Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9-1-63-05-27-E-book-อาเซียน

9-1-63-05-27-E-book-อาเซียน

Published by t.panida.noisri, 2020-05-31 11:17:52

Description: 9-1-63-05-27-E-book-อาเซียน

Search

Read the Text Version

ความรู้เบ้อื งต้นเก่ยี วกบั อาเซียน ASEAN

อาเซยี น (ASEAN) การรวมตวั กนั ของ 10 ประเทศ การรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวปี เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้นา อาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่า ด้วย ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดต้ังประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาค จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศ ครั้ง และสาเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดต้ัง 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตั้งให้ สมาคมอาสา (Association of South East เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปีนั้นเอง Asia) เม่อื เดือน ก.ค. 2504 เพื่อการร่วมมือกัน จะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศ ทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ สามารถเข้าไปทางานในประเทศ อื่น ๆ ใน ดาเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง ประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี เสมือนดังเป็น เน่ืองจากความผกผันทางการเมือง ระหว่าง ประเทศเดียวกัน ประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเม่ือมี องค์ความรู้ \"ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การฟ้นื ฟูสมั พนั ธ์ทางการฑูตระหวา่ งสองประเทศ (ASEAN Economic Community : AEC) >> ไปท่ี http://www.thai-aec.com/

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งข้ึนโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) เม่ือวันท่ี 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศ สมาชกิ 5 ประเทศ ประกอบดว้ ย อินโดนเี ซยี มาเลเซยี ฟลิ ิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย เพื่อสง่ เสรมิ ความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมามีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ตามลาดับ จงึ ทาใหป้ จั จุบันอาเซยี น มีสมาชกิ 10 ประเทศ

“ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมอื ในอาเซยี น ฉบบั ที่ 2” “อาเซียน” ส่กู ารเป็นประชาคมอาเซยี น ในปี 2558 ปจั จบุ นั บรบิ ททางการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทงั้ ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศได้เปล่ียนแปลงไปอย่างมาก ทาให้อาเซียนต้องเผชิญ สิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิ โรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ส่ิงแวดล้อม ภัยพิบัติ อีกท้ัง ยังมี ความจาเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและขีดความสามารถทางการแข่งขันกับ ประเทศในภูมิภาคใกล้เคียง และในเวทีระหว่างประเทศ ผู้นาอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า อาเซียนควรจะร่วมมือกันให้เหนียวแน่น เข้มแข็ง และม่ันคงย่ิงข้ึน จึงได้ประกาศ “ปฏิญญา ว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2” (Declaration of ASEAN Concord II) ซึ่ง กาหนดใหม้ ีการสรา้ งประชาคมอาเซียนทป่ี ระกอบไปดว้ ย 3 เสาหลัก ได้แก่

“ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมอื ในอาเซยี น ฉบบั ที่ 2” “อาเซียน” ส่กู ารเป็นประชาคมอาเซยี น ในปี 2558 ปจั จบุ นั บรบิ ททางการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทงั้ ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศได้เปล่ียนแปลงไปอย่างมาก ทาให้อาเซียนต้องเผชิญ สิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิ โรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ส่ิงแวดล้อม ภัยพิบัติ อีกท้ัง ยังมี ความจาเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและขีดความสามารถทางการแข่งขันกับ ประเทศในภูมิภาคใกล้เคียง และในเวทีระหว่างประเทศ ผู้นาอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า อาเซียนควรจะร่วมมือกันให้เหนียวแน่น เข้มแข็ง และม่ันคงย่ิงข้ึน จึงได้ประกาศ “ปฏิญญา ว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2” (Declaration of ASEAN Concord II) ซึ่ง กาหนดใหม้ ีการสรา้ งประชาคมอาเซียนทป่ี ระกอบไปดว้ ย 3 เสาหลัก ได้แก่

เสา 1 3 เสาหลัก เสา 2 เสา 3 ประชาคมการเมืองและความ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรม ม่ั น ค ง อ า เ ซี ย น ( ASEAN (ASEAN Economic อาเซียน (ASEAN Socio - Political and Security Community - AEC) Cultural Community - Community - APSC) มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกัน ASCC) มุ่งให้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ ทางเศรษฐกิจ และ ค วาม มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมี ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไข สะดวกในการติดต่อค้าขาย สภาพความเป็นอยู่ท่ีดี มีความ ปัญหาระหว่างกันโดยสันติวิธี ระหว่างกัน เพ่ือให้ประเทศ ม่ันคงทางสังคม มีการพัฒนา มีเสถียรภาพและความม่ันคง ส ม า ชิ ก ส า ม า ร ถ แ ข่ ง ขั น กั บ ในทกุ ๆ ด้าน และมีสังคมแบบ รอบด้าน เพื่อความม่ันคง ภูมภิ าคอืน่ ๆได้ เอือ้ อาทร ปลอดภัยของเหลา่ ประชาชน

สัญลกั ษณ์ความเป็นอาเซยี น ภาษา ภาษาทางการท่ีใชใ้ นการติดต่อประสานงานระหว่างประเทศสมาชิก คือ ภาษาองั กฤษ คาขวัญ \"หน่งึ วสิ ยั ทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม” คาขวัญ (One Vision, One Identity, One Community) อตั อัตลักษณ์ --อาเซียนจะต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเปน็ เจ้าของ ลกัวันษณ์ ในหมู่ประชาชนของตน เพอื่ ใหบ้ รรลุชะตา เป้าหมาย และคณุ ค่าร่วมกนั ของอาเซยี น วนั วนั อาเซยี น ใหว้ นั ท่ี 8 สงิ หาคม ของทุกปี

สัญลกั ษณค์ วามเปน็ อาเซยี น คือ ดวงตราอาเซียนเป็นรูปมัดรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นวงกลมสีแดงล้อมรอบ สญั ลักษณ์ ดว้ ยวงกลมสีขาว และสนี ้าเงนิ รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น

สญั ลักษณ์ความเปน็ อาเซียน รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น ตวั อักษรคาว่า asean สีน้าเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าว ความ หมายถึง ความใฝ่ฝันของ แสดงถึงความมุ่งม่ันที่จะทางานร่วมกันเพ่ือความ หมาย บรรดาสมาชิกในเอเซีย มั่นคง สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของ ตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ประเทศ ให้มีอาเซียนที่ สีเหลือง : หมายถงึ ความเจรญิ ร่งุ เรือง ผูกพันกันอย่างมีมิตรภาพ สีแดง : หมายถึง ความกลา้ หาญและการมีพลวัติ และเปน็ หนึง่ เดียว สีขาว : หมายถงึ ความบริสุทธิ์ วงกลม เป็นสัญลักษณ์ สีน้าเงนิ : หมายถงึ สันตภิ าพและความมน่ั คง แ ส ด ง ถึ ง เ อ ก ภ า พ ข อ ง อาเซยี น

สัญลักษณค์ วามเปน็ อาเซียน ธงอาเซียน เป็นธงพ้ืนสีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียน ธง อยู่ตรงกลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สันติภาพ ความสามคั คี และพลวตั ของอาเซยี น สีของธงประกอบดว้ ย สีนา้ เงนิ สแี ดง สีขาว และ สีเหลือง ซ่ึงเป็นสีหลักในธงชาติของบรรดาประเทศ สมาชิกของอาเซยี นท้งั หมด วนั เพลงประจาอาเซยี น (ASEAN Anthem) เพลง คือ เพลง ASEAN WAY

อาชพี ที่เคล่อื นยา้ ยในอาเซยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook