Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 62-11-22-อบรม Infographic Design

62-11-22-อบรม Infographic Design

Published by t.panida.noisri, 2020-03-22 05:15:19

Description: 62-11-22-อบรม Infographic Design

Search

Read the Text Version

รายงานการอบรม 3.1 การพัฒนา ตนเอง โครงการ Thai MOOC ผ่านโครงการ Thailand Massive Open Online Course การศกึ ษาแบบเปิด เพอื่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ครพู นิดา น้อยศรี 22 พฤศจกิ ายน 2562



รหสั เอกสาร 62-11-22/..... แบบรายงานผล การประชมุ /อบรม/สมั มนา/ศกึ ษาดงู าน/การนานกั เรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรม 1. ขอ้ มลู บคุ ลากรไปราชการ  ประชมุ  อบรม  สมั มนา  ศกึ ษาดงู าน  นานกั เรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรม  อนื่ ๆ .......................................... ชอื่ -สกลุ นางสาวพนดิ า นอ้ ยศรี ตาแหนง่ ครู หวั หนา้ ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบุรี 1.1 หวั ขอ้ เรอ่ื ง สาเรจ็ การศกึ ษาในรายวชิ า การออกแบบ Infographic (Infographic Design) 1.2 เอกสารอา้ งองิ เกยี รตบิ ตั รผา่ นการอบรม 1.3 สถานทป่ี ระชมุ /อบรม/สมั มนา/ศกึ ษาดงู าน/นานกั เรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรม https://thaimooc.org/ 1.4 หนว่ ยงานดาเนนิ การ กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม 1.5 การใชป้ ระโยชนจ์ ากการประชมุ /อบรม/สมั มนา/ศกึ ษาดงู าน/นานกั เรยี นเขา้ รว่ ม กจิ กรรม () ปฏิบัติงานในหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบ () ขยายผลแก่บคุ ลากรในโรงเรียน () เป็นแบบอยา่ ง และเกยี รติยศของโรงเรียน () อืน่ ๆ ระบุ .................................................  ตอ่ ตนเอง ไดแ้ ก่ 1) ได้ความรู้ ความเข้าใจในเกยี่ วกบั อินโฟกราฟิก 2) เขา้ ใจหลกั การออกแบบงานอนิ โฟกราฟกิ 3) สามารถสรา้ งงานในรปู แบบอนิ โฟกราฟิก  ตอ่ การเรยี นการสอน นามาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน วชิ าคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ของนักเรยี น ระดบั ปวช.

 ตอ่ หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ ใชใ้ นการออกแบบเอกสารประชาสัมพันธโ์ รงเรียนให้เกดิ ความน่าสนใจมากข้นึ 2. การขยายผล ช้ีแจ้งการอบรมใน Line ของโรงเรียนใหผ้ ู้สนใจไดเ้ ข้าไปเรียนรู้ 3. ขอ้ เสนอแนะ มีหลากหลายวิชาที่เกยี่ วขอ้ งกับการจัดการเรยี นการสอนใหเ้ ลอื กเรียนได้ ควร ประชาสัมพันธ์ให้ครู-นกั เรยี น ผู้สนใจ ในการเรยี นรูไ้ ดร้ ับทราบ ลงช่อื ผูร้ ายงาน (นางสาวพนิดา น้อยศรี) ตาแหน่ง ครู วนั ที่ 13 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562

หนา้ | 1 รายวิชา การออกแบบ Infographic (Infographic Design) 1. สถาบนั วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 2. ชื่อรายวิชา ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ การออกแบบ Infographic (Infographic Design) 3. จานวนชวั ่ โมงเรียนท้งั หมด / จานวนหน่วยกิต 6 ชวั่ โมงเรียนรู้ / 3 หน่วยกิต 4. จานวนชวั ่ โมง ท่ตี อ้ งใชใ้ นการเรียนรูต้ อ่ สปั ดาห/์ หรือตอ่ คร้งั 1 ชวั่ โมง ต่อสปั ดาห์ 5. การนาผลการเรียนรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์  นับเป็ นหน่วยกิต  นับเป็ นหน่วยกิตศึกษาต่อเนื่องวิชาชีพ  นับเป็ นหน่วยกิตการศึกษาในระดบั  นับเป็ นสว่ นหน่ึงของการเรียนรายวิชา การออกแบบอินโฟกราฟิ กเบ้ ืองตน้ 6. ระดบั ของเน้ ือหารายวชิ า  ประถมศึกษา  มธั ยมตน้  มธั ยมปลาย  ปริญญาตรี  ปริญญาเอก  วชิ าชีพ (ระบุ) ............................................  เน้ ือหาเรียนตามอธั ยาศยั  เป็ นสว่ นหน่ึงของรายวชิ า (ระบุ)............................................. 7. ประเภทของการเรียนในรายวิชา  เรียนดว้ ยตนเอง  เรียนแบบกลุ่ม เอกสารประกอบรายวชิ า การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

หน้า | 2 8. ระดบั ความยากของเน้ ือหารายวิชา  เบ้ ืองตน้  กลาง  สงู 9. กลมุ่ เป้ าหมาย ของรายวิชา  นักเรียนระดบั ……….  นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี  ประชาชนทวั่ ไป  กลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ (ระบุ)................ 10. ความรูพ้ ้ นื ฐานที่ตอ้ งมีมาก่อน พ้ ืนฐานทางดา้ นศิลปะ - ความรเู้ กี่ยวกบั องคป์ ระกอบศิลป์ - ความรเู้ กี่ยวกบั ทฤษฎีสี รูปรา่ ง รปู ทรง เสน้ 11. อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบรายวิชา / อาจารยผ์ ชู้ ่วยสอน อาจารย์ ดร.รฐั พล ประดบั เวทย์ Rathapol Pradubwate อาจารยน์ ิพาดา ไตรรตั น์ Nipada Trairut 12. ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นเน้ ือหา และผเู้ ช่ียวชาญดา้ นสอื่ รศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ รศ.ดร.จินตวีร์ คลา้ ยสงั ข์ ผศ.ดร.ววิ ฒั น์ มีสุวรรณ์ 13. วนั ทเี่ ปิ ดเรยี น /ระยะเวลาเรมิ่ ตน้ และส้ ินสุด 23 เมษายน 2561 เป็ นตน้ ไป 14. จานวนชวั ่ โมงที่จดั การเรยี นรูต้ อ่ สปั ดาห/์ ตอ่ คร้งั ชวั่ เรียนเรียนรู้ 1 ชวั่ โมง - 1 ชวั่ โมงคร่ึงต่อสปั ดาห์ รวม 6 คร้งั 15. เงื่อนไขอน่ื ๆ - เอกสารประกอบรายวิชา การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

หนา้ | 1 โครงสรา้ งรายวิชา การออกแบบ Infographic (Infographic Design) ตอนท่ี 0 แนะนารายวิชา ตอนที่ 1 อินโฟกราฟิ ก คอื อะไร  ความเป็ นมาของอินโฟกราฟิ ก  อินโฟกราฟิ ก คืออะไร ตอนที่ 2 รูปแบบของอินโฟกราฟิ ก  รปู แบบของงานอินโฟกราฟิ ก  การจดั วาง Layout อินโฟกราฟิ ก ตอนที่ 3 การเตรยี มเน้ ือหาท่ีใชใ้ นอินโฟกราฟิ ก  เน้ ือหาท่ีเหมาะสาหรบั งานอินโฟกราฟิ ก  การเตรียมเน้ ือหาที่ใชใ้ นอินโฟกราฟิ ก ตอนที่ 4 การออกแบบงานอนิ โฟกราฟิ ก  หลกั สาคญั ในการออกแบบ  Infographic Design Rules  ภาพกราฟิ กที่มกั ใชใ้ นอินโฟกราฟิ ก  การเลือกใชแ้ ละจดั วางตวั อกั ษร (FONT) ในงานอินโฟกราฟิ ก ตอนที่ 5 การสรา้ งงานอนิ โฟกราฟิ ก  ขน้ั ตอนการสรา้ งอินโฟกราฟิ ก  เครี่องมอื ในการสรา้ งงานอินโฟกราฟิ ก  การสรา้ งอินโฟกราฟิ กดว้ ย PowerPoint  การสรา้ งอินโฟกราฟิ กดว้ ย Piktochart เอกสารประกอบรายวิชา การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

ความเป็ นมาของอินโฟกราฟิ ก มนุษยเ์ ร่ิมใชก้ ารส่ือสารดว้ ยรปู ภาพมา ต้งั แต่อดีต ชาวสุเมเรียนใชภ้ าพสญั ลกั ษณ์ (Pictograph) ในการบนั ทึกขอ้ มูล ชาวอียิปตใ์ ชอ้ กั ษรภาพเพ่ือบนั ทึกเรื่องราวทางประวตั ิศาสตร์ ตน้ กาํ เนิดของอินโฟ กราฟิ กเกิดข้ ึนเมื่อสามปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช ซ่ึงอินโฟกราฟิ กไมใ่ ช่สิ่งใหม่ที่เกิดข้ ึน อินโฟกราฟิ ก คือ การ ใชร้ ปู ภาพแทนการติดต่อส่ือสารและมนุษยร์ จู้ กั การใชร้ ูปภาพมา ต้งั แต่สมยั โบราณ ภาพเขยี นบนผนังถ้าํ สามารถถูกอนุมานไดว้ า่ เป็ นอินโฟกราฟิ กช้ ินแรกท่ีเกิดข้ นึ เชน่ เดียวกบั วฒั นธรรมการใชอ้ กั ษร ภาพของ ชาวอียิปตเ์ พื่อเล่าเร่ืองราวชีวิต การทาํ งานและศาสนา หรือชาวจีนท่ีมีคาํ จารึกตามเศษกระดูกสตั วห์ รือ กระดองเต่า ที่เรียกกนั วา่ กระดูกเส่ียงทาย (Oracle bone) ซึ่งเป็ นการขอคาํ ปรึกษาจากบรรพบุรุษ และ ต่อมาก็ไดพ้ ฒั นา เป็ นตวั อกั ษรจีนในปัจจุบนั ก็ถือเป็ นอินโฟกราฟิ กเช่นเดียวกนั ประวตั ิศาสตรข์ องอินโฟ กราฟิ กในช่วงต่อมาเริ่มข้ ึนประมาณศตวรรษท่ี 18 ในปี ค.ศ. 1786 William Playfair วิศวกรชาว สกอตแลนด์ เป็ นคนแรกท่ีนําขอ้ มูลทางสถิติมาแสดงในรูปแบบของแผนภูมิและกราฟเพื่อแสดงถึง เศรษฐกิจของประเทศองั กฤษและไดต้ ีพิมพล์ ง ในหนังสือชื่อ The Commercial and Political Atlas ซึ่ง นับวา่ เป็ นคร้งั แรกที่แผนภมู ิวงกลมไดเ้ กิดข้ ึน ต่อมาในปี ค.ศ. 1857 พยาบาลชาวองั กฤษ ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล (Florence Nightingale) ได้ เป็ นผูอ้ อกแบบอินโฟกราฟิ กที่มีคุณูปการต่อการในดา้ นสาธารณสุข (ของทหารและชนช้นั ล่าง) อย่าง มหาศาล ดว้ ยการอุทิศเวลารวบรวมขอ้ มูลและไดอ้ อกแบบ “กุหลาบไนติงเกล” ไดอะแกรมทรงพลงั ระดบั เปล่ียนสงั คมข้ ึนมาได้ จากการไดเ้ ขา้ ไปดูแลทหารท่ีผ่านสงครามมาในค่าย โดยนําเสนอขอ้ มูลใน รูปแบบท่ีท้งั ดึงดดู ท่ีสุดและเขา้ ใจง่ายที่สุดไปพรอ้ มกนั โดยเธอไดเ้ ร่ิมเผยแพร่ไดอะแกรมน้ ีสู่ผูม้ ีอาํ นาจที่ เกี่ยวขอ้ ง ไปจนถึงพระราชินีวิคตอเรียท่ีก็มีโอกาสไดท้ อดพระเนตร จนในท่ีสุด ขอ้ เสนอของเธอก็ถูกรบั ฟัง ส่งผลใหก้ ารสาธารณสุขในค่ายทหารค่อย ๆ พัฒนาดีข้ ึน ซ่ึงฟลอเรนซ์ ไนติงเกล (Florence Nightingale) เป็ นพยาบาลในตาํ นานผูอ้ ุทิศตนดูแลคนไขอ้ ยา่ งไมเ่ ห็นแก่เหน็ดเหน่ือย การพฒั นาครง้ั สาํ คญั ของอินโฟกราฟิ กไดเ้ กิดข้ ึนเมือ่ ปี ค.ศ. 1933 ที่ประเทศองั กฤษ เม่อื Harry Beck ไดส้ รา้ งแผนที่การคมนาคมของกรุงลอนดอนเป็ นคร้งั แรกโดยแสดงเสน้ ทางการขนส่งมวลชน สาธารณะและสถานีเดินรถ การพฒั นาน้ ีเป็ นการพฒั นาคร้งั สาํ คญั เพราะเป็ นการนําแผนภูมิรูปภาพเขา้ มาใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ในปี ค.ศ. 1972 OtlAicher นักออกแบบชาวเยอรมนั ไดจ้ ดั ทําสัญลักษณ์ภาพ (Pictogram) สาํ หรบั งานกีฬาโอลิมปิ กที่จดั ข้ ึนที่เมืองมวิ นิก ประเทศเยอรมนั โดยสญั ลกั ษณภ์ าพท่ีจดั ทาํ ข้ ึนเป็ นรูปร่างท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งยงั มีอิทธิพลต่อเน่ืองมาถึงสญั ลกั ษณ์ตามป้ายสาธารณะต่าง ๆ เช่น รูปภาพแสดงสญั ลกั ษณเ์ วลาขา้ มถนนในปัจจุบนั เหตุการณก์ ารนําอินโฟกราฟิ กเขา้ มาใชใ้ นงาน กีฬาโอลิมปิ กที่เมอื งมวิ นิกทาํ ใหอ้ ินโฟกราฟิ กแพร่หลายมากข้ ึน ผูค้ นทวั่ โลกรจู้ กั และใหค้ วามสนใจอินโฟ กราฟิ ก นอกจากน้ันในงานกีฬาโอลิมปิ กที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ก็ยงั ไดน้ ําสญั ลกั ษณภ์ าพในลกั ษณะ เดียวกนั ไปใชอ้ ีกดว้ ย เอกสารประกอบรายวชิ า การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

ต่อมาในปี 1982 หนังสือพิมพ์ USA TODAY ใชอ้ ินโฟกราฟิ กในการนําเสนอขา่ วสารเปล่ียนจาก การนําเสนอในรูปแบบตวั หนังสือระบบพิมพข์ าวดํา มาเป็ นใชร้ ะบบพิมพแ์ บบสีและใชก้ ารทาํ งานของ ภาพอินโฟกราฟิ กในการนําเสนอขา่ วสารแทนรูปแบบเดิม แต่ถูกวิพากษ์วิจารณว์ า่ จะทาํ ใหค้ นอเมริกาโง่ ลงและอินโฟกราฟิ กไมม่ ที างที่จะอยรู่ อดได้ ปรากฏวา่ ผูบ้ ริโภคชอบ ไมว่ า่ จะเป็ นบนหนังสือพิมพ์ หนังสือ เว็บไซต์ อีรีดเดอร์ หรือแมแ้ ต่การนําเสนอขอ้ มลู ทางธุรกิจ การใชง้ านอินโฟกราฟิ กเพ่ือสื่อสารขอ้ มูลท่ีซับซอ้ นเริ่มไดร้ บั ความนิยมอย่างแพร่หลายในปี 2005 กระแสของมนั แรงข้ ึนมาพรอ้ ม ๆ กบั เว็บอย่าง digg และ reddit ท่ีรวบรวมและเผยแพร่ข่าวสาร บทความดา้ นเทคโนโลยี ซึ่งทํางานร่วมกับเครือข่ายสังคมโดยเปิ ดช่องทางใหใ้ ครก็ไดโ้ พสต์ขอ้ มูลท่ี น่าสนใจข้ ึนมา ซึ่งในปัจจุบนั อินโฟกราฟิ กเป็ นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ไดม้ ีการใชอ้ ินโฟกราฟิ กในงาน ต่างๆ มากข้ นึ โดยเฉพาะในอินเทอรเ์ น็ต ซ่ึงเป็ นส่ือท่ีสามารถพบเห็นไดอ้ ยา่ งแพรห่ ลาย ท่ีมารูปภาพ : https://www.freepik.com/free-vector/infographic-template-design_1130959.htm ภาษาภาพ ในการสื่อสารท้งั หมด “ภาพ” ถือเป็ นการส่ือสารประเภทหน่ึงที่ใชก้ นั มาต้งั แต่อดีตโดยการใช้ ภาพวาดบอกเลา่ เร่ืองราวและย่ิงมีอิทธิพลมากในยุคปัจจุบนั น้ ีกบั การส่ือสารท่ีมีขอ้ มูลเป็ นจาํ นวนมาก ๆ ซึ่งการที่จะสรา้ งภาพใหส้ ามารถ “ส่ือสาร” ไดน้ ัน่ นักออกแบบจะตอ้ งถอดรหสั จากขอ้ มูลและทาํ การใส่ รหสั ท่ีผูร้ บั สารสามารถถอดรหสั ออกมาได้ ไม่ว่าจะเป็ นการใชว้ ตั ถุแทนภาพ การจดั องคป์ ระกอบ เช่น การใชเ้ สน้ สี แสง รูปร่าง และเทคนิคต่าง ๆ มาประกอบเป็ นภาพ (สาร) เพ่ือส่งขอ้ ความถึงผูร้ บั สาร นอกจากเสน้ สี และองคป์ ระกอบแลว้ ภาพแต่ละภาพจะมคี ุณสมบตั ิต่าง ๆ ประกอบอยูใ่ นตวั ของมนั ดว้ ย เช่น รูปแบบโครงสรา้ งความเหมือน หรือการเปรียบเทียบ การแสดงงานออกมาดว้ ยภาพน้ันจะใกลเ้ คียง กบั ความเป็ นจริงมากท่ีสุด เอกสารประกอบรายวิชา การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

ภาษาภาพที่จะส่ือความหมายไดด้ ีจะตอ้ งมกี ารจดั วางองคป์ ระกอบต่าง ๆ ลงไปบนพ้ ืนท่ีวา่ ง โดย ใชว้ ิธีการจดั วางหลากหลายรูปแบบ เช่น อาจจะจดั องคป์ ระกอบในลักษณะสมดุล (Symmetry) หรือไม่ สมดุล (Asymmetry) หรือมีการกาํ หนดจุดเด่นที่ชดั เจนจากการใชเ้ สน้ นําสายตา หรือใชส้ ีช่วยในการจดั วางองคป์ ระกอบ ซึ่งความสาํ เร็จของการสื่อสารผ่านการมองเห็นข้ ึนอยู่กบั ความสามารถในการเขา้ ถึง ของคนดูท่ีมีต่อส่ิงที่เห็น บางคร้งั การตอบสนองอาจเกิดข้ ึนไดใ้ นทนั ที หรือสามารถเขา้ ใจมนั ไดอ้ ย่าง รวดเร็ว ไดม้ ีผูใ้ นคาํ นิยามเกี่ยวกบั ภาษาภาพไวว้ า่ M.A.K. HALLIDAY นักภาษาศาสตรก์ ล่าวไวว้ ่า “การ ออกแบบไวยากรณ์ของภาพสามารถสรา้ งชีวิตชีวาใหก้ ับภาพพอๆ กับการสรา้ งความหมาย ” นั่น หมายความวา่ การออกแบบก็เหมือนภาษาซ่ึงตอ้ งทาํ ออกมาใหจ้ บั ใจคน และ J.C. FOZZA ET EL. กล่าว ไวว้ ่า ภาพน้ันมีชื่อเสียงว่าเป็ น “วิธีการสื่อสารแบบง่าย ๆ ที่ยังไม่มีความสมบูรณ์ ตอ้ งมีการแปล ความสามารถวิเคราะหไ์ ดห้ ลากหลาย” การท่ีภาพมีความหมายไดห้ ลายทางนี่เอง ทําใหภ้ าพถูกนําไปคิดวิเคราะห์ต่อ และเกิดการ โตแ้ ยง้ กนั มากกว่าเร่ืองของภาษาซ่ึงใหค้ วามหมายตรงตวั เพราะภาพหน่ึงภาพจะเต็มไปดว้ ยขอ้ ความ สงสยั และจุดประสงคอ์ ื่น ๆ ที่แฝงอยูม่ ากมาย เช่น ตอ้ งการหลอกลอ่ ใหค้ ลอ้ ยตาม หรือปลุกป้ันอารมณ์ ของผูช้ ม อยา่ งไรก็ตามตวั ผูช้ มเองก็มีส่วนร่วมสาํ คญั ในการเลือกที่จะเข้าใจความหมายของภาพ แมจ้ ะ เป็ นเรื่องยากท่ีจะรูถ้ ึงความต้งั ใจที่จะบอกบางส่ิงบางอยา่ งของผูท้ ่ีสรา้ งภาพน้ันข้ นึ มาก็ตาม จากอดีตจนถึงปัจจุบนั ภาษาภาพพฒั นาการและมีการเปล่ียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา อินโฟกราฟิ ก เป็ นพฒั นาการอีกข้นั ของภาษาภาพที่เป็ นการออกแบบการสื่อสารโดยการแปลงขอ้ มูลต่าง ๆ ใหเ้ ป็ น “ภาพ” ทาํ หนา้ ท่ี “สาร” ในการส่ือสารระหวา่ งผูร้ บั และผูส้ ่งสาร ซึ่งการสื่อสารน้ันถือเป็ นสิ่งสาํ คญั หาก คนเราน้ันไมส่ ามารถสื่อสารใหเ้ กิดความเขา้ ใจได้ ความผิดพลาดในเร่ืองต่าง ๆ ก็จะมีโอกาสเกิดข้ ึนได้ สูง เราจึงควรมวี ธิ ีการที่จะช่วยใหก้ ารสื่อสารน้ันงา่ ยข้ ึนและรวมถึงการสรา้ ง “สาร” ใหม้ ีคุณภาพก็จะช่วย ใหก้ ารส่ือสารน้ันมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์มากที่สุด การถ่ายทอดขอ้ มูลในรูปแบบของอินโฟ กราฟิ กท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การนําเสนอขอ้ มูลที่มีความสวยงามแลว้ ควรมีความสามารถในการถ่ายทอดขอ้ มลู ท่ีชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย และเขา้ ใจไดแ้ ทบจะทนั ทีซ่ึงจะเป็ นวธิ ีทาํ ใหก้ ารสื่อสารชดั เจนมากยงิ่ ข้ นึ “ภาพ” ในอินโฟกราฟิ ก คือ สิ่งท่ีสามารถส่ือสารไดด้ ีพอ ๆ กบั การสื่อสารดว้ ยสื่อประเภทอื่น ๆ ท่ีมีวตั ถุประสงคใ์ หผ้ ูส้ ่งสารและผูร้ บั สารน้ันเกิดความเขา้ ใจตรงกนั ในการดาํ เนินชีวิตทุกวนั น้ ี ไม่วา่ จะ เป็ น การทํางาน การเรียน การเดินทาง ตลอดจนการทํากิจกรรมต่างๆ ฯลฯ เราทุกคนลว้ นพบเจอ เรื่องราวและขอ้ มูลต่าง ๆ มากมายอยา่ งมหาศาล ทาํ ใหส้ มองมีการสะสมขอ้ มูลที่ไมจ่ าํ เป็ นจาํ นวนมาก แต่จะดีกวา่ ไหมหากจะมีเทคนิคในการท่ีจะช่วยจดั ระเบียบความคิดใหเ้ ราใชส้ มองอย่างมีประสิทธิภาพ และเหลือที่วา่ งมากพอที่จะคิดอยา่ งเป็ นระบบ สามารถอธิบายความคิดใหผ้ ูอ้ ื่นเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งงา่ ย ๆ มกี ารกล่าวถึง “ภาพ” ในดา้ นการสื่อสาร ดงั น้ ี ปาพจน์ หนุนภกั ดี. (2555: 97) อธิบายวา่ ในงานกราฟิ กดีไซน์จะใชป้ ระสาทสมั ผสั ทาง เอกสารประกอบรายวชิ า การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

สายตาเป็ นหลกั ในการรบั รูส้ ่ิงต่างๆ เพราะฉะน้ันจึงอาจกลา่ วไดว้ า่ จิตวทิ ยาการรบั รทู้ างตาน้ันเป็ น ศาสตรส์ าํ คญั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั กราฟิ กดีไซน์อยา่ งมาก โดยมกี ลุ่มทางจิตวิทยาท่ีศึกษาเกี่ยวกบั การรีบรทู้ ี่ โดดเด่นท่ีสุดคงจะเป็ นจิตวิทยา กลุ่มเกสตลั ท์ (Gestalt Psychology) ที่ใหค้ วามสนใจกบั การรบั รูม้ ิใช่ เฉพาะความหมาย แต่ยงั สนใจไปถึงประสาทสมั ผสั วา่ ทาํ งานร่วมกนั อยา่ งไร จึงกอ่ ใหเ้ กิดการรบั รู้ ความหมาย โดยกล่าววา่ การรบั รทู้ างสายตาจะเป็ นประมาณรอ้ ยละ 75 ของการรบั รทู้ ้งั หมด แต่ความ จริงแลว้ การรบั รไู้ มใ่ ชแ่ ค่การมองเห็นสิ่งใดแลว้ สง่ ไปยงั สมองอยา่ งตรงไปตรงมา ผูม้ องเห็นจะรบั รู้ อยา่ งไรน้ันจะข้ นึ อยกู่ บั ส่วนประกอบอีกหลายอยา่ ง ศุภวชิ ช์ สงวนคมั ธรณ์ (2559) วทิ ยากรกระบวนการและผูก้ อ่ ต้งั สาํ นักงานส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้ (Black Box) กล่าววา่ การคิดเป็ นภาพ ความหมายง่ายๆ ก็คือการใชภ้ าพมาช่วยในการคิดของ เรา ไม่ว่าจะเป็ นการดําเนินชีวิตประจําวัน การทํางาน คุยงานประชุมต่าง ๆ โดยไดพ้ ูดถึง Visual Thinking ซึ่งเป็ นเทคนิคท่ีทุกคนทําได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกบั เด็ก ๆ เพราะพวกเขาใชอ้ ยู่แลว้ เน่ืองจาก เด็ก ๆ มกั ใชภ้ าพในการเรียนรู้ เวลาเขาจะส่ือสารอะไรบางอยา่ ง เขาจะเขียนภาพออกไป ดงั น้ัน Visual Thinking เป็ นอีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยใหเ้ ราสรา้ งการจดจาํ ท่ีดีได้ เพราะภาพจะช่วยสรา้ งความประทับใจ ใหแ้ ก่เราได้ ไม่ว่าจะดว้ ยเรื่องของการใชส้ ีสนั เขา้ มามีส่วนช่วยใหเ้ ราจดจาํ ไดด้ ียิ่งข้ ึน หรือแมก้ ระทงั่ การ สรุปจับใจความสําคัญของสิ่งน้ัน ๆ และจะทําใหเ้ ราเห็นความสัมพันธ์ของส่ิงแต่ละสิ่ง เห็นลําดับ ความสําคัญของแต่ละสิ่ง เห็นทิศทาง และท่ีสําคัญคือเราไดเ้ ห็นภาพรวม ซึ่งท้ังหมดน้ ีจะช่วยใหเ้ รา สามารถมองเห็นโอกาสท่ีเราไมเ่ คยมองเห็นจากตวั หนังสือหรือตาราง ตวั เลข ทาํ ใหเ้ ราเห็นตน้ เหตุของ ปัญหาและทางแกไ้ ขปัญหาท่ีชดั เจนข้ นึ นิพนธ์ สุขปรีดี (2559: ออนไลน์) กลา่ ววา่ “ภาพ” ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจไดด้ ีกวา่ การอธิบายเพียงอย่าง เดียว สุภาษิตจีนยงั กล่าวว่า ภาพเพียงภาพเดียว ดีกวา่ คาํ พดู พนั คาํ ตามประวตั ิการส่ือความหมายของ มนุษย์ พบว่ามนุษยใ์ ชร้ ูปภาพในการติดต่อ ระหว่างกนั แทนการใชภ้ าษาพูดและการเขียนมาก่อน ซึ่ง รูปภาพน้ันสามารถนํามาใช้ร่วมกับการเรียนการสอนหรือการทํางานต่าง ๆ เพื่อช่วยให้เกิด ประสิทธิภาพของงานเพิ่มมากข้ นึ วสวตั ร ดีมาน (2559: ออนไลน์) พดู ถึงทฤษฎีการเรียนรูต้ ามธรรมชาติสมอง (Brain-Based Leaning : BBL) ซึ่งการใชร้ ูปภาพในการสื่อสารหรือประกอบในการเรียนการสอนน้ันมีความสอดคลอ้ ง กับทฤษฎีการเรียนรูโ้ ดยใชส้ มองเป็ นฐาน Brain Based Learning คือ การใชค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจท่ี เก่ียวขอ้ งกบั สมองเป็ นเคร่ืองมือในกระบวนการเรียนรโู้ ดย Regate และ Geoffrey Caine นักวจิ ยั เก่ียวกบั การเรียนรโู้ ดยใชค้ วามรเู้ ก่ียวกบั สมองเป็ นหลกั ไดเ้ สนอทฤษฎีเก่ียวกบั การเรียนรทู้ ี่เกิดจากกระบวนการ สรา้ งความเขา้ ใจ คือ การเรียนรูท้ ่ีดีเกิดจากกระบวนการที่สรา้ งความเขา้ ใจ และใหค้ วามหมายกบั สิ่งท่ี รบั รมู้ า มีการเช่ือมโยงระหว่างส่ิงท่ีเรียนกบั ชีวิตจริง สอน/แนะนํา บนพ้ ืนฐานความรู้ ประสบการณแ์ ละ ทกั ษะท่ีมีอยูเ่ ดิมของผูเ้ รียน กล่าวโดยสรุปไดว้ า่ “ภาพ” คือเป็ นหน่ึงในเครื่องมือส่ือสารขอ้ มลู ที่ชัดเจน และช่วยเติมเต็มการส่ือสารที่คําพูดอธิบายไดไ้ ม่หมด ตัวอย่างเช่น ไม่ว่าเราจะอยู่ในประเทศหรือ เอกสารประกอบรายวิชา การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

ต่างประเทศ เวลาเราตอ้ งการหาหอ้ งน้ําตามสถานที่ต่าง ๆ เราก็มกั จะมองหาสญั ลกั ษณ์รูปผูห้ ญิงและ ผูช้ ายเสมอ สรุปไดว้ ่า ภาษาภาพ เป็ นการสื่อสารดว้ ยภาพ ซ่ึงอินโฟกราฟิ ก เป็ นพฒั นาการอีกข้นั ของ ภาษาภาพท่ีเป็ นการออกแบบการส่ือสารโดยการแปลงขอ้ มูลต่าง ๆ ใหเ้ ป็ น “ภาพ” ทําหน้าที่ “สาร” ในการส่ือสารระหว่างผูร้ บั และผูส้ ่งสาร ที่จะช่วยใหก้ ารส่ือสารน้ันมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์มาก ท่ีสุด รายการอา้ งองิ จงกลณี จงพรชยั , กฤตติกา ตญั ญะแสนสุข และ ลาวลั ย์ ศรทั ธาพุทธ. (2559). อนิ โฟกราฟิ กและการ ประยกุ ตใ์ นงานสุขภาพและเภสชั กรรม. Thai Bull Pharm Sci 2016;11(2):98-120. ธัญธัช นันท์ชนก. (2559). INFOGRAPHIC Design ฉบับ Quick Start + Easy Workshop + Make Money. พิมพค์ ร้งั ที่ 1. กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพว์ ติ ต้ ีกรุป๊ ซากุระดะ จุน. (2558). basic infographic: ใชพ้ ลังของภาพ สรา้ งการสื่อสารท่ีง่าย และ สนุก. แปลโดย ณิชมน หิรญั พฤกษ์. หนา้ 5-19. ปาพจน์ หนุนภกั ดี. (2555). Graphic Design Principles second edition หลกั การและกระบวนการ ออกแบบงานกราฟิ กดีไซน.์ พิมพค์ รง้ั ที่ 1. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร.์ พชั รา วาณิชวศิน. (2559, สิงหาคม). ศกั ยภาพของอินโฟกราฟิ ก (Infographic) ในการเพิ่มคุณภาพ การเรียนร.ู้ วารสารปัญญาภิวฒั น.์ 7(พิเศษ):229-230. ศุภวชิ ช์ สงวนคมั ธรณ.์ (2559). การคิดเป็ นภาพ'เทคนิคสอ่ื สารสู่ความสาเร็จ. สาํ นักงานกองทุน สนับสนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ. : ออนไลน์.สืบคน้ เม่ือ มิถุนายน 15, 2560. เขา้ ถึงไดท้ ่ี : http://www.ryt9.com/s/tpd/2475162 อาศิรา พนาราม. (2560). Infographic เทรนดม์ าแรงในสงั คม “เครือข่ายนิยม”. สืบคน้ เมอ่ื มถิ ุนายน 15, 2560 เขา้ ถึงไดท้ ี่ : http://www.tcdc.or.th/articles/design- creativity/16562/#Infographic-เทรนดม์ าแรงในสงั คมเครือขา่ ยนิยม. เอกสารประกอบรายวิชา การออกแบบ Infographic : Thai MOOC

ขอมอ​ บป​ ระกาศนีย พนิ ด สาํ เรจ็ ก​ ารศ​ การ​ออก​แบบ​ Infogra ผา นโ​ ครง​การ​ Thailand Massive Open Online _____________________________________ นิ​พา​ดา​ ไตร​รตั ​น ภาคว​ ิชาเ​ ทคโนโลยี​การศ​ กึ ษา​ คณะศ​ กึ ษาศ​ าสตร มหาวทิ ยาลยั ศ​ รี​นครนิ ​ทรว​ โ​ิ รฒ Certificate ID Number

ให​ไว​ ณ วัน​ท​ี่ 2​2 พฤศจกิ ายน​ 25​ 62 สําเร็จ​การศ​ ึกษา​ ณ วันท​ ่ี​ 22​ พฤศจกิ ายน​ 2​562 ยบัตร​ฉบับ​นี้​เพ่ือแ​ ส​ดง​วา ดา​ นอย​ศรี ศกึ ษาใ​ นร​ าย​ว​ิชา aphic|Infographic Design Course (การ​ศกึ ษาแ​ บบ​เปิด​ เพ่อื ​การ​เรียนร​ ​ตู ลอดช​ ีว​ ต​ิ ) _____________________________________ รัฐพ​ ล​ ประดับ​เวท​ย ภาค​วิชา​เทคโนโลยกี​ ารศ​ ึกษา​ คณะศ​ กึ ษา​ศาสตร มหาวิทยาลยั ​ศรน​ี คริน​ทรว​ โิ​ รฒ : gSFxX4i9Hs@687484


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook