Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-05-21-วิจัยในชั้นเรียน-5Es

64-05-21-วิจัยในชั้นเรียน-5Es

Published by t.panida.noisri, 2021-05-22 13:05:35

Description: 64-05-21-วิจัยในชั้นเรียน-5Es

Search

Read the Text Version

รายงานผลการวิจัย ครพู นิดา น้อยศรี ผลการใช้แบบฝกึ ทักษะเรอ่ื งการวเิ คราะหง์ าน แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ทม่ี ีต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วชิ าการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ ของนักเรียนช้นั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ชน้ั ปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวัดลพบรุ ี

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวัดลพบรุ ี ท่ี ศธ (กง) ๐๔๐๐๗.๖๐๓ / ......................... วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เรอื่ ง ส่งวิจยั ในชน้ั เรยี น เรียน ผูอ้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบรุ ี ตามที่โรงเรียนได้กาหนดให้ครูทุกคนทาวิจยั ในช้ันเรยี นเพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาผู้เรียน ในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ข้าพเจ้าได้จัดทาวิจัยในช้ันเรียนเรื่อง ผลการใช้แบบฝึกทักษะเร่ืองการวิเคราะห์งาน แบบสืบ เสาะหาความรู้ (5Es) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียน ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีท่ี ๒ รายวิชาการเขียนโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ บัดน้ีได้ดาเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขอดาเนินการส่งวิจัยในชั้นเรียนดังเอกสารท่ีแนบมา พร้อมกันนี้ จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ ลงช่ือ (นางสาวพนดิ า น้อยศร)ี ครู คศ.๓ ความเห็นรองผู้อานวยการ ความเหน็ ผูอ้ านวยการ --------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------- (นายชนาธิป กาละพนั ธ์) (นายประเวศ ท่ังจันทร์แดง) รองผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรยี น D:\\64\\64-สรุปงาน\\สรุปงาน-แตล่ ะงาน\\64-วจิ ยั \\2-64-05-21-วจิ ยั ในชน้ั เรียน.docx

สารบญั 2 6 บทที่ 1 บทนา 18 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง 19 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย 21 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู บทที่ 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ ภาคผนวก

วจิ ยั เรอ่ื ง : 1 ระยะเวลา: ผวู้ จิ ยั : ผลของการใช้แบบฝึกทักษะเรอ่ื งการวเิ คราะห์งาน แบบสืบเสาะหาความรู้ ประเภทงานวจิ ยั : (5Es) ทีม่ ีต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาการเขยี นโปรแกรม ภาษาคอมพวิ เตอร์ ของนกั เรยี นชน้ั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครพู นิดา นอ้ ยศรี วจิ ยั ช้ันเรยี น บทคดั ยอ่ : การวิจัยเร่ืองผลการใช้แบบบฝึกทักษะเรื่องการวิเคราะห์งาน แบบเสือบเสาะหาความรู้ (5Es) ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ของนักเรียน ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองการวิเคราะห์งาน ของนักเรียน ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีที่ 2 จานวน 14 คน เคร่ืองมือวัดท่ีใช้ในการวิจัย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์งาน ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน 2) นวัตกรรมท่ีใช้ได้แก่ แบบฝึก ทักษะเร่ืองการวเิ คราะห์งาน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยการใช้แบบฝึกทักษะเรื่องการวิเคราะห์ งาน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบรุ ี หลังเรียนมีค่าคะแนนเฉลีย่ สูงขนึ้

2 บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา เน่ืองด้วยการพัฒนาการศึกษาภายใต้กรอบประเทศไทย 4.0 ท่ามกลางโลกแห่งการ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของข้อมูลข่าวสาร การเมือ ง เศรษฐกิจ การศึกษา สภาพแวดล้อมและเทคโนโลยีเริม่ ดว้ ยการฝึกใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนร้ดู ้วย ตนเอง เปลี่ยนจากครูสอนเป็นพี่เล้ียงหรือครูฝึก (Coach) การเรียนแบบบูรณาการสหวิชาการ การเชื่อมโยงความรู้กับจินตนาการ เปล่ียนแปลงไปสู่รูปธรรมให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีต้องการ เช่น การทางานร่วมกัน ความคิดสร้างสรรค์ และการส่ือสารที่ดี ซ่ึงการจัดการศึกษาต้องสร้างความ พอใจให้ผู้เรียนและท้าท้ายสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอยากเรียน การศึกษาในยุค 4.0 ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือการสอนทุกรปู แบบ ท้ังสื่อส่ิงพิมพ์และสอ่ื ดจิ ทิ ลั เน้นใหผ้ เู้ รียนมีทักษะในการสบื คน้ และใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เน่ืองจากข้อมลู ในปจั จบุ ัน มีจานวนมาก ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการค้นหาและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ซ่ึงสอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) สถาบันการศึกษา และ หน่วยงานต้องวางแผนงานให้รองรับกรอบยุทธศาสตรช์ าติทั้ง 6 ด้าน คือ 1) ความม่ันคง 2) การ สร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ 4) การสร้างโอกาสความ เสมอภาคและการลดความเหลื่อมลา้ ทางสงั คม 5) การสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มติ ร กบั ส่งิ แวดล้อม 6) การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ซึ่งเป็นนโยบายหน่ึง ทเี่ ปน็ การวางรากฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาวและเปน็ จดุ เร่ิมตน้ ในการขบั เคลอื่ นไปสู่การ เป็นประเทศที่มั่งคั่งม่ันคงและย่ังยืน (ชวลิต โพธ์ินคร, 2560) การจัดการศึกษาต้องเน้น ความสาคัญทงั้ ความรู้และคณุ ภาพ กระบวนการเรียนรู้ คานงึ ถึงความสนใจ ความถนดั และความ แตกต่างของผู้เรียน เน้นฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา ซ่ึงต้องเกิดจากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง สามารถคดิ ไดอ้ ยา่ งมีระบบ สามารถแกป้ ัญหาทเ่ี กิดข้ึนไดอ้ ย่างมหี ลักการและเหตผุ ล ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น การสืบเสาะหาความรู้ได้พฒั นาขึ้นมาจากกจิ กรรมการสอนวิทยาศาสตร์ ชาตรี เกดิ ธรรม (2545) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ว่าเป็นการ จัดการเรียนรู้ที่ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้ โดยใช้กระบวนการทางความคิด หาเหตุผล ทาใหค้ ้นพบความรู้ หรือแนวทางแกป้ ญั หาด้วยตนเอง ผู้วจิ ัยจงึ มีความสนใจท่ีจะนามาพัฒนาการ จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับ

3 ผู้เรียน ซึ่งการสืบเสาะหาความรู้ (5Es) นั้น เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลง มือกระทา และได้ประยุกต์ใช้ทักษะการคิดและทักษะด้านอื่นๆ เพื่อเช่ือมโยงองค์ความรู้นาไป ปฏิบัติเพ่อื แกไ้ ขปัญหาหรือประกอบอาชพี ในอนาคต ผูเ้ รียนจะต้องมีโอกาสลงมอื กระทามากกวา่ การฟังเพียงอย่างเดียว อีกทั้งยังส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียนในการค้นคว้าหาความรู้ สร้าง ความเข้าใจด้วยตนเอง ด้วยการแสวงหาความจริงจากการสืบเสาะหาคาตอบจากแหล่งเรียนรู้ ตา่ งๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง รักที่จะเรียนรู้ มคี วามสนุกกับการเรียนรู้และอยากเรียนรู้ตอ่ ไปตลอดชีวติ สาหรับผู้ท่ีเรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนั้น รายวิชาพ้ืนฐานการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เป็นอีกรายวิชาหนึ่งท่ีผู้เรียนต้องมีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับหลักการเขียน โปรแกรม วิเคราะหง์ าน ใชง้ านผังงานและรหัสเทยี ม เพื่อลาดบั ขน้ั ตอนการทางาน เพอ่ื ใช้ในการ เขียนและพัฒนาโปรแกรมเพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะกับงานด้านตา่ งๆ จากการสอนใน รายวิชาพ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ปวช. 2 พบว่า นักเรียนจานวนมาก ขาดทักษะในการวิเคราะห์งาน เมื่อผู้วิจัยทาการซักถามข้ันตอนการวิเคราะห์งานนักเรียน ไม่ สามารถอธบิ ายและตอบคาถามได้ถกู ตอ้ ง จากปัญหาที่พบ ผู้วิจัยจึงได้ค้นหาวิธีการท่ีจะให้การวิเคราะห์งานเป็นเร่ืองที่สามารถทา ความเข้าใจ ได้ง่าย และศึกษาลาดับข้ันตอนการประมวลผล ได้ง่ายข้ึน และได้พบวา่ การใชแ้ บบ ฝึกทกั ษะการวเิ คราะห์งาน แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ซ่ึงทาให้นักเรยี นสามารถศึกษาทาความ เข้าใจเรื่องการวิเคราห์tงาน ซ่ึงเป็นพื้นฐานสาคัญในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในระดับสงู ตอ่ ไป จึงไดจ้ ัดทาแบบฝกึ มาใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น เร่อื งการวเิ คราะหง์ าน โดยใช้แบบฝกึ แบบสืบเสาะหา ความรู้ (5Es) รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับช้ัน ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ช้นั ปีที่ 2 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั การวจิ ยั เรอื่ งผลของการใชแ้ บบฝึกทกั ษะเรอื่ งการวเิ คราะห์งาน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ท่ีมตี ่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาการเขียนโปรแกรม ของผเู้ รยี นระดับชน้ั ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ช้ันปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบุรี โดยมี กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัยตามคดิ ของนักการศกึ ษา BSCS (Biological Science Curriculum Society) BSCS. (1997 อ้างถึงใน เอกสารการอบรมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน สาขา ชวี วิทยา สสวท., นามากาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังน้ี

4 ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม การจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ การสร้างความในใจ ขั้นที่ 2 ข้ันการสารวจและคน้ หา ขั้นท่ี 3 ขั้นการอธิบายและลงข้อสรปุ ขน้ั ท่ี 4 ขน้ั การขยายความรู้ ขนั้ ท่ี 5 ขัน้ การประเมนิ ผล ขอบเขตการวจิ ยั ประชากร ประชากรแบบเจาะจง นกั เรยี นที่ระดบั ชนั้ ปวช.2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวัดลพบรุ ี จานวน 14 คน กลมุ่ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอยา่ งแบบเจาะจง นกั เรยี นทร่ี ะดบั ช้ัน ปวช.2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวัดลพบรุ ี จานวน 14 คน เนอื้ หา เนือ้ หาทีใ่ ช้ในการจัดทาแบบฝกึ เรอ่ื ง การวเิ คราะหง์ าน แบบสบื เสาะหาความรู้ (5 E) รายวิชาการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ แบง่ เนื้อหา ดังนี้ 1. ความหมายของการวิเคราะหง์ าน 2. ข้ันตอนการวเิ คราะห์งาน 3. แบบฝกึ การวเิ คราะห์งาน ตวั แปร ตวั แปรตน้ แบบฝกึ หลกั การวเิ คราะหง์ าน แบบสบื เสาะหาความรู้ (5 E) ตวั แปรตาม ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ระยะเวลา สัปดาหท์ ่ี 2-3 (12-19 พฤศจิกายน 2563) ของการจดั การเรยี นการสอน รายวิชา การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์

5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ การจดั การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความร(ู้ 5Es) หมายถงึ การจัดการเรียนร้ทู เ่ี น้นให้ผเู้ รยี น แสวงหาความรู้ด้วยตนเองด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ภายใต้เหตุการณ์ที่ผู้สอนสร้างขนึ้ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความสนใจหรือสงสัยเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ขั้นตอนการสืบเสาะหา ความรู้แบ่งออกเป็น 5 ข้ันตอน ดังนี้ 1) ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) 2) ขั้นสารวจและ ค้นคว้า (Exploration) 3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 5) ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation) เป็นข้นั ทีป่ ระเมนิ การเรยี นรู้ของผ้เู รียน ความสามารถในการวิเคราะห์งาน หมายถึง การประเมินผลการทาแบบฝึกทักษะเรื่องการ วิเคราะหง์ าน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5 E) นักเรียน หมายถึง ผู้เรียนรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 14 คน โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบุรี ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั จากการวจิ ยั 1. นกั เรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรอ่ื ง การวเิ คราะหง์ าน ดขี ึ้น 2. ครผู ู้สอนได้แบบฝกึ ทกั ษะการวิเคราะห์งาน แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ที่ผ่านการ วจิ ัยทดลอง เปน็ แนวทางในการพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตอ่ ไป

6 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง การวิจัยคร้ังน้ีผวู้ ิจัยได้ทาการศึกษา คน้ คว้าเอกสารและรายงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งตาม หวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1. แนวคดิ การจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) วิธีการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ เป็นวิธีการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญเป็นการสอนที่ ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างแท้จริง โดยนักเรียน ค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยตนเอง ชว่ ยให้นกั เรยี นเป็นคนช่างสังเกต ช่างสงสยั และพยายามหาข้อสรุป จนในท่ีสุดเกิดเป็นความคิดรวบยอดในเรื่องท่ีศึกษานั้น การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้น้ี ครูผู้สอนมีหน้าท่ี เป็นผู้สนับสนุน ช้ีแนะช่วยเหลือตลอดจนแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดข้ึนในระหว่าง การเรียนการสอน (สมจติ สวธนไพบลู ย์, ม.ป.ป., หน้า 110-111) 1.1 ความหมายของการจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้มีความหมายแตกต่างกันออกไปตามแนวคิดของนัก การศึกษา ดังต่อไปนี้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นการสอนที่ส่งเสริมใหผู้เรียนแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการค้นควา้ ความรู้ท่ีผู้เรียนยังไม่เคยมีความรมู้ ากอ่ น จนสามารถออกแบบทดลองและทดสอบสมมตฐิ านได้ (สุวัฒน์ นิยมค้า, 2531, หนา้ 502) วณี า ประชากูล และประสาท เนืองเฉลมิ (2553, หน้า 228) ใหค้ วามหมายของการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ คือ กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ด้วยวิธีการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าหาความรู้โดยผู้สอนมีบทบาทในการต้ังคาถามเพื่อ กระตุ้นให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการทางความคิด หาเหตุผลจนค้นพบความรู้หรือแนวทางแก้ไข ปัญหาท่ีถูกต้องด้วยตนเอง แล้วสรุปผลออกมาเป็นหลักการ หรือวิธีการในการแก้ปัญหาและ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555, หน้า 20) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์เป็นการสืบเสาะหาความรู้ โดยมนุษย์ได้พัฒนาองค์ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โดยใช้การ สืบเสาะหาความร้ดู ้วยการต้ังคาถามทส่ี งสัยอยากรูเ้ กย่ี วกบั สงิ่ เหล่านั้นเป็นแนวความคดิ หลกั กฎ หรือทฤษฎีทีเ่ กยี่ วกับโลกธรรมชาติ เวลช์ (Welch, 1981 อ้างอิงใน ศศิธร เวียงวะลยั , 2556, หน้า 146) อธิบายวา่ การสบื เสาะ เป็นกระบวนการหนึ่งของการสืบเสาะทั่วไปท่ีมุ่งการหาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์

