เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....92
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....93
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....94
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....95
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....96
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....97
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....94 จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2 ครตู ้องอบรม สง่ั สอน ฝึกฝน สรา้ งเสริมความรู้ ทกั ษะและนิสยั ทีถ่ ูกต้อง ดงี าม ให้เกดิ แก่ศษิ ย์ อย่างเต็มความสามารถดว้ ยความบริสุทธ์ิใจ ข้าพเจ้าขอเลือกจรรยาบรรณวชิ าชพี ข้อท่ีที่ 2 เป็นขอ้ เด่นชดั รางวัลท่ีไดร้ ับจากการอบรม ส่ังสอน ฝกึ ฝน สร้างความรู้ ทกั ษะและนสิ ัยทีถ่ กู ต้องดีงาม ให้ เกิดแกศ่ ษิ ย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ ไดร้ บั การยอมรบั จากผปู้ กครอง พฤติกรรม-นิสัยท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลง อยู่ท่ีโรงเรียนจะเข้ากับเพอื่ นๆได้ทกุ คนจะเป็ นคนไม่ค่อยพูดเท่าไหร่ แต่พอได้มาอยู่ที่ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ มาเรียน ปวช. แล้วจะเป็ นคนพูดเก่ง เข้ากับเพอื่ นท่ี โรงเรียนได้ดี การเรยี นก็ดีข้ึน ตั้งในเรียนได้เกรดดีกว่าเก่า พอกลับไปบ้านจะไม่ทาอะไร พอ่ แมบ่ อกก็ไม่ได้เขาจะเฉยๆ แต่ก็ดีกว่าเก่าเยอะร้จู ักรัก พอ่ แม่ น้อง นาย ชด จนั ทร์ภู่(บดิ า) นางสาวปรญิ ญา จนั ทร์ภู่ปวช. 1 รุ่น 5
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 2.....95 คณุ ลักษณะ ก่อน หลัง 1. มคี วามใฝ่ รู้ ใฝ่ เรยี น แสวงหาความร้ดู ้วยตวั เอง นอ้ ย ปานกลาง 2. มคี วามรบั ผดิ ชอบ มรี ะเบยี บวนิ ยั ขยนั อดทน ซอ่ื สตั ย์ และมนี ้าใจ นอ้ ย ปานกลาง 3. มบี ุคลกิ ภาพดี และร่างกายสมบูรณ์ แขง็ แรงตามวยั นอ้ ย นอ้ ย ทส่ี ุด 4. ช่วยแบง่ เบาภาระงานของบดิ า มารดา เช่น ทางานบา้ น งานสวน นอ้ ย นอ้ ย ฯลฯ 5. มคี วามประพฤตเิหมาะสมเป็นแบบอยา่ งทด่ี แี ก่บุคคลในครอบครวั นอ้ ย นอ้ ย 6. มคี วามเสยี สละ แก่พอ่ แม่ พนี่ อ้ ง และบุคคลอน่ื นอ้ ย นอ้ ย คณุ ลักษณะ ก่อน หลัง ทส่ี ุด 7. ดูแลเอาใจใส่บุคคลในครอบครวั และบุคคลอนื่ มาก มากทสี่ ุด 8. มคี วามสามารถช่วยเหลอื ตวั เองได้ในเรอื่ งทเี่ป็นส่วนตวั นอ้ ย ปานกลาง ของนกั เรยี น เชน่ ซกั ผา้ รดี ผา้ ฯลฯ ทส่ี ุด 9. มเีหตุผลและมคี วามสามารถชว่ ยแนะนาให้กบั บุคคลใน นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ุด ครอบครวั และบุคคลอนื่ ได้ ทสี่ ุด 10. มคี วามเป็นกนั เองกบั บุคคลในครอบครวั และ ปาน นอ้ ย บุคคลอนื่ กลาง 11. บุคคลในครอบครวั และบุคคลอน่ื สามารถพงึ่ พา นอ้ ย ปานกลาง อาศยั ได้ ปาน มาก 12. เป็นทรี่ กั ของคนในครอบครวั และในหมูบ่ า้ น กลาง
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณข้อที่ 2.....96 พฤติกรรม-นสิ ัยที่มกี ารเปลี่ยนแปลง น่ารักมเี หตผุ ลข้ึน สามารถควบคมุ อารมณ์ของตนเองได้ รับฟั งความคิดเห็นคนอ่ืนบ้าง คณุ ลักษณะ ก่อน หลัง 1. มคี วามใฝ่ รู้ ใฝ่ เรยี น แสวงหาความรู้ ปานกลาง มาก นายภรปภา (มารดา) นางสาวพนิ ทุสร ดาคาพเิศษ ปวช. 1 รุ่น 5 ด้วยตวั เอง มาก 2. มคี วามรบั ผดิ ชอบ มรี ะเบยี บวนิ ยั ขยนั ปานกลาง อดทน ซอื่ สตั ย์ และมนี ้าใจ ปาน คณุ ลักษณะ ก่อน หลัง มากทส่ี ุด 3. มบี ุคลกิ ภาพดี และร่างกายสมบูรณ์ นอ้ ย มาก แขง็ แรงตามวยั กลาง 7. ดูแลเอาใจใส่บุคคลในครอบครวั และ มาก มาก 4. ช่วยแบง่ เบาภาระงานของบดิ า มารดา นอ้ ย มาก บุคคลอนื่ มาก มาก เชน่ ทางานบา้ น งานสวน ฯลฯ 8. มคี วามสามารถชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ ปาน มาก 5. มคี วามประพฤตเิหมาะสมเป็นแบบอยา่ งที่ มาก ปาน ในเรอ่ื งทเี่ป็นส่วนตวั ของนกั เรยี น เช่น กลาง ดแี ก่บุคคลในครอบครวั กลาง ซกั ผา้ รดี ผา้ ฯลฯ 6. มคี วามเสยี สละ แก่พอ่ แม่ พน่ี อ้ ง และ มาก มากทส่ี 9ุด. มเีหตุผลและมคี วามสามารถชว่ ย ปาน บุคคลอนื่ แนะนาให้กบั บุคคลในครอบครวั และ กลาง บุคคลอน่ื ได้ 10. มคี วามเป็นกนั เองกบั บุคคลใน ปาน ครอบครวั และบุคคลอน่ื กลาง 11. บุคคลในครอบครวั และบุคคลอนื่ ปาน สามารถพงึ่ พาอาศยั ได้ กลาง 12. เป็นทรี่ กั ของคนในครอบครวั และใน ปาน หมูบ่ า้ น กลาง
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณข้อที่ 2.....97 พฤติกรรม-นิสยั ทีม่ กี ารเปลยี่ นแปลง คาชีแ้ นะถงึ โรงเรียน เปลยี่ นแปลงนิสยั ดีขนึ ้ กเ็ ป็นผ้ใู หญ่ดี รู้จกั ขอขอบคณุ หลวงพอ่ และคณะครูอาจารย์โรงเรียนทีบ่ ตุ ร รับผดิ ชอบในหน้าทก่ี ารงาน ขอขอบคณุ คณุ ครูและ หลานของดิฉนั ได้เรียนโรงเรียนนดี ้ ีมากบรรยากาศก็ดี โดยเฉพาะครู พนดิ า ท่ีดแู ละและอบรมลกู สาวให้เปลยี่ นเป็นคนใหมท่ ด่ี ี ท่ีนา่ รักของ อาจารย์ทไี่ ด้เสยี เวลาสอนบตุ รหลานให้ได้ดี และได้มี ครอบครัว ขอบคณุ ครูพนดิ า มากคะ ระเบยี บวินยั รู้จกั ทกั ทายพดู คยุ กบั ผ้ใู หญ่ดมี ากๆ นางดาว สวา่ งยงิ่ หลงั นางสาวฐิติรัตน์ สวา่ งย่ิง ปวช.3 รุ่น 5 คุณลกั ษณะ กอ่ น มาก 1. มีความใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น แสวงหาความร้ดู ว้ ยตัวเอง ปาน กลาง คุณลักษณะ ก่อน หลงั 2. มีความรบั ผดิ ชอบ มรี ะเบียบวนิ ัย ขยัน อดทน ปาน มาก 7. ดแู ลเอาใจใสบ่ คุ คลในครอบครัวและบคุ คลอนื่ มาก มาก ซ่อื สตั ย์ และมนี า้ ใจ กลาง ที่สดุ 3. มีบุคลกิ ภาพดี และร่างกายสมบูรณ์ แขง็ แรง ปาน มาก 8. มีความสามารถช่วยเหลอื ตัวเองได้ในเรอ่ื งทีเ่ ป็น มาก มาก ตามวยั กลาง ทสี่ ดุ ส่วนตัวของนกั เรียน เชน่ ซักผ้า รีดผา้ ฯลฯ ทส่ี ดุ 4. ชว่ ยแบ่งเบาภาระงานของบิดา มารดา เชน่ ปาน มาก 9. มเี หตผุ ลและมีความสามารถชว่ ยแนะน้าให้กับ น้อย มาก ท้างานบา้ น งานสวน ฯลฯ กลาง บุคคลในครอบครวั และบคุ คลอน่ื ได้ 5. มีความประพฤตเิ หมาะสมเป็นแบบอย่างท่ีดแี ก่ ปาน มาก 10. มคี วามเปน็ กันเองกบั บุคคลในครอบครวั และ ปาน มาก บคุ คลในครอบครวั กลาง บุคคลอนื่ กลาง มาก มาก 6. มีความเสียสละ แก่พ่อแม่ พน่ี ้อง และบุคคลอนื่ ปาน มาก 11. บุคคลในครอบครวั และบุคคลอน่ื สามารถพง่ึ พา กลาง ทส่ี ดุ อาศยั ได้ ทส่ี ดุ 12. เป็นท่ีรกั ของคนในครอบครัวและในหม่บู ้าน มาก มาก ท่ีสดุ
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณข้อท่ี 2.....98 จรรยาบรรณข้อท่ี 2 ครตู อ้ งอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสรมิ ความรู้ ทักษะและนิสยั ทถี่ กู ต้อง ดีงาม ให้เกิดแก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถดว้ ยความบริสุทธ์ใิ จ ข้าพเจา้ ขอเลือกจรรยาบรรณวิชาชีพข้อที่ที่ 2 เป็นขอ้ เด่นชัด รางวลั ท่ีได้รบั จากการอบรม ส่งั สอน ฝกึ ฝน สรา้ งความรู้ ทักษะและนิสัยทถี่ กู ตอ้ งดีงาม ให้ เกิดแกศ่ ิษย์ อย่างเต็มความสามารถดว้ ยความบริสุทธ์ิใจ เสียงสะท้อนจากหนว่ ยงาน ชุมชน สังคม สาหรบั นายวิชัย ภาวนา (แชมป์) รู้สึกประทบั ใจนอ้ งเปน็ ทม่ี ี ความรับผิดชอบดีมาก ขยัน รจู้ กั หนา้ ทข่ี องตนเอง 3 เดือนท่ฝี กึ ประสบการณ์วชิ าชีพที่วัดพระบาท นา้ พแุ หง่ น้ไี ด้รู้จกั นอ้ งไดเ้ หน็ ความ เปลีย่ นแปลงรู้สึกดีใจ กข็ อใหน้ ้อง ตงั้ ใจและพัฒนาตนเองเรื่อยๆแล้ว นอ้ งจะประสบความสาเรจ็ ในสิง่ ที่ นอ้ งตอ้ งการ
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 2.....99 มคี วามกระตอื ลอื ลน้ ในการทางาน ตื่นตัวอย่เู สมอทางานตามคาสัง่ ไดด้ ี มสี มั มาคารวะท่ี ดี นอบนอ้ มถอ่ มตน ขยนั ขันแขง็ ในการทางานรู้จักรักษาความสะอาด มีความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสภุ าพอยู่เสมอ เช่ือฟังคาสั่งทุกอย่างดี งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจะทา เสรจ็ เป็นอย่างดี แตง่ กายสภุ าพ มคี วามตรงตอ่ เวลาอยู่เสมอไมห่ ลบงาน ไม่เก่ียงงาน มี วินยั เป็นอย่างดี อยู่ในระเบยี บของหนว่ ยงานเสมอ มีมนุษยส์ ัมพันธด์ ี สามารถมอบหมาย งานใหท้ าได้เป็นอยา่ งดไี วว้ างใจไดใ้ นงานทมี่ อบหมาย มีความอยากรู้อยากเห็นตลอด
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....100 มคี วามประทบั ใจมาก เปน็ คนท่ีมคี วามรูค้ วามสามารถมากในการทางาน เวลา ใชใ้ ห้ทางานก็จะทาจนเสร็จ ถ้าเขาไม่ร้กู จ็ ะถามตลอดเวลาในการทางาน เปน็ เด็กนสิ ัยดี เรียบรอ้ ย สภุ าพ พดู จาไพเราะ มคี วามประทบั ใจมากท่ีทางโรงเรียน ไดส้ ่งเดก็ มาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ที่ อบต. มหาโพธิ
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....101 สรปุ ผลความพึงพอใจด้านลักษณะนิสยั ท่ใี นการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนกั เรยี นตงั้ แตร่ ุ่น 1-ปัจจุบัน สรปุ ผลการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ (รุ่นท่ี 1) พฤตกิ รรมท่ีประเมิน คา่ เฉลี่ย ผล 1 การวางแผนอย่างถูกต้องในการปฏบิ ัติงาน 4.07 ดี 2. ความรบั ผดิ ชอบต่องานในหน้าที่ 4.63 ดมี าก 3. ความรู้เกยี่ วกบั งานในหนา้ ท่ี 4.02 ดี 4. การตอบสนองตอ่ คาส่งั ของหน่วยงาน 4.52 ดมี าก 5. ความเอาใจใส่ระมดั ระวงั ต่ออุปกรณเ์ ครือ่ งใช้ 4.61 ดีมาก 6. คณุ ภาพและปริมาณของงานทที่ า 4.43 ดี 7. ความร่วมมือและร่วมกจิ กรรมกบั หน่วยงาน 4.74 ดีมาก 8. ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ 4.00 ดี 9. ความสามารถในการทางานดว้ ยตนเองหรือรว่ มกบั หมู่คณะได้ 4.50 ดมี าก 10. การแก้ไขปญั หาและการตดั สนิ ใจ 4.04 ดี 11. การตรงตอ่ เวลา 4.84 ดีมาก 12. ความมีระเบียบวินัย 4.73 ดมี าก 13. ความซ่อื สตั ยส์ ุจริต 4.89 ดีมาก 14. สัมพันธภ์ าพต่อผรู้ ว่ มงาน 4.56 ดีมาก 15. การยอมรับความคิดเห็นของผู้อนื่ 4.65 ดีมาก 16. การร้จู ักใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ 4.10 ดี 17. การแตง่ กายเหมาะสม 4.67 ดีมาก 18. ความมกี ิริยามารยาทและควบคมุ อารมณ์ไดด้ ี 4.60 ดีมาก 19. ความขยนั หมน่ั เพียร 4.63 ดมี าก 20. ความคลอ่ งแคล่วในการทางาน 4.52 ดมี าก ภาพรวม 4.49 ดี จากตารางพบว่าพฤติกรรมนักเรียนท่ีฝึกประสบการณ์ในครั้งน้ีที่เป็นที่พึงพอใจของหน่วยงานใน ระดับดีมาก 14 พฤติกรรม ระดับดี 4 พฤติกรรม ซ่ึงในระดับดีมากที่มีค่าสูงสุดคือพฤติกรรมด้านความ ซื่อสัตย์สุจริต มีค่าเฉล่ีย 4.89 พฤติกรรมท่ีหน่วยงานที่พึงพอใจในระดับสุดท้ายของพฤติกรรมท้ังหมดคือ พฤติกรรมด้านความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ มคี ่าเฉลีย่ 4.00
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....102 สรปุ ผลการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ (รนุ่ ท่ี 2) พฤตกิ รรมที่ประเมิน ค่าเฉลี่ย ผล ดี 1 การวางแผนอยา่ งถูกต้องในการปฏบิ ัตงิ าน 4.09 ดีมาก ดี 2. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานในหน้าท่ี 4.74 ดีมาก ดมี าก 3. ความรู้เกี่ยวกับงานในหนา้ ท่ี 4.30 ดี ดมี าก 4. การตอบสนองตอ่ คาสง่ั ของหนว่ ยงาน 4.57 ดี ดี 5. ความเอาใจใส่ระมัดระวงั ต่ออุปกรณเ์ คร่ืองใช้ 4.57 ดี 6. คุณภาพและปรมิ าณของงานท่ที า 4.26 ดีมาก ดมี าก 7. ความร่วมมือและรว่ มกจิ กรรมกบั หนว่ ยงาน 4.74 ดมี าก ดมี าก 8. ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ 4.09 ดีมาก ดี 9. ความสามารถในการทางานดว้ ยตนเองหรอื รว่ มกับหมู่ 4.48 ดมี าก ดีมาก คณะได้ ดมี าก ดี 10. การแก้ไขปญั หาและการตัดสนิ ใจ 4.04 ดีมาก 11. การตรงต่อเวลา 4.70 12. ความมีระเบียบวินยั 4.65 13. ความซ่ือสตั ยส์ จุ รติ 4.83 14. สมั พนั ธภ์ าพต่อผ้รู ่วมงาน 4.78 15. การยอมรบั ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื 4.61 16. การรู้จกั ใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ 4.30 17. การแต่งกายเหมาะสม 4.61 18. ความมีกริ ิยามารยาทและควบคุมอารมณ์ได้ดี 4.70 19. ความขยนั หม่นั เพียร 4.61 20. ความคล่องแคลว่ ในการทางาน 4.35 ภาพรวม 4.50 จากตารางพบว่าพฤติกรรมนักเรียนท่ีฝึกประสบการณ์ในคร้ังนี้ที่เป็นท่ีพึงพอใจของหน่วยงานใน ระดับดีมาก 12 พฤติกรรม ระดับดี 8 พฤติกรรม ซึ่งในระดับดีมากที่มีค่าสูงสุดคือพฤติกรรมด้านความ ซ่ือสัตย์สุจริต มีค่าเฉล่ีย 4.83 พฤติกรรมท่ีหน่วยงานที่พึงพอใจในระดับสุดท้ายของพฤติกรรมท้ังหมดคือ พฤติกรรมดา้ นการแกไ้ ขปัญหาและการตดั สินใจ มคี า่ เฉลยี่ 4.04
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....103 สรุปผลการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ (รุน่ ท่ี 3) พฤติกรรมท่ีประเมิน คา่ เฉล่ีย ผล 1. การวางแผนอยา่ งถูกต้องในการปฏิบัตงิ าน 4.24 ดี 2. ความรบั ผดิ ชอบต่องานในหน้าท่ี 4.80 ดมี าก 3. ความรเู้ กีย่ วกับงานในหน้าท่ี 4.32 ดี 4. การตอบสนองต่อคาส่งั ของหน่วยงาน 4.60 ดมี าก 5. ความเอาใจใสร่ ะมดั ระวังต่ออุปกรณเ์ คร่อื งใช้ 4.28 ดี 6. คุณภาพและปริมาณของงานท่ีทา 4.28 ดี 7. ความร่วมมือและร่วมกิจกรรมกบั หน่วยงาน 5.00 ดีมาก 8. ความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ 4.44 ดี 9. ความสามารถในการทางานด้วยตนเองหรือร่วมกบั หมู่ คณะได้ 4.72 ดมี าก 10. การแก้ไขปัญหาและการตัดสนิ ใจ 4.04 ดี 11. การตรงตอ่ เวลา 4.88 ดีมาก 12. ความมรี ะเบียบวนิ ัย 4.68 ดมี าก 13. ความซื่อสัตยส์ ุจริต 4.88 ดมี าก 14. สมั พนั ธ์ภาพต่อผูร้ ่วมงาน 4.72 ดมี าก 15. การยอมรับความคิดเห็นของผู้อน่ื 4.60 ดีมาก 16. การร้จู ักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ 4.28 ดี 17. การแต่งกายเหมาะสม 4.88 ดีมาก 18. ความมีกิริยามารยาทและควบคุมอารมณ์ได้ดี 4.60 ดมี าก 19. ความขยนั หมน่ั เพียร 4.80 ดีมาก 20. ความคลอ่ งแคล่วในการทางาน 4.48 ดี ภาพรวม 4.58 ดีมาก จากตารางพบว่าพฤติกรรมนักเรียนที่ฝึกประสบการณ์ในครั้งน้ีที่เป็นที่พึงพอใจของหน่วยงานใน ระดับดีมาก 12 พฤติกรรม ระดับดี 8 พฤติกรรม ซ่ึงในระดับดีมากท่ีมีค่าสูงสุดคือพฤติกรรมด้านความ ร่วมมือและร่วมกิจกรรมกับหน่วยงาน มีค่าเฉล่ีย 5.00 พฤติกรรมที่หน่วยงานท่ีพึงพอใจในระดบั สุดท้ายของ พฤติกรรมท้ังหมดคือพฤติกรรมด้านการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ มีค่าเฉลี่ย 4.04 ผลความพึงพอใจของ หน่วยงานในพฤติกรรมของนักเรียนทฝ่ี ึกประสบการณใ์ นภาพรวมอยู่ในระดบั ดมี าก มีคา่ เฉล่ยี 4.58
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 2.....104 สรุปผลการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าพณิชยการ สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ (รุน่ ที่ 4) พฤติกรรมที่ประเมิน คา่ เฉล่ยี ผล การตรงต่อเวลา และมาปฏบิ ัติงานอยา่ งสม่าเสมอ 4.88 ดมี าก ความซื่อตรงตอ่ งาน 4.88 ดมี าก การแตง่ กายสุภาพเรียบร้อย และถูกระเบยี บ 4.79 ดีมาก เช่อื ฟังและปฏบิ ัติตามคาแนะนาของหัวหนา้ งาน 4.79 ดีมาก ความขยันขันแข็งในการทางาน 4.79 ดีมาก ความมนี ้าใจ ให้ความร่วมมือ และประสานงานร่วมกบั ผอู้ น่ื 4.79 ดีมาก ความสามารถปฏบิ ัตงิ านทีไ่ ด้รับมอบหมาย 4.75 ดีมาก ความสุภาพอ่อนน้อมรู้จักกาลเทศะ 4.75 ดีมาก การรจู้ ักสทิ ธิ หนา้ ที่ และความรบั ผิดชอบ 4.67 ดมี าก การเหน็ คณุ คา่ ของส่ิงของ เครื่องใช้ 4.67 ดีมาก ผลงานเป็นทยี่ อมรับของหน่วยงาน 4.63 ดีมาก ความสามารถปรบั ตัวเขา้ กบั สภาพแวดล้อม 4.63 ดีมาก ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บ ข้อบังคับ ทก่ี าหนดไว้อยา่ งเครง่ ครัด 4.58 ดีมาก การรจู้ กั ควบคุมตนเอง 4.58 ดมี าก ความไวว้ างใจสามารถมอบหมายงานได้ 4.58 ดมี าก ปฏบิ ตั งิ านด้วยความรอบคอบและคานงึ ความปลอดภัย 4.58 ดมี าก เข้าใจขนั้ ตอนและขอบเขตของการปฏบิ ัตงิ าน 4.54 ดมี าก ความสามารถในการแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟังผู้อน่ื 4.50 ดีมาก ความสามารถในการส่ือสาร ได้ถกู ต้องชดั เจนกับผ้รู ว่ มงานและหวั หนา้ งาน 4.46 ดี 4.46 ดี ปฏบิ ตั งิ านถูกต้องตามลกั ษณะงาน มีความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรคแ์ ละไหวพรบิ ในการทางาน 4.38 ดี ความสามารถในการแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ในการทางาน 4.08 ดี ผลการประเมนิ รวม 4.63 ดมี าก จากตารางพบว่าพฤติกรรมนักเรียนที่ฝึกประสบการณ์ในครั้งน้ีท่ีเป็นท่ีพึงพอใจของหน่วยงานใน ระดับดีมาก 18 พฤติกรรม ระดับดี 4 พฤติกรรม ซ่ึงในระดับดีมากท่ีมีค่าสูงสุดคือพฤติกรรมด้านการตรงตอ่ เวลาและมาปฏิบัติงานอย่างสมา่ เสมอ มีค่าเฉลี่ย 4.88 พฤติกรรมท่ีหน่วยงานท่ีพึงพอใจในระดบั สุดท้ายของ พฤติกรรมท้ังหมดคือพฤติกรรมด้านการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในการทางาน มีค่าเฉลี่ย 4.08 ผลความ พึงพอใจของหน่วยงานในพฤติกรรมของนักเรียนที่ฝึกประสบการณ์ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.63
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 2.....105 สรปุ ผลการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าพณชิ ยการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ (รนุ่ ที่ 5) หวั ข้อท่ีรบั การประเมิน คา่ เฉลยี่ ผล ดมี าก 1. ระเบยี บวินัย 4.58 ดมี าก ดีมาก 1.1 การแตง่ กายสภุ าพเรียบร้อยและถกู ระเบียบ 4.66 ดีมาก ดมี าก 1.2 การตรงตอ่ เวลา และมาปฏิบตั งิ านอยา่ งสม่าเสมอ 4.53 ดี 1.3 ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่กาหนดไวอ้ ย่างเคร่งครัด 4.51 ดมี าก ดมี าก 1.4 เชอ่ื ฟงั และปฏิบตั ิตามคาแนะนาของหัวหนา้ งาน 4.61 ดี 2. พฤติกรรมในการทางาน 4.43 ดี ดี 2.1 ความซือ่ ตรงตอ่ งาน 4.58 ดี 2.2 ความขยันขนั แขง็ ในการทางาน 4.53 ดี ดี 2.3 การรู้จักควบคุมอารมณ์ 4.40 ดี ดี 2.4 การรู้จกั สทิ ธิ หนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบ 4.40 ดี ดี 2.5 ความไว้วางใจสามารถมอบหมายงานให้ได้ 4.36 ดี ดี 2.6 ความสามารถในการสอ่ื สารไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจนกบั ผ้รู ว่ มงานและ ดี ดี หัวหน้างาน 4.29 ดีมาก ดีมาก 3. คุณภาพของงาน 4.31 ดมี าก ดีมาก 3.1 ความสามารถปฏิบัตงิ านท่ีไดร้ ับมอบหมาย 4.47 ดี ดี 3.2 ความสามารถในการแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ในการทางาน 4.15 3.3 ปฏบิ ัตงิ านถูกต้องตามลกั ษณะงาน 4.32 3.4 ผลงานเป็นท่ยี อมรับของหน่วยงาน 4.30 4. วิธีการปฏบิ ตั ิงาน 4.29 4.1 ปฏิบตั ิงานดว้ ยความรอบคอบและคานึงถึงความปลอดภัย 4.30 4.2 เขา้ ใจขน้ั ตอนและขอบเขตของการปฏบิ ตั ิงาน 4.22 4.3 การเหน็ คุณค่าของสง่ิ ของ เครือ่ งใช้ 4.40 4.4 มคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรคแ์ ละไหวพรบิ ในการทางาน 4.24 5. มนุษยสัมพันธ์ 4.58 5.1 ความมีนา้ ใจ ให้ความร่วมมอื และประสานงานร่วมกบั ผอู้ ื่น 4.69 5.2 ความสามารถปรบั ตวั เขา้ กบั สภาพแวดล้อม 4.55 5.3 ความสภุ าพอ่อนน้อมรจู้ ักกาลเทศะ 4.65 5.4 ความสามารถในการแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟงั ผู้อืน่ 4.45 ผลการประเมินรวม 4.44
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณข้อท่ี 2.....106 สรุปผลการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ (รุ่นที่ 6) หวั ข้อที่รบั การประเมนิ ค่าเฉล่ยี ผล ดมี าก 1. ระเบยี บวนิ ยั 4.68 ดีมาก ดีมาก 1.1 การแตง่ กายสุภาพเรยี บร้อยและถูกระเบียบ 4.52 ดีมาก ดีมาก 1.2 การตรงต่อเวลา และมาปฏิบัตงิ านอยา่ งสมา่ เสมอ 4.71 ดมี าก ดีมาก 1.3 ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับ ท่ีกาหนดไว้อยา่ งเคร่งครดั 4.62 ดี 1.4 เชื่อฟงั และปฏิบตั ติ ามคาแนะนาของหัวหน้างาน 4.81 ดมี าก 2. พฤตกิ รรมในการทางาน 4.57 ดี ดี 2.1 ความซื่อตรงต่องาน 4.95 ดมี าก 2.2 ความขยันขนั แขง็ ในการทางาน 4.43 ดี 2.3 การรจู้ กั ควบคุมอารมณ์ 4.76 ดีมาก ดี 2.4 การรู้จกั สิทธิ หนา้ ท่ี และความรบั ผิดชอบ 4.24 ดี ดี 2.5 ความไวว้ างใจสามารถมอบหมายงานให้ได้ 4.24 ดี ดี 2.6 ความสามารถในการสอื่ สารไดถ้ ูกต้องชดั เจนกับผรู้ ่วมงานและ ดี ดี หวั หนา้ งาน 4.52 ดี 3. คณุ ภาพของงาน 4.34 ดมี าก ดีมาก 3.1 ความสามารถปฏิบัติงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 4.52 ดมี าก ดีมาก 3.2 ความสามารถในการแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าในการทางาน 4.00 ดี 3.3 ปฏิบตั ิงานถกู ต้องตามลักษณะงาน 4.48 ดีมาก 3.4 ผลงานเป็นทีย่ อมรับของหน่วยงาน 4.33 4. วธิ กี ารปฏิบัติงาน 4.39 4.1 ปฏบิ ตั งิ านด้วยความรอบคอบและคานึงถึงความปลอดภัย 4.38 4.2 เข้าใจขน้ั ตอนและขอบเขตของการปฏบิ ตั ิงาน 4.43 4.3 การเหน็ คณุ ค่าของส่ิงของ เคร่อื งใช้ 4.38 4.4 มคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรคแ์ ละไหวพรบิ ในการทางาน 4.38 5. มนุษยสัมพนั ธ์ 4.68 5.1 ความมนี า้ ใจ ให้ความร่วมมือ และประสานงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื 4.95 5.2 ความสามารถปรบั ตัวเขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม 4.81 5.3 ความสภุ าพอ่อนน้อมรูจ้ กั กาลเทศะ 4.81 5.4 ความสามารถในการแสดงความคดิ เห็นและรับฟังผ้อู ่ืน 4.43 ผลการประเมินรวม 4.53
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณข้อที่ 2.....107 สรุปผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวชิ าพณชิ ยการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ (รนุ่ ท่ี 7) หัวข้อที่รบั การประเมิน คา่ เฉลีย่ ผล ดมี าก 1. ระเบยี บวนิ ยั 4.64 ดีมาก ดมี าก 1.1 การแต่งกายสภุ าพเรยี บร้อยและถกู ระเบยี บ 4.77 ดมี าก ดมี าก 1.2 การตรงต่อเวลา และมาปฏิบตั งิ านอยา่ งสมา่ เสมอ 4.56 ดี 1.3 ปฏิบัติตามกฎระเบยี บ ข้อบงั คับ ท่ีกาหนดไว้อยา่ งเคร่งครัด 4.53 ดีมาก ดีมาก 1.4 เชือ่ ฟงั และปฏิบัตติ ามคาแนะนาของหัวหน้างาน 4.71 ดี 2. พฤติกรรมในการทางาน 4.49 ดี ดี 2.1 ความซอื่ ตรงตอ่ งาน 4.72 ดี 2.2 ความขยนั ขันแข็งในการทางาน 4.62 ดี ดีมาก 2.3 การร้จู ักควบคุมอารมณ์ 4.45 ดี ดี 2.4 การรจู้ ักสทิ ธิ หนา้ ที่ และความรบั ผิดชอบ 4.45 ดี ดี 2.5 ความไว้วางใจสามารถมอบหมายงานให้ได้ 4.47 ดมี าก ดี 2.6 ความสามารถในการสือ่ สารไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจนกับผรู้ ่วมงานและ ดีมาก ดี หวั หน้างาน 4.28 ดีมาก ดีมาก 3. คุณภาพของงาน 4.34 ดีมาก ดีมาก 3.1 ความสามารถปฏิบตั ิงานท่ีได้รบั มอบหมาย 4.55 ดี ดีมาก 3.2 ความสามารถในการแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ในการทางาน 4.16 3.3 ปฏิบัติงานถูกต้องตามลักษณะงาน 4.48 3.4 ผลงานเป็นที่ยอมรบั ของหนว่ ยงาน 4.38 4. วธิ ีการปฏบิ ตั งิ าน 4.47 4.1 ปฏิบตั งิ านดว้ ยความรอบคอบและคานึงถึงความปลอดภัย 4.58 4.2 เขา้ ใจขั้นตอนและขอบเขตของการปฏบิ ัติงาน 4.45 4.3 การเหน็ คุณค่าของส่งิ ของ เครือ่ งใช้ 4.59 4.4 มคี วามคิดริเร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละไหวพรบิ ในการทางาน 4.23 5. มนุษยสัมพันธ์ 4.64 5.1 ความมีนา้ ใจ ให้ความร่วมมือ และประสานงานร่วมกับผู้อืน่ 4.78 5.2 ความสามารถปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม 4.62 5.3 ความสุภาพอ่อนน้อมรูจ้ ักกาลเทศะ 4.77 5.4 ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นและรบั ฟงั ผอู้ ่นื 4.38 ผลการประเมนิ รวม 4.53
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณข้อที่ 2.....108 สรปุ ผลการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวชิ าพณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ (ร่นุ ท่ี 8) หัวข้อท่ีรบั การประเมิน ค่าเฉลยี่ ผล ดมี าก 1. ระเบยี บวินยั 4.65 ดีมาก ดมี าก 1.1 การแตง่ กายสุภาพเรยี บร้อยและถูกระเบยี บ 4.78 ดมี าก ดีมาก 1.2 การตรงต่อเวลา และมาปฏบิ ตั ิงานอย่างสมา่ เสมอ 4.58 ดี 1.3 ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ ข้อบงั คบั ที่กาหนดไว้อย่างเคร่งครัด 4.62 ดีมาก ดมี าก 1.4 เชอื่ ฟังและปฏิบัตติ ามคาแนะนาของหัวหนา้ งาน 4.63 ดี 2. พฤตกิ รรมในการทางาน 4.49 ดีมาก 2.1 ความซื่อตรงตอ่ งาน 4.71 ดี 2.2 ความขยนั ขนั แข็งในการทางาน 4.64 ดี ดี 2.3 การรู้จักควบคุมอารมณ์ 4.45 ดีมาก ดี 2.4 การร้จู ักสิทธิ หน้าที่ และความรบั ผิดชอบ 4.52 ดี ดี 2.5 ความไวว้ างใจสามารถมอบหมายงานให้ได้ 4.37 ดี ดี 2.6 ความสามารถในการส่ือสารได้ถูกตอ้ งชดั เจนกบั ผรู้ ว่ มงานและ ดี ดีมาก หวั หนา้ งาน 4.24 ดี ดีมาก 3. คณุ ภาพของงาน 4.36 ดีมาก ดมี าก 3.1 ความสามารถปฏิบตั ิงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4.53 ดีมาก ดี 3.2 ความสามารถในการแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าในการทางาน 4.17 ดีมาก 3.3 ปฏิบัติงานถูกต้องตามลกั ษณะงาน 4.37 3.4 ผลงานเปน็ ที่ยอมรบั ของหน่วยงาน 4.37 4. วิธกี ารปฏบิ ัติงาน 4.42 4.1 ปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบและคานงึ ถงึ ความปลอดภยั 4.39 4.2 เขา้ ใจข้นั ตอนและขอบเขตของการปฏบิ ตั งิ าน 4.40 4.3 การเหน็ คุณค่าของสงิ่ ของ เคร่อื งใช้ 4.53 4.4 มีความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์และไหวพริบในการทางาน 4.37 5. มนษุ ยสัมพันธ์ 4.65 5.1 ความมีนา้ ใจ ให้ความรว่ มมอื และประสานงานรว่ มกับผู้อนื่ 4.84 5.2 ความสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม 4.65 5.3 ความสุภาพอ่อนน้อมรู้จกั กาลเทศะ 4.68 5.4 ความสามารถในการแสดงความคดิ เหน็ และรับฟงั ผู้อนื่ 4.42 ผลการประเมินรวม 4.51
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 2.....109
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณข้อท่ี 3.....109 จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 3 ครตู ้องพฤติ ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่างท่ีดีแก่ศิษย์ท้ังทางกาย วาจา และจิตใจ เอกสาร/เกียรติบตั ร ประกอบจรรยาบรรณข้อที่ 3 1. เปน็ ผู้อุทิศตนและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศโรงเรยี นดีเดน่ 2. ผ้จู ดั กิจกรรมการสอนดเี ด่น 3. ครทู ่ีปรึกษา ทเ่ี อาใจใส่นักเรียน 4. เป็นบุคคลตน้ แบบปฏริ ปู ขบวนการเรียนรู้
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 3.....110
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 3.....111
จรรยาบรรณข้อที่ 4 เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 4.....112 ครูตอ้ งไม่กระทาตนเปน็ ปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สตปิ ญั ญา จิตใจ อารมณ์และสงั คมของศิษย์ หลกั ฐานประกอบจรรยาบรรณขอ้ ท่ี 4 เสียงสะทอ้ นจากศษิ ย์ ปวช.รุ่น 1 ปกี ารศกึ ษา 2546 บทกลอนท่ลี ูกศิษยแ์ ตใ่ ห้ 1. พรชัย พริ ะพนั ธ์ “เธอเป็นเด็กด้อยโอกาสแล้ว เธอจะทาให้ลูกของเธอด้อยโอกาสอีกหรอ”คาพูดคานี้ยังจาฝังใจผมตลอดมา ตั้งแต่เข้ามาเรียนท่ีน้ี สิ่งที่ผมประทับใจ คือครูพนิดา เป็นกันเองกับนักเรียน แม้แต่บางครั้งครูดา โมโห แต่ไม่ เคยระบายใส่เราเลย ครูดาเปน็ คนระงับอารมณ์ และยงั ใหค้ าปรึกษาแก่นักเรียนที่เกดิ ปัญหา ครดู าคือแมท่ ี่เรา นบั ถือมาโดยตลอดเวลาต้งั แต่ผมเรยี นมาครดู าไมเ่ คยทอดท้งิ พวกเรา
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 4.....113 2. นายพงพฒั น์ พาประเวช ประทบั ใจอาจารย์ตรงท่ีคอยอบรมสั่งสอนให้เป็นคนดี คอยดูแลเอาใจใส่นักเรียนทุกคนและคอยสอน คอยบอกเกี่ยวกับการอยู่ในสังคมคนหมู่มาก ว่าจะทาอย่างไรท่ีจะอยู่ในสังคมอย่างเป็นสุข สอนให้รู้จักความ สามัคคีระหวา่ งหมคู่ ณะ และเรอื่ งต่างๆ อกี มายมายท่เี กดิ ประโยชน์แกน่ กั เรียน 3. นางสาวปยิ ะนชุ ชะขนุ ทด อาจารย์พนิดาเป็นอีกบุคคลหน่ึงท่ีมีความรับผิดชอบและทุ่มเทกับการทางานมาก บางครั้งก็ทางาน จนไม่ได้นอน เป็นท่ีรู้จักกันดีในนามว่า “อาจารย์แม่” ของเด็ก ปวช. บางครั้งพวกเราก็ทาให้ท่านไม่สบายใจ พวกเราก็อยากจะขอโทษ ท่านรักนักเรียนทุกคนเหมือนลูกเพราะนอกจากจะดูแลช่วงช้ัน ปวช.แล้ว ยังต้อง ดแู ลบ้านพักของพวกเราด้วย ทา่ นยอมเหนอื่ ยเพ่อื เราทกุ คน จึงรสู้ ึกมคี วามประทบั ใจและรกั ท่านมาก 4. นางสาวปารฉิ ตั ร เหง้าพรมมินทร์ ยยุ้ ท่านเป็นคนทางานเรียบร้อย ชอบทาขรึมอยู่บ่อยๆ จนพวกเรากลัว แต่ก็เด๋ียวเดียว ท่านก็อารมณด์ ี ข้ึนมา ครูพนิดาเป็นคนพูดมีหลักการจนใครก็นับถือ เป็นคนดีมีใจโอบอ้อมอารี คอยส่งเสริมนักเรียนจนได้ดี แล้วท่านก็ดีใจด้วยไม่หวังส่ิงตอบแทน ให้ความเท่าเทียมกันทุกคน คอยเตือนเม่ือเราทาผิด ให้คาปรึกษาเม่ือ เรามีทุกข์ ทางานเก่ง จัดได้ว่า เป็นหญิงเก่งแห่งราชประชาฯ ๓๓ ท่านได้รับรางวัลมากมายในระดับจังหวัด และประเทศนัน้ กแ็ สดงใหเ้ หน็ แลว้ วา่ ทีก่ ล่าวมานั้นเปน็ ความจรงิ ครดู าเปรียบดัง่ แม่ของพวกเราที่คอยประคบประหงมจนเราได้ดที ุกคน 5. นางสาววรนุช ชาสาโรง นชุ แม้บ้างครั้งครูจะดดุ ่าหรือนักเรียนคนน้ีจะมีปฏิกิริยาโตก้ ลับหรอื ไม่พอใจในการดุด่าว่ากล่าวตักเตือน จากครูแล้ว แต่รู้ว่าครูทุกคนหวังดีกับหนูเสมอ มีคนเปรียบครูเหมือนเรือจ้าง ที่คอยจะส่งผู้โดยสารให้ถึงฝัง แม้จะเจอกับพายุบา้ งแต่คนขบั เรอื ก็ประคับประคองเรือไว้จนได้จนผ้โู ดยสารทุกคนปลอดภัย เหมือนครทู ี่คอย ประคับประครองเรือไว้จนได้จนผู้โดยสารทุกคนปลอดภัย เหมือนครูที่คอยประคับประครองจนตัวหนูและ เพอ่ื นๆ สามารถมาถึงจุดน้ีได้ แม้จะเจอกับปญั หาที่พวกหนูคอยสร้าง ใหถ้ กู แกไ้ ขแตค่ รูก็ตัดสินปัญหาได้ คอย เป็นกาลังใจเป็นท่ีปรึกษา เป็นแสงเทียนท่ีส่องทางให้กับพวกหนูได้เดิน สาหรับระยะเวลา 6 ปี ณ จุดนี้ได้ สมั ผัสจงึ รูว้ ่าครหู วงั ดตี ่อพวกหนู หนู อยากบอกครูวา่ หนรู ักครทู ุกคนมากๆ ค่ะ 6. นางสาวสาราญ กาสี ครูดา ตอนแรกๆ ท่ีเห็นครูดาหนูคิดวา่ ต้องเป็นครูท่ีโหดมากๆ และไม่อยากเข้าใกล้ แต่พอได้อยู่ใกล้ จริงๆ ท่านเป็นคนใจดี คอยช่วยเหลือนักเรียนทุกคน ให้คาปรึกษาที่ดีเวลาเรามีปัญหา รักนักเรียนทุกคน เท่ากันหมด มีความยตุ ธิ รรมและความเสียสละเป็นเลิศ ตอนปดิ เทอมพวกเราก็เรียนซมั เมอรก์ นั เกือบทุกเทอม ในสาย ปวช. จะเรียนกันท้ังกลางวนั และกลางคนื โดยมที ่านเปน็ คนสอนเอง ทุ่มเทให้เราทกุ อยา่ ง ทั้งความรัก
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 4.....114 และความจริงใจ ท่ีท่านมีต่อเรา แต่มีหลายๆครั้งท่ีเราทาให้ท่านเสียใจกับการกระทาของพวกเรา ก็อยากบอก ท่านไว้ว่า หนูขอโทษท่ีทาให้ครูหนักใจและเสียใจ และต่อไปจะทาตัวเป็นเด็กดีของครูทุกๆ คน อย่าลืมรักษา สขุ ภาพดว้ ยนะคะ 7. จนั ทรส์ ุดา ดวงตาปา ครพู นิดา นอ้ ยศรี ครูจะมีเอกลักษณ์ที่ทาให้ดิฉันประทบั ใจคือ ชอบทาเหมอื นดุ แต่ทจ่ี ริงอาจารย์ ท่านใจดี(มากมาย) แต่ละคาที่ครูบอกมาให้กับนักเรียนแฝงไว้ด้วยความห่วงใย(เป็นพิเศษ) ที่เตือนทุกคร้ังก็ เพราะต้องการให้เป็นคนดี(ทุกผู้ทุกคน) คอยให้ความรู้ในทุกเรื่องก็เพราะไม่อยากให้นักเรียนเป็นคนโง่ เข้าใจ ไหมคะ่ 8. นางสาวเสาวณี สายแก้ว คนน้ีแหละคะทีห่ นูจะลมื ไมไ่ ด้รกั มากท่ีสุดเป็นคนทข่ี รมึ แตจ่ รงิ ๆ แล้วเปน็ คนทีร่ ่าเริงมากคะเปน็ คนท่ี ทางานเอาจรงิ เอาจังเป็นคนคอยให้กาลังใจหนแู ละท่สี าคญั เปน็ แม่พระของหนูคอยรว่ มทุกข์ร่วมสุขมาด้วยกนั เปน็ คนน่ารกั เก่งหลายๆด้านอยู่ใกล้แลว้ รู้สกึ อบอุ่น หนลู ะซงึ้ จริงๆคะ........... 9. นางสาวดารารตั น์ ทองนอ้ ย ประทับใจตรงทคี่ รเู ปน็ คนมเี หตุผล ท่มุ เทความเหนด็ เหนื่อยทั้งกาย และใจใหค้ วามรู้และ ประสบการณ์กับนกั เรยี น 10. นายธวชั เพยี รทาหนอง ความประทับใจที่กระผมมีต่ออาจารย์ นอกจากอาจารย์จะได้มอบวิชาความรู้ให้ตัวกระผมแล้ว อาจารย์ก็ยังคอยให้คาปรึกษาชี้แนะในเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเรียน การประคับประคองตัวเองใน การใช้ชีวิต และเรื่องอ่ืนๆ อีกมากมายซ่ึงยากนักที่กระผมจะพรรณนาได้หมด หลายครั้งที่กระผมทาผิด อาจารย์ก็คอยตักเตือนด้วยความหวังดีและเป็นห่วง และคอยหาทางออกของปัญหาให้กระผมอยู่เสมอมา ผมมีวันน้ีได้ก็เพราะผมมีอาจารย์ที่คอยอบรมสั่งสอน ซึ่งคาว่ากล่าวตักเตือนของอาจารย์น้ันมันทาให้ผมได้รู้ ซึ้งถึงความห่วงใยของอาจารย์ท่ีมีต่อตัวกระผม และความหวังดีของอาจารย์นั้นมันเป็นความอบอุ่นท่ีกระผม สมั ผัสไดเ้ สมอื นไออุ่นท่แี ม่มีใหก้ ับตวั กระผม 11. นายจิรโรจน์ สมี าตจนั ทร์ ครูท่านมีความเมตตาปราณีและโอบอ้อมอารี มีคุณธรรม ท่านให้ความรู้และประสบการณ์การ ดารงชวี ิตในเป็นอยา่ งดี ขอบพระคณุ ครับครู พนดิ า น้อยศรี
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 4.....115 12. นางสาวจริยา ขวัญชยั ประทับใจครูดาท่ีว่า ครูดาเสียสละกับพวกเราทุ่มเททุกอย่างเพื่อพวกเรา ปวช.ทุกคน ครูดาจะคอย บอกแนวทางต่างๆให้แก่พวกเรา เวลาพวกเราทาอะไรผิดก็จะคอยตักเตือนสม่าเสมอ เวลาเรียนครูดาก็จะ คอยใส่ข้อคิดต่างๆ ให้เราได้รู้หลายๆอย่าง ครูดาก็เปรียบเสมือนแม่คนหนึ่งท่ีพวกเรา ปวช. รักและเคารพ เชือ่ ฟงั อยู่เสมอ ก็อยากขอบคุณครดู ามากทีท่ าทุกอยา่ งเพื่อพวกเราและจะไม่ลืมส่ิงต่างๆ ที่ครดู าทาให้รุ่นพวก เราเลยคะ่ 13. นางสาวกลุ ญา คงเผื่อน สิ่งท่ีประทบั ใจอาจารย์คอื ท่านเปน็ ผู้ทมี่ ากดว้ ยความรูค้ วามสามารถจะมีเหตผุ ลกบั ลกู ศิษยเ์ สมอ มีความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีการงานทไ่ี ด้รับมอบหมายได้เปน็ อยา่ งดี สอนใหเ้ รารู้จักช่วยเหลอื ตนเองและมี ความสามคั คีต่อเพื่อนๆให้อยู่ร่วมกนั อยา่ งพนี่ ้องอย่างมีความสุข และจะเปิดโอกาสให้ลกู ศษิ ยท์ ุกๆ คนได้ แสดงความสามารถทตี่ นเองถนัด 14. นางสาวเทยี รทิพย์ ชนิ เกตุ ประทับใจตรงท่ีครูทุ่มเททุกสิ่งทุกอย่างเพ่ือให้ลูกศิษย์มีความสุข มีอนาคตที่ดี หาแต่ส่ิงที่ดีดีมาให้ กลัววา่ ลกู ศษิ ย์ตวั เองจะดอ้ ยกว่าคนอืน่ แมว้ า่ ตวั เองจะนอนดึก ต่ืนแตเ่ ชา้ กระท่งั ไม่สนใจแมส้ ขุ ภาพของตน องว่าจะเป็นอย่างไร หนูอยู่กับครูดา ได้ใกล้ชิด บางครั้งสิ่งเล็กๆน้อยๆท่ีเป็นความสุขของชีวิตครูเก็บ รายละเอียดได้หมด แม้แต่เร่ืองกินข้าว เร่ืองทาขนม หนูดีใจ และภูมิใจมากๆท่ีหนูได้เป็นลูกศิษย์ของครู แม้บางครั้งหนูจะทาผิดไปบ้างทาให้ครูไม่สบายใจหนูขอโทษนะคะ หนูไม่ได้ตั้งใจจริงๆ ค่ะหนูอาจจะมอง เรื่องเล็กๆน้อยๆ ข้ามมันไปตรงจุดน้ี แต่หนูก็ได้เรียนรู้ความผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นและหนูก็ไม่อยากให้มันเกิดอีก คะ่ รกั และเคารพครูเสมอ 15. นางสาวอรมัย ขันแก้ว คุณครเู ป็นคณุ ครูทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบสงู มากทีเดยี วคะ่ และเอาใจใสเ่ ด็กนกั เรยี นมาก เปรียบเสมือนแม่ ทเี ดยี วเวลามปี ัญหาคณุ ครจู ะเปน็ คนมีเหตุผลเสมอ แม้บางครงั้ คุณครูจะดไุ ปบา้ งก็ตามแต่ทด่ี เุ พราะอยากให้ ทุกคนมีความรบั ผิดชอบในตวั เอง คุณครเู ปน็ คุณครทู ี่เป็นแบบอย่างไดด้ มี ากค่ะบางครัง้ คุณครกู ็ทาขนมกับเรา จนไมไ่ ด้หลบั ไม่ไดน้ อน อยู่กับเราตลอดไม่ปล่อยปะละเลยในหน้าทคี่ ่ะ บางครงั้ ท่ีหนูทาอะไรผดิ ไปก็ขอให้ คุณครยู กโทษใหด้ ้วยค่ะรกั คุณครูค่ะ
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณข้อท่ี 4.....116 16. นางสาวศศภิ า กลิ่นช่ืน ครดู าเป็นคนทีแ่ นะนาในสิง่ ตา่ งท่เี ราไม่เคยทาสอนให้เราเป็นท่มี คี วามอดทนสูงมาก กลา้ แสดงออก กล้าในส่ิงที่ควรกล้าสอนในสิ่งท่ียากไปหาง่ายและให้เรียนรู้ด้วยตัวเองและเป็นกันเองกับเด็ก นักเรียนมากเพราะว่าครูดาสอนเสมอว่าทุกส่ิงทุกอย่างไม่ได้มาง่ายๆ ฉันดีใจที่ฉันได้รู้จักครูท่ีนี่ครูสอนให้เรา เปน็ คนดีและทาแต่สิ่งดี ๆ มาตลอด 17. นางสาวน้าเพ็ชร สุขมว่ ง ความรู้สึกท่ีมีต่ออาจารย์คนน้ีมีมากเหนือคาบรรยายเพราะให้มากท่ีจะทดแทนได้ อาจารย์ผู้นี้ เปรียบเหมือนแม่ของเราเพราะให้ทุกสิ่งทุกอย่าง ท่ีได้มาเรียนอยู่ที่น้ีก็มีอาจารย์คนนี้คอยดูแลและคอยส่ัง สอน 18. นางสาวนา้ คา้ ง โพธ์ิเกดิ เป็นบุคคลหน่ึงท่ีดิฉันนับถือวางตัวได้สุภาพ ชอบช้ีแนวทางในการปฏิบัติตนให้เป็นพลเมืองที่ดี คน ไหนท่ีอาจารย์เปน็ หว่ งก็จะเตือนบ่อยๆ ดฉิ นั ประทับใจทีอ่ าจารยเ์ ปน็ คนมีเหตมุ ผี ล 19. นางสาวบังอร วิเศษวงษา ท่านเปน็ คนที่มเี หตุผลและท่านเข้าใจความรูส้ ึกของลกู ศิษย์ทกุ คนร้วู า่ เหมือนดแุ ต่วา่ ทา่ นดุ เพราะ ความรกั อยากให้เดก็ ทุกคนรู้ว่าทาอะไรแลว้ จะต้องตัดสินใจโดยใชเ้ หตุผล ถา้ เราใชเ้ หตุผลตัดสนิ ใจแลว้ เรากจ็ ะ ไดแ้ ตส่ ่งิ ท่ีดแี กต่ วั เราเองอยู่เสมอ 20. นางสาววัลลยี า เหลา่ มงคล อาจารย์พนิดา น้ันได้ทุ่มเททุกอย่างให้พวกเราทุกคน มอบสิ่งท่ีครูรู้แก่นักเรียนทุกคนไม่หวงวิชา ความรู้ แต่ครูจะสอนแบบให้เราได้คิดเอง เวลามีงานก็จะให้พวกเราได้ฝึกทาได้ใช้ความคิดว่างานช้ินน้ันๆ ว่า ควรจะออกมาเปน็ รปู แบบใด และถา้ หากว่าเรามีปญั หากส็ ามารถปรกึ ษากับอาจารย์ได้ทุกเรือ่ ง 21. นางสาวภัทรวดี คาบุญมี คนแรกท่ีดิฉันประทับใจมากท่ีสุดก็คือ อาจารย์พนิดา น้อยศรี หรือท่ีพวกเราเพ่ือนๆ เรียกว่า “แม่ ดา” ของเรานเี้ อง ถา้ ไมม่ ที ่านดฉิ นั อาจไม่ไดม้ ายนื นะจุดนี้ดิฉันอาจไม่ได้มาเรยี นท่นี โ่ี รงเรียนท่ีดีเพราะก้าวแรก ท่ีดิฉันเข้า มาโรงเรียนนี้ท่านเป็นผู้ที่ช่วยให้ดิฉันได้เข้าเรียนดิฉันเป็นคนนอกพื้นที่โรงเรียนไม่ยอมรับให้ดิฉัน เขา้ เรยี นท่านเป็นผมู้ ีพระคณุ ต่อดิฉนั มากเพราะว่าถ้าทา่ นไม่มาขอให้ในวนั น้นั ดฉิ นั อาจจะไม่ได้เรียนท่ีนอ่ี าจจะ ไม่รู้จักครูท่ีดีเพื่อนที่น่ารักก็ได้กับการที่ฉันได้ยืนอยู่ตรงน้ีถ้าไม่มีท่านในวันนั้นดิฉันอาจจะไปจับจอบอยู่ในไร่ แลว้
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณข้อท่ี 4.....117 22. นายสารวย คนชม อาจารย์พนดิ า นอ้ ยศรี ท่านเปรยี บเสมือนแม่คนทสี่ องของกะผม ทา่ นสอนให้กะผมไดเ้ รยี นรู้หลาย ๆ อยา่ ง สอนใหก้ ะผมเปน็ คนดมี ีเมตตา รู้จักการปฏิบตั ติ นที่ดตี อ่ โรงเรยี นและกบั ทุกคนในท่นี ี่ สอนให้รู้จักการ เอาตัวรอด สอนให้มีความอดทน ท่านเป็นผู้ให้ที่ย่ิงใหญ่โดยที่ไม่หวังส่ิงตอบแทนใดๆ จากศิษย์เพียงแต่อยาก ให้ศิษย์เป็นคนดีของสังคม กะผมอยากจะบอกกับอาจารย์ว่าส่ิงไหนที่กะผมได้กระทาไว้ที่ไม่ดี หรือบางครั้ง อาจทาให้อาจารย์เดือดร้อนเป็นห่วงกะผมก็อยากจะขอโทษอาจารย์ และกะผมจะจดจาในสิ่งท่ีอาจารย์ได้ สอนมาและจะนาไปปฏิบัติให้คุ้มค่ามากท่ีสุดกะผม ขอสัญญาว่าจะทาวันข้างหน้าให้ดีท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ อยากจะขอบคณุ อาจารยท์ ีค่ อยดูแลและใหค้ าปรึกษามาโดยตลอด 23. นางสาวสชุ าดา กลา่ ทา้ ว อาจารย์พนิดา น้อยศรี ท่านเปรียบเสมือนแม่คนท่ีสองของดิฉัน ท่านสอนให้ดิฉันได้เรียนรู้หลาย ๆ อยา่ ง สอนใหด้ ิฉนั เป็นคนดมี ีเมตตา รจู้ กั การปฏิบัตติ นท่ดี ตี ่อโรงเรียนและกับทุกคนในท่ีน่ี สอนให้ร้จู ักการเอา ตัวรอด สอนให้มคี วามอดทน ท่านเป็นผู้ให้ท่ยี ิ่งใหญ่โดยที่ไม่หวังสิ่งตอบแทนใด ๆ จากศิษย์ เพยี งแต่อยากให้ ศิษยเ์ ปน็ คนดขี องสงั คม ดิฉันอยากจะบอกกับอาจารย์ว่าสงิ่ ไหนท่ีดฉิ ันได้กระทาไว้ไม่ดี หรือบางครั้งอาจทาให้ อาจารย์เดือดร้อนเป็นห่วงดิฉันก็อยากจะขอโทษอาจารย์ และดิฉันจะจดจาในสิ่งที่อาจารย์ได้สอนมาและจะ นาไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์มากที่สุดดิฉันขอสัญญาว่าจะทาวันน้ีและข้างหน้าให้ดีท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ อยากจะขอบคณุ อาจารยท์ ่ีคอยดแู ลและให้คาปรึกษามาโดยตลอด 24. นางสาวอนนั ต์ พะละหงส์ อาจารย์พนิดา น้อยศรี ในช่วงเวลา 3 ปีท่ีอยู่ที่นี่อาจารย์ดูแลพวกเรามาตลอด แม้ว่าพวกเราจะทา ผดิ อาจารย์ก็ยงั อภยั ใหพ้ วกเราได้ ดฉิ นั ชอบการทางานของอาจารย์ การทาให้เดก็ เกรงมากกว่ากลัว อาจารย์มี ความอดทนสูงชอบคิดหาวิธีต่างๆ มาใช้ในการปกครองเด็กและก็ทาได้ดีตลอดมา ถึงแม้ดิฉันจะไม่ค่อยได้ ใกล้ชิดอาจารย์เท่าไหร่ (อาจเป็นเพราะดิฉันพูดไม่เก่ง) แต่ดิฉันก็รักและเคารพอาจารย์เหมือนแม่คนที่สอง ดิฉันศรทั ธาในตวั ของอาจารย์ กบั ความรักและความหวังดีท่ีมีใหล้ ูกศิษย์ทุกคน “อาจารย์บ่นเพราะรกั ดฉิ นั ไม่ เคยเบอ่ื ท่ีจะฟงั “ ดฉิ ันรักและเคารพอาจารยพ์ นดิ าเสมอ 25. นางสาวอมรรตั น์ กองคา เป็นครูท่ีคอยให้คาตักเตือนศิษย์ให้ศิษย์ทาในสิ่งที่ถูกต้องคอยช้ีแนวทางให้เราทาในสงิ่ ที่ถูกต้องในสง่ิ ที่ควรท่านเปรียบเหมือนแม่คนท่ีสองของข้าพเจ้าท่านคอยให้ความอบอุ่นความรักกับข้าพเจ้ามากจนจะไม่มี อะไรท่ีจะทนแทนได้
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 4.....118 26. นางสาวอรทัย อนิ ทร์พทิ ักษ์ ประทับใจอาจารย์พนิดาตรงท่ีอาจารย์เป็นคนที่มีเหตุผลแล้วอีกอย่างอาจารย์ท่านก็เป็นคนที่เข้าใจ ความรสู้ กึ ของนกั เรียนดี อาจารย์ทางานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายอย่างเต็มที่ไมม่ บี น่ คะ่ 27. นายจีระพงษ์ กรมแสง ทา่ นเปน็ อาจารย์ที่คอยรับความรูส้ กึ ของ ปวช.3 ทุกคน และท่านกเ็ ปน็ คนให้วิชาความรู้ทางดา้ นสาย อาชีพให้กบั ผมตลอด ผมถอื ว่าทา่ นเปน็ แม่ของผมอีกท่านหนึง่ 28. นางสาวบังอร วเิ ศษวงษา ทา่ นเป็นคนที่มเี หตุผลและท่านเขา้ ใจความรู้สึกของลกู ศิษย์ทกุ คนรูด้ ูวา่ เหมือนดุแตว่ ่าทา่ นดุ เพราะ ความรักอยากให้เด็กทุกคนร้วู ่าทาอะไรแลว้ จะตอ้ งตดั สนิ ใจโดยใช้เหตผุ ล ถ้าเราใช้เหตผุ ลตัดสินใจแลว้ เรากจ็ ะ ได้ แต่สิ่งทดี่ ีแกต่ วั เราเองอยู่เสมอ 29. นางสาวกิง่ กาญจน์ พรมตู้ ทา่ นคือแม่คนหนึ่งท่ีสัง่ สอนลูกๆ ทุกคนให้ทาในสง่ิ ท่ีถูก ไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่ืนและหาเวลาว่างมาดแู ล เดก็ ๆ เสมอจากงานราชการที่มากมาย 30. นางสาวแสงระวี โพธดิ์ ี อาจารย์พนิดา น้อยศรี ประทับใจมาก เพราะเป็นครูที่คอยดูแลข้าพเจ้าต้ังแต่ได้มาอยู่ที่นี่ คอยสอนหนังสือให้ความรู้ สอนการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืน ท่านคอยช่วยเหลือ คอยเติมส่ิงท่ีขาดไป เช่น เป็นได้ ท้ังแม่ ครู อยู่ใกล้ครูทาให้มีความสุข ถึงบางครั้งครูจะดุ แต่ศิษย์คนนี้ เข้าใจเสมอว่า ส่ิงท่ีครูว่ากล่าวตักเตือน นั้น ก็เพ่อื ให้ศิษยไ์ ด้ดี 31. นางสาวเปยี่ มพร พลเย่ียม เป็นแม่คนทส่ี องของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ทุกคน นบั วา่ เป็นความโชคดีทไ่ี ด้แม่ดีๆ อยา่ ง ครูดา แตบ่ างคร้ังท่านอาจจะราคาญบา้ ง เพราะบางครั้งพวกเราทกุ คนทาใหท้ า่ นหนกั ใจบ้างในบางคร้ังเป็นครู ทีใ่ หค้ วามรกั และโอกาส 32 .นางสาวอจั ฉรา ช่มุ ใจ ความรู้สึกทมี่ ีต่ออาจารยค์ นนี้มีมากเหนือคาบรรยายเพราะให้มากทจี่ ะทดแทนได้ อาจารย์ผ้นู ้ี เปรยี บเหมือนแมข่ องเราเพราะให้ทุกสง่ิ ทกุ อย่าง ที่ได้มาเรียนอย่ทู น่ี ้กี ็มอี าจารย์คนน้คี ่อยดูแลและคอยสัง่ สอน
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 4.....119 ภาพความสาเร็จของลูกศิษย์ ทางดา้ นการศึกษาตอ่ และการประกอบอาชีพ
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณข้อที่ 6.....120 จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 6 ครยู ่อมพัฒนาตนเองท้ังทางด้านวชิ าชพี ดา้ นบคุ ลกิ ภาพ และวิสัยทศั น์ให้ทนั ตอ่ การพัฒนาทางวิทยากร เศรษฐกจิ สังคมและการเมืองอย่เู สมอ เอกสาร-เกยี รตบิ ตั รประกอบจรรยาบรรณข้อท่ี 6 ปี 2544 1. การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนบนระบบเครอื ข่ายและการพฒั นาครเู ครือข่าย วชิ าคอมพิวเตอร์ 2. นทิ รรศการปฏิรปู การศกึ ษาก้าวสปู่ ที ี่ 3 3. อบรมเชิงปฏบิ ัติการครูผนู้ าวิจยั ในชัน้ เรียนเพื่อพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ในโรงเรียน 4. งานแสดงผลงานครเู ครือข่ายวชิ าคอมพิวเตอร์ 5. ประชมุ อบรมครูสนบั สนนุ การเรียนการสอน 6. อบรมเชิงปฏิบัติการการผลติ นวัตกรรมหนังสือภาพตัง้ 7. ศกึ ษาดงู าน ณ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 27 จังหวดั หนองคาย ปี 2545 1. อบรม “มาตรการการบรหิ ารงานงบประมาณ การเงนิ การคลงั และการพสั ดุ ตาม ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ ) 2. ประชมุ สมั มนาผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการ 3. ประชุมปฏิบตั กิ ารการจัดทาข้อมูลสารสนเทศทางการศกึ ษาดว้ ยโปรแกรมEIS 4. ศกึ ษาดูงานโรงเรยี นวังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ 5. อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพฒั นาบุคลากรแกนนาปฏิรปู การเรยี นร้ทู ักษะด้าน ภาษาอังกฤษ และคอมพวิ เตอร์ 6. ประชุมอบรมบุคลากรหลักของโรงเรยี นในสหวิทยาเขตใหม้ ีความรู้ความเข้าใจกรอบใน การดาเนินการจดั หลักสตู รสถานศึกษา 7. ประชุมอบรมบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมในการใช้หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 8. ประชุมสมั มนาบุคลากรฝ่ายกิจการนักเรยี นตามโครงการพัฒนาบคุ ลากรฝา่ ยกจิ การ นักเรยี น 9. ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการในการวางแผนกลยุทธแ์ ละการบรหิ ารงบประมาณแบบม่งุ เนน้ ผลงาน (PBB) จงั หวัดลพบรุ ี 10. ประชมุ ปฏบิ ัติการจัดทาข้อมลู GPA&RBปกี ารศึกษา 2544 11. จดั เตรยี มงานจัดนทิ รรศการด้านวิชาการในงาน “เสมา 45 เปดิ โลกการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน” วันที่ 15-20 สิงหาคม 2545 12. ประชมุ ปฏิบัติการจัดทาข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ด้วยโปรแกรม EIS
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณข้อที่ 6.....121 ปี 2546 1. ศึกษาดงู านการจัดการศึกษาแนวพทุ ธโรงเรียนรุ่งอรุณจงั หวัดกรุงเทพมหานคร 2. อบรมปรับกระบวนทัศน์หลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานโรงเรยี นสังกัดกรมสามญั จังหวัด ลพบุรี 3. อบรมแนวทางการจดั ทาและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 4. ประชุมปฏบิ ตั ิการเร่ือง การจัดวางระบบควบคุมภายใน 5. ประชุมปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการเบิกจา่ ยงบบุคลากรปี 2546 ผดิ พลาด (กอง การศึกษาสงเคราะห)์ 6. ศกึ ษาดงู านแสดงเทคโนโลยีสารสนเทศและประชมุ วชิ าการนานาชาติเพอ่ื การศึกษาไทย 7. อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการใช้โปรแกรมศธ. 01 (Term 2544) 8. อบรมการจดั ทาระบบการติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนนิ งานตามระบบ งบประมาณแบบมงุ่ เน้นผลงานตามยทุ ธศาสตร์ภายใต้กรอบของ Balanced Scorecard (Hurdle ท่ี 5) 9. ประชุมปฏิบัตกิ ารและแจง้ บัญชีจัดสรรงบประมาณปี 2546 10. เขา้ ร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2546 และประชมุ วชิ าการ เรื่อง การพัฒนา ห้องสมดุ ให้เปน็ ห้องสมดุ สมบูรณแ์ บบ 11. เข้ารับการอบรม การใชช้ ดุ ศกึ ษาดว้ ยตวั เอง การแนะแนวกับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปี 2547 1. เข้าร่วมการประชมุ สมั มนาการใชร้ ะบบงาน E-Office 2. เป็นกรรมการตัดสิน การแข่งขนั ทักษะคอมพิวเตอร์ ในงาน “เปดิ โลกนิทรรศการ วิชาการ 25 โคกเจรญิ วิทยา” 3. ประชุมปฏบิ ัติการการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนวิถพี ุทธ 4. ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “การบรหิ ารงานการเงิน พสั ดุ และควบคมุ ภายใน” 5. อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการตดิ ตั้งระบบเครือขา่ ยโดยใช้โปรแกรมลนี กุ สแ์ ละการเขยี น โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ 6. เปน็ กรรมการการแขง่ ขันทกั ษะคอมพวิ เตอร์ ในกจิ กรรมทักษะวิชาการกลมุ่ ธรรมรักษ์ สมั พันธ์ 7. เปน็ วิทยากรอบรม “โครงการพฒั นาบคุ ลากรในโรงเรียนขนาดเล็ก”
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณข้อท่ี 6.....122 ปี 2548 1. ร่วมการสมั มนาหลักสูตร การบูรณาการการมาตรฐานสกู่ ารดารงชีวิต อาชพี และ เทคโนโลยี 2. ประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเชงิ ระบบ 3. ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร การบริหารงานการเงนิ พัสดุ และควบคมุ ภายใน 4. อบรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตร Web Programming ปี 2549 1. ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การเงิน การบัญชีและพัสดุ 2. อบรมการพฒั นาบุคลากร การทาวจิ ัยควบคู่กบั การทางาน 3. อบรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศจากโครงการ Microsoft Partners in Learning หลกั สตู รการสรา้ งสื่อการสอน ปี 2550 1. อบรมโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาวชิ าชพี รองผบู้ ริหารสถานศึกษาและหัวหน้า กลุ่มงานของกลุม่ สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาสาหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส กลุ่ม 2 2. ประชุมเขิงปฏบิ ตั ิการ การขยายผลการหลกั สูตรพฒั นาผ้นู าการเปลย่ี นแปลงเพื่อรองรับ การกระจายอานาจสู่สถานศึกษา 3. อบรมตามหลักสูตรการพฒั นาประสิทธภิ าพการตรวจสอบภายใน 4. พฒั นาตามหลกั สตู ร พฒั นาผู้นาการเปลยี่ นแปลงเพอื่ รองรับการกระจายอานาจสาหรับ ผ้บู รหิ ารการศึกษาและผู้บริหารสถานศกึ ษา 5. อบรมโครงการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาการสอน อา่ น เขียน คดิ วเิ คราะห์ 6. ร่วมกจิ กรรมและใหก้ ารสนับสนุนการจดั งานมหัศจรรย์เดก็ ไทย มหกรรมปฏิรูป การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปี 2551 1. นาเสนอเผยแพร่ผลงานวชิ าการมหกรรมวชิ าการพัฒนาศักยภาพนักเรยี นกลุ่ม สถานศกึ ษาท่จี ัดการศึกษาสาหรับคนพกิ ารและผดู้ ้อยโอกาส กลมุ่ 2 2. วิทยากรโครงการค่ายฤดูร้อนนาร่อง วยั ใส หัวใจคณุ ธรรม 3. อบรมการใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ผลติ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ 4. รับการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพครกู ลุ่มธรรมรักษ์สัมพนั ธส์ ู่คุณภาพนกั เรียน 5. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ในการอบรมโครงการค่ายการเรียนรวู้ ิถีพุทธเกษตรตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง สาหรบั นักเรยี นทุนพระราชทานประชาสมาสยั เฉลมิ พระเกียรติ
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณข้อที่ 6.....123 ปี 2552 1. วิทยากรในการปฐมนิเทศการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพนักเรียนหลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ รุ่น 3 2. ประชุมปฏบิ ัติการการจัดทาหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาหรบั โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ปี 2553 1. ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการการวิจยั เพือ่ พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของกลุ่มธรรมรักษ์สมั พันธ์ 2. อบรมการจัดทามาตรฐานการปฏิบตั งิ านของโรงเรียนและศูนย์การศึกษาพิเศษ 3. อบรมพัฒนาบคุ ลากรดา้ น ICT หลักสตู รบรู ณาการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศเพ่ือ ยกระดับการเรยี นการสอน 4. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการจดั การเรียนการสอนด้วยโครงงานอาชีพ 5. อบรมกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ปี 2554 1. อบรมเร่ือง การสอนการเขยี น สอนเขยี นเรียนสนุก 2. ศกึ ษาดูงานระบบบริหารงานวิชาการและสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 3. อบรม เรอ่ื ง พฒั นาบุคลากรเพ่อื ปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่ 2 4. ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารเพื่อพฒั นาแนวทางการดูแลนักเรียนประจาในโรงเรียนศึกษา สงเคราะห์ 5. ฝกึ อบรมตามหลกั สูตร โครงการพัฒนาครทู ้ังระบบ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 6. อบรมเรื่อง NEWMODEL การจัดทาและพัฒนาผลงานทางวิชาการ เชิงประจกั ษ์แนว ใหม่ และ แบบปกติ เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ ปี 2555 1. เขา้ รับการอบรมโปรแกรม Strengthening Teachers’Capability in the use of ICT ท่ีNanyang Polytechnic, Singapore 2. คณะทางานการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ เรอื่ ง “การพัฒนาหลักสตู รวชิ าชีพสาหรับโรงเรียน ศกึ ษาสงเคราะห์” 3. คณะกรรมการประสานงานกล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี (คอมพวิ เตอร์) การแขง่ ขันคัดเลือกนกั เรียน ระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 5 4. วทิ ยากรการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร “คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ”
เอกสารหมายเลข 3 ตอนที่ 2-จรรยาบรรณขอ้ ท่ี 6.....124 ปี 2556 1. เข้ารว่ มอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการผลติ สอื่ และนวตั กรรมทางการศกึ ษา ตามโครงการ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาของกล่มุ โรงเรยี นธรรมรักษส์ ัมพันธ์ 2. วทิ ยากรอบรมความรู้พ้นื ฐานการใช้ Internet 3. นาเสนอผลงาน โครงการเครือขา่ ยโรงเรียนสขุ ภาวะ ปี 2557 1. วทิ ยากรการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการพฒั นาการใชส้ ื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. วทิ ยากรการฝึกการอบรมโครงการ “อบรมวทิ ยากรแกนนาศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ของ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” 3. อบรมการพัฒนาการจัดทาขอ้ สอบดว้ ยโปรแกรม Adobe captivate 4. ผา่ นการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร “การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์” 5. วิทยากรการฝึกการอบรมโครงการ “อบรมวทิ ยากรแกนนาศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลกั ของ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง” รุ่นที่ 2 6. อบรมพฒั นาคุณภาพด้วยระบบ e-Training เทคนิคการสรา้ งทีมงานท่ีดี 7. อบรมพฒั นาคุณภาพดว้ ยระบบ e-Training งานแนะแนว 8. อบรมพฒั นาคุณภาพด้วยระบบ e-Training ทกั ษะการบรหิ ารแนวใหม่ 9. อบรมพัฒนาคณุ ภาพดว้ ยระบบ e-Training จิตวญิ ญาณความเปน็ ครู 10. อบรมพัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-Training การประกนั คุณภาพการศึกษา
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....125
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....126
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....127
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....128
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....129
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....130
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....131
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....132
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....133
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....134
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....135
เอกสารหมายเลข 3 ตอนท่ี 2-จรรยาบรรณขอ้ ที่ 6.....136
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177