Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13-63-05-02-PDF-ภาษาไทย-Infographic

13-63-05-02-PDF-ภาษาไทย-Infographic

Published by t.panida.noisri, 2020-05-05 05:15:19

Description: 13-63-05-02-PDF-ภาษาไทย-Infographic

Search

Read the Text Version

หนงั สอื สง เสรมิ ประสทิ ธิภาพการเรียนรู กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย สาํ นกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา กจิ การโทรคมนาคมแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

Infographic Book & Augmented Reality หนังสือสง เสรมิ ประสิทธิภาพการเรียนรู กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย

Infograp hic Book & Augmented Reality หนงั สอื สงเสริมประสิทธภิ ำพกำรเรยี นรู กลุมสำระกำรเรียนรู ภำษำไทย ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกจิ กำรกระจำยเสยี ง สำ� นกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ กจิ กำรโทรคมนำคมแหง ชำติ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน

Infographic Book & Augmented Reality หนังสอื สงเสรมิ ประสทิ ธิภำพกำรเรยี นรู กลมุ สำระกำรเรยี นรูภำษำไทย จำ� นวนพิมพ  ๔๐,๐๐๐ เลม่ พมิ พครงั้ แรก พุทธศักราช ๒๕๖๑ ลิขสิทธ์ิ สา� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ผูจ ัดพมิ พ กลุม่ พัฒนาสอ่ื การเรียนร้ ู สา� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สา� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนราชดา� เนินนอก เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๔๖ โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๔๓ www.http://academic.obec.go.th ผูพมิ พ โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย ๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๖๑ ๔๕๖๗ โทรสาร ๐ ๒๕๗๙ ๕๑๐๑ ขอ มลู ทำงบรรณำนุกรมของหอสมดุ แหง ชำติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data กระทรวงศึกษาธิการ. ส�านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน. หนงั สอื สง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการเรยี นร ู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย.-- กรงุ เทพฯ : สา� นกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2561. 200 หน้า. 1. ภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา). I. ชอื่ เร่อื ง. 495.9107 ISBN 978-616-395-930-0

คำ� นำ� หนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นหนังสือท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐานจัดท�ำข้ึน เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนการสอนของครูผู้สอน ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ สรา้ งความเขา้ ใจเนอื้ หาใหง้ า่ ยและรวดเรว็ ขนึ้ แกผ่ เู้ รยี น โดยนำ� Infographic มาออกแบบเน้อื หาตามความเหมาะสมทง้ั ๕ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟงั การดู และการพูด หลักการใช้ภาษาไทย วรรณคดี และวรรณกรรมอย่างมีประสิทธภิ าพ นอกจากนี้ การน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่ Augmented Reality (AR) หรือการสร้างภาพสามมิติเสมือนจริงมาผสมผสานกับการออกแบบข้อมูลเป็นภาพ Infographic ด้วย ซ่ึงการส่ือสารด้วยภาพ Infographic และภาพเคล่ือนไหว Augmented Reality (AR) จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจ�ำและเข้าใจเนื้อหาสาระ และองคค์ วามรู้ท่ีซบั ซ้อนได้งา่ ย รวดเรว็ และแม่นย�ำมากกวา่ การอ่านหนงั สอื ปกติ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขอขอบคุณคณะกรรมการ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดท�ำหนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ให้ส�ำเร็จ ลลุ ว่ งด้วยดี รวมท้งั ขอขอบคณุ สำ� นกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กจิ การ โทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ที่ได้สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดพิมพ์หนังสือ และหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่สถานศึกษา ครผู ู้สอน ผูเ้ รียน และผู้สนใจ ได้น�ำไปใชใ้ นการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ กิดประสิทธภิ าพและ บรรลวุ ัตถุประสงคต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

สำรบัญ ๙ กำรอำ น ๓๓ กำรเขยี น ๑๐ • เทคนิคการอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว ๓๔ • โวหารการเขียน ๑๑ • เสนาะทา� นองรอ้ ยกรองไทย ๓๕ • ใชภ้ าษาให้งดงาม ๑๔ • อ่านแปลความใหไ้ ดค้ วาม ๓๖ • เหตุผลกับภาษา ๑๕ • อา่ นตคี วาม ๔๐ • การแสดงทรรศนะ ๑๖ • เรอ่ื งนีต้ ้อง “ขยาย” ๔๒ • การโต้แย้ง โนม้ นา้ วใจ ๑๘ • แปลความ ตคี วาม ขยายความ ๑๙ • อา่ นวเิ คราะห์ ท�าอย่างไรให้ลงตวั ๒๐ • ขัน้ ตอนการอา่ นวเิ คราะห์ ๔๓ • การเขียนรายงานเชิงวิชาการ ๒๒ • อ่านวจิ ารณ์ ๔๔ • การประเมินคณุ คา่ งานเขยี น ๒๔ • ๔ หลกั การอา่ นเกบ็ ความรู้ ๔๖ • การเขยี นบรรณานุกรม ๒๕ • สงั เคราะหค์ วามรู้สู่การน�าไปใช้ ๔๗ • การเขียนเรยี งความ ๒๗ • อา่ นประเมินคา่ ๔๘ • วิธีการเขยี นยอ่ ความ ๒๘ • เปรียบเทียบ วเิ คราะห ์ วจิ ารณ์ ๔๙ • การเขียนจดหมาย ๕๐ • การเขยี นโครงงาน สงั เคราะห์ ๕๑ • ประกาศอย่างเป็นทางการ ๓๐ • ขอ้ ควรคา� นึงการอา่ นสือ่ สิ่งพิมพ์ ๕๒ • ใช้ภาษาอธิบาย บรรยาย ๓๑ • ขอ้ ควรค�านึงการอา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ และพรรณนา

๕๕ กำรฟง กำรดู และกำรพดู ๑ อิ - อี ๑ เอะ - เอ ๕๖ • ภาษากบั ความคิด ๑ แอะ - แอ ๖๐ • การฟัง ๖๗ • การพดู ๘๙ หลักกำรใชภำษำไทย ๖๘ • การพดู ระหว่างบุคคล ๗๑ • การพดู ในกลมุ่ ๙๐ • ภาษาในการสื่อสาร ๗๓ • การพูดให้สัมฤทธผิ์ ล ๙๒ • หนว่ ยในภาษา ๗๔ • การพดู ในโอกาสต่างๆ ๙๙ • พยางค์ ๘๐ • การพดู อภิปราย ๑๐๑ • ค�า ๘๔ • การแสดงทรรศนะ ๑๐๓ • การเพ่ิมคา� ๘๖ • การโนม้ น้าวใจ ๑๑๓ • ขอ้ บกพรอ่ งในการใช้ภาษา ๑๑๔ • วลี ๑๑๕ • ประโยค ๑๒๐ • ส�านวนไทย สุภาษติ ค�าพงั เพย ๑๒๖ • การเปลี่ยนแปลงของภาษา ๑๒๘ • ขอ้ สงั เกตเกยี่ วกับการใชค้ า� ราชาศพั ท์ ๑๓๗ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๓๘ • ความหมายของวรรณคด ี วรรณกรรม ๑๖๔ • แนวทางการพิจารณาวรรณคดี ๑๔๐ • ประเภทวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๖๖ • รสวรรณคดี ๑๔๔ • รปู แบบวรรณคดี ๑๗๕ • การวิเคราะห์คุณคา่ ของวรรณคดี ๑๖๓ • การอา่ นวรรณคดี

อา นขยายความ เสรนอ ายะกทรําอนงอไงทย

กา๔รอหานลกัเกก็บาครวามรู อา นแปลความ นกั อราูหนลวักิเคราะห การอา นเทอคอนกิคเสยี งรอยแกว การอาน

เทคนกาคิ รอา นออกเสยี งรอ ยแกว ศึกษาเรื่องทอ่ี าน อานถกู ตอ ง แบงวรรคตอน ใหเ ขาใจ ตามอกั ขรวธิ ี ใหถ ูกตอ ง บุคลิก นา้ํ เสยี ง มีสมาธิ ทาทางที่ดี เปน ธรรมชาติ ในการอาน ลีลาอารมณ ความดงั ของเสียง ตามเนื้อเรื่อง มีความสมา่ํ เสมอ ๑๐

ภาษาไทย ๑๑ เสนาะทาํ นอง รอยกรองไทย การอานออกเสียงรอ ยกรอง เปน การอานออกเสยี งใหไ พเราะตามลีลา และฉนั ทลักษณข องบทรอ ยกรอง ประเภท โคลง ฉนั ท กาพย กลอน รา ย รสที่ใชในการอา นทาํ นองเสนาะ ๑ รสถอ ย คาํ พดู ทส่ี ะทอนความรูสกึ ตองอานใหเกิดรสถอ ย เรือ่ งราวที่อา น ตอ งอานใหมลี ลี าตามลกั ษณะของเรอ่ื ง ๒รสความ ๓ รสทํานอง ระดบั เสียงสูงตํา่ จังหวะสัน้ ยาวทม่ี คี วามแตกตางกนั ตามฉันทลักษณข องบทรอ ยกรอง ตอ งอานใหถูกทาํ นอง คําทีส่ ัมผัสคลองจองกนั ตอ งอานใหตอ เนอ่ื งกัน ๔รสคลองจอง โดยเนนสมั ผสั นอกเปนสาํ คัญ ๕ รสภาพ เสียงทาํ ใหเกดิ ภาพตอ งอานใหเห็นภาพ เน้อื หาที่สามารถเปดแอปพลเิ คชนั ดไู ด ตองใชเสยี งสูง ตํ่า ดงั คอ ย

อานรอยกรองอยางไรใหเสนาะ ๑ นา้ํ เสยี งแจม ใส ๒เขาใจฉนั ทลกั ษณ ๓ ถกู หลกั ทํานอง ๔สอดคลองอารมณ ๕ เหมาะสมอกั ขรวธิ ี ๖มีศิลปะการใชเสียง ๑๒

ภาษาไทย ๑๓ ศิลปะการใชเสยี ง การทอดเสียง การผอ นจังหวะใหชา ลง มักใชต อนจบเรอื่ งหรอื จบบทอา น การเปล่ียนระดับเสยี งจากสูงไปตา่ํ การหลบเสียง เพ่อื ไมต อ งใชเ สียงท่สี ูงมากเกนิ ไป การเออ้ื นเสยี ง การลากเสียงใหช า ตามจงั หวะและทํานอง ทําใหเกดิ อารมณแ ละความไพเราะ การทําใหเ สียงสะดดุ เปนชว งๆ การคร่ันเสียง มักใชในตอนทตี่ องการใหสะเทือนอารมณ การครวญเสียง การเอ้อื นเสยี งใหเ กิดความรูส ึกตามอารมณ ของการคราํ่ ครวญ ราํ พัน วิงวอนหรอื โศกเศรา การลงเสยี งใหหนกั เปน พิเศษ เมื่อตอง การกระแทกเสยี ง แสดงอารมณโกรธหรือความเขม แข็ง

อาในหแไดปค ลวคาวมาม การอา นแปลความ การแปลความตวั อกั ษรหรอื คาํ ถือความหมายเปนสาํ คญั เพื่อใหผูอา นเขาใจความหมายตามเนือ้ หานัน้ แตย ังรักษาเน้อื หาและความสําคัญของเรอื่ งเดิมอยางครบถวน รปู แบบของการแปลความ ๑ ๒ แปลศัพทเฉพาะใหเ ปน ศัพทท ่ัวไป เชน แปลสาํ นวน สภุ าษิต คําพงั เพย บรรพต = ภเู ขา บทรอยกรอง คําภาษาตา งประเทศ นภา = ทองฟา ใหเ ปนภาษาสามัญ ลูกหนัง = กฬี าฟุตบอล ๓ แปลเครื่องหมายตางๆ ๑๔

อานตีความ ภาษาไทย ๑๕ เปนการอานเพอ่ื หาความหมายท่ซี อนเรน ความสําคญั หรอื ความหมายท่แี ทจ ริงของสาร ๑. เขา ใจเรื่องราวไดหลากหลายมมุ มอง ๒. เห็นคุณคาและประโยชนข องสง่ิ ทอ่ี าน ๓. ชว ยฝก การคิดไตรต รองหาเหตผุ ล ๔. ชว ยใหมีวิจารณญาณในการอาน ขอ ควรคาํ นงึ ในการอานตีความ ๑. เจตนารมณข องผเู ขยี น ๒. แนวคิดสาํ คัญ ๓. นา้ํ เสยี งและบรรยากาศ ลกั ษณะงานเขียน ทตี่ องตีความ ๑. ขอเขยี นทม่ี ีความหมายโดยนัย ๒. ขอ เขยี นทีม่ ีการเปรยี บเทียบ ๓. ขอเขยี นท่ีใชสัญลกั ษณ

ตองเ“ร่อื ขงนย.้ี า..ย” การถายทอดความรู ความเขาใจ การขยายความ ขอมลู ขา วสาร หรอื เรือ่ งราวตางๆ ๑ ท่ศี ึกษาคนควาใหมีเร่ืองราว และความเขาใจเพิ่มมากข้ึน กลา วถึงความสัมพันธ ระหวา งเหตุและผล โดยอาศัยเรื่องเดิม หรือขอความเดมิ เปนพ้นื ฐาน ๒ ยกตัวอยา ง หรือขอเท็จจริง มาประกอบ เนอื้ เรื่องเดิม ๓ อธบิ ายสิ่งทเี่ ก่ยี วของ เพ่มิ เตมิ ๔ การคาดคะเน อนุมาน โดยอาศยั ขอ มูลเดมิ เปนพน้ื ฐาน ๑๖

ภาษาไทย ๑๗ หลักการอานขยายความ ๑ ๒ ตอ งมคี วามเขา ใจ พจิ ารณาความคดิ หลัก พ้ืนฐานเกี่ยวกบั เจตนาและความมงุ หวัง เรอ่ื งทอ่ี าน ของผูเ ขยี น ๓ แทรกความคดิ เสริม ๔ ลําดบั ขอความ ใหน าสนใจ ๕ ยกตัวอยางขอมูล ใหนาเช่ือถอื

การอา น การอา นท่มี ุง เนนความเขาใจเนอ้ื หา เรือ่ งราว แปลความ และใจความของเรื่องเหมาะกบั งานเขียนทว่ั ไป การอาน ทเ่ี สนอขอ เทจ็ จรงิ และขอ คดิ เหน็ เปนหลกั ตีความ การอานทมี่ ุงเนน พจิ ารณาความหมายแฝง การอา น ทป่ี รากฏในงานเขียน เหมาะกับงานเขียน ขยายความ ทใ่ี ชค วามหมายโดยนัย การเปรียบเทียบ และสัญลักษณ การอา นทีม่ ุงเนนเพมิ่ เติมขอมลู ใหมคี วามนาสนใจ เขาใจงายและชดั เจนข้นึ โดยอาศัยขอ มูลจากเนื้อหาเดมิ เหมาะกบั งานเขยี น ที่เปนบทรอยกรอง คําคม สาํ นวนตางๆ ขแยปตาีคลยวคคาววมาามม ๑๘

ภาษาไทย ๑๙ อานวิเคราะห การท่ีผูฟงและผดู รู ับสารแลว พิจารณาองคประกอบออกเปนสวนๆ ประเภท ลักษณะ สาระสาํ คัญ กลวิธกี ารนาํ เสนอ เจตนาของผสู งสาร ประเด็น กระบวนการวิเคราะห ระดับ การวเิ คราะห การวเิ คราะห ดรู ูปแบบการประพันธ รปู แบบ แยกเน้อื เร่อื งตามหลัก ๕W ๑H วเิ คราะหคาํ ประโยค กลวธิ กี ารประพนั ธ (What Where When Why และทศั นคติผูแตง Who How) พิจารณารายละเอยี ด เสียง และภาพทีป่ รากฏ เนือ้ เรื่อง เนื้อหาหลกั ของเร่อื ง สํานวนภาษา ประกอบเร่ือง พิจารณากลวิธีนาํ เสนอ

ขนั้ ตอนการอานวเิ คราะห ๑ กําหนดขอบเขตหรือนยิ าม ใหช ดั เจนวาวเิ คราะหอ ะไร ๒ กาํ หนดจุดมงุ หมายใหช ัดเจน วาวิเคราะหเพื่ออะไร ๒๐

ภาษาไทย ๒๑ ๓ พจิ ารณาหลกั ความรหู รอื ทฤษฎี ทเี่ ก่ียวของใชหลกั ใดเปน เครื่องมือ ในการวเิ คราะห ๔ ใชความรใู หตรงกับเรอ่ื งทวี่ เิ คราะห ที่มีความแตกตา งกนั ๕ สรปุ และรายงานผลการวเิ คราะห ทม่ี คี วามแตกตางกัน

อานวิจารณ การแสดงความคดิ เห็นอยา งมเี หตผุ ล และหลกั เกณฑโ ดยอาศัยขอมูล จากการอานวิเคราะห รูปแบบการวิจารณ ๑ ๒ จติ วจิ ารณ อรรถวจิ ารณ การวจิ ารณต าม การวิจารณตาม ความรสู กึ นึกคิด เนื้อหาสาระและ สรปุ เปน พ้ืนฐาน ของผูอา น ๓ วพิ ากษว ิจารณ การวิจารณเชิงตดั สิน ใชก ารประเมนิ ทช่ี ดั เจน ๒๒

ภาษาไทย ๒๓ หลักการวิจารณ ๑ ๒ มคี วามรคู วามเขาใจ มเี หตผุ ล ในเรื่องที่จะวิจารณ และหลักเกณฑ อยา งถอ งแท ที่ชดั เจน ๓ ๔ เรียบเรียงขอมูล มกี ารอางองิ ใหนา สนใจ ที่นาเช่ือถือ ๕ ใชถ อยคํา ในการวิจารณ ทเ่ี หมาะสม

๔อานเหกบ็ลคกั กวาามรรู การรบั ขอมูลทไ่ี ดจ ากการอา น มากลนั่ กรองดว ยประสบการณ ของตนเอง สรุป อา น สรปุ ความรูที่ได เร่อื งทต่ี องการ เก็บความรู โดยละเอียด เรยี ง แยก เรียงลําดบั ขอ มูล แยกใจความ กับพลความ ๒๔

ภาษาไทย ๒๕ สสูังกเาครรนาําะไหปคใชวา มรู การอานสงั เคราะห กระบวนการอา นทีน่ ําองคประกอบทั้งหลาย มาหลอมรวมเขาดวยกันดวยโครงสรางใหม โดยใชองคความรูเ ดมิ

๑ ตัง้ จดุ มุงหมายใหชัดเจนวา ตองการสรา งสรรคส ่ิงใด เพ่ือประโยชนอ ะไร หรือทาํ หนา ที่อะไร ข้ันตอน ๒ การอา นสังเคราะห หาความรูเกย่ี วกบั หลกั การ ๓ ทฤษฎี แนวทางที่เหมาะสม เปน หลกั ในการสงั เคราะห ทําความเขา ใจ สว นตางๆ จนถอ งแท ๔ อานขอ ความแลว สังเคราะหตาม จดุ มงุ หมาย ๕ ทบทวนผลและตรวจสอบ การสังเคราะหส ูการนาํ ไป ใชประโยชน ๒๖

ภาษาไทย ๒๗ ใชดุลยพินจิ พิจารณา อา นประเมินคา คณุ คา ของสงิ่ หนง่ึ สง่ิ ใด โดยมีเกณฑการประเมินที่ชัดเจน เท่ียงตรง และอาศยั กระบวนการอา น วิเคราะห และสังเคราะหเ ปนพน้ื ฐาน ข้ันตอนการอา นประเมนิ คา ๑ ทําความเขา ใจสารท่ีจะประเมนิ คา ใหช ัดเจนโดยอาศยั หลกั ของการวเิ คราะห ๒ ใชเกณฑการประเมนิ ที่มีความเหมาะสม ๓ หากไมใชเ กณฑป ระเมนิ อาจใชการเปรยี บเทียบ กับหลักฐานอืน่ ซง่ึ มคี วามสมเหตสุ มผล

เปรียบเทยี บ วเิ คราะห วกาเิ รคอรา นาะห กระบวนการแยกแยะ องคป ระกอบตางๆ ท่อี ยูใ นสารออกมาพจิ ารณา อยางละเอยี ดถ่ีถวน กวาิจรอาา รนณ การแสดงความคดิ เหน็ อยางมีหลกั การ เปนกระบวนการตอเนื่อง จากการอา นวิเคราะห ๒๘

ภาษาไทย ๒๙ วจิ ารณ สงั เคราะห สกางั รเอคานราะห การหลอมรวมความรู ท่ผี านการพิจารณาแลว เปนอยางดี ใหก ลายเปน องคความรใู หม ภายใตขอมลู เดิม

ขอ ควรคํานงึ การอา นสอื่ สิ่งพมิ พ สื่อสง่ิ พิมพ หนงั สอื หรอื เอกสารสง่ิ พิมพท ร่ี วบรวมความรู หลากหลายแขนงไวด ว ยตวั อักษร ขอ ควรคาํ นงึ ๑ พิจารณาวา ส่อื สงิ่ พิมพน้นั มีลักษณะการเขยี นเปน อยางไร ในการอานสอ่ื สิ่งพมิ พ ๒ อา นขอ มลู จากสื่อสงิ่ พิมพ ๓ ใชกระบวนการวเิ คราะห วิจารณ สงั เคราะห และประเมนิ คา มาประกอบการอา นสอื่ ส่งิ พมิ พ ๔ นําขอ มูลทีไ่ ดมาสรปุ และตัดสนิ ความนา เชือ่ ถอื ๓๐

ภาษาไทย ๓๑ ขอควรคํานงึ การอา นสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส ขอ มลู สารสนเทศทีบ่ ันทกึ ดวยวิธกี าร ทางอเิ ล็กทรอนกิ สในหลายรปู แบบ ๑ความนาเชื่อถือของขอ มูล ขอ ควรคํานงึ การอา นสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส เนื่องจากเปนสอ่ื ท่เี ขาถงึ ไดง า ย ๒การใชระดบั ภาษา ๓ภาษาเหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล ๔คผวรูอ มา นีควตาอมทงรร่ไี ดออรบบับคคแออลบบะใใตนนรกกวาาจรรสเเผผอยยบแแกพพอ รรนขข เสออมมมลูลูอ

การโน้มนา้ วใจ โวหารการเขยี น อใยช่า้ภงางษดงาาม

ปรงะาเนมเนิขคยี ณุน ค่า การแสดงทรรศนะ การเขียน เขยี เชนิงรวายชิ งาากนาร

การเขียน การสื่อสาร ความต้องการ เพ่อื ให้เกิดความรู้ เร่ืองราว ความรสู้ ึกไปสู่ผู้อ่าน ความเข้าใจ ตามทผี่ ้เู ขียนตอ้ งการ โวหารการเขียน บรรยาย พรรณนา เทศนา สาธก อปุ มา โวหาร โวหาร โวหาร โวหาร โวหาร เลา่ เรอ่ื งราว เล่ารายละเอยี ด สอนใจให้คิด ยกตวั อย่าง เปรียบเทยี บ บอกเล่า แทรกอารมณ์ เพื่ออธบิ าย ใหเ้ ข้าใจ เหตกุ ารณ์ ความรู้สกึ ใหแ้ จม่ แจง้ ความหมาย ใหเ้ ห็นภาพ ไปตามลา� ดบั ๓4

ภาษาไทย ๓๕ การสรรคา� ใช้ เหมาะกับความหมายและเสียง ใช้ค�าเลียนเสียงธรรมชาติ เล่นเสยี งสมั ผสั สระ เลน่ เสียงสัมผสั อกั ษร เล่นเสียงวรรณยุกต์ ฯลฯ การเรยี บเรยี งคา� ใใชห้ภ้งดาษงาาม ขอ้ ความส�าคัญอยูห่ ลงั สุด ขอ้ ความส�าคญั เท่ากนั ขนานกนั ไป ข้อความแบบขั้นบนั ได ข้อความท่เี ปนคา� ถามเชงิ วาทศิลป การใชโ้ วหาร การพลิกแพลงภาษาใหแ้ ปลกไป จากทใ่ี ชอ้ ยู่ให้กระทบใจ

เหตุผลกับภาษา (การเขียนแสดงเหตผุ ล) การอนมุ านเหตุและผล การอนุมาน กระบวนการคิดหาขอ้ สรุปจากเหตผุ ลทีม่ อี ยู่ ทุกคนต้องหายใจ ฉันเปนคน ฉันต้องหายใจ ๑ วธิ ีนิรนัย คือ การแสดงเหตผุ ลจากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย หรอื การอนมุ านจากกรณีรวมกับกรณีเฉพาะหน่ึง ไปสู่กรณีเฉพาะอีกกรณหี นงึ่ เช่น กรณีรวม = ทกุ คนตอ้ งต้องหายใจ กรณีเฉพาะกรณหี น่ึง = ฉันเปนคน กรณีเฉพาะอีกกรณีหน่งึ = ฉนั ตอ้ งหายใจ ๓๖

๒ วิธีอุปนยั ภาษาไทย ๓๗ การแสดงเหตุผล จากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม ๒.๑ กรณเี ฉพาะกี่กรณกี ็ได้ เชน่ เขาเรยี นเกง่ เขาขยนั พอ่ แมส่ นับสนุนใหเ้ รียน เขามีครดู ี เขาน่าจะสอบเข้ามหาวิทยาลยั ได้ เน้อื หาที่สามารถเปดแอปพลเิ คชนั ดไู ด

๒.๒ การอนุมานโดยการเปรียบเทียบ เชน เขา เพ่อื น อยโู่ รงเรียน เรยี นวิชา ๔.๐๐ คะแนนเฉล่ยี ๔.๐๐ เขาก็ควรจะสอบไดเ้ ชน่ กนั เพ่อื นสอบเขา้ มหาวิทยาลยั ได้ ๓๘

ภาษาไทย ๓๙ การอนมุ านสาเหตุ และผลลพั ธท์ ่สี มั พนั ธก์ นั ๑. การอนมุ านจากสาเหตุไปหาผลลพั ธ์ เหตุ ผล ๒. การอนุมานจากผลลพั ธ์ไปหาสาเหตุ ผลการเรียน เหตุ เฉล่ีย ๑.๙๐ ผล ๓. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาผลลัพธ์ สอบตก สอบตก วิชาคณิตศาสตร์ วิชาฟส ิกส์ ๑๔๐๕๐ ๑๓๐๐๐ ผล ผล

การแสดงทรรศนะ โครงสรา้ งการแสดงทรรศนะ ทีม่ า ขอ้ สนับสนนุ สว่ นที่เปน เร่อื งราว ข้อเท็จจรงิ หลกั การ สาเหตุทที่ า� ให้ เพอื่ ประกอบความเปน เหตุผล ไปเสรมิ และสนบั สนุนท่มี า เกดิ การแสดงทรรศนะ ขอ้ สรุป สว่ นท่ีเปนผลจากทมี่ า เปนข้อสรุปสดุ ทา้ ย หรอื เกิดจากการประเมินคา่ 4๐

ภาษาไทย 4๑ ประเภทของทรรศนะ มกั เปน เรอ่ื ง ท่ีเกิดขึ้นแลว้ ทรรศนะเชงิ ขอ้ เทจ็ จริง เปนความจรงิ ทรรศนะเชิงคุณคา่ เปนการตัดสนิ วา่ ดี ไมด่ ี มปี ระโยชน์ ไมม่ ปี ระโยชน์ ทรรศนะเชิงนโยบาย ขอ้ เสนอแนะ ว่าควรจะ ท�าอยา่ งไร ในอนาคต

การโตแ้ ย้ง โน้มนา้ วใจ ท�าอย่างไรให้ลงตวั การใช้ภาษา การโตแ้ ย้งมิใชก่ ารโตเ้ ถียง ตอ้ งใชภ้ าษาที่ไมแ่ สดงอารมณ์โกรธ ในการโต้แยง้ ประชดประชัน และควรใช้หลกั ฐาน หลกั การ เหตผุ ล ค�านงึ ถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเปนหลกั การใชภ้ าษา ม่งุ เน้นใหผ้ ูร้ บั สารเปล่ยี นความเชอ่ื ทัศนคติ เพอ่ื โนม้ น้าวใจ พฤตกิ รรมตามที่ผสู้ ง่ สารต้องการ - แสดงใหเ้ ห็นถึงความนา่ เชื่อถอื ของผโู้ น้มน้าวใจ กลวิธีในการ - แสดงใหป้ ระจักษ์ถึงความรสู้ ึกหรืออารมณ์ร่วมกัน โน้มน้าวใจ - สรา้ งความหรรษาแกผ่ รู้ บั สาร - เร้าใหเ้ กดิ อารมณอ์ ย่างแรงกล้า 4๒

ภาษาไทย 4๓ การเขยี นรายงาน เชิงวิชาการ รายงานทางวิชาการ งานเขยี นทางวชิ าการท่เี กดิ จากการศึกษาค้นคว้า รวบรวมขอ้ มลู จากแหล่งต่างๆ โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร จากการส�ารวจ การสังเกต การทดลอง ฯลฯ แล้วน�ามารวบรวมวิเคราะห์ เรียบเรยี งข้นึ ใหม่ โดยใช้ภาษาระดับทางการตามโครงเรอ่ื งทไี่ ด้วางไว้ โดยมีหลกั ฐานและเอกสารอา้ งอิงประกอบ ขัน้ ตอนในการเขยี น ๑ ๒ รายงานเชิงวิชาการ กา� หนดเร่อื ง ก�าหนดช่อื เร่อื ง การเขยี นรายงานเชงิ วิชาการ และขอบเขตของเร่อื ง ควรมีการวางแผนและกา� หนดข้ันตอน ๓ ๔ ดังน้ี การวาง โครงเรอื่ ง รวบรวม ข้อมูล ๕ ๖ การจดั ระเบียบ และวิเคราะห์ เสนอผลงาน ขอ้ มูล

การประเมินคณุ คา่ งานเขียน การประเมนิ คณุ คา่ งานเขยี น ผปู้ ระเมินจะต้อง วิเคราะห์ และตีความ ก่อนที่จะใชด้ ุลยพินิจประเมนิ คณุ ค่างานเขยี นอย่างมเี หตผุ ล เพอื่ ให้เหน็ คณุ คา่ และเขา้ ใจเจตนารมณ์ของผสู้ ่งสาร ผทู้ ี่มที กั ษะการประเมินคุณคา่ งานเขยี นทด่ี ยี ่อมสามารถนำ� วธิ ีในการคิด และกลวิธีการเขียนงานทด่ี ี ไปใชใ้ นการพฒั นางานเขยี นของตนเองไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ต่อไป วิเคราะห์ ตีความ ประเมนิ คณุ คา่ เหน็ เจตนาผเู้ ขยี น พฒั นางานเขยี น ของตนเอง 44

ภาษาไทย 4๕ หลักการประเมนิ คณุ คา่ งานเขยี น ๑ จา� แนกประเภทงานเขยี นนัน้ วา่ เปนงานเขียนประเภทใด เปน รอ้ ยแก้วหรอื รอ้ ยกรอง เปนสารคดหี รือบันเทิงคดี เปน นวนยิ าย เร่อื งสน้ั นทิ าน บทละคร หรอื สารคดี อ่านอย่างละเอยี ดถถี่ ว้ น เพื่อวิเคราะห์แยกแยะรายละเอยี ด ๒ ของเร่อื งทอี่ า่ น โดยพจิ ารณา ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง ในส่วนตา่ งๆ ของเรือ่ ง เช่น เนอ้ื หา แนวคิด รูปแบบและกลวธิ ี ในการนา� เสนอเร่ือง การใชส้ �านวนภาษา เปนต้น ๓ ตีความ เปนการท�าความเขา้ ใจความหมายของคา� และประโยคตา่ งๆ ทผี่ เู้ ขียนอาจซอ่ นความหมายแฝงซ่งึ ไมไ่ ดส้ ื่อความหมายตามรปู คา� เพือ่ คน้ หาสารท่ีผู้เขยี นต้องการส่อื ถงึ ผอู้ ่าน ประเมนิ คุณคา่ เปน การตดั สนิ ส่งิ ท่อี า่ น ๔ ผอู้ า่ นจะตอ้ งประเมนิ ค่าเรอ่ื งทีอ่ ่านถงึ ความน่าเชื่อถอื ควรตดั สินอยา่ งมเี หตุผลโดยใชเ้ กณฑ์มาตรฐานทไ่ี ด้รับการยอมรับ

การเขยี นบรรณานกุ รม การเขียนบรรณานกุ รมจากหนงั สือเล่ม ชอ่ื ผูแตง . (ปพ มิ พ). ชื่อเร่อื ง (คร้งั ทพี่ มิ พ). สถานท่พี มิ พ : สํานกั พิมพ. ลมุล รัตตากร. (๒๕๓๙). การใชหอ งสมุด (พมิ พค รั้งท่ี ๘). กรุงเทพฯ : สวุ ีริยาสาสน . การเขยี นบรรณานุกรมจากนิตยสารหรอื วารสาร ชอ่ื ผแู ตง . (ปพ มิ พ). ชื่อบทความ. ชอ่ื วารสาร, เลขของปท ี่ (เลขของฉบับที่). เลขหนา. ปย ะวทิ ย ทิพรส. ๒๕๕๓. การจัดการปองกนั และลดสารใหกลนิ่ โคลน Geosmin ในผลิตภณั ฑ แปรรูปสัตวน า้ํ . วารสารสทุ ธิปรทัศน, ๒๔ (๗๒), ๑๐๓-๑๑๙. การเขียนบรรณานุกรมจากหนงั สือพมิ พ์ ชือ่ ผูแ ตง . (ปพ ิมพ, วันที่ เดอื น). ชอ่ื บทความ. ชื่อหนงั สอื พมิ พ. น. หรือ p. หรอื pp. เลขหนา. พนดิ า สงวนเสรีวานชิ . (๒๕๕๔, ๒๔ เมษายน). พระปลัดสุชาติ สุวัฑฒฺ โกปกา เกอะญอ นกั พฒั นา. มตชิ น. น. ๑๗ - ๑๘. การเขียนบรรณานุกรมจากอนิ เทอรเ์ นต็ ชื่อผูแตง. ปพ มิ พ. ชอ่ื เรื่อง. สบื คน วัน เดือน ป, จาก http://www.xxxxxxxxxx สุรชัย เลี้ยงบุญเลศิ ชัย. (๒๕๕๔). จดั ระเบียบสาํ นกั งานทนายความ. สืบคน ๒๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๔, จาก http://www.lawyerscouncil.or.th๒๐๑๑/index.php?name=knowledge 4๖

ภาษาไทย 4๗ การเขยี นเรียงความ เรียงความ หมายถึง งานเขียนร้อยแกว้ ทีม่ ุง่ ถา่ ยทอดเร่ืองราว ความรู้ ความคดิ และทัศนคติ เรยี บเรียงอยา่ งมีลา� ดบั ข้นั และสละสลวย องค์ประกอบของเรียงความ มี ๓ สว่ น คา� น�า เน้ือเรอ่ื ง สรุป เปนสว่ นแรก เปน สว่ นสา� คญั เปนสว่ นสุดท้าย ของเรยี งความ ของเรยี งความ ของเรยี งความ ดงึ ดูดความสนใจ ประกอบดว้ ยเนอื้ หา มุ่งสรปุ ประเด็น ความรู้ ความคดิ การเขียนสรุปมีหลายวธิ ี เน้นศิลปะ และข้อมลู เรียบเรียง เช่น ฝากข้อคดิ ในการใช้ภาษา อยา่ งเปนระบบ การเน้นย�า้ เชญิ ชวน มีการขยายความ ใหป้ ฏิบัตติ าม ด้วยการอธบิ าย การพรรณนา หรอื ยกโวหารตา่ ง ๆ อาจจะมหี ลายยอ่ หนา้ ได้

ยวธิ่อกีคาวราเมขยี น ๑ ๒ อา่ นเรอื่ งทีจ่ ะย่อความให้จบ ๓ บนั ทึกใจความส�าคญั ใหเ้ ข้าใจ เพ่อื ทราบ ของเร่ืองทอ่ี า่ น วา่ เรอ่ื งนัน้ กล่าวถึงใคร อา่ นทบทวนใจความสา� คญั ท�าอะไร ท่ีไหน อย่างไร ท่ีเขียนเรยี บเรยี งแลว้ จากน้นั นา� มาเขียนเรียบเรยี งใหม่ แกไ้ ขใหส้ มบูรณโ์ ดยตัดข้อความ ดว้ ยสา� นวนภาษา เมอื่ ไร และผลเปนอย่างไร ทซ่ี า�้ ซอ้ นออก เพ่ือให้เนอื้ หา ของตนเอง กระชบั และเช่อื มขอ้ ความ ๕ ให้สมั พนั ธก์ ันตง้ั เเตต่ ้นจนจบ ๔ การใชส้ รรพนาม การเขยี นย่อความ เขยี นย่อความให้สมบรู ณ์ ไม่นิยมใชส้ รรพนามบรุ ษุ ท่ี ๑ โดยเขยี นแบบขึ้นตน้ และสรรพนามบรุ ุษท่ี ๒ คอื ฉัน คณุ ท่าน ของยอ่ ความตามรูปแบบ แต่จะใช้สรรพนามบุรษุ ท่ี ๓ ของประเภทขอ้ ความนน้ั ๆ เชน่ เขา และไมเ่ ขียนโดยใช้อกั ษรยอ่ เช่น การยอ่ นทิ าน หากมกี ารใช้ค�าราชาศพั ท์ การยอ่ บทความ ตอ้ งเขยี นให้ถกู ตอ้ งไมต่ ดั ทอน ๖ หากเรอ่ื งท่ีจะยอ่ เปน รอ้ ยกรอง ให้ถอดความเปน ร้อยแก้ว ก่อนท่จี ะย่อความ และยอ่ เปน ภาษาร้อยแก้ว 4๘

ภาษาไทย 4๙ การเขยี นจดหมาย ประเภทของจดหมาย จดหมายสว่ นตัว เปน จดหมายท่เี ขยี นถงึ ผ้ทู ร่ี ู้จกั เพื่อส่งข่าว ใชภ้ าษาระดบั กันเองได้ จดหมายกิจธุระ เปนจดหมายทตี่ ดิ ต่อส่อื สารกันดว้ ยกจิ ธรุ ะ การสมคั รงาน การตดิ ตอ่ สอบถาม การเตือน การทวงถาม การแจง้ ข่าวสาร จดหมายธรุ กจิ เปนจดหมายทีเ่ ขยี นตดิ ต่อกันเรอื่ งท่เี กีย่ วกับธรุ กิจ การเงิน การซ้อื ขาย ระหว่างบรษิ ัท หา้ งร้าน และองคก์ รต่างๆ จดหมายทางการ ราชการ *หมายเหตุ : จดหมายกจิ ธรุ ะ จดหมายธรุ กจิ และจดหมายราชการ เปน จดหมายที่ติดต่อกันจากหน่วยราชการ ใชค ําขึ้นตน เดยี วกนั คือคําวา “เรยี น” ถึงบคุ คลหรอื หนว่ ยงานตา่ งๆ (หนังสอื ราชการตองมเี ลขท่ี คําลงทา ยวา “ขอแสดงความนับถอื ” และลงทะเบยี นรับ-สง ตามระเบยี บงานสารบรรณ) ส่วนประกอบของการเขียนจดหมาย ๑. สถานทเี่ ขยี นจดหมาย : บา นเลขท่ี ซอย ถนน อาํ เภอ จังหวัด รหสั ไปรษณยี  ๒. วนั เดือน ป : ไมต องระบุคํานาํ หนา เชน ๙ ตุลาคม ๒๕๖๐ ๓. ค�าขนึ้ ตน้ คา� ลงทา้ ย และสรรพนาม : ตามความสมั พนั ธผูเขียนและผรู ับ ตามระเบยี บงานสารบรรณ ๔. ชื่อผเู้ ขียน : ควรวงเลบ็ ชือ่ นามสกุล และคํานําหนาชอ่ื ไวใตลายเซ็น

๑ ๒ ช่อื โครงงาน ผูร้ ับผิดชอบโครงงาน เขยี นชอ่ื ตามล�าดับตัวอกั ษร ควรกระชับ ชัดเจน หัวหนา้ โครงงานล�าดบั แรก เรียงล�าดบั ตวั อกั ษร ๓ ๔ ทีม่ าโครงงาน จดุ ประสงค์ มีเหตุผลของการศกึ ษา ของโครงงาน ควรเขยี นใหร้ ัดกุมเปนข้อๆ ให้เข้าใจได้งา่ ย การเขียนโครงงาน ๕ ๖ ขอบเขตเน้อื หา หลักวชิ าทจ่ี ะน�ามา และระยะเวลา ใช้ในการท�าโครงงาน การทา� โครงงาน นา� ความรู้ทางหลักวิชาการ ตอ้ งวางขอบเขตเปนกรอบ เพื่อความน่าเชื่อถือ เพอื่ เปน ตารางการด�าเนินงาน ๘ ๗ ผลทีค่ าดหวัง วธิ ีปฏบิ ัติ ในการทา� โครงงาน โครงงานเสร็จสิน้ จะได้รบั ผลอย่างไร เขียนขั้นตอนการด�าเนนิ งาน ควรท�าตารางการปฏบิ ัติงาน ๕๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook