Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์

หลักสูตรโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์

Published by Dhammawit School, 2022-08-25 06:59:34

Description: หลักสูตรโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์-ปรับปรุง 2563

Search

Read the Text Version



หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นกนั ทรลักษธ์ รรมวทิ ย์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) สำนักงานกลุม่ โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา กล่มุ ที่ ๑๑ กองพทุ ธศาสนศกึ ษา สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ มหาเถรสมาคม

ประกาศโรงเรยี นกันทรลักษ์ธรรมวทิ ย์ เร่ือง ให้ใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นกนั ทรลกั ษ์ธรรมวทิ ย์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ………………………………. ด้วยโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์ ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางการดำเนินการปรับปรุง หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามท่ีกำหนดทุกประการ โดยดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทงั้ นี้หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เม่ือวันท่ี ๒ เดือน พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนกันทรลกั ษ์ธรรมวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ดงั น้ี ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ใหใ้ ชใ้ นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ ๔ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ใหใ้ ชใ้ นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑,๒,๔ และ ๕ ตงั้ แตป่ กี ารศึกษา ๒๕๖๓ เป็นต้นไปให้ใชใ้ นทุกชั้นเรียน ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒ เดือน พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ ลงชื่อ ลงช่อื (พระครวู ารคี ุณากร) (พระมหามนญู จิตฺตนายโก) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนกันทรลกั ษธ์ รรมวทิ ย์

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้มีคำส่ังท่ี สพฐ ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สั่ง ณ วันท่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ คำส่ังสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ี 921/๒๕๖๑ เร่ือง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และ สาระที่ ๓ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยีตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และเปล่ียนช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่ัง ณ วันท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยเป็นการปรับปรุงเพื่อให้จดั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานสอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของคนในชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดำรงชีวิตอย่าง สร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ือเป็นการลดความซ้ำซ้อนของ เนื้อหาสาระเก่ียวกับเทคโนโลยี เพ่ือนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีความเหมาะสม ชัดเจนพร้อมนำหลักสูตรสู่ การปฏิบัติติตอ่ ไป หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดทำขึ้นตามกรอบ ทิศทาง แนวคิดและนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนโดยยดึ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางดังกลา่ ว เพือ่ พัฒนาเด็กและ เยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการ ดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรู้เพ่ือพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยมี วิสัยทศั น์ หลักการ จดุ หมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ขอขอบคุณคณะครูทุกท่านท่ีได้ตั้งใจจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาด้วยความตั้งใจและทุ่มเท เสียสละ ทำให้หลักสูตรสถานศึกษาสำเร็จเป็นรูปเล่มท่ีสมบูรณ์ อันจะนำไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียนมีคุณภาพได้มาตรฐานเปน็ ทยี่ อมรับของชมุ ชนต่อไป (ลงช่อื )............................................. (พระมหามนูญ จิตตฺ นายโก) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกนั ทรลักษ์ธรรมวทิ ย์ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑

สารบญั หนา้ เรือ่ ง ประกาศโรงเรียน ๑ คำนำ ๒ ความนำ ๒ วสิ ยั ทศั น์ ๒ จดุ หมาย ๓ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๔ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑๒ โครงสร้างเวลาเรยี น ๑๒ คำอธิบายรายวชิ า ๓๑ ๕๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑๑๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ๑๘๗ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐๓ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๒๐ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ๒๓๐ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ๒๖๐ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ๒๖๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ๒๗๓ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น การวดั ผลประเมิลผลและเกณฑ์การจบหลักสูตร บรรณานุกรม ภาคผนวก

~๑~ กระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งท่ี สพฐ ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ส่ัง ณ วันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ี 921/๒๕๖๑ เร่ือง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และ สาระท่ี ๓ เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยีตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และเปล่ียนชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่ัง ณ วันท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยเป็นการปรับปรุงเพ่ือให้จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสอดคล้องกบั การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของคนในชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดำรงชีวิตอย่าง สร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ือเป็นการลดความซ้ำซ้อนของ เน้ือหาสาระเก่ียวกับเทคโนโลยี เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีความเหมาะสม ชัดเจนพร้อมนำหลักสูตรสู่ การปฏบิ ัตติ อ่ ไป หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดทำขึ้นตามกรอบ ทิศทาง แนวคิดและนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนโดยยดึ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ท่ีกำหนดไวใ้ นหลกั สตู รแกนกลางดังกลา่ ว เพือ่ พัฒนาเด็กและ เยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะท่ีจำเป็นสำหรับการ ดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยมี วสิ ัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ขอขอบคุณคณะครูทุกท่านท่ีได้ต้ังใจจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาด้วยความตั้งใจและทุ่มเท เสียสละ ทำให้หลักสูตรสถานศึกษาสำเร็จเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ อันจะนำไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียนมคี ุณภาพไดม้ าตรฐานเปน็ ที่ยอมรบั ของชุมชนต่อไป

~๒~ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรู้และทักษะใน ศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นไทย อนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในท้องถิ่น ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการเรียนรู้และชีวิตประจำวัน มีเจตคติท่ีดีต่อ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวติ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ คนดี มีปญั ญา มคี วามสุข มี ศกั ยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี จึงกำหนดเป็นจดุ หมายเพ่ือให้เกดิ กบั ผเู้ รียน เม่อื จบการศกึ ษา ขน้ั พืน้ ฐาน ดงั น้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มีวินยั และปฏิบัตติ นตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวติ ๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี ุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย ๔. มีความรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในวิถีชวี ิตและ การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ๕. มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนาส่งิ แวดล้อม มจี ิต สาธารณะทมี่ ุ่งทำประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งทด่ี ีงามในสังคม และอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมอย่างมีความสขุ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ ซ่งึ การพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดน้ันจะช่วยให้ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม ในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ัง การเจรจาต่อรองเพอื่ ขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ กี ารส่ือสารทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสังคม

~๓~ ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ี เผชิญได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม บนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงานและ การอยู่ ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรยี นรู้ การส่ือสาร การ ทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและมคี ุณธรรม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพ่อื ให้ สามารถอยรู่ ว่ มกบั บุคคลอ่นื ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซื่อสตั ยส์ ุจริต ๓. มวี ินัย ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖. มุ่งม่นั ในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

~๔~ โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ สดั ส่วนเวลาเรียน ( เรยี นท้ังหมด ๑๐๒ นก) ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑) สาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน (๖๖ นก) ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ ๑. ภาษาไทย ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๒. คณิตศาสตร์ ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๓. วิทยาศาสตร์ ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) การออกแบบและเทคโนโลยี ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) วิทยาการคำนวณ ๑-๓ - ๒๐(๑) - ๒๐(๑) - ๒๐(๑) ๔. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) (รวมสาระภูมิศาสตร์) ประวัตศิ าสตร์ ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๕. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๖. ศลิ ปะ ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๗. การงานอาชีพ ๔๐(๒) - ๔๐(๒) - ๔๐(๒) - ๘. ภาษาตา่ งประเทศ ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) รวม ๘ กลุ่มสาระ ๔๔๐(๒๒) ๔๔๐(๒๒) ๔๔๐(๒๒) ๔๔๐(๒๒) ๔๔๐(๒๒) ๔๔๐(๒๒) ๒) สาระเพมิ่ เตมิ (๓๖ นก) ๒๔๐(๑๒) ๒๔๐(๑๒) ๒๔๐(๑๒) ๒๔๐(๑๒) ๒๔๐(๑๒) ๒๔๐(๑๒) - หนา้ ทพี่ ลเมือง ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) - ภาษาบาลี ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) - ธรรม ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) - พทุ ธประวตั ิ ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) - วินยั ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๓) กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) - กจิ ของสงฆ์ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ - ชมุ นุม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ - แนะแนว ๑๕ ๑๐ ๑๕ ๑๐ ๑๕ ๑๐ - กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ ๑๐ ๕ ๑๐ ๕ ๑๐ รวม ๗๔๐(๓๗) ๗๔๐(๓๗) ๗๔๐(๓๗) ๗๔๐(๓๗) ๗๔๐(๓๗) ๗๔๐(๓๗) รวมช่ัวโมงเรียน(รายปี) ๑,๔๘๐ ๑,๔๘๐ ๑,๔๘๐

~๕~ โครงสร้างเวลาเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สดั สว่ นเวลาเรียน ( เรียนท้งั หมดไมน่ ้อยกวา่ ๘๑ นก) ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๑) สาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน (๔๑ นก) ๑. ภาษาไทย ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ ๒. คณติ ศาสตร์ ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๓. วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ๑ ๔๐(๒) ๖๐(๓) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๖๐(๓) - วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ๒ ๖๐(๓) - ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๖๐(๓) - วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ๖๐(๓) - โลกและอวกาศพื้นฐาน - -- - การออกแบบและเทคโนโลยี -- วิทยาการคำนวณ - ๒๐(๑) - -- - โครงงานเทคโนโลยี ๒๐(๑) - ๔. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม -- - -- - ประวตั ิศาสตร์ ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๕. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒๐(๑) ๒๐(๑) - - ๔๐(๒) - ๖. ศิลปะ ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๗. การงานอาชีพ ๒๐(๑) ๒๐(๑) - -- - ๘. ภาษาต่างประเทศ -- ๔๐(๒) ๔๐(๒) - -- - รวม ๘ กลุ่มสาระ ๔๒๐(๒๑) ๒๖๐(๑๓) - ๒๐(๑) - - ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๒๐(๑) ๒๐(๑) - - ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๒๔๐(๑๒) ๒๖๐(๑๓) ๒๘๐(๑๔) ๑๘๐(๙) ๒) สาระเพ่ิมเตมิ (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๐ นก) ๓๖๐(๑๘) ๕๐๐(๒๕) ๕๖๐(๒๘) ๕๐๐(๒๕) ๔๘๐(๒๔) ๕๔๐(๒๗) - หนา้ ท่ีพลเมือง ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) ๒๐(๑) - - - ภาษาบาลี ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) ๑๐๐(๕) - คณติ ศาสตร์เสริม ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๑๐๐(๕) - ฟสิ กิ ส์ ๘๐(๔) ๘๐(๔) ๘๐(๔) ๘๐(๔) ๖๐(๓) - เคมี - ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๘๐(๔) - ชวี วิทยา - ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) - โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ - ๖๐(๓) ๖๐(๓) - ธรรม ๖๐(๓) - ๔๐(๒) -- ๖๐(๓) - พทุ ธประวัติ ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) - วินยั ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๔๐(๒) ๓) กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) ๖๐(๓) -กิจของสงฆ์ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ -ชมุ นมุ /ชมรม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ -แนะแนว ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ -กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวม ๘๔๐(๔๒) ๘๒๐(๔๑) ๘๖๐(๔๓) ๘๒๐(๔๑) ๘๒๐(๔๑) ๗๘๐(๓๙) รวมชวั่ โมงเรียน(รายปี) ๑,๖๖๐ ๑,๖๘๐ ๑,๖๐๐

~๖~ โครงสร้างหลักสตู รชนั้ ปี ม.ตน้ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น รายสาระการเรียนรู้/กิจกรรม หนว่ ยกติ ช่วั โมง รายสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม หน่วย ช่ัวโมง(ส.ป.) สาระการเรยี นรู้ (พ้ืนฐาน) (ส.ป.) กิต ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๑.๐ ๔๔๐ สาระการเรียนรู้ (พน้ื ฐาน) ๑๑.๐ ๔๔๐ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ ๖๐ (๓) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๒๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ (๓) พ๒๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑.๕ ๖๐ (๓) ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ (๑) ศ๒๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ (๑) ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๐.๕ ๒๐ (๑) ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๒๑๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑.๐ ๔๐ (๒) สาระการเรยี นรู้ (เพิม่ เติม) ๑.๐ ๔๐ (๒) บ๒๑๒๐๑ ภาษาบาลี ๐.๕ ๒๐ (๑) ว๒๑๑๐๔ วทิ ยาการคำนวณ ๑ ๑.๕ ๖๐ (๓) พระพุทธศาสนา ๖.๐ ๒๔๐ - ส๒๑๒๑๑ ธรรม ๑.๐ ๔๐ (๒) ส๒๑๑๐๓ สงั คมศึกษา ๒.๕ ๑๐๐ (๕) - ส๒๑๒๒๑ พทุ ธประวตั ิ ๓.๐ ๑๒๐ (๖) - ส๒๑๒๓๑ วนิ ยั ๑.๐ ๔๐ (๒) ส๒๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๒ (๑.๐) (๔๐) (๒) ส๒๑๒๐๑ หนา้ ที่พลเมอื ง ๑ (๑.๐) (๔๐) (๒) สาระเพม่ิ เติมที่สถานศึกษากำหนด ๑.๐ ๔๐ (๒) พ๒๑๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (๑.๐) (๔๐) (๒) กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๐.๕ ๒๐ (๑) กิจกรรมแนะแนว ๑.๕ ๖๐ (๓) ศ๒๑๑๐๒ ศลิ ปะ -- กจิ กรรมนกั เรยี น ๑.๕ ๖๐ - กิจของสงฆ์ อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑๐ - ชมุ นุม - อ่นื ๆ (ตามความเหมาะสม) ๖.๐ ๒๔๐ สาระการเรียนรู้ (เพิ่มเตมิ ) ๒๐ กิจกรรมเพ่อื สังคมสาธารณประโยชน์ ๒๐ ๖๐ ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๒๑๒๐๒ ภาษาบาลี รวมเวลาเรยี น ๑๐ ๓.๐ ๑๒๐ (๖) พระพุทธศาสนา ๑๘.๕ ๗๔๐ (๑.๐) (๔๐) - ส๒๑๒๑๒ ธรรม (๑.๐) (๔๐) - ส๒๑๒๒๒ พทุ ธประวัติ (๑.๐) (๔๐) - ส๒๑๒๓๒ วินัย ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๒๑๒๐๒ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๒ - - สาระเพิ่มเตมิ ทส่ี ถานศึกษากำหนด ๑.๕ ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๕ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น ๒๐ - กจิ ของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - ชมุ นมุ - อื่นๆ (ตามความเหมาะสม) กจิ กรรมเพื่อสังคมสาธารณประโยชน์ ๕ ๑๘.๕ ๗๔๐ รวมเวลาเรยี น

~๗~ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรียน มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน รายสาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม หนว่ ยกติ ชว่ั โมง(ส.ป.) รายสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม หน่วยกิต ชวั่ โมง(ส.ป.) สาระการเรยี นรู้ (พืน้ ฐาน) ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑๑.๐ ๔๔๐ สาระการเรียนรู้ (พ้ืนฐาน) ๑๑.๐ ๔๔๐ ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๒๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๒๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ (๓) ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ (๑) พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ (๑) ศ๒๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ ๒๐ (๑) อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๒๒๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๑.๐ ๔๐ (๒) ๑.๐ ๔๐ (๒) สาระการเรียนรู้ (เพิม่ เตมิ ) ๐.๕ ๒๐ (๑) ว๒๒๑๐๔ วิทยาการคำนวณ ๒ ๑.๕ ๖๐ (๓) บ๒๒๒๐๓ ภาษาบาลี ๖.๐ ๒๔๐ พระพทุ ธศาสนา ๑.๐ ๔๐ (๒) ส๒๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๒.๕ ๑๐๐ (๕) - ส๒๒๒๑๓ ธรรม ๓.๐ ๑๒๐ (๖) - ส๒๒๒๒๓ พุทธประวตั ิ ๑.๐ ๔๐ (๒) ส๒๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๒๒๒๓๓ วินัย (๑.๐) (๔๐) (๒) ส๒๒๒๐๓ หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๓ ๑.๐ ๔๐ (๒) พ๒๒๑๐๒ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (๑.๐) (๔๐) (๒) สาระเพิ่มเติมท่สี ถานศกึ ษากำหนด ๐.๕ ๒๐ (๑) กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑.๕ ๖๐ (๓) ศ๒๒๑๐๒ ศลิ ปะ -- กจิ กรรมแนะแนว ๑.๕ ๖๐ กิจกรรมนกั เรียน อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑๐ - กจิ ของสงฆ์ - ชุมนมุ ๖.๐ ๒๔๐ สาระการเรยี นรู้ (เพิ่มเติม) ๒๐ - อื่นๆ (ตามความเหมาะสม) ๒๐ ๖๐ กจิ กรรมเพอื่ สงั คมสาธารณประโยชน์ ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๒๒๒๐๔ ภาษาบาลี ๑๐ รวมเวลาเรยี น ๓.๐ ๑๒๐ (๖) พระพทุ ธศาสนา ๑๘.๕ ๗๔๐ (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๒๒๒๑๔ ธรรม (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๒๒๒๒๔ พุทธประวตั ิ (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๒๒๒๓๔ วินยั ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๒๒๒๐๔ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๔ - - สาระเพิ่มเติมที่สถานศกึ ษากำหนด ๑.๕ ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๕ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น ๒๐ - กิจของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - ชุมนมุ - อ่นื ๆ (ตามความเหมาะสม) กิจกรรมเพือ่ สงั คมสาธารณประโยชน์ ๕ ๑๘.๕ ๗๔๐ รวมเวลาเรียน

~๘~ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรียน มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น รายสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม หนว่ ย ชว่ั โมง รายสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม หนว่ ย ชัว่ โมง สาระการเรียนรู้ (พน้ื ฐาน) กติ (ส.ป.) กิต (ส.ป.) ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๑.๐ ๔๔๐ สาระการเรยี นรู้ (พ้นื ฐาน) ๑๑.๐ ๔๔๐ ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ ๖๐ (๓) ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๕ ๑.๕ ๖๐ (๓) พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑.๕ ๖๐ (๓) ค๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ (๑) ศ๒๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ (๑) ง๒๓๑๐๑ การงานอาชพี ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๐.๕ ๒๐ (๑) ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๒๓๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓ ๑.๐ ๔๐ (๒) สาระการเรยี นรู้ (เพ่ิมเติม) ๑.๐ ๔๐ (๒) บ๒๓๒๐๕ ภาษาบาลี ๐.๕ ๒๐ (๑) ว๒๓๑๐๔ วทิ ยาการคำนวณ ๓ ๑.๕ ๖๐ (๓) พระพุทธศาสนา ๖.๐ ๒๔๐ - ส๒๓๒๑๕ ธรรม ๑.๐ ๔๐ (๒) ส๒๓๑๐๓ สงั คมศึกษา ๒.๕ ๑๐๐ (๕) - ส๒๓๒๒๕ พุทธประวัติ ๓.๐ ๑๒๐ (๖) - ส๒๓๒๓๕ วินยั ๑.๐ ๔๐ (๒) ส๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๖ (๑.๐) (๔๐) (๒) ส๒๓๒๐๕ หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๕ (๑.๐) (๔๐) (๒) สาระเพม่ิ เติมทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ๑.๐ ๔๐ (๒) พ๒๓๑๐๒ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (๑.๐) (๔๐) (๒) กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๐.๕ ๒๐ (๑) กจิ กรรมแนะแนว ๑.๕ ๖๐ (๓) ศ๒๓๑๐๒ ศลิ ปะ -- กจิ กรรมนักเรยี น ๑.๕ ๖๐ - กจิ ของสงฆ์ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ - ชมุ นมุ ๑๐ - อนื่ ๆ (ตามความเหมาะสม) ๖.๐ ๒๔๐ สาระการเรียนรู้ (เพม่ิ เตมิ ) กิจกรรมเพอื่ สังคมสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๓๒๒๐๖ ภาษาบาลี ๓.๐ ๑๒๐ (๖) พระพุทธศาสนา (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๒๓๒๑๖ ธรรม (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๒๓๒๒๖ พุทธประวตั ิ (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๒๓๒๓๖ วนิ ยั ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๒๓๒๐๖ หน้าท่ีพลเมอื ง ๖ - - สาระเพมิ่ เตมิ ทส่ี ถานศึกษากำหนด ๑.๕ ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๕ กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรียน ๒๐ ๖๐ - กจิ ของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ ๒๐ - ชุมนุม ๒๐ - อนื่ ๆ (ตามความเหมาะสม) ๕ กจิ กรรมเพ่ือสังคมสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๘.๕ ๗๔๐ ๑๘.๕ ๗๔๐ รวมเวลาเรียน

~๙~ โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั ปี ม.ปลาย แผนการเรียน วทิ ย์-คณิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรียน มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน รายสาระการเรียนรู/้ กิจกรรม หน่วยกิต ช่ัวโมง รายสาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม หนว่ ยกิต ชว่ั โมง (ส.ป.) (ส.ป.) สาระการเรียนรู้ (พ้ืนฐาน) ๑๐.๕ ๔๒๐ สาระการเรียนรู้ (พ้นื ฐาน) ๖.๕ ๒๖๐ ๑.๐ ๔๐ (๒) ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ (๒) ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ (๓) ๐.๕ ๒๐ (๑) ค๓๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ (๒) ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ (๒) ๐.๕ ๒๐ (๑) ว๓๑๑๐๑ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ๑ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๓๑๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๐.๕ ๒๐ (๑) ๐.๕ ๒๐ (๑) ว๓๑๑๒๑ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ๒ ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๓๑๑๐๓ สงั คมศึกษา ๑.๐ ๔๐ (๒) ว๓๑๑๔๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๓๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ ว๓๑๑๐๒ วิทยาการคำนวณ ๐.๕ ๒๐ (๑) พ๓๑๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ส๓๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๑.๐ ๔๐ (๒) ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปะ ส๓๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐ (๑) อ๓๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ พ๓๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ (๑) ศ๓๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ (๑) อ๓๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ (๒) สาระการเรียนรู้ (เพม่ิ เติม) ๖.๐ ๒๔๐ สาระการเรียนรู้ (เพม่ิ เติม) ๖.๐ ๒๔๐ ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๓๑๒๐๑ ภาษาบาลี ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๓๑๒๐๒ ภาษาบาลี ๓.๐ ๑๒๐ (๖) (๑.๐) (๔๐) (๒) พระพทุ ธศาสนา ๓.๐ ๑๒๐ (๖) พระพุทธศาสนา (๑.๐) (๔๐) (๒) (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๑๒๑๑ ธรรม (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๑๒๑๒ ธรรม ๐.๕ ๒๐ (๑) ๖.๕ ๒๖๐ - ส๓๑๒๒๑ พทุ ธประวตั ิ (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๑๒๒๒ พุทธประวตั ิ ๑.๕ ๖๐ (๓) ๒.๐ ๘๐ (๔) - ส๓๑๒๓๑ วินัย (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๑๒๓๒ วนิ ยั ๑.๕ ๖๐ (๓) ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๓๑๒๐๑ หน้าท่พี ลเมือง ๑ ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๓๑๒๐๒ หน้าที่พลเมอื ง ๒ ๑.๕ ๖๐ สาระเพิม่ เตมิ ท่ีสถานศึกษากำหนด ๓.๐ ๑๒๐ สาระเพม่ิ เตมิ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ๑๐ ค๓๑๒๐๑ คณิตศาสตรเ์ สริม ๑ ๑.๕ ๖๐ (๓) ค๓๑๒๐๒ คณติ ศาสตรเ์ สรมิ ๒ ว๓๑๒๖๑ โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ๑ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๓๑๒๐๑ ฟิสิกส์ ๑ ว๓๑๒๒๑ เคมี ๑ ว๓๑๒๔๑ ชีววทิ ยา ๑ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑.๕ ๖๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว ๑๐ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น กิจกรรมนกั เรยี น - กจิ ของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - กิจของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - ชุมนมุ ๒๐ - ชุมนุม ๒๐ - อน่ื ๆ (ตามความเหมาะสม) - อ่นื ๆ (ตามความเหมาะสม) กิจกรรมเพอื่ สงั คมสาธารณประโยชน์ ๑๐ กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๒๐.๕ ๘๒๐ รวมเวลาเรียน ๒๑.๐ ๘๔๐ รวมเวลาเรยี น

~ ๑๐ ~ แผนการเรียน วิทย์-คณติ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น รายสาระการเรยี นร้/ู กิจกรรม หนว่ ยกติ ช่ัวโมง รายสาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม หนว่ ยกิต ชว่ั โมง (ส.ป.) (ส.ป.) สาระการเรียนรู้ (พ้นื ฐาน) ๖.๐ ๒๔๐ สาระการเรียนรู้ (พื้นฐาน) ๖.๕๐ ๒๖๐ ๑.๐ ๔๐ (๒) ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ (๒) ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ (๔) ๑.๐ ๔๐ (๒) ค๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ (๒) ค๓๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ (๑) ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๓๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๑.๐ ๔๐ (๒) ส๓๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๐.๕ ๒๐ (๑) ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๓๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓ ๐.๕ ๒๐ (๑) ว๓๒๑๐๑ โครงงานเทคโนโลยพี นื้ ฐาน ๐.๕ ๒๐ (๑) ๑.๐ ๔๐ (๒) พ๓๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๓๒๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๔ ๖.๐ ๒๔๐ ๒.๕ ๑๐๐ (๕) ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ (๑) พ๓๒๑๐๒ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๓.๐ ๑๒๐ (๖) (๑.๐) (๔๐) (๒) ง๓๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ (๑) ศ๓๒๑๐๒ ศลิ ปะ (๑.๐) (๔๐) (๒) (๑.๐) (๔๐) (๒) อ๓๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ (๒) ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ (๑) ๖.๕ ๒๖๐ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ (๓) ๒.๐ ๘๐ (๔) สาระการเรยี นรู้ (เพิ่มเติม) ๖.๐ ๒๔๐ สาระการเรยี นรู้ (เพิม่ เติม) ๑.๕ ๖๐ (๓) ๑.๕ ๖๐ (๓) บ๓๒๒๐๓ ภาษาบาลี ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๓๒๒๐๔ ภาษาบาลี พระพุทธศาสนา ๓.๐ ๑๒๐ (๖) พระพุทธศาสนา - ส๓๒๒๑๓ ธรรม (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๒๒๑๔ ธรรม - ส๓๒๒๒๓ พุทธประวตั ิ (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๒๒๒๔ พทุ ธประวตั ิ - ส๓๒๒๓๓ วินยั (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๒๒๓๔ วนิ ัย ส๓๒๒๐๓ หน้าท่ีพลเมอื ง ๓ ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๓๒๒๐๔ หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๔ สาระเพม่ิ เตมิ ท่สี ถานศึกษากำหนด ๘.๐ ๓๒๐ สาระเพิ่มเติมทสี่ ถานศกึ ษากำหนด ค๓๒๒๐๑ คณติ ศาสตร์เสริม ๓ ๑.๕ ๖๐ (๓) ค๓๒๒๐๒ คณิตศาสตร์เสริม ๔ ว๓๒๒๐๒ ฟิสกิ ส์ ๒ ๒.๐ ๘๐ (๔) ว๓๒๒๐๓ ฟิสกิ ส์ ๓ ว๓๒๒๒๒ เคมี ๒ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๓๒๒๒๓ เคมี ๓ ว๓๒๒๔๒ ชีววิทยา ๒ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๓๒๒๔๓ ชวี วิทยา ๓ ว๓๒๒๖๒ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๒ ๑.๕ ๖๐ (๓) กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑.๕ ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑.๕ ๖๐ ๑๐ กจิ กรรมแนะแนว ๑๐ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรยี น - กิจของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - กจิ ของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - ชมุ นมุ ๒๐ - ชุมนมุ ๒๐ - อนื่ ๆ (ตามความเหมาะสม) - อ่นื ๆ (ตามความเหมาะสม) กิจกรรมเพ่ือสงั คมสาธารณประโยชน์ ๑๐ กจิ กรรมเพื่อสังคมสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๒๐.๕ ๘๒๐ รวมเวลาเรยี น ๒๑.๕ ๘๖๐ รวมเวลาเรยี น

~ ๑๑ ~ แผนการเรยี น วิทย์-คณติ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน รายสาระการเรียนรู/้ กจิ กรรม หนว่ ยกติ ชั่วโมง รายสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม หน่วยกิต ชว่ั โมง (ส.ป.) (ส.ป.) สาระการเรียนรู้ (พืน้ ฐาน) ๗.๐ ๒๘๐ สาระการเรยี นรู้ (พื้นฐาน) ๔.๕ ๑๘๐ ๑.๐ ๔๐ (๒) ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ (๒) ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ (๒) ๐.๕ ๒๐ (๑) ค๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ (๓) ส๓๓๑๐๒ สังคมศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ (๑) ๐.๕ ๒๐ (๑) ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๐ ๔๐ (๒) พ๓๓๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑.๐ ๔๐ (๒) พ๓๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ (๑) ศ๓๓๑๐๒ ศลิ ปะ ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ (๑) ง๓๓๑๐๒ การงานอาชพี ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ ๒๐ (๑) อ๓๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ อ๓๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ (๒) ว๓๓๑๐๑ โลกและอวกาศพื้นฐาน ๑.๐ ๔๐ (๒) สาระการเรียนรู้ (เพิม่ เติม) ๕.๕ ๒๒๐ สาระการเรยี นรู้ (เพม่ิ เตมิ ) ๕.๕ ๒๒๐ ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๓๓๒๐๕ ภาษาบาลี ๒.๕ ๑๐๐ (๕) บ๓๓๒๐๖ ภาษาบาลี ๓.๐ ๑๒๐ (๖) (๑.๐) (๔๐) (๒) พระพุทธศาสนา ๓.๐ ๑๒๐ (๖) พระพทุ ธศาสนา (๑.๐) (๔๐) (๒) (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๓๒๑๕ ธรรม (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๓๒๑๖ ธรรม ๘.๐ ๓๒๐ ๑.๕ ๖๐ (๓) - ส๓๓๒๒๕ พุทธประวตั ิ (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๓๒๒๖ พุทธประวตั ิ ๒.๐ ๘๐ (๔) ๑.๕ ๖๐ (๓) - ส๓๓๒๓๕ วนิ ยั (๑.๐) (๔๐) (๒) - ส๓๓๒๓๖ วินยั ๑.๕ ๖๐ (๓) ๑.๕ ๖๐ (๓) สาระเพิ่มเติมท่ีสถานศกึ ษากำหนด ๖.๕ ๒๖๐ สาระเพ่ิมเติมที่สถานศึกษากำหนด ๑.๕ ๖๐ ค๓๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เสริม ๕ ๑.๕ ๖๐ (๓) ค๓๓๒๐๒ คณิตศาสตรเ์ สริม ๖ ๑๐ ว๓๓๒๐๔ ฟสิ ิกส์ ๔ ๒.๐ ๘๐ (๔) ว๓๓๒๐๕ ฟิสิกส์ ๕ ว๓๓๒๒๔ เคมี ๔ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๓๓๒๒๕ เคมี ๕ ว๓๓๒๔๔ ชวี วทิ ยา ๔ ๑.๕ ๖๐ (๓) ว๓๓๒๔๕ ชวี วิทยา ๕ ว๓๓๒๖๓ โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ๓ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๑.๕ ๖๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว ๑๐ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น กิจกรรมนักเรยี น - กิจของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - กิจของสงฆ์ ๒๐ ๖๐ - ชุมนุม ๒๐ - ชมุ นมุ ๒๐ - อืน่ ๆ (ตามความเหมาะสม) - อ่นื ๆ (ตามความเหมาะสม) กิจกรรมเพ่ือสงั คมสาธารณประโยชน์ ๑๐ กิจกรรมเพอื่ สงั คมสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๙.๕ ๗๘๐ รวมเวลาเรยี น ๒๐.๕ ๘๒๐ รวมเวลาเรยี น

~ ๑๒ ~ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ โรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ตามหลักพัฒนาการทางสมองและพหุ ปัญญา หลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนกันทรลักษ์ธรรมวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) จงึ กำหนดให้ผู้เรยี นเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังน้ี ๑. ภาษาไทย ๒. คณติ ศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖. ศลิ ปะ ๗. การงานอาชีพ ๘. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดวิสัยทัศน์ มาตรฐานการเรียนรู้สะท้อนให้ทราบความ ต้อ งก ารขอ งผู้ เรีย น ซ่ึ งระบุ ส่ิ งท่ี ผู้เรียน พึ งรู้ ป ฏิ บั ติ ได้ มี คุ ณ ธรรม จริย ธรรม แล ะค่ านิ ย ม ที่พึงประสงค์เม่ือจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบความต้องการของ ผู้เรียน การจัดการเรียนการสอน และการประเมินประเมินผลการเรียนรู้ รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือ ในการ ตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและ การประเมิน คุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการ ตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกล่าวจะสะท้อนภาพความสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามท่ีมาตรฐาน การเรยี นรูก้ ำหนดเพยี งใด ตวั ชี้วดั ตัวชี้วัดระบุสิ่งท่ีนักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม เพ่ือใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหนว่ ยการเรียนรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพ ผู้เรียน

~ ๑๓ ~ ตัวชี้วัดช้ันปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช้ันปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ (มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ - มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓) กำหนดรหสั กำกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ดั กำหนด ดังน้ี ต ๒.๒ ม.๑-๓/ ๓ ม.๑-๓/๓ ตวั ชี้วัดช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ข้อที่ ๓ ๒.๒ สาระท่ี ๒ มาตรฐานข้อท่ี ๒ ต กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ซ่ึงกำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจำเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ ดงั น้ี ๑. ภาษาไทย ความรู้ ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร ความชื่นชมการเห็น คุณคา่ ภูมิปัญญาไทย และภมู ใจในภาษาประจำชาติ ๒. คณิตศาสตร์ การนำความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรไ์ ปใช้ใน การแกป้ ัญหา การดำเนินชีวิตและการศึกษาต่อ การมีเหตุผล มีเจตคติต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและ สร้างสรรค์ ๓. วิทยาศาสตร์ การนำความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าหา ความรู้และแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ การคดิ อยา่ งเปน็ เหตผุ ล คิดวเิ คราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อม ความรักชาติ และถูมิใจในความเปน็ ไทย ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ความรู้ทักษะและเจตคติในการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัยของ ตนเองและผ้อู ืน่ การปอ้ งกันและปฏิบัตติ ่อสง่ิ ต่างๆท่มี ีผลตอ่ สขุ ภาพอยา่ งถูกวิธแี ละทักษะในการดำเนนิ ชวี ิต ๖. ศิลปะ ความรู้และทักษะในการคิดริเริ่ม จินตนาการสร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพและ การเหน็ คุณคา่ ทางศลิ ปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทำงาน การจัดการ การ ดำรงชวี ติ การประกอบอาชพี และการใช้เทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ ความรู้ ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศในการ ส่อื สาร การแสวงหาความรู้และการประกอบอาชพี

~ ๑๔ ~ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย หลกั การ ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารเพ่ือสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันใ นสังคม ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตา่ ง ๆ เพ่ือพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และสรา้ งสรรค์ให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงทาง สงั คม และความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทาง เศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติลำ้ คา่ ควรแก่การเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และสืบสานใหค้ งอยู่คู่ชาตไิ ทยตลอดไป วสิ ัยทัศนก์ ลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย นักเรียนมีความรู้พื้นฐานในวิชาภาษาไทย สามารถใช้ทักษะภาษามาเป็นเครื่องมือส่ือสารแสวงหา ความรแู้ ละเรียนรู้โลกอย่างรูท้ ันดว้ ยวิถีสุนทรียะทางภาษาและสังคมไทย ภารกจิ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย โดยฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน ส่งเสริมการเรียนรู้หลักภาษาและตระหนักในคุณค่าวรรณคดี เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทย สามารถใชภ้ าษาเพ่ือการสื่อสารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป้าหมาย / จดุ หมาย ๑. นกั เรียนมคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษาชาติ สามารถดำรงอยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ๒. นักเรียนมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันดีงาม ยึดมั่นการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ๓. นกั เรียนมีความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น รกั การอา่ น การเขียน รจู้ ักค้นควา้ หาความรู้ ๔. นักเรียนมีความสามารถใช้ภาษาไทย ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สารในชวี ิตประจำวัน ๕. นักเรียนรู้จักอนุรักษ์ภาษาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒ นธรรม ภูมิปัญ ญ าไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม

~ ๑๕ ~ ภาษาไทยเปน็ ทกั ษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกดิ ความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรอู้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ และเพอ่ื นำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ ๑. การอา่ น การอ่านออกเสยี งคำ ประโยค การอา่ นบทร้อยแก้ว คำประพนั ธช์ นิดตา่ ง ๆ การอา่ นในใจเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจ และการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ความรูจ้ ากส่ิงท่ีอา่ น เพอื่ นำไป ปรับใชใ้ น ชีวติ ประจำวนั ๒. การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำและรูปแบบต่าง ๆ ของการ เขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ ๓. การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำดับเร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งเป็นทางการและไม่ เปน็ ทางการ และการพูดเพ่ือโนม้ น้าวใจ ๔. หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาตแิ ละกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับ โอกาสและบคุ คล การแตง่ บทประพนั ธ์ประเภทตา่ ง ๆ และอทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ๕. วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลง พ้ืนบ้านท่ีเป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้เกิดความซาบซ้ึงและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ได้ สง่ั สมสืบทอดมาจนถึงปัจจบุ นั สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพื่อนำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดำเนินชวี ิตและมีนิสัยรกั การอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรือ่ งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ ง มปี ระสิทธิภาพ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ

~ ๑๖ ~ สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่ และ นำมาประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริง คุณภาพผู้เรียน จบช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถกู ต้อง เขา้ ใจความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย จับใจความสำคัญและรายละเอียดของส่ิงที่อ่าน แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้ง เกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจาก ส่ิงท่ีอ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ลำดับความอย่างมีขั้นตอนและความเป็นไปได้ของเร่ืองที่อ่าน รวมทั้ง ประเมนิ ความถูกตอ้ งของข้อมูลทใ่ี ช้สนับสนุนจากเร่ืองท่ีอา่ น ๒. เขียนส่ือสารด้วยลายมือท่ีอ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคำ ขวัญ คำคม คำอวยพรในโอกาสต่าง ๆ โฆษณา คติพจน์ สนุ ทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณ์ ต่าง ๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ หรอื โตแ้ ย้งอย่างมเี หตุผล ตลอดจนเขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ และเขยี นโครงงาน ๓. พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งท่ีได้จากการฟังและดู นำขอ้ คิดไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด ๔. เข้าใจและใช้คำราชาศัพท์ คำบาลีสันสกฤต คำภาษาต่างประเทศอ่ืน ๆ คำทับศัพท์ และศัพท์ บัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาท่ีเป็นทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และ โคลงส่ีสภุ าพ ๕. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ ่าน วิเคราะห์ตวั ละครสำคัญ วถิ ีชวี ิตไทย และคุณค่าที่ได้รับ จากวรรณคดวี รรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทง้ั สรุปความรู้ข้อคิดเพื่อนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ จบช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะไดถ้ ูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปล ความ และขยายความเรื่องที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอ ความคิดใหม่จากการอา่ นอย่างมีเหตผุ ล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอ่ ความ และเขียนรายงานจากสิ่งทอี่ ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนำความรู้ความคิดจากการอ่าน

~ ๑๗ ~ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชพี และ นำความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหา ในการดำเนนิ ชีวิต มีมารยาทและมีนสิ ัยรักการอ่าน ๒. เขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากส่ือที่มี รูปแบบและเน้ือหาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่าง ๆ เขียนบันทึก รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของ ตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังสารคดีและบันเทิงคดี รวมท้ังประเมินงานเขียนของผู้อื่นและนำมาพัฒนางาน เขยี นของตนเอง ๓. ต้ังคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีฟังและดู มีวจิ ารณญาณในการเลือกเรอ่ื งทฟี่ งั และ ดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเช่ือถือของเรื่องที่ฟังและดู ประเมินสิ่งท่ีฟังและดู แล้วนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีทักษะการพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้ภาษาท่ีถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมี มารยาทในการฟงั ดู และพูด ๔. เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คำและกลุ่มคำสร้าง ประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคำประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้เหมาะสม กับกาลเทศะและใช้คำราชาศัพท์และคำสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคำในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อส่ิงพิมพ์ และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๕. วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู้และเข้าใจ ลักษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เช่ือมโยงกับการเรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนำข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง

~ ๑๘ ~ โครงสรา้ งรายวชิ าเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น วิชาพื้นฐาน ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนว่ ยกิต ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนว่ ยกติ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกติ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หนว่ ยกติ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกติ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย วิชาพนื้ ฐาน ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หน่วยกติ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ช่วั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หน่วยกติ ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ชวั่ โมง / สัปดาห์ ๑.๐ หนว่ ยกติ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนว่ ยกติ ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนว่ ยกติ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ชวั่ โมง / สัปดาห์ ๑.๐ หนว่ ยกิต

~ ๑๙ ~ รหัส ท๒๑๑๐๑ คำอธิบายรายวิชา ชือ่ วชิ า ภาษาไทย รายวชิ า พื้นฐาน จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ อา่ นออกเสียงร้อยแกว้ ร้อยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสม จบั ใจความสำคญั ระบุเหตุผล ขอ้ เท็จจริง ขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องที่อ่าน อธบิ ายคำเปรยี บเทยี บและคำที่มหี ลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จากการอ่าน ตีความคำยากในเอกสารทางวชิ าการโดยพจิ ารณาจากบริบท คดั ลายมอื ตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั เขียนสอื่ สาร โดยใช้ถอ้ ยคำถกู ต้อง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบสุ าระสำคัญและ รายละเอยี ดสนบั สนุน เขียนเรยี งความ เขยี นย่อความจากเร่ืองท่ีอ่านและมีมารยาทในการเขยี น พดู สรุป ใจความสำคัญ เล่าเรอ่ื งย่อ พดู แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรคเ์ กี่ยวกับเร่ืองท่ีฟังและดู และมมี ารยาทใน การฟงั การดู และการพูด อธิบายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย สร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์ชนิดและ หน้าทข่ี องคำในประโยค และวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพดู และภาษาเขียน สรปุ เนอื้ หา ความรู้ ความคิด วิเคราะห์ และอธิบายคณุ คา่ ท่ีได้รับจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ ่านเพื่อประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง ท่องจำบทอาขยานตามท่กี ำหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจ โดยใช้ทักษะการอา่ น การเขียน การฟงั การดู หลักและการใช้ภาษา วรรณคดแี ละวรรณกรรม เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ส่ือสารในการดำเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มนั่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย เห็นคุณคา่ ของการนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั มีจติ สาธารณะ มีความพอเพียง ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ มวี นิ ัยและคา่ นิยมที่เหมาะสม มาตรฐานและตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม ๑/๕ ท ๒.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม ๑/๕ , ม ๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม.๑/๓ , ม ๑/๖ ท ๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม. ๑/๓, ม ๑/๔ ท ๕.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓, ม ๑/๔ , ม ๑/๕ รวม ๒๔ ตัวช้ีวัด

~ ๒๐ ~ รหสั ท๒๑๑๐๒ คำอธิบายรายวิชา ชื่อวชิ า ภาษาไทย รายวิชา พ้นื ฐาน จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสมกบั เรื่องที่อ่าน ระบุข้อสังเกตและความ สมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภทชกั จูงโนม้ นา้ วใจ ปฏบิ ตั ิตามคู่มือแนะนำวธิ ีการใช้งานของเครื่องมือหรือ เคร่ืองใชใ้ นระดับท่ียากข้นึ วิเคราะหค์ ุณค่าทไี่ ด้รบั จากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนำไปใชแ้ กป้ ญั หา ในชีวติ และมมี ารยาทในการอ่าน เขยี นสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้อง ชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย เขยี น แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับสาระจากส่อื ทไี่ ดร้ ับ เขียนจดหมายสว่ นตวั และจดหมายกจิ ธรุ ะ เขียนรายงาน การศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน มมี ารยาทในการเขยี น ประเมินความนา่ เช่อื ถือของสื่อท่ีมเี นอ้ื หาโนม้ นา้ วใจ พูด รายงานเรอ่ื งหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา โดยมีมารยาทในการฟงั การดู และ การพูด อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย จำแนกและใชส้ ำนวนที่เปน็ คำพังเพยและสุภาษิต สรุปเนอ้ื หา ความรู้ ความคดิ วเิ คราะห์ และอธิบายคุณคา่ ท่ีได้รับจากวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่านเพอื่ ประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ จรงิ ทอ่ งจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนดและบทร้อยกรองท่มี ีคุณคา่ ตามความสนใจ โดยใช้ทักษะการอา่ น การเขียน การฟงั การดู หลกั และการใช้ภาษา วรรณคดแี ละวรรณกรรม เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้สื่อสารในการดำเนินชีวิตไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเปน็ ไทย เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มจี ติ สาธารณะ มคี วามพอเพียง ซ่ือสตั ย์สจุ ริต มีวนิ ัยและค่านยิ มทีเ่ หมาะสม มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๖ , ม.๑/๗ , ม.๑/๘ , ม ๑/๙ ท ๒.๑ ม.๑/๒ , ม. ๑/๖ , ม.๑/๗ , ม.๑/๘ , ม ๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๔ , ม. ๑/๕ , ม ๑/๖ ท ๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๖ ท ๕.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓, ม ๑/๔ , ม ๑/๕ รวม ๒๐ ตัวชี้วัด

~ ๒๑ ~ รหสั ท๒๒๑๐๑ คำอธบิ ายรายวิชา ชอ่ื วิชา ภาษาไทย รายวชิ า พนื้ ฐาน จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ศึกษาการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จับใจความสำคัญสรุปความและอธิบาย รายละเอียดจากเรื่องท่ีอ่านสรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านในระดับที่ยากขึ้น เขียนผังความคิด เพ่ือแสดงความเข้าใจในบทเรียนต่าง ๆ ท่ีอา่ น อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่าน และวเิ คราะห์โครงสร้างของประโยคความซ้อน ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนย่อความ เขียนจดหมายกิจธุระและแต่งบทร้อยกรอง ฝึกพูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องท่ีฟังและที่พูด วิเคราะห์ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเช่ือถือของ สารจากสื่อต่าง ๆ และพูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตาม วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือเห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย กรองทีม่ คี ุณค่าตามความสนใจ และมมี ารยาทในการอ่าน การเขยี น การดู และการพดู มาตรฐานและตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒ , ม. ๒/๓, ม.๒/๔, ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ม.๒/๔,ม.๒/๖ ท ๓.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๔ , ท ๔.๑ ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ท ๕.๑ ม.๒/๑ , ๒/๓ , ๒/๕ รวม ๑๗ ตัวช้ีวดั

~ ๒๒ ~ รหสั ท๒๒๑๐๒ คำอธิบายรายวิชา ชอื่ วิชา ภาษาไทย รายวชิ า พื้นฐาน จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๖๐ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ศึกษาการวิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่านระบุ ข้อสังเกต การชวนเช่ือ การโน้มน้าว การวิเคราะห์และการวิจารณ์เรื่องท่ีฟังและดูอย่างมีเหตุผล การ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่ิน พร้อมยกเหตุผลประกอบสรุปความรแู้ ละ ข้อคิดจากการอ่าน การสร้างคำในภาษาไทย การใช้คำราชาศัพท์รวบรวมและอภิบายความหมาของคำ ภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย ใช้กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏิบัติฝึกเขียนรายงานการค้นคว้า เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเร่ืองท่ีอ่านอย่างมีเหตุผลพูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษา ค้นคว้าเลือกหนังสือ บทความหรือคำประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จากการ อา่ น เพื่อนำคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด มาตรฐานและตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๕, ม.๒/๗, ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๔, ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม. ๒/๒, ม.๒/๔ รวม ๑๕ ตัวชี้วัด

~ ๒๓ ~ รหัสวชิ า ท๒๓๑๐๑ คำอธิบายรายวิชา ช่อื วชิ า ภาษาไทย รายวิชา พื้นฐาน จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต เวลา ๖๐ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ บทร้อยกรองได้ถกู ต้องและเหมาะสมกับเรื่องท่ีอ่าน เข้าใจความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสำคัญและรายละเอียดของส่ิงที่อ่าน อ่านเร่ืองต่าง ๆ แล้วเขียน กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ความเป็นไปได้ของ เร่ืองที่อ่าน เขียนสื่อสารด้วยลายมือท่ีอ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคำถูกต้องเหมาะสม ตามระดับภาษา เขียน ชวี ประวัติ อตั ชีวประวตั ิ ข้อคดิ เหน็ ทศั นคติและประสบการณ์ต่าง ๆ เขียน ยอ่ ความ จดหมายกิจธุระใช้คำราชา ศัพท์ คำบาลีสันสกฤต คำภาษาถ่ิน คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย โครงสร้างของประโยคความรวม ประโยคความซ้อน สรุปเน้ือหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี ่าน วิเคราะห์ตัวละครสำคัญ วถิ ีชีวติ ไทย และคณุ ค่า ที่ไดร้ บั จากวรรณคดี วรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมสรปุ ความรู้ ขอ้ คดิ เพ่ือนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง โดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะปฏิบัติ พูดแสดง ความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ส่ิงที่ได้จากการฟังและดู นำข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงาน เรื่องหรือประเด็นท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด มีมารยาทในการฟัง การดู และ การพูด มาตรฐานและตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ม. ๓/๑, ม. ๓/๒, ม. ๓/๓, ม. ๓/๔, ม. ๓/๕ ท ๒.๑ ม. ๓/๑, ม. ๓/๒, ม. ๓/๓, ม. ๓/๔, ม. ๓/๕ ท ๓.๑ ม. ๓/๑ ม. ๓/๒ ม. ๓/๓ ท ๔.๑ ม. ๓/๑, ม. ๓/๒ , ม. ๓/๓ ท ๕.๑ ม. ๓/๑, ม. ๓/๒ รวม ๑๘ ตวั ช้วี ดั

~ ๒๔ ~ คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วชิ า ท๒๓๑๐๒ ช่ือวชิ า ภาษาไทย รายวิชา พืน้ ฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี ๒ ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับ ความและความเป็นไปได้ของเร่ือง วิเคราะห์เพื่อแสงความคิดเห็น ตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิดท่ีได้ จากงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต มีมารยาทใน การอ่าน เขียนอธิบายชี้แจงแสดง ความคิดเห็นและโต้แย้งอย่างมีเหตุผล เขียนวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้งในเร่ือง ตา่ ง ๆ กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะของตนเองที่เหมาะสมกับงาน เขียน รายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงานและมีมารยาทในการเขียน พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ พูดโน้มน้าวโดยนำเสนอหลักฐานตามลำดับเนื้อหาอยา่ งมีเหตุผลและน่าเช่ือถือมีมารยาทในการฟัง การดู และ การพูด ใช้คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ อธิบายความหมายของศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ แต่งบทรอ้ ยกรอง ท่องจำและบอกคณุ ค่าบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง สรุปความรู้และข้อคดิ จากการอ่าน การเขียน อย่างมีมารยาทเพอ่ื นำไปใช้ในชวี ติ จริง โดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะปฏิบัติ พูดแสดง ความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ส่ิงท่ีได้จากการฟังและดู นำข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงาน เรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด มีมารยาทในการฟัง การดู และ การพดู มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ม. ๓/๖, ม. ๓/๗, ม. ๓/๘, ม. ๓/๙, ม. ๓/๑๐ ท ๒.๑ ม. ๓/๖, ม. ๓/๗, ม. ๓/๘, ม. ๓/๙, ม. ๓/๑๐ ท ๓.๑ ม. ๓/๔, ม. ๓/๕, ม. ๓/๖ ท ๔.๑ ม. ๓/๔, ม. ๓/๕, ม. ๓/๖ ท ๕.๑ ม. ๓/๓ ม. ๓/๔ รวม ๑๘ ตวั ชี้วัด

~ ๒๕ ~ รหสั ท๓๑๑๐๑ คำอธิบายรายวชิ า ชื่อวิชา ภาษาไทย รายวชิ า พื้นฐาน จำนวน ๑ หนว่ ยกิต เวลา ๔๐ ชัว่ โมง กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ ศึกษาหลักการอ่านออกเสียง อ่านตีความ แปลความขยายความ อ่านเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประเมินคา่ แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับเรอื่ งท่ีอ่าน ศกึ ษาหลักการเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา จดหมายกิจ ธุระ เรยี งความ ย่อความ รายงานเชิงวิชาการ การประเมินค่างานเขยี น ฝึกการเขยี นอธิบาย บรรยาย พรรณนา จดหมายกิจธุระ ย่อความ เรียงความ รายงานเชิงวิชาการ ประเมินค่างานเขียนรูปแบบต่าง ๆ ศึกษาหลักการ ฟัง การดู การพูด ฝึกการพูดสรุปแนวคิด คิดวิเคราะห์ บรรยาย อธิบาย แสดงความคิดเห็นจากการฟัง และการดู เลือกฟังและดูเร่ืองที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต พูดในโอกาสต่าง ๆ ศึกษาธรรมชาติของ ภาษา การออกเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ พยางค์ คำท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤต คำสมาส อักษรนำ หลักการใช้คำ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน การสร้างคำไทย แต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงสี่ สุภาพ ศึกษาหลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ วรรณกรรมพ้ืนบ้าน และภูมิปัญญาท้องถ่ิน วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรม พน้ื บา้ น ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ท่องจำอาขยานและบทประพันธท์ ี่มีคณุ คา่ โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือ การสร้างแผนภาพความคิด การเรียนรู้แบบโครงงาน การเรียนแบบ สืบเสาะ หาความรู้ การเรียนรู้แบบพหูสูต มุ่งให้นักเรียนฝึกทำซ้ำ ๆ จนเกิดทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และ คิด เพื่อเป็นพ้ืนฐานการนำไปใช้ในการศึกษาในรายวิชาอ่ืน การศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน ประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน และใช้สำหรับพฒั นาวชิ าชีพตอ่ ไป รวมถงึ มคี วามรกั และภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย มาตรฐานและตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๙ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๘ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๖ รวม ๒๑ ตัวช้ีวัด

~ ๒๖ ~ รหสั ท๓๑๑๐๒ คำอธิบายรายวชิ า ชอ่ื วิชา ภาษาไทย รายวิชา พ้ืนฐาน จำนวน ๑ หน่วยกิต เวลา ๔๐ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ภาคเรยี นท่ี ๒ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสม วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรอ่ื งท่ีอ่านในทกุ ๆ ดา้ น อย่างเหมาะสม คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่องทอ่ี ่านและประเมนิ คา่ เพ่อื นำความรูค้ วามคิดไปตดั สินใจแกป้ ญั หาในการ ดำเนินชวี ติ อา่ นเรอ่ื งต่าง ๆ แลว้ เขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคิด บนั ทึก ย่อความ และรายงานโดยมมี ารยาทในการ อ่าน เขียนเรยี งความ ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตา่ ง ๆ และประเมนิ งานเขียนของผอู้ นื่ แลว้ นำมาพฒั นางาน เขียนของตนเองและมีมารยาทในการเขยี น สรปุ แนวคิดและแสดงความคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ฟี ังและดู วิเคราะหแ์ นวคดิ การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากรเองทฟี่ งั และดูอยา่ งมีเหตุผล มวี จิ ารณญาณในการเลอื กเรื่องที่ฟงั และดู มี มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ใชค้ ำและกลุม่ คำสรา้ งประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่ โอกาส กาลเทศะ และบคุ คล รวมทง้ั คำราชาศัพทอ์ ยา่ งเหมาะสม แต่งบทรอ้ ยกรอง อธิบายและวิเคราะหห์ ลักการสรา้ ง คำในภาษาไทย วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากสอ่ื สง่ิ พมิ พแ์ ละสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณเ์ บ้ืองต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดเี ชอื่ มโยงกบั การเรยี นรทู้ าง ประวตั ิศาสตร์และวิถชี วี ิตของสงั คมในอดตี วิเคราะหแ์ ละประเมนิ คณุ คา่ ด้านวรรณศิลปข์ องวรรณคดแี ละวรรณกรรม ในฐานะที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ สงั เคราะห์ข้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมเพอื่ นำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ รวบรวมวรรณกรรมพน้ื บา้ นและอธิบายภมู ปิ ัญญาทางภาษา ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ุณคา่ ตามความสนใจและนำไปใช้อ้างองิ โดยใชท้ กั ษะการอ่าน การเขยี น การฟงั การดู หลักและการใช้ภาษา วรรณคดแี ละวรรณกรรมเพือ่ ใหเ้ กิด ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ส่ือสารในการดำเนินชวี ิตได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย เห็นคุณค่าของการนำความร้ไู ปใช้ในชีวิตประจำวนั มจี ติ สาธารณะ มีความพอเพยี ง ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ มวี นิ ยั และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม มาตรฐานและตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๗ , ม ๑/๙ ท ๒.๑ ม.๑/๒ , ม. ๑/๔ , ม.๑/๕ ,ม ๑/๘ ท ๓.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม.๑/๔ , ม ๑/๖ ท ๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๓ , ม. ๑/๔, ม.๑/๖ , ม.๑/๗ ท ๕.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓, ม ๑/๔ , ม ๑/๕, ม๑/๖ รวม ๒๔ ตัวชี้วัด

~ ๒๗ ~ รหสั ท๓๒๑๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ า ชอ่ื วิชา ภาษาไทย รายวชิ า พน้ื ฐาน จำนวน ๑ หนว่ ยกิต เวลา ๔๐ ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทความเรียง บทร้อยกรองประเภทร่ายลิลิตได้อย่าง ถกู ต้อง ไพเราะ วิเคราะห์วจิ ารณ์เร่ืองทีอ่ ่านแปลความ ขยายความ ตีความ เขียนกรอบแนวคดิ ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงานจากเรื่องท่ีอ่าน เขียนส่ือสารประเภทการเขียนพรรณนาการเขียนย่อหน้าเชิง สร้างสรรค์ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสำคัญชัดเจน วิเคราะห์ แนวคิด การใชภ้ าษาและความน่าเช่อื ถือของเรอ่ื งท่ีฟงั และดูอยา่ งมีเหตุผล ใช้คำและกลุ่มคำและสร้างประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงและร่าย วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีโดยเช่ือมโยงกับการเรียนรู้ทางง ประวตั ิศาสตร์และวถิ ขี องสงั คมในอดตี โดยใช้กระบวนการสื่อสาร กระบวนการรับสาร กระบวนการเขียน กระบวนการคิด การสืบค้น ข้อมูล บันทึกและการนำเสนอเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินชวี ิต เพือ่ เหน็ คุณค่าภาษาไทย มีสุนทรยี ภาพทางภาษา นสิ ัยรกั การอ่าน มารยาทในการอ่าน เขยี น ฟังและดู มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม มาตรฐานและตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม.๔ -๖/๑ , ม.๔.๖/๓, ม.๔-๖/๗, ท ๒.๑ ม.๔ -๖/๑ ท ๓.๑ ม.๔.๖/๑ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖ /๒ รวม ๘ ตัวช้ีวัด

~ ๒๘ ~ รหัส ท๓๒๑๐๒ อธบิ ายรายวชิ า ชอ่ื วิชา ภาษาไทย รายวชิ า พน้ื ฐาน จำนวน ๑ หน่วยกิต เวลา ๔๐ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ วิเคราะห์คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองและประเมินค่าเพ่ือนำความรู้ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต ฝึกนิสัยรักการอ่าน ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบ เรอื่ งสั้น สารคดี ประเมินเร่ืองท่ี ฟังและดเู พ่ือกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต พูดในท่ีประชมุ ชนในโอกาสตา่ ง ๆ วิเคราะห์ อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บ้านและภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจำและ บอกคณุ ค่าบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่า โดยใช้ประบวนการส่ือสาร กระบวนการรับสาร กระบวนการเขียน กระบวนการคิดวิเคราะห์ ทักษะการสืบค้นข้อมูล บันทึกและการนำเสนอเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำไป ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิต เพ่ือตระหนักการเห็นคุณค่าทางภาษาไทย ภาษาถ่ิน มีสุนทรียภาพทางภาษา นิสัยรักการอ่าน มารยาทในการอา่ น เขยี น ฟังและดู มีคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม มาตรฐานและตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๔ -๖/๔ , ม.๔.๖/๙, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๓.๑ ม.๔ -๖/๓ , ม.๔.๖/๕, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๕.๑ ม. ๔-๖ /๕ ม. ๔-๖ /๖ รวม ๘ ตวั ชว้ี ัด

~ ๒๙ ~ รหัสวชิ า ท๓๓๑๐๑ คำอธิบายรายวชิ า ชื่อวิชา ภาษาไทย รายวิชา พื้นฐาน จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต เวลา ๔๐ ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกตอ้ ง ไพเราะและเหมาะสมกับเรื่อง ท่ีอ่าน วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอความคิดเห็นใหม่จากการอ่านอย่างมี เหตุผล และมีมารยาทในการอ่าน เขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง และโน้มน้าวใจ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสำคัญชัดเจนและมีมารยาทในการเขียน มีวิจารณญาณในการเลือก เร่ืองที่ฟัง และดู แต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ วิเคราะห์และประเมินค่าด้าน วรรณศิลปข์ องวรรณคดแี ละวรรณกรรม ในฐานะทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ท่องจำและบอกคณุ ค่าบท อาขยานตามทกี่ ำหนดและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณคา่ ตามความสนใจและนำไปใช้อ้างองิ โดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะปฏิบัติ พูดแสดง ความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์สิ่งที่ได้จากการฟังและดู นำข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงาน เรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด มีมารยาทในการฟัง การดู และ การพดู มาตรฐานและตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ , ม๔-๖/๕ , ม.๔-๖/๙ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ , ม.๔-๖/๘ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ , ม.๔-๖/๖ รวม ๙ ตัวชี้วัด

~ ๓๐ ~ รหสั วิชา ท๓๓๑๐๒ คำอธบิ ายรายวชิ า ช่อื วชิ า ภาษาไทย รายวิชา พ้ืนฐาน จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด และเขียนรายงานจากสิ่งท่ีอ่าน สังเคราะห์ความรู้ จากการอ่านส่ือสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียนและพัฒนา ความรู้ทางอาชีพ บันทึกการศึกษาค้นคว้า ประเมินงานเขียนของผู้อื่น และนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง อย่างสม่ำเสมอ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสมและมี มารยาทในการฟัง ดู และพูด วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากส่ือสิ่งพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ สงั เคราะหข์ ้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ โดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะปฏิบัติ พูดแสดง ความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์สิ่งที่ได้จากการฟังและดู นำข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงาน เรื่องหรือประเด็นท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด มีมารยาทในการฟัง การดู และ การพดู มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ , ม.๔-๖/๘ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ , ม.๔-๖/๗ ท ๓.๑ ม๔-๖/๕ , ม.๔-๖/๖ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗ ท ๕.๑ ม๔-๖/๔ รวม ๘ ตัวชีว้ ัด

~ ๓๑ ~ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ หลักการ คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญย่ิงต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เน่ืองจาก คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมเี หตผุ ล เป็นระบบ มีแบบแผน วเิ คราะห์ปัญหา หรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถ่ีถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาทางด้าน วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อ่ืน ๆ คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพ ชีวิตให้ดีข้ึน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เปิดโอกาสให้ เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ีเจรญิ กา้ วหน้าอยา่ งรวดเร็วในยุคโลกาภวิ ตั น์ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ปรบั ปรุงโดยคำนึงถงึ การส่งเสริมให้ ผเู้ รียนมีทักษะที่จำเป็นสำหรบั การเรยี นรูในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นสำคัญน่ันคอื การเตรียมผ้เู รียนให้มที ักษะด้าน การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การส่ือสาร และการร่วมมือ ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ทั้งนี้การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบ ความสำเร็จน้ัน จะต้องเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมท่ีจะเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ พร้อมท่ีจะประกอบอาชีพเม่ือจบ การศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน โรงเรียนจึงจำเป็นต้องจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมตาม ศกั ยภาพของผ้เู รียน วิสยั ทศั น์ การศึกษาคณิตศาสตร์สำหรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นการศึกษาเพื่อปวงชนท่ีเปิดโอกาสให้ เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างต่อเน่ืองและตลอดชีวิตตามศักยภาพ ทั้งน้ีเพ่ือให้เยาวชนเป็นผู้มี ความรู้ความสามารถทางคณิตสาสตร์ท่ีเพียงพอสามารถนำความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ี จำเป็นไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีย่ิงขึ้น รวมท้ังสามารถนำไปเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆละเป็น พ้นื ฐานสำหรับการศกึ ษาตอ่ ดังน้ันจงึ เป็นความรบั ผิดชอบของสถานศึกษาท่ีต้องจัดสาระการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสม ให้แก่ผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนดไว้ สำหรับผู้เรียนท่ีมีความสามารถ ทางคณิตศาสตร์ และต้องการเรียนคณิตศาสตร์มากข้ึนให้ถือเป็นหน้าท่ีของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดโปรแกรม การเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผ้เู รียนได้โอกาสเรียนรู้คณิตศาสตรเ์ พิ่มเติมตามความถนัดและความสนใจ ทัง้ นี้เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมีความรทู้ ่ีทดั เทียมกบั นานาอารยะประเทศ

~ ๓๒ ~ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ จำนวนและพืชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกดิ ข้นึ จากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนินการ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ ัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพนั ธ์ หรือชว่ ยแก้ปัญหาทกี่ ำหนดให้ สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพนื้ ฐานเก่ยี วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ นำไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระท่ี ๓ สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความร้ทู างสถติ ิในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลกั การนบั เบ้ืองตน้ ความน่าจะเปน็ และการนำไปใช้ สาระคณิตศาสตร์เพ่มิ เติม คณิตศาสตร์เพ่ิมเติมจัดทำข้ึนสำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์ ที่จำเป็นต้องเรียนเน้ือหาในสาระจำนวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะ เป็น รวมทั้งสาระแคลคูลัส ให้มคี วามลุ่มลึกขึ้น ซ่งึ เป็นพ้ืนฐานสำคัญสำหรบั การศึกษาตอ่ ในระดบั อุดมศึกษาใน ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เพ่ิมเติมน้ีได้จัดทำข้ึนให้มีเน้ือหาสาระท่ีทัดเทียมกับนานาชาติ เน้นการคิด วิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การส่ือสารและการ รว่ มมือ รวมทง้ั เชื่อมโยงความรู้ส่กู ารนำไปใช้ในชีวิตจริง เป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนในคณิตศาสตร์เพิ่มเติมมี ๒ ลักษณะ คือ เชื่อมโยงมาตรฐานการ เรียนรู้ในคณิตศาสตร์พื้นฐาน เพ่ือให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้และเรียนรู้สาระนั้นอย่างลึกซึ้ง ได้แก่ สาระ จำนวนและพีชคณิต และสาระสถิติและความน่าจะเป็น และไม่ได้เชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ใน คณติ ศาสตรพ์ ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ สาระการวัดและเรขาคณติ และสาระแคลคูลัส สาระการเรียนร้เู พ่ิมเติมคณติ ศาสตร์ สาระจำนวนและพชี คณติ ๑. เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลท่ี เกดิ ขน้ึ จากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้ ๒. เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสมั พันธ์ ฟังกช์ ัน ลำดบั และอนกุ รม และนำไปใช้

~ ๓๓ ~ ๓. ใชน้ ิพจน์ สมการ อสมการและเมทริกซ์ อธบิ ายความสัมพันธ์ หรือช่วยแกป้ ญั หาท่ีกำหนดให้ สาระการวดั และเรขาคณติ ๑. เขา้ ใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และนำไปใช้ ๒. เข้าใจเวกเตอร์ การดำเนนิ การของเวกเตอร์ และนำไปใช้ สาระสถิติและความนา่ จะเป็น ๑. เข้าใจหลักการนับเบ้อื งตน้ ความนา่ จะเปน็ และนำไปใช้ สาระแคลคลู สั ๑. เข้าใจลิมิตและความต่อเน่ืองของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน และปริพันธ์ของฟังก์ชันและ นำไปใช้ คณุ ภาพของผเู้ รยี น จบช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๑. มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนจริง ความสัมพันธ์ของจำนวนจริง สมบัติของจำนวนจริง และ ใช้ความรู้ความเขา้ ใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวติ จรงิ ๒. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ และใช้ความรู้ความเข้าใจน้ีในการ แกป้ ัญหาในชีวติ จริง ๓. มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเลขยกกำลังที่มเี ลขช้ีกำลังเป็นจำนวนเต็ม และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ ในการแกป้ ัญหาในชีวติ จรงิ ๔. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว และใช้ความร้คู วามเขา้ ใจนใี้ นการแกป้ ัญหาในชีวติ จรงิ ๕. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับคู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์ และฟังก์ชันกำลังสองและใช้ความรู้ ความเข้าใจนีใ้ นการแก้ปญั หาในชีวติ จรงิ ๖. มีความรู้ความเข้าใจทางเรขาคณิตและใช้เครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมท้ังโปรแกรม Geometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอ่ืน ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนำความรู้ เกี่ยวกบั การสรา้ งนไี้ ปประยุกตใ์ ช้ในการแก้ปัญหาในชีวติ จริง ๗. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติและใช้ความรู้ความ เขา้ ใจนี้ในการหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณิตสองมิตแิ ละรูปเรขาคณติ สามมติ ิ ๘. มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองพ้ืนท่ีผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวยและทรง กลม และใช้ความรคู้ วามเข้าใจนใ้ี นการแกป้ ญั หาในชีวติ จรงิ ๙. มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองการแปลงทางเรขาคณิต และนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการ แก้ปญั หาในชวี ิตจรงิ

~ ๓๔ ~ ๑๐.มคี วามรคู้ วามเข้าใจในเรอ่ื งอัตราส่วนตรีโกณมิติ และนำความรู้ความเขา้ ใจนี้ไปใช้ในการแก้ปญั หา ในชวี ติ จรงิ ๑๑. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม และนำความรู้ความเข้าใจน้ีไปใช้ในการ แก้ปญั หาคณติ ศาสตร์ ๑๒. มีความรู้ความเข้าใจทางสถิติในการนำเสนอขอ้ มูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมายข้อมูล ที่ เก่ียวข้องกับแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮีสโทแกรม ค่ากลางของข้อมูลและแผนภาพกล่อง และใช้ความรู้ ความเข้าใจนี้ รวมทัง้ นำสถติ ไิ ปใชใ้ นชวี ติ จรงิ โดยใช้เทคโนโลยที ่เี หมาะสม ๑๓. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความน่าจะเป็นและใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิต จรงิ จบช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ๑. เข้าใจและใช้ความรู้เก่ียวกับเซตและตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น ในการส่ือสาร และสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ ๒. เข้าใจและใช้หลักการนับเบื้องต้น การเรียงสับเปล่ียนและการจัดหมู่ ในการแก้ปัญหาและนำ ความรเู้ กย่ี วกบั ความน่าจะเป็นไปใช้ ๓. นำความรู้เก่ียวกับเลขยกกำลัง ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม ไปใช้ในการแก้ปัญหา รวมทั้งปัญหา เก่ยี วกบั ดอกเบี้ยและมลู ค่าของเงนิ ๔. เข้าใจและใชค้ วามร้ทู างสถิติในการวิเคราะหข์ ้อมูล นำเสนอข้อมลู และแปลความหมายขอ้ มูลเพื่อ ประกอบการตัดสนิ ใจ

~ ๓๕ ~ โครงสร้างหลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.๑-๓) รายวิชาพืน้ ฐาน ช่ือวิชา ระดบั ช้นั หนว่ ยกติ ช่วั โมง/สัปดาห์ ที่ รหัสวชิ า คณิตศาสตร์ ม.๑ ๑.๕ ๑ ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ม.๑ ๑.๕ ๓ ๒ ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ม.๒ ๑.๕ ๓ ๓ ค๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ม.๒ ๑.๕ ๓ ๔ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ม.๓ ๑.๕ ๓ ๕ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ม.๓ ๑.๕ ๓ ๖ ค๒๓๑๐๒ ๓ โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รายวชิ าพ้ืนฐาน ชือ่ วิชา ระดับช้นั หนว่ ยกิต ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ท่ี รหัสวชิ า คณติ ศาสตร์ ม.๔ ๑.๐ ๑ ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ม.๔ ๑.๕ ๒ ๒ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ม.๕ ๑.๐ ๓ ๓ ค๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ม.๕ ๑.๐ ๒ ๔ ค๓๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ม.๖ ๑.๕ ๒ ๕ ค๓๓๑๐๑ ๓ รายวชิ าเพมิ่ เติม ชือ่ วิชา ระดับช้ัน หนว่ ยกิต ช่ัวโมง/สัปดาห์ ที่ รหัสวิชา คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ ๑ ม.๔ ๑.๕ ๑ ค๓๐๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพมิ่ เติม ๒ ม.๔ ๑.๕ ๓ ๒ ค๓๐๒๐๒ คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ ๓ ม.๕ ๑.๕ ๓ ๓ ค๓๐๒๐๓ คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม ๔ ม.๕ ๑.๕ ๓ ๔ ค๓๐๒๐๔ คณิตศาสตรเ์ พิ่มเติม ๕ ม.๖ ๑.๕ ๓ ๕ ค๓๐๒๐๕ คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ ๖ ม.๖ ๑.๕ ๓ ๖ ค๓๐๒๐๖ ๓

~ ๓๖ ~ คำอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า ค21101 รายวชิ า คณิตศาสตร์ รายวิชาพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดจาก การดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ จำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจำนวนตรรกยะและ ใช้สมบัติของจำนวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาสมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็น จำนวนเต็มบวกในการแกป้ ญั หา นิพจน์ สมการและอสมการ อธิบายความสมั พนั ธ์ หรอื ชว่ ยแก้ปัญหาสมบัตขิ อง การเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต ความรู้ทาง เรขาคณิตและเคร่ืองมือเช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม TheGeometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่นๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนำความรู้เก่ียวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ใน การแก้ปัญหาความรู้ทางเรขาคณิตในการวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิต สามมิติ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล เพื่อฝึกให้ นักเรยี นมที กั ษะกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแกป้ ัญหา การให้เหตุผล เพอ่ื ให้เกิดความใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน และความสามารถในการคดิ ความสามารถในการ แกป้ ญั หา มาตรฐานและตัวชวี้ ดั ค ๑.๑ ม.๑/๑ ค ๑.๑ ม.๑/๒ ค ๑.๓ ม.๑/๑ ค ๒.๒ ม.๒/๑ ค ๒.๒ ม.๒/๒ รวมท ๕ ตวั ช้ีวัด

~ ๓๗ ~ คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ค21102 รายวชิ า คณติ ศาสตร์ รายวิชาพ้นื ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 2 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ในการแก้ปัญหาความรู้เกี่ยวกับกราฟและการ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาความรู้เก่ียวกับความสัมพันธ์เชิงเส้นในการแก้ปัญหากระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหาความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูล และแปลความหมายขอ้ มลู รวมท้ัง นำสถติ ิไปใช้ในชีวติ จรงิ โดยใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสม โดยใช้ทักษะกระบวนการนำความรู้เก่ียวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ในการแก้ปัญหา คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง นำความรู้เกี่ยวกับนิพจน์ สมการและอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรือ ช่วยแก้ปัญหากำหนดให้นำความรู้เก่ียวกับกราฟและการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริงใช้ทักษะ กระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหาใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูล และ แปลความหมายข้อมลู รวมทั้งนำสถติ ไิ ปใชใ้ นชวี ิตจริงโดยใชเ้ ทคโนโลยีท่เี หมาะสม เพ่ือให้เกิดใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน และความสามารถในการคิด ความสามารถในการ แกป้ ญั หา มาตรฐานและตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ม.๑/๓ ค ๑.๓ ม.๑/๒ ค ๑.๓ ม.๑/๓ ค ๓.๑ ม.๑/๑ รวม ๔ ตัวชี้วดั

~ ๓๘ ~ คำอธิบายรายวิชา รหัสวชิ า ค22101 รายวชิ า คณิตศาสตร์ รายวชิ าพนื้ ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 1.5 หน่วยกติ เวลา 60 ชว่ั โมง ภาคเรียนท่ี 1 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา สมบัติของเลยยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม การดำเนินการของพหุนาม การบวก การลบ การคูณและการหารพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสอง การสร้างทางเรขาคณิตโดยใชว้ ง เวียนและสนั ตรง โปรแกรม TheGeometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่นๆ การแปลง ทางเรขาคณติ การเล่ือนขนาน การสะท้อน และการหมนุ สถติ ิ การนำเสนอและวิเคราะหข์ ้อมูลจากแผนภาพ จุด แผนภาพต้น - ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมูล การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ในชีวิต จริง โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล เพื่อฝึกให้ นกั เรียนมที กั ษะกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกป้ ญั หา การใหเ้ หตุผล เพ่ือให้นักเรียนสามารถส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์โดยใชเ้ ทคโนโลยี รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจต คติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบมีความ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อม่ันในตนเอง และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะ กระบวนการท่ไี ด้ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ค ๑.๑ ม.๒/๑ ค ๑.๒ ม.๒/๑ ค ๑.๒ ม.๒/๒ ค ๒.๒ ม.๒/๑ ค ๒.๒ ม.๒/๓ ค ๓.๑ ม.๒/๑ รวม ๖ ตัวชี้วดั

~ ๓๙ ~ คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วิชา ค221๐2 รายวชิ า คณติ ศาสตร์ รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 จำนวน 1.5 หน่วยกติ เวลา 60 ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ 2 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา จำนวนจริงและความสัมพันธ์ของจำนวนจริง สมบัติของจำนวนจริง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส พ้ืนที่ผวิ ของปริซึมและทรงกระบอก ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก สมบัตขิ องรูปสามเหล่ียมทีเ่ ท่ากนั ทกุ ประการ สมบตั ิของเส้นขนานและรปู สามเหลีย่ ม โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล เพ่ือฝึกให้ นักเรียนมีทกั ษะกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแกป้ ัญหา การให้เหตุผล เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์โดยใช้เทคโนโลยี รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจต คติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบมีความ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเช่ือมั่นในตนเอง และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะ กระบวนการท่ีได้ไปใชใ้ นชีวิตจริง มาตรฐานและตัวชว้ี ัด ค ๑.๑ ม.๒/๒ ค ๒.๑ ม.๒/๑ ค ๒.๑ ม.๒/๒ ค ๒.๒ ม.๒/๒ ค ๒.๒ ม.๒/๔ ค ๒.๒ ม.๒/๕ รวม ๖ ตัวชี้วดั

~ ๔๐ ~ คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วชิ า ค23101 รายวชิ า คณิตศาสตร์ รายวิชาพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ในสาระต่อไปน้ีพ้ืนที่ผิว การหาพื้นท่ีผิวของพีระมิด กรวยและทรงกลม การนำความรู้ เกี่ยวกบั พื้นที่ผวิ ของพรี ะมิด กรวยและทรงกลม ไปใชใ้ นการแก้ปัญหา ปรมิ าตร การหาปรมิ าตรของพีระมิด กรวยและทรงกลม การนำความร้เู กยี่ วกับปรมิ าตรของพีระมิดกรวยและทรงกลม ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา การ แยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง กราฟ กราฟเส้นตรง กราฟเส้นตรงกับการนำไปใช้ กราฟอื่น ๆ ระบบสมการ ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบ สมการเชงิ เสน้ สองตัวแปร การนำความรู้เก่ียวกับการแก้ระบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปรไปใช้ในการแกป้ ัญหา วงกลม วงกลม คอร์ด และเส้นสัมผัส ทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม ความคล้าย รปู สามเหลี่ยมท่ีคลา้ ยกัน การนำความร้เู ก่ยี วกบั ความคล้ายไปใช้ในการแกป้ ัญหา โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การอ่าน การเขียน เพ่ือฝกึ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล และการส่ือสาร การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตรแ์ ละการนำเสนอ เพ่ือใหเ้ กิดการใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน มีวนิ ัย และมีความสามารถในการส่อื สาร การคิดและ การแก้ปญั หา มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ค ๑.๒ ม.๓/๑ ค ๑.๓ ม.๓/๓ ค ๒.๑ ม.๓/๑ ค ๒.๑ ม.๓/๒ ค ๒.๒ ม.๓/๑ ค ๒.๒ ม.๓/๓ รวม ๖ ตวั ชี้วดั

~ ๔๑ ~ คำอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ค23102 รายวชิ า คณิตศาสตร์ รายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 2 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียวการนำความรู้เก่ียวกับการแก้ อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียวไปใชใ้ นการแก้ปญั หา สมการกำลังสองตวั แปรเดียว สมการกำลงั สองตวั แปรเดียว การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวการนำความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวไปใช้ในการ แก้ปัญหา ฟังก์ชันกำลังสอง กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง การนำความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการ แก้ปัญหา สถติ ิ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพกล่อง การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิตไิ ปใช้ ในชีวิตจรงิ ความน่าจะเป็น เหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น นำความร้เู กี่ยวกับความน่าจะ เป็นไปใช้ในชีวิตจริง อัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนำค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ๓o องศา ๔๕ องศา และ ๖o องศา ไปใช้ในการแก้ปญั หา โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ การอ่าน การเขียน เพ่อื ฝกึ การแกป้ ัญหา การให้เหตผุ ล และการสื่อสาร การสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตรแ์ ละการนำเสนอ เพ่อื ให้เกิดการใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน มีวินยั และมคี วามสามารถในการสอ่ื สารโดยใช้ เทคโนโลยี การคดิ และการแก้ปญั หา มาตรฐานและตัวชี้วัด ค ๑.๒ ม.๓/๒ ค ๑.๓ ม.๓/๑ ค ๑.๓ ม.๓/๒ ค ๒.๒ ม.๓/๒ ค ๓.๑ ม.๓/๑ ค ๓.๒ ม.๓/๑ รวม ๖ ตัวช้ีวัด

~ ๔๒ ~ คำอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ค31101 รายวชิ า คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 1.๐ หน่วยกติ เวลา ๔0 ชวั่ โมง ภาคเรียนที่ 1 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาความรู้เบือ้ งต้นและสัญลักษณพ์ ืน้ ฐานเกี่ยวกบั เซต การยูเนยี น อินเตอร์เซกชนั ผลตา่ ง คอมพลี เมนต์ของเซต ความรู้เก่ียวกบั ประพจนแ์ ละตัวเชื่อม นิเสธ และ หรือ ถา้ ...แลว้ ก็ต่อเมอื่ โดยใช้ทักษะกระบวนการเพ่ือฝึกการบอกความหมายและจำนวนสมาชิกของเซตได้ เขยี นเซตโดยวิธี แจกแจงสมาชิกและวิธีบอกเงื่อนไขได้ บอกได้ว่าเซตท่ีกำหนดให้เป็นเซตว่าง หรือเซตจำกัด หรือเซตอนันต์ บอกได้ว่าเซตสองเซตที่กำหนด ให้เท่ากันหรือไม่ หาสับเซตของเซตท่ีกำหนดให้ได้ หาเพาเวอร์เซตของเซตที่ กำหนด ให้ได้ หายูเนียนอินเตอร์เซกชันคอมพลีเมนต์ และผลต่างของเซตท่ีกำหนดได้ มีความคิดรวบยอด เกยี่ วกับประพจนแ์ ละบอกคา่ ความจริงของประพจน์ได้ สามารถเปลี่ยนประพจน์ที่อยู่ในรูปขอ้ ความให้อยู่ในรูป สัญลักษณ์ได้ บอกค่าความจริงของประพจน์และหานิเสธของประพจน์ท่ีกำหนดให้ได้ บอกค่าความจริงของ ประพจน์ทเ่ี กิดจากการนำประพจน์มาเชื่อมกันได้ บอกคา่ ความจริงของประพจนท์ ่ีเกิดจากการนำประพจนย์ ่อย มาเชื่อมกันเม่อื ทราบค่าความจริงของประพจน์ย่อยได้ สรา้ งตารางหาค่าความจริงของประพจน์ทไ่ี ดจ้ ากการนำ ประพจน์ยอ่ ยมาเชื่อมกันได้ เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทกั ษะกระบวนการ ที่ได้ไปใช้ในการ เรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเช่ือมั่น ในตนเอง มาตรฐานและตวั ชวี้ ัด ค ๑.๑ ม.๔/๑ รวม ๑ ตัวช้วี ัด

~ ๔๓ ~ คำอธบิ ายรายวิชา รหัสวชิ า ค31102 รายวชิ า คณิตศาสตร์ รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ ๒ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาหลักการบวกและการคณู การเรียงสบั เปล่ียนเชงิ เส้นกรณีที่ส่ิงของแตกต่างกันท้ังหมด การจัด หมูก่ รณที ส่ี ง่ิ ของแตกตา่ งกันท้งั หมด การทดลองสุ่มและเหตกุ ารณ์ ความนา่ จะเป็นของเหตุการณ์ โดยใช้ทักษะกระบวนการเพอื่ ฝกึ การนำกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกย่ี วกับการนับแก้โจทยป์ ัญหาที่กำหนดให้ ได้ ใช้วิธีเรียงสับเปล่ียนแก้โจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ ใช้วิธีจัดหมวดหมู่แก้โจทย์ปัญหาท่ีกำหนดให้ได้ แก้โจทย์ ปญั หาระคนเก่ียวกับวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ได้ นำความรู้เรื่องทฤษฎีบททวินามไปใช้ได้ หาความน่าจะ เปน็ ของเหตกุ ารณ์ท่กี ำหนดให้ได้ นำกฎท่ีสำคัญของความนา่ จะเปน็ ไปใช้ในการแกป้ ญั หาได้ เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทกั ษะกระบวนการ ท่ีไดไ้ ปใช้ในการ เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชวี ิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดตี ่อวชิ าคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่น ในตนเอง มาตรฐานและตัวชวี้ ดั ค ๓.๒ ม.๔/๑ ค ๓.๒ ม.๔/๒ รวม ๒ ตวั ชี้วัด

~ ๔๔ ~ คำอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ค๓๒๑๐๑ รายวชิ า คณติ ศาสตร์ รายวิชาพน้ื ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๕ จำนวน 1.๐ หน่วยกิต เวลา ๔0 ชัว่ โมง ภาคเรยี นท่ี ๑ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา เรื่อง เลขยกกำลัง สมบัติของจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ การบวก การคูณ การเท่ากัน การไม่ เท่ากันของจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ และจำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลังท่ีมีเลขช้ีกำลังเป็นจำนวนตรรกยะ การหารากท่ี n ของจำนวนจริง เมื่อ n เป็นจำนวนที่มากกว่า ๑ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ และฟังก์ชันโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์และฟังก์ชัน กราฟของความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตัวอย่างของ ฟังก์ชันที่ควรรู้จัก ได้แก่ ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำลังสอง ฟังก์ชันขั้นบันได และฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และนำไปใชใ้ นการแก้ปัญหาบางประการ โดยใช้ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ จัดประสบการณ์ใหผ้ เู้ รียนได้ศึกษา ค้นควา้ เพ่ือพัฒนา ทกั ษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปญั หา การให้เหตุผล การส่อื สาร การสอื่ ความหมายทาง คณติ ศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการทไี่ ด้ไปใชใ้ นการเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ และใชใ้ นชวี ิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และเกดิ ทกั ษะในการคิดและทักษะในการแก้ปญั หา สามารถ นำไปใช้อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ในชีวิตประจำวัน รวมทง้ั สามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบ มี ระเบยี บวนิ ัย มงุ่ ม่ันในการทำงาน มีความรบั ผดิ ชอบ มีความเพียรพยายาม มีจิตสาธารณะ และมีเจตคติทีด่ ตี ่อ คณติ ศาสตร์ มาตรฐานและตัวช้วี ดั ค ๑.๑ ม.๕/๑ ค ๑.๒ ม.๕/๒ รวม ๒ ตัวชี้วดั

~ ๔๕ ~ คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วิชา ค๓๒๑๐๒ รายวชิ า คณิตศาสตร์ รายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๕ จำนวน 1.๐ หนว่ ยกิต เวลา ๔0 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษา เรื่องดังต่อไปน้ี ลำดับและอนกุ รม ความหมายของลำดับ การหาพจน์ท่ัวไปของลำดับ ลำดับ เลขคณิตและลำดับเรขาคณิต การหาพจน์ต่าง ๆ ของลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต ดอกเบี้ยและมูลค่า ของเงิน การคำนวณดอกเบี้ย มลู คา่ ของเงนิ และการคำนวณคา่ รายงวด โดยใช้ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า เพ่ือพัฒนา ทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชวี ติ ประจำวนั อย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะในการคิดและทักษะในการแก้ปัญหา สามารถ นำไปใช้อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ในชีวิตประจำวัน รวมท้ังสามารถทำงานอย่างเป็นระบบ มี ระเบยี บวนิ ัย มุง่ มัน่ ในการทำงาน มีความรับผิดชอบ มีความเพยี รพยายาม มจี ติ สาธารณะ และมเี จตคติที่ดีต่อ คณติ ศาสตร์ มาตรฐานและตัวชี้วดั ค ๑.๒ ม.๕/๒ ค ๑.๓ ม.๕/๑ รวม ๒ ตัวช้ีวดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook