน สีซีดจนเกินควร จะไม่น�ำมาใช้ ขนาดเสาธงและผืนของธงชาติ เสาธงจะมขี นาดสงู ใหญ่เพียงใด ควรอยู่ ณ ท่ีใด และจะใชผ้ ืนธงขนาดเท่าใด ใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ ิจของผูป้ กครองสถานที่นน้ั ทีจ่ ะพจิ ารณาให้เหมาะสม สงา่ งาม แกอ่ าคารสถานที่ 20

การใช้ธงชาตกิ ับผู้เสียชีวติ ธงชาติ สามารถใช้เป็นเครอื่ งประกอบเกียรตยิ ศศพหรอื อฐั ไิ ด้ กบั บคุ คลดังตอ่ ไปนี้ ๑. ประธานองคมนตรี ๒. ประธานรฐั สภา ๓. นายกรัฐมนตรี ๔. ประธานศาลฎกี า ๕. ผไู้ ด้รบั พระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์อันเปน็ โบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ๖. ผเู้ สียสละเนือ่ งจากปฏิบัติหน้าท่สี ูร้ บ หรอื ตอ่ สู้ หรอื ช่วยเหลอื การสู้รบหรือต่อสู้ หรือเนอื่ งจากการ ปฏบิ ัตหิ น้าทีร่ าชการหรือช่วยเหลอื ราชการในการปอ้ งกนั อธปิ ไตย รักษาความสงบเรยี บรอ้ ยของประเทศ หรือปราบปรามการกระท�ำผดิ ต่อความมน่ั คงของรัฐ หรอื ปราบปรามการกระทำ� ความผดิ ตอ่ องค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รชั ทายาท และผสู้ �ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ ๗. ผู้ที่เสยี ชีวติ จากการแสดงความกลา้ หาญช่วยเหลือเจา้ หนา้ ท่ีใหเ้ ป็นประโยชน์อย่างส�ำคญั แก่ทางราชการ โดยไมเ่ กรงภยั อันจะเกดิ แก่ชวี ิตของตน ๘. บุคคลท่ีทางราชการเหน็ สมควร การใชธ้ งชาติคลมุ ศพ ในพิธีรับพระราชทานน้ำ� อาบศพ ในพธิ ปี ลงศพ ในระหว่างเคล่ือนย้ายศพ หรอื พิธรี ดน้�ำศพ ตามประเพณขี องทหารเรอื เพ่ือประกอบพิธที างศาสนา การใช้ธงชาติคลมุ หบี ศพหรอื อฐั ิ ใหใ้ ชก้ รณีดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. เมื่อเชิญหรอื เคล่อื นยา้ ยศพหรอื อัฐิ เพอ่ื ประกอบพธิ ีรับพระราชทานน�ำ้ อาบศพ หรอื พิธรี ดน�ำ้ ศพ หรือ บำ� เพ็ญกุศล ตามพธิ ีทางศาสนา ๒. ในระหว่างการประกอบพิธที างศาสนา ๓. ในระหว่างการต้งั ศพเพอื่ รับพระราชทานเพลิงศพ ประกอบพิธฌี าปนกจิ หรือเคลื่อนย้ายศพไปประกอบพธิ ฝี ัง วธิ กี ารใชธ้ งชาติคลมุ ศพหรือหีบศพ ๑. ปกตใิ ห้ใช้คลมุ ตามความยาวของธง โดยให้ดา้ นต้นของธงอย่ทู างส่วนศีรษะของศพ และจะตอ้ งปฏิบตั ิไมใ่ หเ้ ป็นการเส่อื มเสียเกยี รติแกผ่ นื ธงชาติ ๒. หา้ มมิให้วางสงิ่ หน่ึงส่งิ ใดลงบนธงชาติทคี่ ลุมศพ หรอื หีบศพ ๓. เมอ่ื จะรบั พระราชทานน�้ำอาบศพ บรรจุหรอื ฝังศพ ประชุมเพลิงศพตอนเผาจรงิ ให้เชิญธงชาติทค่ี ลมุ ศพหรือ หบี ศพพบั เกบ็ ให้เรยี บรอ้ ย โดยมิให้สว่ นหน่งึ สว่ นใดของธงชาติสมั ผสั พื้น สำ� หรบั ผทู้ ไ่ี ดร้ บั พระราชทานโกศหรอื หบี หลวงประกอบเกยี รตยิ ศศพอยแู่ ลว้ ถา้ มสี ทิ ธทิ จ่ี ะใชธ้ งชาตคิ ลมุ ศพดว้ ย ให้กระท�ำโดยวธิ ีเชิญธงชาตใิ นสภาพที่พบั เรียบรอ้ ยใส่พานตงั้ ไวเ้ ป็นเกยี รตยิ ศ หนา้ ทต่ี ัง้ ศพ เช่นเดยี วกบั เครื่องยศและ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ แตต่ อ้ งไมต่ ำ�่ กวา่ เครอ่ื งยศและเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ โดยหา้ มใชธ้ งชาตหิ รอื แถบสธี งชาตคิ ลมุ ทบั หรอื ตกแต่งโกศ หรือหีบศพท่ีพระราชทานประกอบเกยี รติยศศพ 21

การชักธงชาติ ใหป้ ฏบิ ัติดังน้ี ๑. ผมู้ หี น้าท่ชี ักธงชาตติ ้องแตง่ กายเรยี บร้อย ๒. เม่ือใกล้ก�ำหนดเวลาชักธงขึ้น ให้เตรยี มธงชาตผิ ูกตดิ กบั สายเชอื กทางดา้ นขวาของผู้ชักธงใหเ้ รยี บร้อย ๓. เมอ่ื ถงึ ก�ำหนดเวลา ให้คลีธ่ งชาติออกเตม็ ผนื แลว้ ดงึ เชอื กให้ธงชาติขึ้นชา้ ๆ ด้วยความสม่�ำเสมอ จนถงึ สุดยอดเสาธง แล้วจงึ ผกู เชอื กไว้ให้ตึง ไม่ใหธ้ งลดตำ�่ ลงมา ๔. เมอ่ื ชักธงลง ใหด้ ึงเชือกใหธ้ งชาติลงช้าๆ ดว้ ยความสม�ำ่ เสมอ และสายเชือกตึงจนถงึ ระดบั เดมิ ก่อนชักขึ้น ๕. ในกรณที ่มี กี ารบรรเลงเพลงชาติหรอื มีสญั ญาณในการชกั ธงข้ึนลง จะต้องชักธงชาติขน้ึ และลงใหถ้ งึ จดุ ที่สุด พรอ้ มกบั จบเพลงหรอื สญั ญาณนัน้ ๆ กรณที ที่ างราชการประกาศลดธงชาติคร่งึ เสา ใหป้ ฏิบัตใิ นการชกั ธงข้นึ เช่นเดยี วกับข้อ ๑ ข้อ ๒ และขอ้ ๓ เมอ่ื ธงถงึ ยอดเสาแลว้ จงึ ลดธงลงมาจากยอดเสาเพยี ง ๑ ใน ๓ ของความสงู เสาธง หรืออีกนยั หน่ึง คือธงจะอย่ทู ่ีความสงู ๒ ใน ๓ สว่ นของความสูงเสาธง ไม่ใชค่ ร่ึงเสา และเมือ่ จะชกั ธงลง ให้ชกั ธงข้ึนจนถงึ ยอดเสาก่อน แล้วจึงชักธงลงตามขอ้ ๔ และขอ้ ๕ ลงจากยอดเสา ไม่ใชล่ งจากยอดเสา เพยี ง ๑ ใน ๓ ของเสา มาอยู่กลางเสา การลดธงชาติคร่ึงเสาอยา่ งถูกตอ้ ง 22

การชักธงชาติ และวันพระราชทานธงชาตไิ ทย คณะรัฐมนตรี มีมติเม่ือวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นหลักการว่าสถานที่ราชการ สถาบันการศึกษา สถานศึกษา ท่ีท�ำการรัฐวิสาหกิจและองค์กรอื่นๆ ของรัฐ นอกจากจะมีการ ชกั ธงชาตขิ น้ึ และลงตามเวลาทที่ างราชการกำ� หนดแลว้ ยงั สามารถประดบั ธงชาติ ณ สถานทอี่ นั สมควร ในบรเิ วณที่ทำ� การทุกวันและตลอดเวลาเป็นการถาวรและสมำ�่ เสมอ การชกั ธงชาติ ณ อาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะของสว่ นราชการ หนว่ ยงานของรัฐ ตลอดถึง สถานท่ีอยู่ ท่ีพักอาศัยของหัวหน้าคณะผู้แทนทางทูต หรือสถานท่ีท�ำการกงสุล ให้ปฏิบัติตามที่ ก�ำหนดไว้เช่นเดียวกับการชักธงชาติในราชอาณาจักรโดยอนุโลม โดยให้หัวหน้าหน่วยงานหรือ ผมู้ หี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ คำ� นงึ ถงึ ขนบธรรมเนยี มระหวา่ งประเทศ กฎหมายระหวา่ งประเทศ ความตกลงกบั รัฐบาลไทย และขนบธรรมเนียมจารตี ประเพณีแหง่ ท้องถนิ่ ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันท่ี ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เห็นชอบก�ำหนดให ้ วันที่ ๒๘ กันยายน ของทุกปี เป็นวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) และเรม่ิ ในวนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ เปน็ วนั แรก โดยไมถ่ อื เปน็ วนั หยดุ ราชการรวมทง้ั กำ� หนด ใหม้ กี ารชกั และประดบั ธงชาติในวนั ดังกลา่ วด้วย 23

การชักธงชาติในวันพระราชทานธงชาตไิ ทย ครบรอบ ๑๐๐ ปี 24

การประดับธงชาติ การประดับธงชาติ หมายความถงึ การนำ� ธงชาติไปตกแต่งหรือแสดงร่วมกบั ส่ิงอ่นื ๆ เช่น การประดับธงชาตคิ หู่ รอื รว่ มกบั ธงอ่ืน การประดับธงชาติร่วมกบั พระพทุ ธรูป และพระบรมฉายาลกั ษณ์ การประดบั ธงชาติคหู่ รอื ร่วมกับธงอื่น ๑. การประดบั ธงชาตคิ หู่ รอื รว่ มกบั ธงอนื่ ยกเวน้ ธงพระอสิ รยิ ยศจะตอ้ งไมใ่ หธ้ งชาตอิ ยใู่ นระดบั ตำ�่ กวา่ ธงอน่ื ๆ และโดยปกตใิ หจ้ ดั ธงชาตอิ ยทู่ เ่ี สาธงแรกดา้ นขวา (เม่ือมองดูออกมาจากภายใน หรอื จดุ ของสถานทที่ ี่ใชช้ ัก แสดง หรือประดับธงเป็นหลกั ) ๒. การประดับธงชาติคูก่ ับธงอน่ื ในงานพธิ ซี ึง่ มีแทน่ หรอื มีท่ีสำ� หรับประธาน ให้จัดธงชาตอิ ยดู่ ้านขวาของแทน่ พิธแี ละธงอ่ืนอยู่ดา้ นซ้าย ๓. การประดบั ธงชาติคกู่ บั ธงอื่น นอกจากดงั ทก่ี ลา่ วในขอ้ ๑ และข้อ ๒ แล้วใหป้ ฏิบตั ิ ดังนี้ ๓.๑ เม่อื รวมกบั ธงชาตแิ ล้วนบั ได้เป็นจ�ำนวนคี่ ให้ธงชาติอยกู่ ลาง ๓.๒ เมอ่ื รวมกับธงชาตแิ ล้วนบั ได้เปน็ จ�ำนวนคู่ ให้ธงชาติอยู่กลางดา้ นขวา การประดับธงชาติร่วมกบั ธงอื่น การประดับธงชาติร่วมกบั ธงอ่นื กรณีมีธงรวมนับเป็นจ�ำนวนค่ี กรณีมีธงรวมนับเป็นจ�ำนวนคู่ 25

การประดบั ธงชาตริ ่วมกบั พระพทุ ธรูป และพระบรมฉายาลักษณ์ การประดับธงชาติร่วมกับ พระพทุ ธรปู และพระบรมฉายาลกั ษณ์ การประดับธงชาติรว่ มกับพระพุทธรปู และพระบรมฉายาลักษณใ์ นพิธีการต่าง ๆ เพื่อเป็นการสักการะรว่ มกัน ใหจ้ ัดธงชาติอยูด่ ้านขวาของพระพทุ ธรูป และพระบรมฉายาลักษณอ์ ยูด่ ้านซา้ ยของพระพทุ ธรปู 26

การประดบั ธงชาตคิ หู่ รอื รว่ มกบั ธงของตา่ งประเทศ ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้ การประดบั ธงชาตคิ หู่ รอื รว่ มกบั ธงของตา่ งประเทศ จะตอ้ งเปน็ ไปในลกั ษณะเทา่ เทยี มกนั เชน่ ขนาด สขี องธง ความสงู ตำ�่ ของเสาธง - ถา้ ประดบั หรอื ชกั ธงของตา่ งประเทศเพยี งประเทศเดยี ว ตอ้ งใหธ้ งชาตเิ คยี งคอู่ ยดู่ า้ นขวาของธงตา่ งประเทศ - ถา้ ประดบั ธงของตา่ งประเทศเกนิ กวา่ หนง่ึ ประเทศ เมอ่ื รวมกบั ธงชาตแิ ลว้ เปน็ จำ� นวนค่ี ตอ้ งใหธ้ งชาติ อยตู่ รงกลาง - ถา้ ประดบั ธงของตา่ งประเทศเกนิ กวา่ หนง่ึ ประเทศ เมอื่ รวมกบั ธงชาตแิ ลว้ เปน็ จำ� นวนคู่ ตอ้ งใหธ้ งชาติ อยกู่ ลางดา้ นขวา การประดบั ธงชาตใิ นอาคารสถานที่ หรอื มขี อ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ หรอื ประเทศภาคกี ำ� หนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอน่ื กใ็ หป้ ฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลงหรอื ขอ้ กำ� หนดนน้ั ๆ - การประดบั ธงชาตใิ นการแขง่ ขนั กฬี าระหวา่ งประเทศ โดยปกตใิ หเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของ สมาคมกฬี าระหวา่ งประเทศ หรอื ตามหลกั สากล - การประดบั ธงชาตคิ กู่ บั ธงของต่างประเทศส�ำหรบั รถยนต์ ให้ปกั ธงชาตไิ วท้ างด้านขวา และธงของ ตา่ งประเทศไวท้ างดา้ นซา้ ย - ยานพาหนะอนื่ ใหใ้ ชท้ ำ� นองเดยี วกบั ขอ้ ๗ เวน้ แตก่ ารประดบั บนเรอื ใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมเนยี มประเพณี ของชาวเรอื 27

วันพิธสี �ำคญั ทีต่ อ้ งชกั ธงและประดบั ธงชาติ วนั ท่ี ๑ มกราคม ของทกุ ปี วนั ข้นึ ๑๕ คำ�่ เดอื น ๓ วนั ท่ี ๖ เมษายน ของทกุ ปี วนั ขนึ้ ปใี หม่ วันมาฆบชู า วันพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ๑ วัน ๑ วนั และวนั ท่ีระลกึ มหาจักรีบรมราชวงศ์ วันท่ี ๑๓ เมษายน ของทกุ ปี ๑ วัน วันสงกรานต์ วันท่ี ๔ พฤษภาคม ของทุกปี วนั พชื มงคล ๑ วนั วนั ฉัตรมงคล วนั ขน้ึ ๑๕ คำ่� เดอื น ๖ ๑ วนั ๑ วนั วนั วิสาขบชู า วันท่ี ๓ มถิ นุ ายน ของทุกปี วนั ข้นึ ๑๕ ค�ำ่ เดอื น ๘ ๑ วัน วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วันอาสาฬหบชู า วันแรม ๑ ค�่ำ เดอื น ๘ สมเดจ็ พระนางเจา้ สทุ ดิ า ๑ วนั วันเข้าพรรษา พชั รสธุ าพมิ ลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี ๑ วัน ๑ วนั วันท่ี ๒๘ กันยายน ของทุกปี วนั ท่ี ๒๘ กรกฎาคม ของทุกปี วันท่ี ๑๒ สงิ หาคม ของทุกปี วธนั งพชระารตาชไิ ททายน วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ ๑ วนั พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ๒ วัน ( ๒๘ - ๒๙ กรกฎาคม ) และวนั แมแ่ หง่ ชาติ ๑ วนั วนั ท่ี ๒๔ ตลุ าคม ของทกุ ปี วันท่ี ๕ ธันวาคม ของทุกปี วนั สหประชาชาติ วนั คลา้ ยวนั พระบรมราชสมภพ ๑ วนั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร วนั ชาตแิ ละวนั พอ่ แหง่ ชาติ ๒ วัน ( ๕ - ๖ ธนั วาคม ) วันท่ี ๑๐ ธนั วาคม ของทกุ ปี วันรัฐธรรมนูญ ๑ วนั นอกจากน้ี สดุ แตท่ างราชการจะประกาศใหท้ ราบเปน็ ครง้ั คราว สว่ นงานพธิ อี น่ื ๆ ตามประเพณนี ยิ ม หากจะชกั ธงและประดบั ธงชาตกิ ท็ ำ� ได้ แตต่ อ้ งทำ� ดว้ ยความเคารพ 28

กากรทารำ� ดคูแวลารมกั เคษาารธพงธชงาชตาิ ติ การท�ำความเคารพธงชาติ ๑. เม่ือมีการชกั ธงชาติขึน้ และลง ใหแ้ สดงความเคารพโดยการยืนตรง หันไปทางเสาธง อาคาร หรือสถานที่ทีม่ กี ารชกั ธงชาตขิ น้ึ และลง จนกว่าจะเสรจ็ การ ๒. ในกรณีทไ่ี ดย้ ินเพลงชาตหิ รือสัญญาณการชักธงชาติ จะเหน็ หรือไมเ่ หน็ การชักธงชาติกต็ าม หรอื ในกรณอี ยใู่ นอาคาร หรอื ยานพาหนะทไ่ี มส่ ามารถยนื แสดงความเคารพได้ ใหแ้ สดงความเคารพ โดยการหยุดนิ่งในอาการส�ำรวม จนกว่าการชักธงชาติหรือเสียงเพลงชาติ หรือสัญญาณการชัก ธงชาติจะสิ้นสุดลง การดแู ลรักษาธงชาติ ๑. ให้หนว่ ยงานราชการ หัวหน้าหนว่ ยงานผปู้ กครองอาคารสถานทรี่ าชการ หรือสถานท่ีทำ� การของ หนว่ ยงานของรัฐและเอกชน ผู้ครอบครองอาคารสถานทที่ ่ีมกี ารใช้ การชัก หรือการแสดงธงชาติ กวดขันดแู ลใหม้ ีการปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและระเบียบโดยเครง่ ครัด ๒. ใหเ้ จา้ หน้าท่หี รอื บุคคลผ้มู ีหน้าทรี่ บั ผิดชอบในการใช้ การชกั หรือการแสดงธงชาติเก็บรักษา ธงชาติไว้ดว้ ยความเคารพในสถานทแี่ ละที่เกบ็ อันสมควร ๓. การเชญิ ธงชาตจิ ากท่เี ก็บรักษาเพ่ือน�ำไปใช้ ชกั หรือแสดง ในกรณที ่ีธงชาติเป็นผืนผ้า ใหเ้ ชิญไป ในสภาพท่พี บั เรยี บร้อย และด้วยอาการเคารพ เมื่อถึงจดุ ทจ่ี ะใชห้ รอื แสดง จึงคลอ่ี อกเพอ่ื ใชห้ รอื แสดงตอ่ ไป ๔. การเชิญธงชาตจิ ากจดุ ท่ใี ช้ ชัก หรือแสดง ไปเกบ็ ไว้ ณ ทเี่ กบ็ รักษา ให้ดำ� เนนิ การในลกั ษณะเดยี ว กบั ท่ีก�ำหนดไว้ในขอ้ ๓ 29

ข้นั ตอนในการพบั ธงชาติ รปู ท่ี ๑ รปู ท่ี ๖ รปู ท่ี ๗ รูปท่ี ๒ รปู ที่ ๘ รูปที่ ๙ รปู ท่ี ๓ รปู ท่ี ๑๐ รปู ที่ ๔ รปู ท่ี ๑๑ รูปที่ ๕ รปู ที่ ๑๒

รปู ที่ ๑๓ รูปท่ี ๒๐ รูปท่ี ๑๔ รปู ท่ี ๒๑ รปู ที่ ๑๕ รูปที่ ๒๒ รูปที่ ๑๖ รปู ท่ี ๒๓ รปู ที่ ๑๗ รปู ที่ ๒๔ รปู ที่ ๑๘ รปู ที่ ๒๕ รปู ที่ ๑๙ การพับเก็บธงชาตทิ ่ถี กู ตอ้ ง ตอ้ งพบั เป็นรูปสามเหลีย่ มที่แสดงให้เห็นแถบสที ัง้ สามของธงชาติ โดยพบั ครึง่ ธงชาติ ๒ ครั้ง แลว้ พบั ทบเป็นรปู สามเหลี่ยมมุมฉากไปเร่อื ย ๆ จนพับตอ่ ไม่ได้ จึงเก็บชายธงสอดเขา้ ใหเ้ รยี บร้อย

การทำ� ลายธงชาติเก่าทีช่ �ำรดุ เสอ่ื มสภาพ ธงชาติทช่ี ำ� รุด ขาดวิ่น หรอื สภาพเก่า จะไมน่ ำ� มาใช้ ให้ท�ำลายอยา่ งเหมาะสมและถกู ตอ้ ง โดยการตัดผืนธงชาตใิ ห้ริว้ สแี ยกออกจากกัน เพอื่ ใหส้ ิน้ สภาพ หรือลักษณะอันเป็นผนื ธงชาติ หรือแถบสธี งชาติ ขนั้ ตอนท่ี ๑ ขน้ั ตอนท่ี ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขน้ั ตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ ข้นั ตอนที่ ๖ 32

การแสดงธงชาตทิ ่ีสินคา้ การแสดงธงชาตไิ วท้ ส่ี ง่ิ บรรจุ หบี หอ่ สง่ิ หมุ้ หอ่ สง่ิ ผกู มดั ผลติ ภณั ฑห์ รอื สนิ คา้ ใดๆ อาคาร สถานที่ ยานพาหนะ เครื่องแต่งกาย ร่างกายหรือส่ิงอ่ืนใด ที่มิได้มีลักษณะเป็นการเหยียดหยามต่อธงชาติ ประเทศไทยหรือชาติไทย ให้ท�ำได้โดยสมควรในกรณีดังต่อไปนี้ - เป็นการแสดงธงชาติท่ีกระท�ำโดยส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ - เป็นการแสดงธงชาติท่ีกระท�ำโดยเอกชนเพ่ือประโยชน์ทางการพาณิชย์ - เป็นการแสดงธงชาติที่กระท�ำโดยเอกชนในกรณีอ่ืนๆ 33

การกระทำ� อันเป็นการเหยียดหยาม หรือไมส่ มควรตอ่ ธงชาติ การกระทำ� อนั เปน็ การเหยยี ดหยามตอ่ ธงชาติ ไดแ้ ก่ การกระทำ� ตอ่ ธงชาติ รปู จำ� ลองของธงชาติ หรอื แถบสธี งชาติ ดว้ ยเจตนาเหยยี ดหยามประเทศชาติ เชน่ ฉกี ทำ� ลาย ถม่ นำ้� ลายรด ใชเ้ ทา้ เหยยี บ วางเป็นผ้าเช็ดเท้า ซึ่งเป็นการแสดงความดูถูกดูหม่ินเหยียดหยามชาติไทย ๑. การกระทำ� ทไี่ มส่ มควรตอ่ ธงชาติ รปู จำ� ลองของธงชาตหิ รอื แถบสขี องธงชาติ เชน่ ๑.๑ การประดษิ ฐร์ ปู ตวั อกั ษร ตวั เลขหรอื เครอื่ งหมายอนื่ ในผนื ธงรปู จำ� ลองของธงหรอื แถบสขี องธง ๑.๒ การใช้ ชกั หรือแสดงธง รปู จำ� ลองของธงหรอื แถบสีของธงอนั มลี ักษณะที่กลา่ วมาในข้อ ๑.๑ ๑.๓ การใช้ ชกั หรอื แสดงธง รปู จำ� ลองของธง หรอื แถบสขี องธงไว้ ณ สถานทหี่ รอื วธิ อี นั ไมส่ มควร ๑.๔ การประดษิ ฐ์ธง รปู จำ� ลองของธงหรอื แถบสธี งไว้ ณ ทห่ี รือสงิ่ ใดๆ โดยไม่สมควร ๑.๕ แสดงหรือใชส้ ่งิ ใดๆ ทม่ี รี ปู ธง รูปจำ� ลองของธงหรือแถบสีธงอันมลี ักษณะตามข้อ ๑.๔ ๒. บทก�ำหนดโทษ การกระท�ำการตอ่ ธงชาตโิ ดยไม่ให้ความเคารพ มคี วามผิดและตอ้ งรบั โทษทางอาญาตามกฎหมาย ท่เี กยี่ วขอ้ ง ดังน้ี ๒.๑ การกระทำ� ใดๆ ตอ่ ธง หรอื เครอ่ื งหมายอน่ื ใดอนั มคี วามหมายถงึ รฐั เพอ่ื เหยยี ดหยามประเทศ ชาติ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือท้ังจ�ำท้ังปรับ (มาตรา ๑๑๘ แห่งประมวลกฎหมายอาญา) ๒.๒ กระท�ำการใดๆ ทไี่ มส่ มควรตอ่ ธงชาติ รูปจ�ำลองของธงชาติ หรือแถบสขี องธงชาติ ตามขอ้ ๑.๑-๑.๕ ตอ้ งระวางโทษจำ� คกุ ไม่เกินหนึ่งปี หรอื ปรบั ไม่เกินสองพันบาท หรือท้งั จำ� ท้งั ปรับ (มาตรา ๕๓ แหง่ พระราชบัญญตั ิธง พ.ศ. ๒๕๑๒) ๒.๓ ผูใ้ ดกระทำ� การใดๆ อนั มีลกั ษณะเปน็ การเหยียดหยามต่อธง รูปจ�ำลองของธงหรือแถบสีของ ธงชาติ ตอ้ งระวางโทษจำ� คุกไมเ่ กนิ หกเดอื น หรือปรบั ไมเ่ กินหนึง่ พนั บาท หรือท้งั จำ� ท้งั ปรบั (มาตรา ๕๔ แหง่ พระราชบญั ญตั ธิ ง พ.ศ ๒๕๒๒) 34

35

36