7 ต่างๆ ทางธรรมชาติโดยอาศัยความเช่ือ กรอบความคิด และข้อตกลงเบ้ืองต้นเป็นแนวทางใน การศึกษามาตรฐานการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา เห็นได้ว่าการสืบเสาะ เป็นกิจกรรมที่หลากหลายซึ่งประกอบด้วยการสังเกต การต้ังคาถาม การตรวจสอบหนังสือ เอกสารต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาที่น่าสนใจการวางแผนการสืบค้น การใช้เครื่องมือและ อปุ กรณ์ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ขอม้ ูลการแปลความหมายข้อมลู การเสนอคาตอบ ตลอดจนการถ่ายทอด เผยแพรผ่ ลการศึกษาจากแนวคิดขา้ งต้น อาจกลา่ วไดว้ า่ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้เป็นกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่การตั้งสมมติฐาน การค้นคว้าการทดลอง การสารวจตรวจสอบ การลงข้อสรุป เน้นให้ ผู้เรียนสร้างความรใู้ หมห่ รอื ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ดว้ ยตนเอง ซึ่งจะทาให้ผู้เรยี นเกิดความรแู้ ละความรู้ นัน้ จะคงทนถาวรอยู่ในความจาระยะยาว ครูเปน็ เพยี งผู้จัดการให้เกิดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1.2 รปู แบบของการจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) นักการศึกษาหลายท่านได้กาหนดรูปแบบหรือข้ันตอนในการจัดการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความร้แู ตกตา่ งกนั ดงั นี้ ผดุงยศ ดวงมาลา (2530: 124-125) ได้แบ่งข้ันตอนในการจัดการเรียนการสอนแบบสืบ เสาะหาความรไู้ ว้ดงั นี้ 1. ข้ันนาเข้าส่บู ทเรียนและการตง้ั สมมติฐาน (Orientation and Hypothesis) ปญั หาคอื ส่ิงท่ีจะต้องศึกษาเพื่อให้ได้คาตอบ เป็นหน้าท่ีของผู้สอนท่ีต้องจัดสถานการณ์ กิจกรรมหรือ เงื่อนไขที่ทาให้เกิดปัญหาข้อข้องใจ (Conceptual Conflicts) ข้ึนในตัวผู้เรียนซึ่งเป็นขั้นที่ทาให้ ผู้เรียนสืบเสาะต่อไปวา่ อะไรคือปญั หา หรือปัญหานั้นจะอธิบายว่าอย่างไร ในข้ันนี้ต้องใหผ้ ู้เรียน คิดพิจารณาหรือใช้ทักษะการสังเกตพิจารณาสภาพของปัญหา เพื่อให้ผู้เ รียนรู้จักการ ต้ังสมมตฐิ านเพือ่ คาดคะเนคาตอบของปัญหาในเบอ้ื งตน้ 2. ข้ันสารวจค้นคว้าหรือข้ันปฏิบัติการ (Exploration) เป็นข้ันที่นักเรียนจะต้องค้นหา เหตผุ ลหาข้อมลู เพอื่ ตรวจสอบสมมติฐานทต่ี ้ังไว้ ซึง่ นักเรียนจะต้องใชว้ ิธกี ารหลายวิธีรวมท้งั การ สอบถามจากผู้สอนดว้ ย ครตู ้องไมต่ อบปัญหาหรือบรรยายให้ฟัง หากจาเป็นตอ้ งตอบปญั หาโดย ไม่มีทางเลยี่ งให้ใช้วิธรี กุ คาถามเพือ่ ให้นกั เรยี นได้ข้อคิดของตนให้มากที่สุดเทา่ ท่ีจะทาได้ 3. ขั้นอภิปรายและสรุปผล (Discussion and Conclusion) เม่ือรวบรวมข้อมูลจากการ สารวจค้นคว้าหรือปฏิบัติการแล้ว ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนอภิปรายถึงผลที่ได้เพื่อโยงไปสู่ สมมติฐานท่ีตั้งไว้ว่าเป็นความจริงมากน้อยเพียงใด หากสมมติฐานน้ันเป็นความจริงให้สรุปเป็น หลักการต่อไป 4. ข้ันการนาไปใช้ (Application) เมื่อสรุปเป็นมโนมติหรือหลักการต่างๆ แล้วผู้สอน จะต้องกระตุ้นให้ผู้เรยี นได้คิดวา่ สิ่งทส่ี ืบเสาะได้นน้ั จะนาไปใช้ได้อย่างไรหรอื นาไปผสมผสานกบั

8 ความรู้อ่ืนๆ ท่ีได้เรียนมาแล้วให้เป็นโครงสร้างของความรู้ใหม่ได้อย่างไร กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2546: 219-220) ไดแ้ บง่ ขัน้ ตอนในการสอน แบบสืบเสาะหาความรไู้ วด้ ังน้ี 1. การสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นข้ันการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเร่ืองท่ี สนใจซึ่งเกิดข้ึนเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนหรือเกิดจาก อภิปรายในกลุ่ม เรื่องที่น่าสนใจอาจจะมาจากเหตุการณ์ในข่วงนั้น หรือเป็นเร่ืองท่ีเชื่อมโยงกับ ความรู้เดิมท่ีเพิ่งเรียนมาแล้ว เป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถาม กาหนดประเด็นที่จะศึกษา ครูอาจให้ศึกษาจากสอ่ื ต่าง ๆ หรือเปน็ ผ้กู ระตุ้นดว้ ยการเสนอประเดน็ ข้ึนมากอ่ น 2. การสารวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นที่มีการวางแผนกาหนดแนวทางใน การสารวจ ตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือช่วยในการสร้างสถานการณ์จาลอง การศึกษาหา ขอ้ มลู จากเอกสารอา้ งองิ หรือจากแหล่งขอ้ มลู ตา่ งๆ เพอ่ื ให้ได้ขอ้ มลู ท่เี พียงพอทีจ่ ะใช้ในขั้นตอ่ ไป 3. การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เป็นข้ันการนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนาเสนอผลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บรรยาย สร้างแบบจาลองหรือรูปวาด สรา้ งตาราง ฯลฯ การคน้ พบในข้นั นี้เป็นไปไดห้ ลายทาง เชน่ สนบั สนุนสมมตฐิ านที่ตัง้ ไว้ โตแ้ ยง้ สมมตฐิ านท่ีต้ังไว้ หรือไมเ่ กีย่ วกับประเดน็ ทตี่ ้งั ไวแ้ ตผ่ ลท่ไี ด้จะอยู่ในรปู ใดกส็ ามารถสรา้ งความรู้ และช่วยใหเ้ กิดการเรียนรไู้ ด้ 4. การขยายความรู้ (Elaboration) เป็นข้ันการนาความรู้ที่สร้างข้ึนไปเช่ือมโยงกับ ความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพ่ิมเติมหรือนาแบบจาลอง หรือข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบาย สถานการณ์หรือเหตุการณ์อ่ืน ถ้าใช้อธิบายเรื่องอื่นได้มากก็แสดงว่าข้อจากัดน้อย ซ่ึงจะช่วย เชื่อมโยงกับเร่ืองต่างๆ และทาให้เกดิ ความรกู้ ว้างขวางขึ้น 5. การประเมิน (Evaluation) เป็นข้ันการประเมินความรู้ทักษะกระบวนการท่ี นักเรียนได้รับและการนาาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเร่ืองอ่ืนๆ สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. 2546: 216) ได้ให้แนวทางการจัดการเรียนการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่เี น้นกระบวนการท่ีผูเ้ รียนเป็นผู้คิดลงมอื ปฏิบัติ ศกึ ษาค้นควา้ อย่าง มีระบบด้วยกจิ กรรมที่หลากหลายท้งั การทากิจกรรมในห้องปฏิบัติการและภาคสนาม ให้ผู้เรียน ไดส้ งั เกต สารวจตรวจสอบทดลอง ด้วยวิธีการตา่ งๆ จนทาใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเข้าใจและเกิดการ รับรู้อย่างมีความหมาย สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ทาให้มีความรู้ คงทนยาวนาน สามารถนามาใช้ได้เมื่อมีสถานการณ์ใดๆ มาเผชิญหน้าโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพอื่ ฝึกทกั ษะการแสวงหาความรูแ้ ละพฒั นาการคดิ ขั้นสงู ได้

9 1.3 จิตวิทยาที่เป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) การ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้มีรากฐานมาจากทฤษฎีของเพียเจต์ (Paget, n.d. อ้างถึงใน เลิศศักด์ิ ประกอบชัยชนะ, 2544: 8) กล่าวถึงพัฒนาการทางสมองของมนุษย์ ไว้ว่า ความคิดของ มนุษยป์ ระกอบดว้ ยโครงสรา้ ง 2 ขั้น คือ ขั้นท่ี 1 การดูดซึม (Assimilation) หมายถึง การเร้าให้นักเรียนนาความรู้เดิมมาใช้ใน ชั้นเรียน โดยใช้ความรู้เดิมเป็นแนวทางในการคิดให้เกิดการเรียนรู้ใหม่และเมื่อความรู้เดิมไม่ สามารถนามาอธบิ ายปญั หาได้ จะนาไปสู่ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 2 การปรับปรุง (Accommodation) หมายถึง การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง ขยายโครงสร้างเดิม เพื่อการเรียนรู้ใหม่ โดยการนามาสัมพันธ์กับโครงสร้างใหม่ ถ้าไม่มีการ เปลยี่ นแปลงหรอื ปรับปรุงโครงสรา้ งเดมิ ก็ไมส่ ามารถรบั ความรูใ้ หมไ่ ด้ ผดงุ ยศ ดวงมาลา (2530: 122) ได้ระบถุ งึ หลกั ทางจติ วทิ ยาซึ่งสนบั สนนุ การสอน แบบสืบเสาะหาความรดู้ ังน้ี เด็กจะเรียนวิทยาศาสตร์ได้ดีย่ิงข้ึน ก็ต่อเมื่อได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการค้นหา ความรู้นั้น ดีกว่าจะให้เด็กรู้จากการบอกเล่า ซ่ึงการเรียนรู้จะเกิดได้ดีที่สุด เมื่อสถานการณ์ยั่วยุ ให้เด็อยากจะเรียน ไม่ใช่บังคับซ่ึงเป็นหน้าที่ของครูโดยตรงทีจะสร้างสถานการณ์ให้เกิดการ เรียนรู้และการให้ผู้เรียนได้เรียนโดยใช้ความคิดพิจารณาจะช่วยให้มีความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงเป็น การพฒั นาสมรรถภาพของสมองขัน้ สงู สุวฒั ก์ นยิ มคา้ (2531: 125-126) ได้กล่าวถึง หลักจิตวิทยาการเรยี นรทู้ เ่ี ป็นพนื้ ฐาน ของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ไวด้ ังน้ี 1. ในการเรยี นการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์นน้ั นกั เรียนจะเรียนรูไ้ ด้ดียิ่งขนึ้ ก็ต่อเมอ่ื ไดเ้ ก่ยี วข้องโดยตรงกบั การค้นหาความรนู้ น้ั ๆ ไดม้ ากกวา่ การบอกใหร้ ู้ 2. การเรียนรู้จะเกิดได้ดีท่ีสุด เมื่อสถานการณ์แวดล้อมในการเรียนรู้นั้นยั่วยุให้ นักเรียนอยากเรียน ไม่ใช่บีบบังคับและผู้สอนจะต้องจัดกิจกรรมท่ีนาไปสู่ความสาเร็จในการ คน้ คว้าแทนทีจ่ ะให้นกั เรียนเกดิ ความลม้ เหลว 3. วิธีการสอนของครูจะต้องส่งเสริมความคิดให้นักเรียนคิดเป็น มีความคิด สรา้ งสรรค์ ให้โอกาสนกั เรยี นไดแ้ สดงหรอื มีความคิดเห็นของตนไดม้ ากที่สุด สุวิมล เข้ียวแก้ว (2540: 64) กล่าวถึงจติ วทิ ยาการเรยี นรูซ้ ึง่ เป็นพนื้ ฐานของการ สอนแบบสืบเสาะหาความร้มู ดี ังนี้ 1. นักเรียนจะเรียนได้อย่างดีย่ิงขึ้นเม่ือได้เกี่ยวข้องกับการค้นหาความรู้นั้น โดยตรงมากกวา่ ทจี่ ะได้รบั ร้จู ากการบรรยาย

10 2. การเรียนรู้จะเกิดได้ดีท่ีสุด เมื่อสถานการณ์แวดล้อมในการเรียนรู้ช่วยให้ นักเรียนเกิดความใฝ่รู้ ความรูอ้ ยากทราบข้อเท็จจริง หรือรายละเอยี ดตา่ งๆ ซึ่งเป็นหน้าทีข่ องครู โดยตรงท่ีตอ้ งจดั กิจกรรมที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการคน้ ควา้ 3. การให้ผู้เรียนได้เรียนโดยใช้การพิจารณา จะช่วยให้นักเรียนมีความคิด สร้างสรรคซ์ ่ึงเป็นการพัฒนาสมรรถภาพข้ันสูงของสมอง จากจติ วทิ ยาพน้ื ฐานในการสอนแบบสบื เสาะหาความรดู้ ังกล่าวสรปุ ได้ว่า ในการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมหรอื สร้างสถานการณ์การย่ัวยุใหไ้ ด้ นักเรียนวางแผนกาหนดแนวทางวธิ กี ารในการค้นหาความรดู้ ้วย ตนเอง จนกระท่งั ได้คาตอบ ซ่ึงจะส่งผลใหน้ กั เรยี นสามารถเชือ่ มโยงความคดิ และหลักการต่าง ๆ เขา้ ด้วยกันอนั จะกอ่ ให้เกดิ การเรียนได้ดีท่สี ุด 1.4 ขนั้ ตอนและบรรยากาศในการจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. 2546: 45-46) ได้ กล่าวถึงข้ันตอนและบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ดังตาราง 1 และ ตาราง 2 ตามลาดบั ตาราง 1 ข้นั ตอนการจัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ขนั้ ตอน กจิ กรรมการเรยี นรู้ ลกั ษณะของกจิ กรรม บทบาทของครู บทบาทของผเู้ รยี น การจดั การเรยี นรู้ 1 . ข้ั น ส ร้ า ง ค ว า ม ครูจัดกิจกรรมหรือ 1. เช่ือมโยงกบั ความรู้ 1. สร้างความสนใจ 1. ตั้งคาถาม สนใจ (Engagement) สถานการณ์กระตุ้น เดมิ 2. สร้างความอยากรู้ 2. ตอบคาถาม ย่ัวยุ หรือท้าทายให้ 2. แปลกใหม่ผู้เรียน อยากเห็น 3. แสดงความคิดเห็น ผู้เรียนสนใจ สงสัย ไมเ่ คยพบมาก่อน 3. ตั้งคาถามกระตุ้น 4. กาหนดปัญหาหรือ ใคร่อยากรู้อยากเห็น 3 . ย่ั ว ยุ ท้ า ท า ย ใหผ้ ้เู รียนคิด เ รื่ อ ง ท่ี จ ะ ส า ร ว จ ใ ห้ ห รื อ ขั ด แ ย้ ง เ กิ ด น่าสนใจ ใคร่รู้ 4. ให้เวลาผู้เรียนคิด ชดั เจน ปัญหา ทาให้ผู้เรียน 4. เปิดโอกาสให้มี ก่ อ น ต อ บ ค า ถ า ม 5. แสดงความสนใจ ต้ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า แ น ว ท า ง ก า ร หรือไม่เร่งเร้าในการ ค้นคว้าทดลองหรือ ต ร ว จ ส อ บ อ ย่ า ง ตอบคาถาม แก้ปัญหา (สารวจ หลากหลาย 5. ดึงเอาคาตอบหรือ ตรวจสอบด้วยตัวของ 5 . น า ไ ป สู่ ค ว า ม คิ ด ที่ ยั ง ไ ม่ ผู้เรยี น) ก ร ะ บ ว น ก า ร ค ร อ บ ค ลุ ม สิ่ ง ท่ี ตรวจสอบด้วยตัวของ นกั เรยี นรู้ ผู้เรยี นเอง 6 . เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ท า ค ว า ม กระจ่างในปัญหาท่ีจะ สารวจตรวจสอบ

11 2 . ขั้ น ส า ร ว จ แ ล ะ ครูจัดกิจกรรมหรือ 1. ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธี 1 . เ ปิ ด โ อ ก า สให้ 1. คิดอย่างอิสระแต่ คน้ หา (Exploration) สถานการณ์ให้ผู้เรยี น แสวงหาความรู้ด้วย ผู้เรียนได้วิเคราะห์ อยู่ในขอบเขตของ ส า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ ตนเอง กระบวนการสารวจ กิจกรรม ปัญหาหรือประเด็นท่ี 2. ผู้เรียนทางานตาม ตรวจสอบ 2. ต้ังสมมติฐานที่ ผู้เรยี นสนใจใครร่ ู้ คดิ อยา่ งอิสระ 2. ถามเพ่ือนาไปสู่ เป็นไปได้โดยการ 3. ผู้เรียน การสารวจตรวจสอบ อภิปราย ตง้ั สมมตฐิ าน ได้ ด้วยตนเอง 3 . พิ จ า ร ณ า หลากหลาย 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียน สมมติฐานท่ีเป็นไปได้ 4. พจิ ารณาข้อมลู และ ไ ด้ ต ร ว จ ส อบด้ว ย โดยการอภปิ ราย ข้อเท็จจริงที่ปรากฏ ตนเอง 4. ระดมความคิดเห็น แล้วกาหนดสมมติ 4. ให้เวลาผู้เรียนใน ในการแกป้ ัญหาการ ฐานทเี่ ปน็ ไปได้ ก า ร คิ ด ไ ต ร่ ต ร อ ง ตรวจสอบ 5. ผู้เรียนวางแผน ปญั หา 5. ตรวจสอบ แนวทางการสารวจ 5. ฟังการโต้ตอบกัน สมมติฐานอย่างเป็น ตราวจสอบ ของผเู้ รียน ระบบขน้ั ตอนถูกตอ้ ง 6. ผู้เรียนวิเคราะห์ 6. ทาหน้าท่ีในการให้ 6. บันทึกการสังเกต อ ภิ ป ร า ย เ ก่ี ยว กั บ คาปรึกษา ห รื อ ผ ล ก า ร ส า ร ว จ กระบวนการสารวจ 7 . อ า น ว ย ค ว า ม ตรวจสอบอย่างเป็น ตรวจสอบ สะดวก ร ะ บ บ ล ะ เ อี ย ด 7. ผู้เรียนได้ลงมือ รอบคอบ ปฏิบัติในการสารวจ 7. กระตือรอื รน้ มงุ่ ม่นั ตรวจสอบ ในการสารวจ ตรวจสอบ 3. ข้ันอธิบายและลง ครูจัดกิจกรรมหรือ 1. ผู้เรียนได้นาข้อมูล 1. สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียน 1 . อ ธิ บ า ย ก า ร ข้อสรุป (Explanation) ส ถ า น ก า ร ณ์ ท่ี ใ ห้ ท่ีได้จากการสารวจ ไ ด้ อ ธิ บ า ย ผ ล ก า ร แก้ปญั หาหรอื ผล ผู้ เ รี ย น วิ เ ค ร า ะ ห์ ตรวจสอบมา ส า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ การสารวจตรวจสอบ อธิบายความรู้หรือ 1.1 วเิ คราะห์แปลผล แ ล ะ แ น ว คิ ด ฯ ล ฯ ที่ได้ อ ภิ ป ร า ย ซั ก ถ า ม 1.2 สรปุ ผลสอดคล้อง ด้วยคาพูดของผู้เรยี น 2 . อธิ บา ยผลการ แ ลกเ ปล่ี ยนคว า ม กั บข้อมูล ถู กต้อง เอง สารวจตรวจสอบ คิดเห็นซึ่งกันและกัน เชื่อถอื ได้ 2. ใหผ้ ู้เรียนเชื่อมโยง สอดคล้องกับข้อมลู เ กี่ ย ว กั บ ส่ิ ง ท่ี ไ ด้ 1.3 อภิปรายผลอย่าง ประสบการณ์และ 3. อธิบายโดยอ้างอิง เรยี นร้หู รอื ส่งิ ทคี่ ้นพบ สมเหตสุ มผล ความรู้เดิมมาใช้ใน เหตุผลหลกั การทาง เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ 1.4 นาเสนอผลงาน การอธิบาย วิชาการและหลักฐาน พัฒนาความรู้ความ ในรูปแบบตา่ งๆ 3. ให้ผู้เรียนอธิบาย ประกอบ เข้าใจในองค์ความร้ทู ่ี โดยอ้างอิงเหตุผล 4. ฟังการอธิบายของ ไดอ้ ย่างชัดเจน หลักการทางวิชาการ ผู้อ่ืนแล้วคิดวิเคราะห์ ห รื อ ห ลั ก ฐ า น อภปิ ราย ประกอบ 5. ซักถามเกี่ยวกับส่ิง 4. ให้ความสนใจกับ ท่เี พอ่ื นอธิบาย คาอธบิ ายของผเู้ รียน 4. ข้ันขยายความรู้ ครูจัดกิจกรรมหรือ 1. ให้ผู้เรียนมีความรู้ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียน 1. ใช้ข้อมูลจาการ (Elaboration) สถานการณ์ที่เ ปิด ลึกซึ้งข้ึนหรือขยาย ขยา ยแ นว คิดและ สารวจตรวจสอบไป

12 โอกาสให้ผู้เรียนได้ กร อบ คว า มคิดให้ ทักษะจากการสารวจ อธิบายหรือนาทักษะ ขยายหรือเพิ่มเติม กวา้ งขึ้น ตรวจสอบ จากการสารวจ ความรู้ความเข้าใจใน 2. ให้ผู้เรียนเชื่อมโยง 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียน ตรวจสอบไปใช้ใน องค์ความรู้ใหม่ให้ ค ว า ม รู้ เ ดิ ม ไ ป สู่ เชื่อมโยงความรู้จาก สถานการณ์ใหม่ที่ กว้างขวางกระจ่าง ความรใู้ หม่ การสารวจตรวจสอบ คล้ายกับสถานการณ์ สมบูรณ์และลึกซ้ึ ง 3. ให้ผู้เรยี นนาความรู้ กับความรู้อ่ืนๆ เดมิ ยง่ิ ขึ้น ใหม่ไปสู่การศึกษา 2. นาข้อมูลจากการ ทดลองเพ่ิมขึ้น สารวจตรวจสอบไป 4. ให้ผูเ้ รียนนาความรู้ สร้างความรู้ใหม่ ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ใน 3 . น า ค ว า ม รู้ ให ม่ เ ร่ื อ ง อื่ น ห รื อ เชื่อมโยงกับความรู้ สถานการณอ์ ่ืน เดิมเพ่ืออธิบายหรือ น า ไ ป ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ประจาวนั 5. ข้ันประเมินผล ครูจัดกิจกรรมหรือ 1. มีการตรวจสอบ 1. ถามคาถามเพ่ือ 1. วิเคราะห์กระบวน (Evaluation) สถานการณ์ท่ีเ ปิด ความถูกต้องขององค์ นาไปสูก่ ารประเมนิ การสร้างความรู้ด้วย โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ค ว า ม รู้ แ ล ะ 2. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น ตนเอง วิเคราะห์วิจารณ์หรือ กระบวนการทีไ่ ด้โดย ประเมินกระบวนการ 2 . ถ า ม ค า ถ า ม ที่ อ ภิ ป ร า ย ซั ก ถ า ม 1.1 วิเคราะห์แลก และองค์ความรดู้ ว้ ย เก่ียวข้องจากการ แ ล ก เ ป ลี่ ย น อ ง ค์ เปลี่ยนความรู้ซ่ึงกัน ตนเอง สังเกตหลักฐานและ ความรู้ซ่ึงกันและกัน และกัน 3. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ ค า อ ธิ บ า ย ซ่ึ ง อ า จ เปรียบเทียบประเมิน 1.2 อภิปรายประเมิน ส่ิ ง ที่ ค ว ร ป รั บปรุ ง นาไปสู่การสารวจ ปรับปรุงหรือทบทวน ปรับปรุงหรือเพ่ิมเติม แก้ไขในการสารวจ ตรวจสอบใหม่ ใหม่ ท้ังกระบวนการและ ตรวจสอบ 3 . ป ร ะ เ มิ น องคค์ วามรู้ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า แ ล ะ 1.3 เปรียบเทียบผล ความร้ขู องตนเอง การสารวจตรวจสอบ กั บ ส ม ม ติ ฐ า น ท่ี กาหนดไว้

13 ตาราง 2 บรรยากาศในการจัดการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) บรรยากาศการเรยี นการสอน ปฎสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งครกู บั ผเู้ รยี น ปฎสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี นดว้ ยกนั เอง โดยทว่ั ไป 1. ไมเ่ ครียด 1. ครูเปน็ กันเองกับผู้เรยี น 1. ร่วมมือในการทากิจกรรมช่วยกัน 2. สนกุ 2. ครยู ม้ิ แยม้ แจ่มใส คิด ช่วยกนั ทางาน 3. ไม่สบั สน 3. ครตู ชิ มผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ 2. อภิปรายแสดงความคดิ เห็นร่วมกัน 4. ผเู้ รียนคดิ อย่างอิสระ 4. ครูให้คาปรึกษา แนะนาช่วยเหลือ 3. ยอมรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกันและ 5. ผู้เรียนสนใจ กระตือรือร้นเข้าร่วม ผู้เรียน กัน กจิ กรรม 5. ครูยอมรับฟังความคิดเห็นของ ผู้เรียน จากการศึกษาข้ันตอนและบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน เปน็ ศูนยก์ ลาง โดยม่งุ เน้นใหผ้ เู้ รียนไดแ้ สวงหาความรู้และค้นพบความจริงต่างๆ ด้วยตนเองจาก การลงมือปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนความรู้ซ่ึงกันและกัน ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง แท้จรงิ และมี ครผู ู้สอนคอยทาหน้าทเี่ ปน็ ผอู้ านวยความสะดวกในการเรยี นรูข้ องผเู้ รียน 1.5 ข้อดแี ละประโยชนข์ องการจัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ผดุงยศ ดวงมาลา (2530: 12) กลา่ วถึงขอ้ ดีของการสอนแบบสบื เสาะหาความร้ไู ว้ ดังนี้ 1. ทาใหน้ ักเรียนไดใ้ ชค้ วามคดิ มากกวา่ ความจา 2. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนเกดิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตรม์ ากขนึ้ 3. ทาให้นกั เรียนเกดิ ทักษะทางวิทยาศาสตร์ 4. ทาใหก้ ารเรยี นการสอนสอดคลอ้ งกบั เอกลกั ษณแ์ ละปรชั ญาวทิ ยาศาสตร์ มาก ข้นึ ประจวบจิตร คาจัตุรัส (2537: 50) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการจัดการเรียน การ สอนแบบสบื เสาะหาความรู้ไว้ดังน้ี 1. ชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ท้งั ในด้านเนอ้ื หาและกระบวนการแสวง หาความรู้ 2. ช่วยให้ผ้เู รียนเรยี นร้มู โนมติทางวิทยาศาสตร์ไดร้ วดเรว็ 3. ช่วยพฒั นาการคดิ อย่างมีเหตุผลของผเู้ รยี น 4. ทาให้ผูเ้ รียนเกดิ แรงจงู ใจในการแสวงจากภายในมากกว่าภายนอก 5. ทาให้ความรทู้ ่ีผเู้ รียนได้รับคงทนและสามารถใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้

14 ภพ เลาหไพบูลย์ (2542: 126) กลา่ วถึงข้อดีของจัดการเรยี นการสอนแบบ สบื เสาะหา ความรไู้ วด้ งั นี้ 1. นักเรียนได้มีโอกาสพัฒนาความคิดอย่างเต็มที่ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจึงมี ความอยากเรียนรู้ตลอดเวลา 2. นักเรยี นไดม้ โี อกาสได้ฝกึ ความคิด และฝกึ การกระทา ทาใหน้ กั เรียนรู้วิธี จดั ระบบ ความคิดและวิธีแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทาให้ความรู้คงทนและถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ กล่าวคอื ทาใหส้ ามารถจดจาได้นานและนาไปใชใ้ นสถานการณ์ใหม่อกี 3. นกั เรยี นเปน็ ศูนย์กลางของการเรยี นการสอน 4. นักเรยี นสามารถเรยี นร้คู วามคดิ รวบยอด และหลักการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ เรว็ ข้นึ 5. นักเรียนจะเปน็ ผ้มู ีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ ชัยวัฒน์สุทธิรัตน์ (2552: 332) ได้กล่าวถึงข้อดีของจัดการเรียนการสอนแบบ สืบ เสาะหาความรไู้ ว้ ดงั นี้ 1. นักเรียนมีโอกาสได้พัฒนาความคิดอย่างเต็มท่ี ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจึง มี ความอยากเรยี นรู้อยตู่ ลอดเวลา 2. นักเรียนมีโอกาสได้ฝึกความคิดและฝึกการกระทา ทาให้ได้เรียนรู้วิธีจัดระบบ ความคิด และวิธีเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทาให้ความรู้คงทนและถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ กลา่ วคอื ทาให้สามารถจดจาไดน้ านและนาไปใช้ในสถานการณใ์ หม่อกี ด้วย 3. นกั เรียนเป็นศนู ย์กลางของการเรียนการสอน 4. นกั เรยี นสามารถเรยี นรู้มโนมติ และหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ไดเ้ รว็ ข้ึน 5. นักเรียนจะเปน็ ผูม้ ีเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ การสอนวทิ ยาศาสตร์ สุคนธ์ สนิ ธพานนท์ (2558: 49-50) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชนข์ องการสอนแบบ สบื เสาะหา ความรไู้ วด้ ังนี้ 1. ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ มีโอกาสได้ศึกษา สารวจ ค้นหา รวบรวมข้อมูล บันทึก ทดสอบความคิด ทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง และสร้างเปน็ องค์ความรใู้ หม่ ดว้ ยตนเอง 2. ผู้เรียนสามารถทางานร่วมกันกับผู้อื่น รู้จักอภิปรายแสดงความคิดเห็น ระหว่าง กนั รับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ ืน่ อยา่ งมเี หตุผล 3. ผู้เรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา คิดตัดสินใจ คิดอย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์ ความรู้ และทักษะ 4. ผู้เรยี นรูจ้ กั ประเมินการทางานดว้ ยตนเอง และนาผลการประเมินไปปรบั ปรงุ และ พัฒนาใหด้ ขี ้นึ Suchman (1966) ไดเ้ ขยี นถงึ ประโยชน์ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ไว้ ดงั นี้

15 1. การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ จะก่อให้เกิดการเรียนรู้มากกว่าการสอนโดย ที่ ครูเป็นผู้บอกให้ท้ังหมด หรือมากกว่าท่ีนักเรียนเรียนรู้จากตาราอย่างเดียว ผู้ท่ีได้รับการสอน แบบสืบเสาะหาความร้จู ะมีอสิ ระในการดูดซึม (Assimilation) ประสบการณ์ต่างๆ เอาไว้ นักเรียน มีอิสระ ท่ีจะติดตามค้นควา้ หาความรู้และทาความเข้าใจได้ตามต้องการ ตามความอยากรอู้ ยาก เห็นอันเหมาะสมกบั ระดบั ความรพู้ ื้นฐาน 2. การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้นั้นเป็นการก่อให้เกิดแรงจูงใจในการค้นหา ความรู้ได้เป็นอย่างดี เพราะนักเรียนจะรู้สึกสนุกสนาน สามารถร่วมกิจกรรมได้อย่างอิสระ ซ่ึง กิจกรรม เหล่าน้ันช่วยให้มีการพัฒนาการด้านความคิด มีความรู้มากขึ้นและมีพัฒนาการในด้าน การสรา้ ง ความคดิ รวบยอดอีกดว้ ย 3. ความคิดรวบยอดท่ีนักเรียนได้จากการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ น่าจะมี ความหมายและคุณค่าสาหรับนักเรียนมากกว่าความคิดรวบยอดท่ีมีคนอื่นมาบอกให้จา เพราะ นักเรียนจะเป็นผู้ค้นพบความคิดรวบยอดต่างๆ ด้วยตนเองจากข้อมูล และเช่ือว่าความคิดรวบ ยอดที่ เกิดขึน้ โดยใช้วธิ กี ารเช่นนจ้ี ะฝงั แน่นและเป็นประโยชน์กบั นกั เรยี นได้นาน 2. การวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ความหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเป็นความสามารถของนักเรยี นในด้านต่างๆ ซ่ึงเกิดจากนักเรียน ได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัด และประเมินผล การสร้างเครื่องมือวัดให้มีคุณภาพนั้น ได้มีผู้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นไวด้ งั น้ี สมพร เช้ือพันธ์ (2547, หน้า 53) สรุปว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึงความสามารถความสาเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของผู้เรียนท่ีได้จากการเรียนรู้อัน เป็นผลมาจากการเรียนการสอน การฝึกฝน หรือประสบการณ์ของแต่ละบคุ คลซ่ึงสามารถวัดได้ จากการทดสอบดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548, หน้า 125) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นหมายถงึ ขนาดของความสาเร็จทไี่ ดจ้ ากกระบวนการเรยี นการสอน ปราณี กองจินดา (2549,หน้า 42) กล่าว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรือผลสาเร็จท่ีได้รับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมและประสบการณเ์ รยี นรทู้ างด้านพุทธพิ ิสยั จิตพิสัย และทักษะพิสยั และยังได้จาแนก ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นไวต้ ามลักษณะของวัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นการสอนท่แี ตกตา่ งกัน 3. รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์

16 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. เขา้ ใจเกี่ยวกับหลกั การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ 2. สามารถวิเคราะห์ และเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ 3. สามารถสรา้ งชุดคาสงั่ ตามขนั้ ตอนการแก้ปญั หา (Algorithm) 4. มีเจตคติและกิจนสิ ัยทด่ี ใี นการปฏบิ ัติงานคอมพิวเตอรด์ ว้ ยความละเอยี ด รอบคอบ และถกู ต้อง สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความร้เู ก่ยี วกบั หลกั การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 2. เขยี นโปรแกรมภาษา ในงานธรุ กิจ คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบ ของโปรแกรม ภาษา คอมพิวเตอร์การแก้ไขปัญหา (Algorithm) กระบวนการเขียนโปรแกรม คาส่ังควบคุมการทางานของโปรแกรม และการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ท่ีเปิด ใช้ได้ในระบบปฏิบตั ิการท่หี ลากหลาย 4. งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง สุดารัตน์ ศรีรุ่งเรือง และสิทธิพล อาจอินทร์ (2555) ได้ศึกษาเร่ือง การพัฒนาการคิด วิเคราะห์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองการสร้างเสริมสุขภาพสมรรถภาพ และการป้องกัน โรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5Es) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค โดยให้ นักเรียนมีคะแนนการคิดวเิ คราะห์เฉล่ียไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 และมีจานวนนักเรียนทผ่ี ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ข้ึนไป 2) พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค โดยให้นักเรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเฉล่ยี ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ย ละ 80 และมีจานวน นักเรียนท่ีผ่านเกณฑ์ร้อยละ70 ข้ึนไป กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านหนองกุงวิทยาคาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่น เขต 1 จานวน 12 คน รูปแบบการวิจัยเป็นการทดลองข้ันต้น (Pre-Experimental Research Design) แบบกลุ่มเดียวมีการทดสอบหลังเรียน (One Shot Case Study) ผลการวิจัย พบว่านักเรียนท่ีเรียนรู้โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5Es) มีคะแนนการคิด วิเคราะห์เฉลี่ย 23.00 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 76.67 และมีจานวนนักเรียนท่ี ผ่านเกณฑ์ 10 คน จากจานวนนักเรียนท้ังหมด 12 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ี กาหนดไว้และนักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5Es) มีผลสัมฤทธิ์

17 ทางการเรียนเฉลี่ย 33.42 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.54 และมีจานวน นักเรียนท่ีผ่านเกณฑ์ 9 คน จากจานวนนักเรียนทั้งหมด 12 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 ซ่ึงสูงกว่า เกณฑท์ กี่ าหนดไว ประภสั สร แกว้ พลิ ารมย.์ (2554). การศึกษาทกั ษะการแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์โดยใช้ กจิ กรรม การเรยี นรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5Es ทเ่ี นน้ กระบวนการแก้ปญั หาของโพลยา เรอ่ื ง สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที 1่ี . (วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบณั ฑติ , หาวทิ ยาลัย ขอนแกน่ ). วรรณทพิ า รอดแรงคา้ . (2544). การประเมนิ ทกั ษะกระบวนการและการแกป้ ัญหา (พมิ พ์ ครงั้ ที่ 2). กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พว.). สคุ นธ์ สนิ ธพานนท.์ (2558). การจดั การเรยี นรู้ของครูยคุ ใหม.่ .เพื่อพฒั นาทักษะของผู้เรยี น ในศตวรรษ ท่ี 21. กรงุ เทพฯ: ห้างหนุ้ สว่ นจ ากัด 9119 เทคนคิ พริน้ ต้ิง. สวุ ฒั น์ นยิ มคา้ . (2531). ทฤษฎแี ละทางปฏบิ ตั ิในการสอนวิทยาศาสตรแ์ บบสบื เสาะหา ความรู้ เลม่ 1. กรงุ เทพฯ: เจเนอรลั บคุ๊ ส์ เซ็นเตอร.์ อาซิ ดราแม. (2558). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกบั วธิ แี ก้ โจทยป์ ัญหาของโพลยา ทม่ี ีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกสแ์ ละความสามารถใน การแก้ โจทย์ปัญหาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์)

18 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั กลมุ่ เปา้ หมาย นกั เรยี นระดบั ชัน้ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 14 คน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบรุ ี เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 1. แผนการจดั การเรยี นรเู้ รอ่ื ง การวเิ คราะหง์ าน ทผี่ วู้ จิ ยั สร้างขนึ้ 2. นวัตกรรมท่ใี ช้ได้แก่ แบบฝึกทกั ษะเรอ่ื งการวเิ คราะห์งาน แบบสบื เสาะหาความรู้ (5 Es) 3. เอกสารสว่ นประกอบของนวตั กรรม ไดแ้ ก่ 3.1 ใบงานฝกึ ปฏบิ ตั ิ 3.2 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1. จากการทาใบงานฝกึ ปฏิบตั ิ 2. จากการทดสอบเพ่อื วัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนรู้ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. หาคา่ รอ้ ยละจากการทาใบงาน การวเิ คราะห์งาน 2. หาค่ารอ้ ยละของผทู้ ่ผี า่ นเกณฑ์จากการวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. ค่าเฉล่ีย 2. คา่ รอ้ ยละ

19 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ือพัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์งาน รายวิชา พ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 2 สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จงั หวัดลพบุรี ผลลการวิเคราะหข์ อ้ มูลดงั นี้ 1. ผลการทาใบงานและแบบทดสอบ ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยและค่ารอ้ ยละจากการทาใบงาน ของนกั เรยี น ระดบั ช้นั ปวช. 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบรุ ี ผลการสอบ จานวน รอ้ ยละ สอบผา่ น 4 28 สอบไมผ่ า่ น 10 72 รวม 14 100 ตารางท่ี 2 แสดงคา่ เฉลย่ี จากการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรยี น ของนักเรยี นระดบั ชนั้ ปวช. 2 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบุรี นักเรียนคนที่ คะแนน กอ่ นใช้แบบฝึก หลงั ใชแ้ บบฝึก 15 12 22 14 33 15 44 16 56 18 68 17 7 11 18 85 17 9 11 19 10 8 17 11 4 16 12 4 16

13 12 20 14 13 คะแนนเฉลย่ี 6.85 19 ผา่ นจานวน 4 18 ไมผ่ า่ นจานวน 10 16.57 14 0 จากตารางท่ี 2 พบวา่ คะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นได้คะแนนเฉลย่ี 2.85 คะแนน ทดสอบหลังการใช้แบบฝกึ ทักษะแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) มีค่าคะแนนเฉล่ีย 16.57 ตารางท่ี 3 แสดงคา่ เฉลยี่ และค่ารอ้ ยละจากการทาแบบทดสอบ ของนกั เรยี น ระดับชน้ั ปวช. 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบุรี ผลการสอบ จานวน รอ้ ยละ สอบผา่ น 14 100 สอบไมผ่ า่ น 00 รวม 14 100 จากตารางท่ี 1 และตารางท่ี 2 พบว่า ร้อยละของผู้สอบผ่านมีเพียง 28 และหลัง แบบฝึกทักษะเรื่องการวิเคราะห์งาน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) พบว่า ร้อยละของ ผ้สู อบผ่านเพ่มิ ขึน้ เปน็ ร้อยละ 100

21 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทาใบงาน เร่ืองการวิเคราะห์งาน ของนักเรียนระดับช้ัน ปวช. 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบุรี พบว่าคะแนนเตม็ 20 คะแนน นกั เรยี นได้สอบผ่าน 4 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 28 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจาการทาแบบทดสอบ เรื่องการวิเคราะห์งาน ของนักเรียน ระดับชั้น ปวช. 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบุรี พบว่าจาก คะแนนเต็ม 20 คะแนน นักเรียนสอบผ่าน 14 คน คิดเป็น ร้อย ละ 100 สรปุ ผลการวจิ ัย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยการการใช้แบบฝึกทักษะเรื่องการวิเคราะห์งาน แบบสืบ เสาะหาความรู้ (5Es) ทาใหผ้ ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสงู ขน้ึ อภปิ รายผล จากศึกษาการพัฒนาผลสัมฤธิ์ทางการเรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะแบบสืบเสาะหา ความรู้ (5Es) ของผเู้ รยี นระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชนั้ ปที ่ี 2 สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ โรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบุรี ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ขน้ึ ข้อเสนอแนะ ควรมีการวิจัยโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้(5Es) ร่วมกับเทคนิคอื่นๆ เช่น STAD และเทคนิคแผนผงั ความคิด เป็นต้น เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ให้ดีย่ิงข้ึน และควรเลือกเทคนิคให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์และควรมีการ เสรมิ แรงเพือ่ กระตุน้ ให้นกั เรียนเกดิ การเรียนร้มู ากย่งิ ข้นึ

22 เอกสารอา้ งองิ ไพศาล สุวรรณนอ้ ย. คู่มอื การพฒั นาการเรียนการอสน ฝา่ ยวิชาการ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น : โรงพมิ พค์ ลงั นานาธรรมวิทยา, หนา้ 40-66. ทศิ นา แขมณี. (2551). ศาสตรก์ ารสอน : องคค์ วามรู้เพ่อื การจัดการกระบวนการเรยี นรู้ ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. Http://www.lamptech.ac.th/webprg/spss1/file_ar/a235838รายงานวจิ ัยชั้นเรยี น2-2552 อ.สุนทร.pdf

ภาคผนวก

แบบฝกึ การวเิ คราะหง์ าน โดยใชแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) แบบฝึกโดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ 5 ขั้น เร่อื ง การวเิ คราะห์งาน เปน็ การ จดั กิจกรรมเพ่อื ให้นักเรียนสามารถเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ โดยนักเรยี น อา่ นคาแนะนาใหเ้ ข้าใจและปฏิบัตติ ามคาชแ้ี จง แต่ละขน้ั ตอนตัง้ แตต่ ้นจนจบเพื่อทน่ี ักเรียน จะไดร้ ับความรอู้ ยา่ งครบถว้ นโดยมขี น้ั ตอนต่างๆ ดังน้ี 01 แบ่งนักเรียน กลมุ่ ละ 4-5 คน และแบ่งหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบในกลุ่ม 02 ศกึ ษาสาระสาคัญ และจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ใู หเ้ ข้าใจ แต่ละกลุม่ จดั ทาแบบฝกึ โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 03 แบบวัฏจักการเรยี นรู้ 5 ขน้ั ซึ่งมีข้นั ตอนดังน้ี ข้ันท่ี 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) ใหน้ กั เรยี นกาหนดเร่ืองทีต่ นเองสนใจ ขัน้ ที่ 2 ข้นั สารวจและคน้ หา (Exploration) ให้นกั เรียนสบื คน้ ความรูเ้ พ่มิ เตมิ ลงส่กู ารทดลองทา ข้ันที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ให้นักเรียนนาความรู้จากการทดลองทา มาสรุป ขัน้ ที่ 4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ให้นกั เรียนเขยี นข้ันตอนการแก้ปัญหา ข้นั ที่ 5 ขั้นประเมนิ (Evaluation) นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอ่นื ๆ หรอื โจทย์ใหม่

สาระสาคญั การวิเคราะห์งาน เป็นการวิเคราะห์ปัญหาและ กาหนดรายละเอียด ของปัญหาเป็นขั้นตอน แรกที่สาคญั ของการเขยี นโปรแกรม จุดประสงค์ ของการวิเคราะห์ปัญหา คือ ทาความเข้าใจกับ ปัญหา พิจารณาข้อมูลท่ีกาหนดในปัญหาหรือ เงื่อนไขส่ิงท่ีต้องการ รวมทั้งวิธีการในการ ประมวลผลเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ในสิ่งที่โจทย์ ต้องการ 1. อธิบายถึงความสาคัญของการแก้ปัญหา จดุ ประสงค์ และกระบวนการในการแก้ปัญหา 2. อธิบายรายละเอียดของกระบวนการการ แกป้ ัญหา 3. ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ก า ห น ด รายละเอียดของปัญหา

แบง่ กลมุ่ และตง้ั ชอื่ กลมุ่ ช่อื กลมุ่ ช่อื สมาชกิ ในกลมุ่

แบบฝกึ การวเิ คราะหง์ าน โดยใชแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ขน้ั ที่ 1 ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) จากรปู ภาพใหน้ ักเรยี นสงั เกตลักษณะอาหาร จากน้นั บอกชอื่ ของอาหาร และเขียนข้นั ตอน การไดท้ าอาหารในรูปภาพ ตอบคาถามข้อ 1-2 ใหน้ ักเรียนนาข้ันตอน ไปแลกเปลยี่ นกับเพอ่ื น วา่ มีขน้ั ตอนใดบา้ ง ท่ีแตกตา่ งกัน แลว้ ให้บนั ทึกในขอ้ 3 1. ชอ่ื อาหาร 2. ขั้นตอนการทาอาหารทปี่ รากฏในภาพ 3. แลกเปลยี่ นขนั้ ตอนการทาอาหารกบั เพอื่ น

แบบฝกึ การวเิ คราะหง์ าน โดยใชแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ขั้นที่ 2 ขนั้ สารวจและคน้ หา (Exploration) ใหน้ กั เรียนค้นหางาน กจิ กรรม กจิ วตั รประจาวัน หรอื สง่ิ ทน่ี กั เรยี นสนใจ ตวั อยา่ งเช่น การทอดปลาทู

แบบฝกึ การวเิ คราะหง์ าน โดยใชแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ขน้ั ท่ี 3 ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) สิ่งทโี่ จทยต์ ้องการ ปลาททู อดสที อง รูปแบบทตี่ ้องการ ข้อมลู นา้ เขา้ 1. น้ามันสา้ หรับทอด 2. ปลาทู 3. กระทะ 4. ตะหลิว 5. จาน 6. เตาแก๊ส ตัวแปรทใี่ ช้ 1.น้ามัน=น้ามันพืช,นา้ มัน, น้ามันร้าข้าว วิธีการประมวลผล 1.ตั้งกระทะให้ร้อน ใชไ้ ฟกลางคอ่ นขา้ งสูง 2.ใส่ปลาทูลงกระทะ ในน้ามันเดือดๆ (ปลาทจู ะไดไ้ ม่อมน้ามัน) 3.ทอดปลาทูให้สุกทั่วกันทั้งตัว 4.จดั จานไหส้ วยงาม

แบบฝกึ การวเิ คราะหง์ าน โดยใชแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ข้นั ท่ี 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ใหน้ ักเรยี นเขียนข้ันตอนการทอดไข่ในรปู แบบการวเิ คราะหง์ าน การวเิ คราะหง์ าน 1. ส่ิงทีโ่ จทย์ตอ้ งการ 2. ผลลพั ธ์ (Output) 3. ข้อมูลนาเขา้ (Input) 4. ตัวแปรทใี่ ช้ 5. วิธีการประมวลผล (Process)

แบบฝกึ การวเิ คราะหง์ าน โดยใชแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ขั้นที่ 5 ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) ให้นักเรียนเขยี นแกป้ ญั หาโจทย์ตอ่ ไปน้ี 1. ให้นกั เรยี นทาอาหาร โดยมีไขเ่ ป็นส่วนประกอบหลกั จานวน 5 ฟอง พร้อม นาเสนอเป็นคลิปวดิ โี อ นาเสนอในรูปแบบการวิเคราะหง์ าน 2. ให้นักเรยี นวเิ คราะห์ปัญหาเพอื่ คานวณหาพืน้ ทส่ี เ่ี หลย่ี มผนื ผ้า

ภาคผนวก ภาพกิจกรรม

ข้นั ที่ 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) ให้นักเรียนกาหนดเร่อื งที่ตนเองสนใจ ให้นักเรียนเรอ่ื งอาหารทีอ่ ยากทา...มสี ่วนประกอบจากไขเ่ ปน็ วตั ถดุ ิบหลกั

ขน้ั ท่ี 2 ขั้นสารวจและคน้ หา (Exploration) สารวจวตั ถุดบิ ทมี่ ีและค้นหาวิธีการทาจาก Internet

ขน้ั ที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) อธบิ ายพรอ้ มยกตวั อย่างขอ้ สรุป

ขนั้ ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ให้นาสิง่ ท่เี รียนลงสกู่ ารปฏบิ ัติจรงิ โดยการทดลองทาจรงิ

ขน้ั ที่ 5 ข้นั ประเมนิ (Evaluation) นาผลงานมาแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ข้ันตอนและวิธกี าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook